01.01.2013 Views

ความผันผวนของราคา SET50 Index Futures

ความผันผวนของราคา SET50 Index Futures

ความผันผวนของราคา SET50 Index Futures

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

86<br />

ในกรณีที่เกิดการขาดหายของข้อมูลในบางวันอันเนื่องมาจากไม่มีการซื้อขายสัญญาฟิวเจอร์ในวันนั้น<br />

อันท�าให้ไม่สามารถค�านวณการเปลี่ยนแปลงราคาแบบต่อเนื่องของราคาปิดสัญญาฟิวเจอร์<br />

ณ เวลา t เทียบกับ<br />

เวลา t-1 ได้ (เนื่องจากไม่มีข้อมูลราคาฟิวเจอร์<br />

ณ เวลา t-1 นั่นเอง)<br />

งานวิจัยนี้จึงใช้วิธีการผลตอบแทนเฉลี่ย<br />

แทน โดยแทนที่จะใช้ค่า<br />

ณ เวลา t-1 ก็ใช้ค่าราคาฟิวเจอร์ ณ เวลา t-m (โดยที่<br />

t-m คือ วันที่มีการซื้อขาย<br />

F F<br />

t<br />

เกิดขึ้นจริงที่ใกล้ที่สุดนับย้อนขึ้นไปจากเวลา<br />

t) ท�าให้สามารถหาค่า R ได้จากสมการ = ln จากนั้น<br />

t<br />

น�าค่าที่ได้มาถัวเฉลี่ยโดยหารด้วย<br />

m เพื่อหาผลตอบแทนของสัญญาฟิวเจอร์เฉลี่ยต่อวันส�าหรับช่วงเวลาตั้งแต่<br />

t<br />

จนถึงเวลา t-m และใช้ค่านี้แทนค่าผลตอบแทนของสัญญาฟิวเจอร์ในช่วงเวลาดังกล่าว<br />

ค่าผลตอบแทนของสัญญาฟิวเจอร์เมื่อน�ามาเรียงต่อกัน<br />

ก็จะท�าให้เราได้ค่าอนุกรมเวลาของผลตอบแทน<br />

ของสัญญาฟิวเจอร์ส�าหรับสัญญาที่ใกล้ครบก�าหนดที่สุด<br />

(time series of futures return based on closest<br />

to maturity futures prices)<br />

หลังจากนั้น<br />

เราจึงน�าค่าผลตอบแทนของสัญญาฟิวเจอร์ต่อวันที่ค�านวณได้ข้างต้น<br />

มาแปลงเป็นค่า<br />

ความผันผวนรายวันของผลตอบแทนของสัญญาฟิวเจอร์ (Dialy Volatility) ตามสมการข้างล่างนี้<br />

ค่าข้างต้นเป็นค่าความผันผวนต่อวัน แต่ในการวิเคราะห์เราจะใช้ค่าความผันผวนต่อปี ดังนั้น<br />

จึงท�าการ<br />

แปลงค่าข้างต้นให้เป็นค่าความผันผวนต่อปีโดยการคูณด้วยค่ารากที่สองของจ�านวนวันซื้อขายในหนึ่งปี<br />

ซึ่งมีค่า<br />

เท่ากับ 245 วัน (Trading Day) ตามสมการข้างล่างนี้<br />

ค่าที่ได้จะถูกน�ามาจัดเรียงเป็นอนุกรมเวลาของความผันผวนของผลตอบแทนสัญญาฟิวเจอร์ที่ใกล้<br />

ครบก�าหนดที่สุด<br />

(time series of annual volatility of closest to maturity futures returns) หรือเพื่อ<br />

ความง่าย เราจะเรียกอนุกรมเวลานี้ว่า<br />

Nearby1<br />

ส�าหรับข้อมูลราคาปิดตามสัญญาฟิวเจอร์ที่ใกล้ครบก�าหนดล�าดับถัดไป<br />

(Second closest to<br />

maturity <strong>Futures</strong> Price) ก็จะถูกน�ามาจัดเรียงตามแบบแผนข้างต้น แล้วน�ามาค�านวณหาค่าผลตอบแทน<br />

และค่าความผันผวนโดยเรียกอนุกรมเวลาของความผันผวนของผลตอบแทนสัญญาฟิวเจอร์ที่ใกล้ครบก�าหนด<br />

ที่สุดล�าดับที่สอง<br />

(time series of annual volatility of second losest to maturity futures returns) ว่า<br />

Nearby2 โดยการใช้วิธีเดียวกัน เราก็จะหาค่าอนุกรมเวลาของความผันผวนของผลตอบแทนสัญญาฟิวเจอร์<br />

ที่ใกล้ครบก�าหนดล�าดับถัดไปได้อีก<br />

โดยเรียกค่าอนุกรมเวลาดังกล่าวว่า nearby3 และ Nearby4 ตามล�าดับ<br />

เมื่อได้จัดท�าข้อมูลแล้วงานวิจัยนี้พบว่า<br />

ค่าอนุกรมเวลา Nearby1 คือ ค่าความผันผวนของผลตอบแทน<br />

ของสัญญาฟิวเจอร์ในช่วงระยะเวลาตั้งแต่<br />

0 ถึงประมาณ 62 วันซื้อขาย<br />

ก่อนครบก�าหนดอายุสัญญา ส่วน<br />

อนุกรมเวลา Nearby2 คือ ค่าความผันผวนของผลตอบแทนของสัญญาฟิวเจอร์ในช่วงระยะเวลาตั้งแต่ประมาณ<br />

63 ถึงประมาณ 124 วันซื้อขาย<br />

ก่อนครบก�าหนดอายุสัญญา ส่วนอนุกรมเวลา nearby3 คือ ค่าความผันผวน<br />

R t<br />

F t-m

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!