01.01.2013 Views

ความผันผวนของราคา SET50 Index Futures

ความผันผวนของราคา SET50 Index Futures

ความผันผวนของราคา SET50 Index Futures

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

92<br />

ตารางที่<br />

3 แสดงผลการวิเคราะห์ด้วยสมการถดถอย ระหว่างความผันผวนของผลตอบแทนของ<br />

สัญญาฟิวเจอร์ ( ) กับระยะเวลาก่อนครบก�าหนด (TTM) ค่าสัมประสิทธิ์ของความสัมพันธ์ที่ได้ส่วนใหญ่<br />

ไม่มีนัยส�าคัญทางสถิติ กล่าวคือ เราไม่สามารถปฏิเสธสมมุติฐานหลักที่ว่า<br />

ค่าสัมประสิทธิ์ดังกล่าวมีค่า<br />

เท่ากับศูนย์ได้ ผลที่ได้ไม่สนับสนุน<br />

Samuelson Hypothesis<br />

ทั้งนี้<br />

มีเพียงค่าสัมประสิทธิ์ที่ได้จากการประเมินสมการถดถอย<br />

โดยใช้ช่วงเวลา 0 ถึงประมาณ<br />

62 วันซื้อขาย<br />

ก่อนวันครบก�าหนด ตามอนุกรมเวลา Nearby1 เท่านั้น<br />

ที่มีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

5%<br />

แต่เครื่องหมายที่ได้กลับมีค่าเป็นบวก<br />

ตรงข้ามกับ Samuelson Hypothesis กล่าวคือ ผลที่ได้แสดงว่า<br />

ค่าความผันผวนของผลตอบแทนสัญญาฟิวเจอร์จะมีค่าลดลง เมื่อเข้าใกล้วันครบก�าหนด<br />

ตารางที่<br />

4 แสดงผลการวิเคราะห์ด้วยสมการถดถอย ระหว่างค่าล็อก (natural logarithm) ของ<br />

ความผันผวนของผลตอบแทนสัญญาฟิวเจอร์ [Ln( )] กับระยะเวลาก่อนครบก�าหนด (TTM) ค่าสัมประสิทธิ์<br />

ของความสัมพันธ์ที่ได้ไม่มีนัยส�าคัญทางสถิติในทุกช่วงเวลา<br />

ก่อนวันครบก�าหนด กล่าวคือไม่ว่าเราจะพิจารณา<br />

ข้อมูลอนุกรมเวลาใดของความผันผวน เริ่มจาก<br />

Nearby1 จนถึง Nearby4 เราก็ไม่พบความสัมพันธ์ตามค�า<br />

ท�านายของ Samuelson Hypothesis<br />

อย่างไรก็ตาม การวิเคราะห์ด้วยสมการถดถอยในตารางที่<br />

3 และ 4 เป็นเพียงการวิเคราะห์ขั้นต้น<br />

เท่านั้น<br />

เพราะเรายังไม่ได้ควบคุมผลของ ข้อมูลข่าวสาร (Information Flow) ตามทฤษฎีของ Anderson and<br />

Danthine (1983) ที่อาจมีผลต่อการผันผวนของผลตอบแทนสัญญาฟิวเจอร์ได้<br />

เป็นอีกปัจจัยหนึ่งนอกจาก<br />

ระยะเวลาก่อนครบก�าหนดตาม Samuelson Hypothesis<br />

ทั้งนี้<br />

การวิเคราะห์ด้วยสมการถดถอยล�าดับถัดไป ในตารางที่<br />

5 และ 6 เราจะท�าการควบคุมผลดังกล่าว<br />

ด้วยค่าความผันผวนของผลตอบแทนของสินค้าพื้นฐานซึ่งก็คือ<br />

ผลตอบแทนของ <strong>SET50</strong> <strong>Index</strong> นั่นเอง<br />

เราเรียกค่าความผันผวนนี้ว่า<br />

Spot Volatility<br />

ตารางที่<br />

3 สมการถดถอย<br />

์ ช่วงเวลา จ�านวนข้อมูล ค่าสัมประสิทธิ F-statistics R-squared<br />

0-62 1016 0-0920 **<br />

(0.0434)<br />

4.49 ** 0.44%<br />

0-124 1974 0.0240<br />

(0.0157)<br />

2.33 0.12%<br />

0-186 2864 0.0061<br />

(0.0087)<br />

0.49 0.02%<br />

0-246 3589 0.0008<br />

(0.0059)<br />

0.02 0.00%<br />

หมายเหตุ: *, **, *** หมายถึง มีนัยส�าคัญที่ระดับ<br />

10%, 5%, 1% ตามล�าดับ ค่าภายในวงเล็บคือ ค่า Standard Error of the<br />

estimated coefficiency

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!