01.01.2013 Views

ความผันผวนของราคา SET50 Index Futures

ความผันผวนของราคา SET50 Index Futures

ความผันผวนของราคา SET50 Index Futures

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

74<br />

1. บทน�า (Introduction)<br />

ส�าหรับนักลงทุนในประเทศไทยนั้น<br />

การซื้อขายตราสารอนุพันธ์โดยมีสินทรัพย์อ้างอิงเป็นหุ้นสามัญ<br />

เริ่มได้รับความสนใจมากขึ้นในช่วงระยะเวลาไม่กี่ปีที่ผ่านมา<br />

เนื่องจากการซื้อขายตราสารอนุพันธ์เป็นเครื่องมือ<br />

ที่มีประสิทธิภาพซึ่งนักลงทุนสามารถใช้ในการบริหารความเสี่ยงและเก็งก�าไร<br />

ปัจจุบันตลาดตราสารอนุพันธ์<br />

ในประเทศไทยมีสินทรัพย์อ้างอิงบนหุ้นสามัญสามชนิด<br />

คือ <strong>SET50</strong> <strong>Index</strong> <strong>Futures</strong>, <strong>SET50</strong> <strong>Index</strong> Options<br />

และ Single Stock <strong>Futures</strong><br />

งานวิจัยนี้เลือกท�าการศึกษา<br />

<strong>SET50</strong> <strong>Index</strong> <strong>Futures</strong> เพราะก�าลังได้รับความนิยมจากนักลงทุน<br />

เพิ่มมากขึ้น<br />

จากการที่ไม่ต้องมีการซื้อขายหุ้นทีละตัวซึ่งใช้เงินลงทุนจ�านวนมาก<br />

รวมทั้งการวิเคราะห์ตลาด<br />

ท�าได้โดยง่ายกว่าการวิเคราะห์หุ้นรายตัว ด้วยการมองความเคลื่อนไหวของตลาดเป็นภาพรวม<br />

อีกทั้ง<br />

ยังสามารถท�าก�าไรได้ทั้งขาขึ้นและลงโดยไม่ต้องลงทุนมาก<br />

ราคาของ <strong>SET50</strong> futures เคลื่อนไหวตามการเปลี่ยนแปลงของราคาสินทรัพย์อ้างอิง<br />

คือ ดัชนีหุ้น<br />

<strong>SET50</strong> โดย<strong>ความผันผวนของราคา</strong>ฟิวเจอร์ จะถูกก�าหนดขึ้นจากหลายปัจจัยที่ส�าคัญ<br />

ได้แก่ ระยะเวลา<br />

ครบก�าหนดของสัญญา (Time to Maturity) <strong>ความผันผวนของราคา</strong>สินทรัพย์อ้างอิง (spot volatility) และ<br />

การเข้ามาของข้อมูล (information flow) ทั้งนี้หากนักลงทุนสามารถคาดการณ์ความผันผวนของสัญญาฟิวเจอร์<br />

(futures) ที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลาได้<br />

โดยพิจารณาจากปัจจัย (factors) ที่มีผลกระทบ<br />

นักลงทุนก็ย่อม<br />

สามารถปรับกลยุทธ์การลงทุนหรือการบริหารความเสี่ยงของตนให้เหมาะสมไปตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้<br />

Samuelson (1965) ได้เสนอทฤษฎีซึ่งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความผันผวนของสัญญาฟิวเจอร์<br />

(<strong>Futures</strong>) กับระยะเวลาครบก�าหนดของสัญญา (Time to Maturity) โดยการพิสูจน์ว่า <strong>ความผันผวนของราคา</strong><br />

ฟิวเจอร์ มีความสัมพันธ์แบบผกผัน (negative relationship) กับระยะเวลาครบก�าหนดของสัญญา (Time to<br />

Maturity) กล่าวคือ เมื่อสัญญาใกล้ครบก�าหนดหรืออายุสัญญาเหลือน้อยลง<br />

<strong>ความผันผวนของราคา</strong>ฟิวเจอร์<br />

จะมากขึ้น<br />

ค�าท�านายทางทฤษฎีดังกล่าวนี้ถูกเรียกว่า<br />

Samuelson Hypothesis และเรียกผลที่เกิดขึ้นว่า<br />

Maturity Effect<br />

งานวิจัยนี้เป็นการทดสอบเชิงประจักษ์<br />

(Empirical Test) เป็นครั้งแรกส�าหรับสัญญาฟิวเจอร์ใน<br />

ประเทศไทยว่า Samuelson Hypothesis นั้นเป็นจริงหรือไม่ส�าหรับสัญญา<br />

<strong>SET50</strong> <strong>Index</strong> <strong>Futures</strong> และศึกษา<br />

ต่อไปว่า การที่<br />

Samuelson Hypothesis ส�าหรับ <strong>SET50</strong> <strong>Futures</strong> เป็นจริงหรือไม่นั้น<br />

เป็นไปตามเงื่อนไข<br />

ทางทฤษฎีหรือไม่ ทั้งนี้<br />

ทฤษฎีของ Bessembinder et al. (1996) พิสูจน์ว่าความสัมพันธ์เชิงผกผันระหว่าง<br />

การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าพื้นฐานกับการเปลี่ยนแปลงของต้นทุนการถือครองสินค้าพื้นฐาน<br />

(negative<br />

covariance between spot price changes and changes in cost of carry) เป็นเงื่อนไขส�าคัญในการ<br />

เกิด Maturity Effect ตาม Samuelson Hypothesis นอกจากนี้<br />

งานวิจัยยังศึกษาถึงความส�าคัญของข้อมูล<br />

ข่าวสารที่มีต่อ<strong>ความผันผวนของราคา</strong>ฟิวเจอร์<br />

ตามทฤษฎีของ Anderson and Danthine (1983)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!