01.01.2013 Views

ความผันผวนของราคา SET50 Index Futures

ความผันผวนของราคา SET50 Index Futures

ความผันผวนของราคา SET50 Index Futures

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

88<br />

โดยค่า คือ ค่ามัธยฐานของค่าความผันผวนตามอนุกรมเวลา Nearby1-4<br />

ตามล�าดับ ซึ่งสะท้อนถึงระยะเวลาตามวันซื้อขายก่อนครบก�าหนดในแต่ละช่วงเวลา<br />

ตามที่ได้อธิบายไว้ข้างต้น<br />

3.3 การทดสอบโดยสมการถดถอยเชิงเส้น (Linear Regression)<br />

ทั้งนี้<br />

เนื่องจากข้อมูลที่น�ามาใช้วิเคราะห์เป็นข้อมูลอนุกรมเวลา<br />

(time series data) ดังนั้น<br />

ก่อนการ<br />

วิเคราะห์ทางสถิติด้วยการใช้สมการถดถอยจึงมีความจ�าเป็นต้องทดสอบว่า ข้อมูลอนุกรมเวลาเหล่านี้มี<br />

Unit<br />

Root หรือไม่ ถ้าหากข้อมูลมี Unit Root ก็จะเป็นการสะท้อนว่า ข้อมูลดังกล่าวมีลักษณะทางสถิติที่ไม่มี<br />

เสถียรภาพ (Non-Stationary) และไม่สามารถน�ามาวิเคราะห์ต่อได้ด้วยวิธีสมการถดถอย ในการทดสอบ Unit<br />

Root Test งานวิจัยนี้ใช้วิธี<br />

ADF Test (Augmented Dickey Fuller) เพื่อทดสอบข้อมูลก่อนในเบื้องต้น<br />

เฉพาะกรณีที่สมมุติฐานที่ว่า<br />

ข้อมูลมี Unit Root ถูกปฏิเสธจากการทดสอบ งานวิจัยนี้จึงจะได้ท�าการวิเคราะห์<br />

ต่อไปด้วยสมการถดถอย<br />

การทดสอบจะใช้สมการถดถอยข้างล่างนี้<br />

โดยหาก Samuelson Hypothesis เป็นจริงแล้วค่า<br />

สัมประสิทธิ์ที่ประเมินได้ของระยะเวลาก่อนครบก�าหนด<br />

(TTM) หรือ β จะต้องมีค่าเป็นลบ<br />

โดย σ คือ ความผันผวนของผลตอบแทนของสัญญาฟิวเจอร์ ณ เวลา t, TTM คือ ระยะเวลาก่อน<br />

t t<br />

้อขาย (trading days) ก่อนครบก�าหนด และ e คือ ค่าความ<br />

t<br />

ครบก�าหนด ณ เวลา t โดยมีหน่วยเป็นจ�านวนวันซื<br />

คลาดเคลื่อนทางสถิติ<br />

ณ เวลา t<br />

นอกจากสมการข้างต้นแล้ว งานวิจัยนี้ยังใช้ค่า<br />

Natural Logarithm ของ σ เป็นตัวแปรตาม [ln(σ )]<br />

t t<br />

เพื่อเปรียบเทียบผลการทดสอบอีกด้วย<br />

ทั้งนี้<br />

การตีความผลที่ได้เมื่อตัวแปรตามเป็น<br />

σ กับ ln(σ ) นั้น<br />

t t<br />

แตกต่างกันดังนี้<br />

ค่าสัมประสิทธิ์<br />

β ของความสัมพันธ์ระหว่างความผันผวนของผลตอบแทนสัญญาฟิวเจอร์กับระยะ<br />

เวลาก่อนครบก�าหนด ที่ได้จากตัวแปรตาม<br />

σ มีความหมายคือ ถ้าจ�านวนวันซื้อขายเพิ่มขึ้นอีก<br />

1 วัน ค่าความ<br />

t<br />

ผันผวนของผลตอบแทนของสัญญาฟิวเจอร์จะเพิ่มขึ้นเท่ากับ<br />

β หน่วยหน่วยของความผันผวนซึ่งเท่ากับ<br />

เปอร์เซ็นต์ต่อปี<br />

ส่วนในกรณีที่ตัวแปรตาม<br />

ได้แก่ ln(σ ) ค่า β ที่ได้มีความหมายคือ<br />

ถ้าจ�านวนวันซื้อขายเพิ่มขึ้นอีก<br />

t<br />

1 วัน ค่าความผันผวนของผลตอบแทนของสัญญาฟิวเจอร์จะเพิ่มขึ้นเท่ากับ<br />

β% จากค่าในวันก่อนหน้า<br />

นอกจากนี้<br />

เพื่อควบคุมผลของการไหลเข้าของข้อมูลข่าวสาร<br />

(Information Flow) ที่มีต่อความ<br />

ผันผวนของผลตอบแทนของสัญญาฟิวเจอร์ งานวิจัยนี้จึงได้เพิ่มตัวแปรตามคือ<br />

ความผันผวนของผลตอบแทน<br />

ของ <strong>SET50</strong> <strong>Index</strong> (Spot Volatility) ตามสมการดังต่อไปนี้<br />

โดย Volspot t คือ ความผันผวนของผลตอบแทนของ <strong>SET50</strong> <strong>Index</strong> ณ เวลา t (Spot Volatility)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!