18.08.2013 Views

et al

et al

et al

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

วิทยานิพนธ<br />

เรื่อง<br />

การโคลนและการศึกษาลักษณะของยีนโพลีคีไทดซินเธสชนิดที่<br />

1<br />

จาก Streptomyces rimosus R7 ที่ผลิตสารปฏิชีวนะตานเชื้อรา<br />

Cloning and Characterisation of Type I Polyk<strong>et</strong>ide Synthase Gene<br />

from an Anti-fung<strong>al</strong> Antibiotic Producing Streptomyces rimosus R7<br />

โดย<br />

นายประกิตชัย โชติวุฒิมนตรี<br />

เสนอ<br />

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

เพื่อความสมบูรณแหงปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต<br />

(พันธุศาสตร)<br />

พ.ศ. 2547<br />

ISBN 974-274-515-3


กิตติกรรมประกาศ<br />

ขอขอบคุณ ผศ.ดร.อรินทิพย ธรรมชัยพิเนต ประธานกรรมการที่ปรึกษา<br />

ที่ไดให<br />

คําแนะนําตางๆ อยางเต็มที่ตลอดระยะเวลาที่ผานมา<br />

ทั้งในดานการทําวิจัย<br />

และการจัดทํา<br />

วิทยานิพนธ จนเสร็จสมบูรณ ขอขอบคุณ รศ.ดร.นิตยศรี แสงเดือน กรรมการที่ปรึกษาที่ไดให<br />

ความเขาใจ ความหวงใย ตลอดจนตรวจแกไขวิทยานิพนธใหสมบูรณ ขอขอบคุณ ดร.สมชัย<br />

พรบันลือลาภ กรรมการที่ปรึกษา<br />

ที่ใหคําแนะนําตางๆ<br />

ในการทําวิจัย และขอขอบคุณ<br />

ดร.สุทธิพันธุ<br />

แกวสมพงษ ผูแทนบัณฑิตวิทยาลัย<br />

ที่ไดใหคําแนะนําในการแกไขวิทยานิพนธ<br />

ขอขอบคุณ Prof. Dr. David Hopwood, John Innes Institute, UK ที่ไดใหความ<br />

อนุเคราะห E. coli สายพันธุ<br />

ET12567 (pUZ8002) และ S17-1 รวมทั้งพลาสมิด<br />

pSET151<br />

และ pSET152 ขอขอบคุณ Dr. Mark Buttner, John Innes Institute, UK ที่ไดใหความ<br />

อนุเคราะหพลาสมิด pIJ8600 และ pIJ8671 และขอขอบคุณ Prof. Dr. Takuya Nihira,<br />

ICBiotech, Osaka University, Japan ที่ไดใหความอนุเคราะหพลาสมิด<br />

pKC1132<br />

ขอขอบคุณคณาจารย เจาหนาที่<br />

พี่ๆ<br />

นองๆ ภาควิชาพันธุศาสตร ที่ไดใหคําปรึกษา<br />

กําลังใจ และความชวยเหลือตางๆ อยางมากมาย ขอบคุณ คุณณัฏฐิกา พูลสวัสดิ์<br />

(พี่ยุย)<br />

คุณกนกอร เยาวดํา (พี่อร)<br />

และคุณเทพิน เดชนันทรัตน (พี่เหนง)<br />

ที่ไดชวยสอนเทคนิคตางๆ<br />

ขอบคุณเพื่อนๆ<br />

คุณศิริรัตน เมียนเกิด (โบ) คุณวิรัตน พิพัฒนพงศภิญโญ (ตี๋)<br />

คุณปราการ<br />

กระถินทอง (ปารค) คุณปยะพงษ เอื้อจิระพงษพันธ<br />

(ยะ) คุณเจนจิรา สกุลคู (เจน)<br />

คุณมณธิรา ศรีจักรโคตร (แตน) คุณอภันตรี ธนิตไธสง (นองสม) และคุณนิรินทรยา สุดตาชาติ<br />

(นองเจี๊ยบ)<br />

ที่ทําใหสบายใจ<br />

หายเหนื่อย<br />

สุดทายตองขอขอบพระคุณ คุณพอ คุณแม พี่และนอง<br />

ที่อดทน<br />

มีความเขาใจ สนับสนุน<br />

ใหกําลังใจ และสอบถามความคืบหนางานวิจัยทุกๆ วัน<br />

ประกิตชัย โชติวุฒิมนตรี<br />

สิงหาคม 2547


สารบัญ<br />

หนา<br />

สารบัญ............................................................................................................... (1)<br />

สารบัญตาราง....................................................................................................... (2)<br />

สารบัญภาพ......................................................................................................... (3)<br />

คํานํา.................................................................................................................. 1<br />

วัตถุประสงค............................................................................................. 2<br />

การตรวจเอกสาร.................................................................................................. 3<br />

Streptomyces........................................................................................... 3<br />

กลุมยีนโพลีคีไทดซินเธส.............................................................................<br />

4<br />

สารออกฤทธิ์ตานเชื้อรา..............................................................................<br />

16<br />

การสงถายพลาสมิดเขาสู<br />

Streptomyces......................................................... 19<br />

การศึกษาหนาที่ของยีนโดยวิธียีนดิสรัปชัน.....................................................<br />

22<br />

อุปกรณและวิธีการ................................................................................................ 24<br />

ผลและวิจารณ...................................................................................................... 46<br />

สรุป................................................................................................................... 103<br />

เอกสารและสิ่งอางอิง.............................................................................................<br />

104<br />

(1)


สารบัญตาราง<br />

่<br />

่<br />

ตารางที<br />

หนา<br />

1 ความยาวคลื่นที่ใหคาการดูดแสงสูงสุดของสารปฏิชีวนะ<br />

กลุมโพลีอีน..................................................................................<br />

18<br />

2 จุลินทรียที่ใชในงานวิจัย...................................................................<br />

24<br />

3 พลาสมิดที่ใชในงานวิจัย..................................................................<br />

24<br />

4 ความเขมขนของยาปฏิชีวนะที่ใชในการเลี้ยง<br />

Streptomyces<br />

และ E. coli ................................................................................. 26<br />

5 ประสิทธิภาพการคอนจูเกชันระหวาง E. coli ET12567<br />

(pUZ8002/pIJ8600) และ S. rimosus R7 ที่กระตุน<br />

การงอกของสปอรที 40 องศาเซลเซียส เปนเวลา 10 นาที..................... 51<br />

6 ขอมูล 4 ลําดับแรก ที่ไดจากการเปรียบเทียบลําดับกรดอะมิโนของ<br />

ชิ้นดีเอ็นเอในพลาสมิด<br />

pATT401 กับฐานขอมูลดวยโปรแกรม BlastP.... 67<br />

7 ขอมูล 4 ลําดับแรก ที่ไดจากการเปรียบเทียบลําดับกรดอะมิโนของ<br />

ชิ้นดีเอ็นเอในพลาสมิด<br />

pATT403 ทางดานไพรเมอร M13 Reverse<br />

กับฐานขอมูลดวยโปรแกรม BlastP................................................... 77<br />

8 การหาลําดับเบสของพลาสมิด pATT403 และ subclone....................... 78<br />

9 กลุมยีน<br />

Type I PKS ที่นํามาใชในการทํา<br />

multiple <strong>al</strong>ignment<br />

และ phylogen<strong>et</strong>ic tree.................................................................... 84<br />

(2)


สารบัญภาพ<br />

่<br />

<br />

ภาพที<br />

หนา<br />

1 ชีวสังเคราะหของสารโพลีคีไทดเปรียบเทียบกับ<br />

การสังเคราะหกรดไขมันสายยาว....................................................... 7<br />

2 การจัดเรียงตัวของกลุมยีนโพลีคีไทดซินเธส........................................<br />

10<br />

3 ตัวอยางสารโพลีคีไทด..................................................................... 11<br />

4 กระบวนการสังเคราะหอีรีโธรมัยซินและการจัดเรียงตัวของ<br />

เอนไซม PKS................................................................................ 13<br />

5 โครงสรางโมเลกุลของไรโมซิดิน........................................................ 18<br />

6 แผนที่พลาสมิด<br />

pIJ8600 ที่ใชศึกษาคอนจูเกชัน..................................<br />

40<br />

7 แผนที่พลาสมิด<br />

pSET152 ที่ใชศึกษาคอนจูเกชัน................................<br />

40<br />

8 แผนที่พลาสมิด<br />

pSET151 ที่ใชในการทํายีนดิสรัปชัน...........................<br />

44<br />

9 แผนที่พลาสมิด<br />

pKC1132 ที่ใชในการทํายีนดิสรัปชัน..........................<br />

44<br />

10 กราฟแสดงการอยูรอดของสปอรเมื่อกระตุนการงอกของสปอร<br />

ที่อุณหภูมิตางๆ.............................................................................<br />

47<br />

11 กราฟแสดงการอยูรอดของสปอรเมื่อกระตุนการงอกของสปอร<br />

ที่อุณหภูมิ<br />

40 และ 45 องศาเซลเซียส ในระยะเวลาตาง ๆ.................... 47<br />

12 การตรวจสอบการทรานสฟอรมพลาสมิด pIJ8600 เขาสู<br />

E. coli ET12567 (pUZ8002) ดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส......... 48<br />

13 เอกซคอนจูแกนตที่ไดจากการคอนจูเกชันซึ่งใชจํานวนสปอร<br />

10 8 ่<br />

สปอร<br />

หลังจากบมไวที 30 องศาเซลเซียส เปนเวลา 5 วัน............................... 50<br />

14 การตรวจสอบเอกซคอนจูแกนตของ S. rimosus R7 ที่ไดรับ<br />

พลาสมิด pIJ8600 ดวย dot blot hybridisation<br />

โดยใชยีน tsr เปนโพรบ................................................................... 52<br />

15 การตรวจสอบเอกซคอนจูแกนตของ S. rimosus R7 ที่ไดรับ<br />

พลาสมิด pIJ8600 ดวย Southern blot hybridisation<br />

โดยใชยีน tsr เปนโพรบ................................................................... 54<br />

16 การแทรกตัวของพลาสมิด pIJ8600 เขาไปในโครโมโซม<br />

ของ S. rimosus R7........................................................................ 55<br />

17 การตรวจสอบการสรางไรโมซิดินของ S. rimosus R7<br />

บนอาหารแข็งตางๆ จากการเกิดวงใสของ C. <strong>al</strong>bicans.......................... 56<br />

(3)


สารบัญภาพ (ตอ)<br />

่<br />

่<br />

ภาพที<br />

หนา<br />

18 การตรวจสอบการสรางสารไรโมซิดินโดยการเกิดวงใสของ<br />

เอกซคอนจูแกนตของ S. rimosus R7 (pIJ8600) ตอ<br />

C. <strong>al</strong>bicans ดวยวิธี agar plug assay.................................................. 57<br />

19 การตรวจสอบการแยกนัยสตาตินโดย TLC<br />

ภายใตแสงอัลตราไวโอเลต............................................................... 58<br />

20 การตรวจสอบการแยกสารสกัดจาก S. rimosus R7 และ<br />

เอกซคอนจูแกนตดวย TLC ภายใตแสงอัลตราไวโอเลต<br />

และไบโอออโทกราฟ....................................................................... 60<br />

21 การดูดแสงของนัยสตาตินและไรโมซิดินโดยสเปกโทรเมทรี.................... 62<br />

22 ผลการทําพีซีอารดวยไพรเมอร ATT10 และ ATT11 จาก<br />

S. rimosus R7 และการตรวจสอบการโคลนชิ้นดีเอ็นเอ<br />

ดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส...................................................... 64<br />

23 ทิศทางการหาลําดับเบสของพลาสมิด pATT401<br />

และทิศทางของยีน KS.................................................................... 66<br />

24 ลําดับเบสและลําดับกรดอะมิโนของโดเมน KS จาก S. rimosus R7<br />

ในพลาสมิด pATT401................................................................... 66<br />

25 Phylogen<strong>et</strong>ic tree ที bootstrap 1,000 ครั้ง<br />

ของโดเมน KS<br />

จากพลาสมิด pATT401 (401-KS) เปรียบเทียบกับ KS ของ<br />

ทัยโลซิน (TYL), อีรีโธรมัยซิน (ERY), อะเวอรเมกทิน (AVE),<br />

พิมาริซิน (PIM), นัยสตาติน (NYS) และแอมโฟเทอริซิน (AMP)......... 68<br />

26 การทํา Southern blot hybridisation ของโครโมโซมของ<br />

S. rimosus R7 ดวยโพรบ KS จากพลาสมิด pATT401........................ 69<br />

27 การตรวจสอบชิ้นดีเอ็นเอของ<br />

S. rimosus R7 ที่สกัดจากเจล..................<br />

70<br />

28 การตรวจสอบโคลนของยีน Type I PKS โดย<br />

colony dot blot hybridisation และพีซีอาร......................................... 72<br />

29 การตรวจสอบโคลนของยีน Type I PKS ดวย Southern<br />

blot hybridisation.......................................................................... 73<br />

30 การตัดพลาสมิด pATT403 ดวยเอนไซมตัดจําเพาะ 12 ชนิด................ 75<br />

31 การตรวจสอบโคลนของพลาสมิด pATT406 และ pATT407<br />

ดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส...................................................... 75<br />

(4)


สารบัญภาพ (ตอ)<br />

่ ภาพที<br />

หนา<br />

32 การตรวจสอบโคลนของพลาสมิด pATT418 และ pATT419<br />

ดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส...................................................... 76<br />

33 การตรวจสอบโคลนของพลาสมิด pATT420<br />

ดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส...................................................... 76<br />

34 แผนที่ยีนของโคลน<br />

pATT403 ขนาด 3.7 กิโลเบส.............................. 79<br />

35 ลําดับเบสและลําดับกรดอะมิโนของโคลน pATT403............................ 80<br />

36 Multiple <strong>al</strong>ignment ของโดเมน ACP ในบริเวณ active site................... 85<br />

37 Multiple <strong>al</strong>ignment ของโดเมน KS ในบริเวณ active site..................... 85<br />

38 Phylogen<strong>et</strong>ic tree ที่คา<br />

bootstrap 1,000 ครั้ง<br />

ของโดเมน KS<br />

ของ S. rimosus R7 ที่ใชเปนโพรบ<br />

(401-KS) และที่โคลนได<br />

(403-KS) เปรียบเทียบกับ KS ของสารมาโครไลดและโพลีอีน............. 87<br />

39 การจัดเรียงตัวของกลุมยีน<br />

Type I PKS ของสารกลุมโพลีอีน.................<br />

88<br />

40 โครงสรางของนัยสตาติน................................................................. 88<br />

41 Phylogen<strong>et</strong>ic tree ที่คา<br />

bootstrap 1,000 ครั้ง<br />

ของโดเมน AT<br />

ของ S. rimosus R7 (403-AT) เปรียบเทียบกับ AT<br />

ของสารโพลีคีไทด.......................................................................... 90<br />

42 Multiple <strong>al</strong>ignment ของโดเมน AT ที่จําเพาะตอมาโลนิล-โคเอ<br />

ในบริเวณ active site ..................................................................... 90<br />

43 การตรวจสอบพลาสมิด pATT402 ดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส...... 92<br />

44 แผนที่ของพลาสมิดสายผสมซึ่งใชในการทํายีนดิสรัปชัน<br />

ที่มาจาก<br />

pSET151........................................................................ 92<br />

45 การตรวจสอบพลาสมิด pATT405 ดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส...... 94<br />

46 การตรวจสอบพลาสมิด pATT408 ดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส...... 94<br />

47 พลาสมิด pIJ8671 ที่นํายีนตานยาปฏิชีวนะไธโอสเตรปทอนมาใช...........<br />

95<br />

48 การตรวจสอบพลาสมิด pATT412 ดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส...... 96<br />

49 การตรวจสอบพลาสมิด pATT413 ดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส...... 96<br />

50 การตรวจสอบพลาสมิด pATT410 ดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส...... 98<br />

51 การตรวจสอบพลาสมิด pATT414 และ pATT416<br />

ดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส...................................................... 98<br />

(5)


สารบัญภาพ (ตอ)<br />

่ ภาพที<br />

หนา<br />

52 แผนที่ของพลาสมิดสายผสมซึ่งใชในการทํายีนดิสรัปชัน<br />

ที่มาจาก<br />

pKC1132....................................................................... 99<br />

53 การตรวจสอบพลาสมิด pATT411 ดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส...... 100<br />

54 การตรวจสอบพลาสมิด pATT415 และ pATT417<br />

ดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส..................................................... 100<br />

55 การตรวจสอบเอกซคอนจูแกนตของ S. rimosus R7 ที่ไดรับ<br />

การสงถายพลาสมิด pATT414 และ pATT415 ดวย<br />

dot blot hybridisation.................................................................... 102<br />

(6)


การโคลนและการศึกษาลักษณะของยีนโพลีคีไทดซินเธสชนิดที่<br />

1<br />

จาก Streptomyces rimosus R7 ที่ผลิตสารปฏิชีวนะตานเชื้อรา<br />

Cloning and Characterisation of Type I Polyk<strong>et</strong>ide Synthase Gene<br />

from an Anti-fung<strong>al</strong> Antibiotic Producing Streptomyces rimosus R7<br />

คํานํา<br />

แบคทีเรีย Streptomyces เปนแหลงของยาปฏิชีวนะกวา 2 ใน 3 ของที่ผลิตไดจาก<br />

แบคทีเรียทั้งหมด<br />

การศึกษากระบวนการสังเคราะหยาปฏิชีวนะในระดับยีน พบวามีกลุมยีนที่ทํา<br />

หนาที่ในการผลิตสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ<br />

(bioactive compound) อยูหลายชนิด<br />

กลุมยีนชนิด<br />

หนึ่ง<br />

เรียกวา กลุมยีนโพลีคีไทดซินเธสชนิดที่<br />

1 (Type I polyk<strong>et</strong>ide synthase gene cluster) ทํา<br />

หนาที่ในการสังเคราะหสารโพลีคีไทด<br />

(polyk<strong>et</strong>ide) ที่มีโครงสรางเปนวงแลคโตน<br />

(lactone ring)<br />

สารในกลุมนี้มีทั้งที่ออกฤทธิ<br />

์เปน สารตานแบคทีเรีย (anti-bacteri<strong>al</strong> agent) สารตานเชื้อรา<br />

(anti-fung<strong>al</strong> agent) สารตานมะเร็ง (anti-tumour agent) และสารกดภูมิคุมกัน<br />

(immunosuppressant agent) สารที่สําคัญ<br />

เชน อีรีโธรมัยซิน (erythromycin) แอมโฟเทอริซิน<br />

บี (amphotericin B) อีโพไธโลน (epothilone) และราพามัยซิน (rapamycin) เปนตน<br />

ความสําคัญของกลุมยีนโพลีคีไทดซินเธสชนิดที่<br />

1 ในการสังเคราะหสารออกฤทธิ์ทาง<br />

ชีวภาพชนิดใหมนั้น<br />

เนื่องมาจากระบบการทํางานของกลุมยีนที่มีการทํางานเปนลําดับขั้น<br />

ทําให<br />

นักวิจัยสามารถดัดแปลงยีนโดยอาศัยขอมูลของยีนที่มีอยู<br />

เพื่อใหเกิดการสังเคราะหสารที่มี<br />

โมเลกุลเปลี่ยนแปลงไปตามที่คาดหมายไวได<br />

ในการศึกษานี้จะไดศึกษายีนโพลีคีไทดซินเธสชนิด<br />

ที่<br />

1 ใน Streptomyces rimosus R7 ที่มีการสังเคราะหสารตานเชื้อราไรโมซิดิน<br />

(rimocidin) ซึ่ง<br />

ผลของการศึกษาจะเพิ่มพูนขอมูลความรูเกี่ยวกับยีนชนิดนี้<br />

ซึ่งอาจจะนําไปใชในการดัดแปลง<br />

โมเลกุลของสารประเภทนี้ตอไป<br />

ทําใหไดสารที่ออกฤทธิ์ไดดีและจําเพาะมากขึ้นในอนาคต<br />

1


วัตถุประสงค<br />

1. ตรวจหาและโคลนยีนโพลีคีไทดซินเธสชนิดที่<br />

1 ใน S. rimosus R7 ที่มีการ<br />

สังเคราะหสารตานเชื้อราไรโมซิดิน<br />

2. ศึกษาการสงถายพลาสมิดจาก Escherichia coli เขาสู<br />

S. rimosus R7 โดยวิธี<br />

คอนจูเกชันตางสกุล (intergeneric conjugation)<br />

3. ศึกษาหนาที่ของยีนโพลีคีไทดซินเธสชนิดที่<br />

1 ของ S. rimosus R7 ที่โคลนได<br />

โดยวิธี<br />

ยีนดิสรัปชัน (gene disruption)<br />

2


ลักษณะทั่วไป<br />

การตรวจเอกสาร<br />

Streptomyces<br />

แบคทีเรียสกุล (Genus) Streptomyces จัดอยูในวงศ<br />

(Family) Streptomyc<strong>et</strong>aceae ใน<br />

อันดับ (Order) Actinomyc<strong>et</strong><strong>al</strong>es (Goodfellow, 1989) เปนแบคทีเรียแกรมบวก มีการเจริญ<br />

เปนเสนใย (mycelium) ประกอบไปดวยเสนใยอาหารที่มีการแตกกิ่ง<br />

(branched substrate<br />

mycelium) และเมื่อเจริญเต็มที่จะสรางเสนใยอากาศ<br />

(aeri<strong>al</strong> mycelium) ซึ่งมีการสรางสปอร<br />

บางชนิดอาจพบการสรางสปอรในเสนใยอาหารได เชน S. carpinensis (Cross and Al-Diwany,<br />

1981) มีการสรางรงควัตถุหลายชนิดทําใหเกิดสีในเสนใย สวนใหญเจริญไดดีที่อุณหภูมิ<br />

25-<br />

35 องศาเซลเซียส ที่<br />

pH 6.5-8.0 สามารถพบ Streptomyces ไดทั่วไปในดินและวัสดุอินทรียที่<br />

ยอยสลาย (Williams <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1989)<br />

จีโนม (genome) ของ Streptomyces มีขนาดประมาณ 7-9 เมกะเบส และปริมาณ G+C<br />

สูงประมาณ 72 เปอรเซ็นต (Williams <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1989) ปจจุบันทราบวาโครโมโซมของ<br />

Streptomyces ซึ่งเดิมคิดวามีโครงสรางเปนวงกลม<br />

(circular chromosome) นั้น<br />

มีโครงสรางแบบ<br />

เสนตรง (linear chromosome) โดย Streptomyces ที่มีการศึกษาแลวทราบวามีโครโมโซมแบบ<br />

เสนตรง ไดแก S. lividans 66 (Lin <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1993), S. coelicolor A3(2) (Redenbach <strong>et</strong> <strong>al</strong>.,<br />

1996), S. ambofaciens (Fischer <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1997), S. rimosus (Pandza <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1997) และ S.<br />

avermitilis (Omura <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2001) เปนตน คาดวาโครโมโซมแบบเสนตรงนี้มีผลอยางมากตอ<br />

การเกิดความไมเสถียรทางพันธุกรรม (gen<strong>et</strong>ic instability) (Pandza <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1997)<br />

ความสําคัญ<br />

Streptomyces ในธรรมชาติมีความสําคัญในกระบวนการยอยสลายสารอินทรีย มีการนํา<br />

Streptomyces มาใชประโยชนในหลายดาน เชน ทางดานการเกษตร พบวาสามารถใชเปนตัว<br />

ควบคุมทางชีวภาพ (biologic<strong>al</strong> control agent) ตัวอยาง ในกรณีของการให S. griseus ลงในดิน<br />

เพื่อควบคุมโรครากเนา<br />

(black root rot) จากเชื้อ<br />

Phomopis sclerotioides ในแตงกวาซึ่ง<br />

เพาะปลูกในโรงเรือน (Ebben and Spencer, 1978) ใชสําหรับควบคุมโรครากเนาจากเชื้อ<br />

Phytophthora ในอัลฟลฟา (<strong>al</strong>f<strong>al</strong>fa) และถั่วเหลือง<br />

(Xiao <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2002) และใชควบคุม<br />

ประชากรพยาธิตัวกลมที่เปนปรสิตของพืช<br />

(Siddiqui and Mahmood, 1999) เปนตน ดานการ<br />

3


ยอยสลายสาร Streptomyces มีบทบาทสําคัญในการยอยสลายไคทิน (chitin) ซึ่งเปนโพลีแซ็กคา<br />

ไรดที่พบมากเปนอันดับสองในธรรมชาติ<br />

จึงถูกนําไปใชในการผลิตเอนไซมไคทิเนส (chitinase)<br />

(Miyashita <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1991) และยังมีการนําไปใชยอยสลายยางธรรมชาติและยางสังเคราะหหลาย<br />

ชนิด (Lacey, 1988) ใชในการยอยสลายของเสียประเภทลิกโนเซลลูโลส (lignocellulose) ซึ่งมี<br />

องคประกอบเปนเซลลูโลส (cellulose), เฮมิเซลลูโลส (hemicellulose) และลิกนิน (lignin) ได<br />

เปนสารที่สามารถนําไปใชประโยชนไดตอไป<br />

(Crawford, 1988) นอกจากนั้นยังมีการนํา<br />

Streptomyces ไปใชในการผลิตเอนไซมหลายชนิด เชน คอเลสเตอรอล ออกซิเดส (cholesterol<br />

oxidase) สําหรับการตรวจสอบปริมาณคอเลสเตอรอลในเลือด อะเซทิลทรานสเฟอเรส<br />

(ac<strong>et</strong>yltransferase) ในการเติมหมูอะเซทิล<br />

(ac<strong>et</strong>yl) ใหกับสารปฏิชีวนะหลายชนิด และใชผลิต<br />

เอนไซมตัดจําเพาะกวา 10 ชนิด (Peczynska-Czoch and Mordarski, 1988; Pir<strong>et</strong> and<br />

Demain, 1988)<br />

Streptomyces มีความสําคัญอยางมาก ในการผลิตสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ<br />

เชน ยา<br />

ปฏิชีวนะ ยาตานมะเร็ง สารกดภูมิคุมกัน<br />

ยาฆาแมลง ยาฆาวัชพืช โดยเฉพาะสารปฏิชีวนะนั้น<br />

มีจํานวนมากถึง 2 ใน 3 ของสารปฏิชีวนะทั้งหมดที่ผลิตไดจากจุลินทรีย<br />

(Lechev<strong>al</strong>ier, 1988;<br />

B<strong>al</strong>tz, 1998)<br />

สารโพลีคีไทด (polyk<strong>et</strong>ide) เปนสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพกลุมหนึ่งที่<br />

Streptomyces<br />

สามารถผลิตได และยีนที่เกี่ยวของกับการสังเคราะหไดมีการศึกษาเปนจํานวนมาก<br />

สารในกลุมนี้<br />

มีความหลากหลายอยางมากของ ขนาดโมเลกุล โครงสรางและหนาที่<br />

สารที่สําคัญ<br />

อาทิ แอม<br />

โฟเทอริซิน บี (amphotericin B) และนัยสตาติน (nystatin) ซึ่งเปนสารตานเชื้อรา<br />

(Brautas<strong>et</strong> <strong>et</strong><br />

<strong>al</strong>., 2000) อีรีโธรมัยซิน (erythromycin) ซึ่งเปนสารตานแบคทีเรีย<br />

(Donadio <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1991)<br />

และราพามัยซิน (rapamycin) ซึ่งเปนสารกดภูมิคุมกัน<br />

(Schwecke <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1995) โดยจะได<br />

กลาวถึงอยางละเอียดในสวนตอไป<br />

กลุมยีนโพลีคีไทดซินเธส<br />

กลุมยีนโพลีคีไทดซินเธส<br />

(polyk<strong>et</strong>ide synthase gene cluster) พบไดในจุลินทรีย เชื้อรา<br />

และพืช มีหนาที่ในการสังเคราะหสาร<br />

โพลีคีไทดซึ่งเปนสารทุติยภูมิ<br />

(secondary m<strong>et</strong>abolite) ที่<br />

เกิดจากการเชื่อมตอสายคารบอนจากสารในกลุมเอซิล-โคเอนไซมเอ<br />

(acyl-coenzyme A) ทีละ<br />

2 อะตอม เขาไปในคารบอนสายหลักจนเปนสายยาว โดยคารบอนที่เขามาตอเติมในตําแหนงเบ<br />

ตา-คารบอน (β-carbon) นั้นจะประกอบดวยหมูคีโต<br />

(k<strong>et</strong>o) เสมอ แตอาจจะเกิดกระบวนการ<br />

รีดักชัน (reduction) ที่หมูคีโตไดหลายขั้น<br />

หลังจากมีการเชื่อมตอสายคารบอนเขาดวยกันแลว<br />

4


ทําใหหมูคีโตเปลี่ยนเปนหมูไฮดรอกซิล<br />

(hydroxyl) หรือหมูอื่นตอไป<br />

อยางไรก็ดีก็ยังคงมีหมูคี<br />

โตหลงเหลืออยูบางสวนในสายคารบอนหลัก<br />

จึงเปนที่มาของชื่อสารกลุมนี้<br />

(Hopwood and<br />

Sherman, 1990; Hutchinson and Fujii, 1995)<br />

กระบวนการสังเคราะหโพลีคีไทด<br />

Birch (1967) ไดนําเสนอ กระบวนการชีวสังเคราะหของสารโพลีคีไทด ซึ่งมีความ<br />

คลายคลึงกับการสังเคราะหกรดไขมันสายยาว (long-chain fatty acid)<br />

การสังเคราะหกรดไขมันสายยาว (ภาพที่<br />

1) ควบคุมโดยเอนไซมแฟตทีแอซิดซินเธส<br />

(fatty acid synthase; FAS) โดยในโปรคาริโอต จะประกอบไปดวยกลุมเอนไซมที่มีหนาที่ชนิด<br />

เดียว (monofunction<strong>al</strong> enzyme) หลายเอนไซมอยูรวมกัน<br />

และในยูคาริโอตจะเปนเอนไซมเดี่ยว<br />

ขนาดใหญซึ่งมีหลายหนาที่<br />

(multifunction<strong>al</strong> enzyme) โดยทั่วไปการสังเคราะหจะเริ่มจากโดเมน<br />

(domain) ที่ทําหนาที่เปนเอซิลทรานสเฟอเรส<br />

(acyltransferase; AT) นําหนวยเริ่มตน<br />

(starter<br />

unit) ในที่นี้<br />

คือ อะเซทิล-โคเอ (ac<strong>et</strong>yl-CoA) ไปยังบริเวณฟอสโฟแพนทีธีอิน<br />

(phosphopant<strong>et</strong>heine) ของโดเมนเอซิลแคริเออรโปรตีน (acyl carrier protein; ACP) เกิด<br />

พันธะโธโอเอสเทอร (thioester) และเคลื่อนยายไปเกิดพันธะโธโอเอสเทอรใหม<br />

ที่โดเมนเบตา-<br />

คีโตเอซิลซินเธส (β-k<strong>et</strong>oacylsynthase; KS) จากนั้นโดเมน<br />

AT จะนําหนวยตอเติม (extender<br />

unit) คือ มาโลนิล-โคเอ (m<strong>al</strong>onyl-CoA) ไปที่<br />

ACP ที่วางลง<br />

แลวเกิดกระบวนการดีคารบอก<br />

ซิเลทีฟคอนเดนเซชัน (decarboxylative condensation) โดยโดเมน KS เชื่อมหนวยเริ่มตนกับ<br />

หนวยตอเติมบน ACP ไดสายคารบอนที่มีความยาวเพิ่มขึ้น<br />

2 คารบอนจากหนวยตอเติม ตอมา<br />

หมูคีโตที่ตําแหนงเบตาจะเกิดกระบวนการคีโตรีดักชัน<br />

(k<strong>et</strong>oreduction) ดีไฮเดรชัน<br />

(dehydration) และอีโนอิลรีดักชัน (enoyl reduction) ขึ้น<br />

โดยเอนไซมคีโตรีดักเทส<br />

(k<strong>et</strong>oreductase; KR), ดีไฮดราเทส (dehydratase; DH) และอีโนอิลรีดักเทส (enoylreductase;<br />

ER) เปลี่ยนหมูคีโตนั้นใหเปนหมูไฮดรอกซิล<br />

(hydroxyl), หมูอีโนอิล<br />

(enoyl) และหมูอัลคิล<br />

(<strong>al</strong>kyl) ตามลําดับ แลวจึงกลับเขาสูการเชื่อมหนวยตอเติม<br />

ตามขั้นตอนดังกลาวซ้ํากันอีกหลาย<br />

รอบ จนไดสายคารบอนที่มีขนาดยาวตามตองการ<br />

จึงปลดปลอยสายคารบอนออกมาไดเปนกรด<br />

ไขมันอิ่มตัว<br />

(saturated fatty acid) โดยการทํางานของเอนไซมไธโอเอสเธอเรส (thioesterase;<br />

TE) (Hopwood and Sherman, 1990; Horton <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2002)<br />

5


สําหรับการสังเคราะหโพลีคีไทดนั้น<br />

ควบคุมโดยเอนไซมโพลีคีไทดซินเธส (polyk<strong>et</strong>ide<br />

synthase; PKS) การสังเคราะหโดยทั่วไปมีขั้นตอนเชนเดียวกับการสังเคราะหกรดไขมันสายยาว<br />

และปลอยสายคารบอนออกมาโดย TE แตมีความแตกตางสําคัญหลายประการ คือ การที่<br />

เอนไซม PKS สามารถจะเลือกใชหนวยเริ่มตนและหนวยตอเติมไดหลากหลายชนิด<br />

มากกวา<br />

เอนไซม FAS โดยอาจเปน อะเซทิล-โคเอ (ac<strong>et</strong>yl-CoA), มาโลนิล-โคเอ (m<strong>al</strong>onyl-CoA),<br />

เมธิลมาโลนิล-โคเอ (m<strong>et</strong>hylm<strong>al</strong>onyl-CoA), โพรพิโอนิล-โคเอ (propionyl-CoA) หรือ บิวทิ<br />

ริล-โคเอ (butyryl-CoA) เปนตน นอกจากนั้นยังมีการเลือกขั้นตอนของการเปลี่ยนแปลงหมูคี<br />

โต ซึ่งอาจไมเกิดกระบวนการนี้ทําใหไมมีการเปลี่ยนแปลงของหมูคีโต<br />

หรือเกิดเฉพาะคีโต<br />

รีดักชันทําใหไดเปนหมูไฮดรอกซิล<br />

หรือเกิดคีโตรีดักชันและดีไฮเดรชันทําใหไดเปนหมูอีโนอิล<br />

หรือเกิดคีโตรีดักชัน ดีไฮเดรชัน และอีโนอิลรีดักชันทําใหไดเปนหมูอัลคิล<br />

ซึ่งการเกิด<br />

กระบวนการรีดักชันของหมูคีโตนี้<br />

ในแตละตําแหนงสามารถเกิดการเปลี่ยนแปลงของหมูคีโตไดไม<br />

เหมือนกัน และเมื่อไดความยาวที่เหมาะสมก็จะเกิดการเชื่อมตอกันเปนวงของสายโพลีคีไทด<br />

ดวยกระบวนการไซไคลเซชัน (cyclisation) และ อะโรมาไทเซชัน (aromatisation) ไดเปนวง<br />

แหวนอะโรมาติก (aromatic ring) หรืออาจเกิดกระบวนการแลคโตไนเซชัน (lactonisation) ได<br />

เปนวงแลคโตน (lactone ring) นอกจากนั้นการสังเคราะหโพลีคีไทดยังมีกระบวนการดัดแปลง<br />

ภายหลัง (post-modification) อื่นอีก<br />

เชน กระบวนการไฮดรอกซิเลชัน (hydroxylation) ไกลโค<br />

ซิเลชัน (glycosylation) และเมธิลเลชัน (m<strong>et</strong>hylation) เปนตน เพื่อเพิ่มสมบัติการเปนสารออก<br />

ฤทธิ์ทางชีวภาพใหกับโมเลกุลนั้นๆ<br />

ดวยกระบวนการตางๆ ที่กลาวมาซึ่งแตกตางไปจากการ<br />

สังเคราะหกรดไขมันสายยาวนี้<br />

ทําใหเกิดความหลากหลายของโครงสรางของสารโพลีคีไทดเปน<br />

จํานวนมาก (Hopwood and Sherman, 1990; Carreras <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1997)<br />

6


ภาพที่<br />

1 ชีวสังเคราะหของสารโพลีคีไทดเปรียบเทียบกับการสังเคราะหกรดไขมันสายยาว<br />

FAS=fatty acid synthase และ PKS=polyk<strong>et</strong>ide synthase ประกอบดวย k<strong>et</strong>osynthase<br />

(KS; ◊) และ acyl carrier protein (ACP; •) การสังเคราะหดําเนินไปดังภาพ โดย<br />

AT=ac<strong>et</strong>yl transferase, TR=acyl transfer reaction, MT=m<strong>al</strong>onyl transferase,<br />

KR=k<strong>et</strong>oreductase, DH=dehydratase, ER=enoylreductase, PT=pamityl transferase<br />

และ TE=thioesterase k, h, e และ a แทนความหลากหลายของการเปลี่ยนแปลง<br />

หมูคีโต<br />

ในการสังเคราะหโพลีคีไทด ทําใหไดหมูคีโตเชนเดิม<br />

หมูไฮดรอกซิล<br />

หมู<br />

อีโนอิลและหมูอัลคิลตามลําดับ<br />

ที่มา:<br />

Hopwood and Sherman, 1990<br />

7


ชนิดของยีนและเอนไซมโพลีคีไทดซินเธส<br />

ระบบเอนไซมโพลีคีไทดซินเธส สามารถแบงออกไดเปน 3 ชนิด คือ ชนิดที่<br />

1, 2 และ 3<br />

(Type I, II, III) (Shen and Hutchinson, 1993) ตามลักษณะการจัดเรียงตัวของกลุมยีนและ<br />

การทํางานของเอนไซมที่มีความแตกตางกัน<br />

โดยในที่นี้จะไดอธิบายเฉพาะในสวนของ<br />

ระบบ<br />

PKS ในแบคทีเรียเทานั้น<br />

โพลีคีไทดซินเธสชนิดที่<br />

1 (Type I PKS) เปนเอนไซมที่มีลักษณะเปนโปรตีนขนาดใหญ<br />

มีหลายหนาที่<br />

(multifunction<strong>al</strong> protein) ประกอบดวยหลายโดเมนอยูรวมกัน<br />

(ภาพที่<br />

2ก)<br />

ยีนของแตละโดเมนมีการจัดเรียงซ้ํากันเปนชุด<br />

เรียกแตละชุดวา โมดุล (module) ซึ่งจะประกอบ<br />

ไปดวยยีนสรางเอนไซมหลัก คือ คีโตเอซิลซินเธส (KS), เอซิลทรานสเฟอเรส (AT) และเอซิล<br />

แคริเออรโปรตีน (ACP) ทําหนาที่ในการสังเคราะหโครงสรางหลักอะไกลโคน<br />

(aglycone) ของ<br />

สารโพลีคีไทด และอาจมียีนสรางเอนไซมสําหรับการดัดแปลงหมูคีโต<br />

คือ คีโตรีดักเทส (KR)<br />

หรือ คีโตรีดักเทสและดีไฮดราเทส (KR-DH) หรือ คีโตรีดักเทส, ดีไฮดราเทสและอีโนอิลรีดัก<br />

เทส (KR-DH-ER) เปลี่ยนหมูคีโตเปนไฮดรอกซิล,<br />

อีโนอิล และอัลคิล ตามลําดับ<br />

PKS ชนิดนี้ทําหนาที่สังเคราะหสารโพลีคีไทดที่มีโครงสรางเปนวงแลคโตน<br />

(Hopwood and<br />

Sherman, 1990; Donadio <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1991) เชน อีรีโธรมัยซินที่ผลิตจากเชื้อ<br />

Saccharopolyspora<br />

erythraea (Donadio <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1991), ราพามัยซินจากเชื้อ<br />

S. hygroscopicus (Schwecke <strong>et</strong> <strong>al</strong>.,<br />

1995), นิดดามัยซิน (niddamycin) จากเชื้อ<br />

S. caelestis (Kakavas <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1997) และนัยสตา<br />

ตินจากเชื้อ<br />

S. noursei (Brautas<strong>et</strong> <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000) หรือทําหนาที่ในการสังเคราะหสารโพลีคีไทด<br />

กลุมโพลีอีเธอร<br />

(poly<strong>et</strong>her) เชน นานชางมัยซิน (nanchangmycin) จากเชื้อ<br />

S. nanchangensis<br />

NS3226 (Sun <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2003) และโมเนนซิน (monensin) จากเชื้อ<br />

S. cinnamonensis<br />

(Oliynyk <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2003) ดังภาพที่<br />

3 ก<br />

โพลีคีไทดซินเธสชนิดที่<br />

2 (Type II PKS) แตกตางไปจากชนิดที่<br />

1 คือ เอนไซมแตละ<br />

ชนิดจะแยกทําหนาที่เดี่ยว<br />

(monofunction<strong>al</strong> protein) โดยมียีนอยูอยางนอย<br />

3 ยีน (minim<strong>al</strong><br />

PKS) (Hopwood and Sherman, 1990; McDaniel <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1994) คือ คีโตเอซิลซินเธสแอลฟา<br />

(KSα), คีโตเอซิลซินเธสเบตา [KSβ; chain length factor (CLF)] และ ACP (ภาพที่<br />

2 ข)<br />

ทําหนาที่ในการควบคุมการสังเคราะหสายคารบอนหลักของสารโพลีคีไทด<br />

นอกจากนั้นยังมียีน<br />

ของเอนไซมอื่นอีก<br />

คือ KR ทําใหเกิดการรีดักชันเปลี่ยนหมูคีโตเปนไฮดรอกซิลที่ตําแหนงจําเพาะ<br />

ไซเคลส (cyclase) และอะโรมาเทส (aromatase) ที่ทําใหเกิดการสรางวงแหวนอะโรมาติกที่<br />

ถูกตอง ดังนั้นโพลีคีไทดที่สังเคราะหไดจึงมีโครงสรางเปนวงแหวนอะโรมาติก<br />

(Hopwood and<br />

Sherman, 1990; McDaniel <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1994) เชน แอกทิโนโรดิน (actinorhodin) จากเชื้อ<br />

8


S. coelicolor A3(2) (Fernandez-Moreno <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1992) , เททราซีโนมัยซิน (t<strong>et</strong>racenomycin)<br />

จากเชื้อ<br />

S. glaucescens (Bibb <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1989) และออกซีเททราไซคลิน (oxyt<strong>et</strong>racycline) จาก<br />

เชื้อ<br />

S. rimosus (Butler <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1989) ดังภาพที่<br />

3 ข<br />

โพลีคีไทดซินเธสชนิดที่<br />

3 (Type III PKS) มียีนหลักเพียง 1 ยีน สรางเอนไซมที่<br />

คลายคลึงกับเอนไซมในกลุมชาลโคนซินเธส<br />

(ch<strong>al</strong>cone synthase) ที่พบในพืช<br />

(ภาพที่<br />

2 ค)<br />

การทํางานจะแตกตางไปจาก PKS ชนิดอื่น<br />

เนื่องจากไมอาศัย<br />

ACP แตสามารถทํางานได<br />

โดยตรงจากสารตั้งตนซึ่งเปนโคเอ-ไธโอเอสเทอร<br />

(CoA-thioester) โดยเพิ่งจะมีการคนพบใน<br />

แบคทีเรียเมื่อไมนานมานี้<br />

โดยพบวาเกี่ยวของกับการสังเคราะหสารอะโรมาติกขนาดเล็ก<br />

(Moore<br />

and Hopke, 2001) ตัวอยางเชน 1,3,6,8-เททราไฮดรอกซีแนพธาลีน (1,3,6,8-t<strong>et</strong>rahydroxy<br />

naphth<strong>al</strong>ene; THN) ที่ผลิตจาก<br />

S. griseus (Funa <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1999) และโมโนอะเซทิลโฟลโรกลูซิ<br />

นอล (monoac<strong>et</strong>ylphloroglucinol; MAPG) จากเชื้อ<br />

Pseudomonas fluorescens (Bangera and<br />

Thomashow, 1999) ดังภาพที่<br />

3 ค เปนตน<br />

9


(ก)<br />

(ข)<br />

(ค)<br />

ery<br />

nid<br />

act<br />

tcm<br />

rpp<br />

phl<br />

1 kb<br />

1 kb<br />

ภาพที่<br />

2 การจัดเรียงตัวของกลุมยีนโพลีคีไทดซินเธส<br />

(ก) ยีนโพลีคีไทดซินเธสชนิดที่<br />

1 ของการสังเคราะหอีรีโธรมัยซิน (ery) และ<br />

นิดดามัยซิน (nid)<br />

(ข) ยีนโพลีคีไทดซินเธสชนิดที่<br />

2 ของการสังเคราะหแอกทิโนโรดิน (act) และ<br />

เททราซีโนมัยซิน (tcm)<br />

(ค) ยีนโพลีคีไทดซินเธสชนิดที่<br />

3 ของการสังเคราะห 1,3,6,8-เททราไฮดรอกซี<br />

แนพธาลีน (rpp) และโมโนอะเซทิลโฟลโรกลูซินอล (phl)<br />

1 kb<br />

β-k<strong>et</strong>oacyl synthase α Dehydratase Thioesterase<br />

Acyltransferase Enoylreductase β-k<strong>et</strong>oacyl synthase β<br />

Acyl carrier protein K<strong>et</strong>oreductase Cyclase/Aromatase<br />

10


(ก)<br />

(ข)<br />

(ค)<br />

C<br />

H 3<br />

O<br />

HO<br />

N<br />

O<br />

C<br />

H 3<br />

O<br />

OH O<br />

O<br />

O<br />

O<br />

O<br />

OH<br />

O<br />

CH 3<br />

O<br />

O<br />

OH<br />

HO<br />

O<br />

Erythromycin<br />

OMe<br />

OMe<br />

O<br />

H C 3<br />

Rapamycin<br />

H<br />

O<br />

H<br />

OH O COOH<br />

C<br />

H 3<br />

O<br />

N<br />

OH<br />

CH3 OH<br />

CH3 CH 3<br />

OH OH<br />

OMe<br />

C<br />

H 3<br />

OH<br />

CH 3<br />

CH 3<br />

O<br />

CH 3<br />

CH 3 O<br />

HO<br />

HO<br />

C<br />

H 3<br />

O<br />

C<br />

H 3<br />

OH OH<br />

OH<br />

OH NH2 O OH<br />

O<br />

CH3 ภาพที่<br />

3 ตัวอยางสารโพลีคีไทด<br />

(ก) สารโพลีคีไทดชนิดที่<br />

1 : อีรีโธรมัยซิน (erythromycin) ราพามัยซิน (rapamycin)<br />

นัยสตาติน (nystatin) และนานชางมัยซิน (nanchangmycin)<br />

(ข) สารโพลีคีไทดชนิดที่<br />

2 : แอกทิโนโรดิน (actinorhodin) เททราซีโนมัยซิน<br />

(t<strong>et</strong>racenomycin) และออกซีเททราไซคลิน (oxyt<strong>et</strong>racycline)<br />

(ค) สารโพลีคีไทดชนิดที่<br />

3 : 1,3,6,8-เททราไฮดรอกซีแนพธาลีน (1,3,6,8t<strong>et</strong>rahydroxynaphth<strong>al</strong>ene;<br />

THN) และ โมโนอะเซทิลโฟลโรกลูซินอล<br />

(monoac<strong>et</strong>ylphloroglucinol; MAPG)<br />

O<br />

O<br />

CH3 OH<br />

O O OH CH3 OH<br />

OH<br />

OH OH OH<br />

OH O<br />

O CH 3<br />

CO 2 CH 3<br />

Nystatin<br />

HO OH<br />

HO<br />

OH<br />

OH O OH O<br />

OH<br />

Actinorhodin T<strong>et</strong>racenomycin C Oxyt<strong>et</strong>racycline<br />

OH O<br />

THN MAPG<br />

O<br />

OH<br />

O<br />

O<br />

O<br />

Nanchangmycin<br />

HO<br />

O<br />

OH H<br />

OMe<br />

O O CH 3<br />

OH<br />

COOH<br />

O OH<br />

OH<br />

N(CH 3 ) 2<br />

O<br />

OH<br />

NH 2<br />

11


การศึกษาเกี่ยวกับยีน<br />

Type I PKS<br />

กลุมยีน<br />

Type I PKS เริ่มมีการศึกษาครบทั้งระบบครั้งแรกในการสังเคราะหสาร<br />

6deoxyerythronolide<br />

B (6-dEB) ซึ่งเปนโครงสรางอะไกลโคนของอีรีโธรมัยซิน<br />

ที่ผลิตจาก<br />

Saccharopolyspora erythraea โดยใชหนวยเริ่มตนเปนโพรพิโอนิล-โคเอ<br />

1 หนวย เชื่อมกับหนวย<br />

ตอเติม เมธิลมาโลนิล-โคเอ 6 หนวย (Cortes <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1990; Donadio <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1991; Bevitt <strong>et</strong><br />

<strong>al</strong>., 1992) Donadio <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1991) ใชวิธียีนดิสรัปชัน (gene disruption) ในการศึกษา โดยนํา<br />

ชิ้นดีเอ็นเอที่คาดวามีสวนของยีนที่เกี่ยวของกับการสราง<br />

6-dEB เชื่อมตอเขากับพลาสมิดซึ่ง<br />

จําลองตัวไดนอย แลวถายกลับเขาไปในเชื้อเพื่อใหเกิดโฮโมโลกัสรีคอมบิเนชัน<br />

(homologous<br />

recombination) 1 ครั้ง<br />

สวนของพลาสมิดที่แทรกอยูบนโครโมโซมจะทําให<br />

mRNA เดิมของยีน<br />

ที่เกี่ยวกับการสราง<br />

6-dEB ถูกขัดขวางเปนผลใหสังเคราะหโปรตีนที่ถูกตองไมได<br />

สามารถ<br />

ตรวจสอบสายพันธุกลายไดจากการไมผลิตสาร<br />

6-dEB แสดงวาชิ้นดีเอ็นเอนั้นมีความเกี่ยวของ<br />

กับการสังเคราะหอีรีโธรมัยซิน จากการหาลําดับเบส พบเอนไซม PKS ที่เกี่ยวของจัดเรียงตัวเปน<br />

6 โมดุล อยูบนโปรตีน<br />

3 สาย คือ DEBS1 (6-deoxyerythronolide B synthase 1), DEBS2<br />

และ DEBS3 และจากการทําใหเกิดการกลายโดยการขาดหายไปของยีน คีโตรีดักเทสของโมดุล<br />

ที่<br />

5 พบการเปลี่ยนแปลงของหมูคีโตที่ตําแหนงคารบอนซึ่งคาดวาสัมพันธกับการทํางานในรอบที่<br />

5 จากเดิมเปนหมูไฮดรอกซิลกลับคงหมูคีโตไวในสายพันธุกลาย<br />

(Donadio <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1991)<br />

แสดงวาแตละโมดุลมีหนาที่เชื่อมตอสายคารบอนในแตละรอบ<br />

โดย AT จะนําหนวยเริ่มตนหรือ<br />

หนวยตอเติมที่จําเพาะเขามาเชื่อม<br />

และ KR, DH และ ER จะกําหนดขั้นตอนของการดัดแปลง<br />

หมูคีโต<br />

ซึ่งการจัดเรียงตัวของโดเมนตางๆ<br />

ในแตละโมดุล ก็จะสอดคลองกับการสังเคราะห<br />

โครงสรางของ 6-dEB (ภาพที่<br />

4) นอกจากนั้นยังพบ<br />

active site motif ของโดเมนตางๆ โดย<br />

KS มี active site สําหรับการเกิดพันธะไธโอเอสเทอร ซึ่งมี<br />

consensus เปน GPxxxxxTACSS<br />

ขณะที่<br />

AT มี active site สําหรับการทําใหเกิด acyl-enzyme intermediate โดยมี consensus เปน<br />

GHSxG สวน ACP มี active site ของบริเวณเขาจับของฟอสโฟแพนทีธีอิน LGxDSLxxVE และ<br />

KR มี active site สําหรับการจับของ NADPH ดวย consensus GxxGxxAxxA (Donadio <strong>et</strong> <strong>al</strong>.,<br />

1991)<br />

12


ภาพที่<br />

4 กระบวนการสังเคราะหอีรีโธรมัยซินและการจัดเรียงตัวของเอนไซม PKS<br />

DEBS=6-deoxyerythronolide B synthase<br />

ที่มา:<br />

Rodriguez and McDaniel, 2001<br />

13


จากการศึกษาดังกลาว ทําใหความสนใจที่จะศึกษาระบบการทํางานของ<br />

Type I PKS มี<br />

มากขึ้น<br />

เพื่อที่จะทําความเขาใจกระบวนการการทํางานตางๆ<br />

โดยใชระบบของกลุมยีนอีรีโธรมัย<br />

ซินเปนตนแบบ รวมทั้งทําใหมีการศึกษายีนโพลีคีไทดซินเธสในสิ่งมีชีวิตตางๆ<br />

เพิ่มขึ้นอยาง<br />

รวดเร็วในเวลาตอมา ดังที่จะไดกลาวตอไป<br />

ไดมีการศึกษาการทํางานของโดเมนตางๆ ของ DEBS โดยเฉพาะสวนของ active site<br />

ไดแก การทําใหเกิดการกลายที่<br />

active site ของโดเมน AT ที ่จําเพาะตอเมธิลมาโลนิล-โคเอ<br />

เปนผลใหมีการนํามาโลนิล-โคเอ เขามาแทนในการทํางานของโมดุลที่<br />

4 ซึ่งแสดงวา<br />

active site มี<br />

ความจําเพาะตอชนิดของหนวยตอเติมที่จะนําเขามาเชื่อมสายโพลีคีไทด<br />

(Reeves <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2001)<br />

โดเมน KR อยูในกลุมของเอนไซม<br />

short chain dehydrogenase/reductase ทําใหเกิดหมูไฮดรอก<br />

ซิลที่มี<br />

configuration แตกตางกัน คืออาจเปน D- หรือ L-configuration ซึ่งคาดวาเกิดจาก<br />

ทิศทางการทํางานของตําแหนง active site ของคีโตรีดักเทส (Reid <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2003) สําหรับ ER<br />

เมื่อทําใหเกิดการกลายที<br />

่ active site ในโมดุลที่<br />

4 ทําใหสามารถสังเคราะหสารใหมที่มีโครงสราง<br />

คลายกับอีรีโธรมัยซิน (erythromycin an<strong>al</strong>ogue) โดยพบการเปลี่ยนแปลงจากหมูอัลคิลเดิม<br />

ไป<br />

เปนหมูอีโนอิล<br />

(Donadio <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1993) และยังแสดงใหเห็นอีกวาการทํางานของ Type I PKS<br />

นี้<br />

เปนไปตามลําดับของโมดุล และสามารถใชความรูนี้ในการดัดแปลงกลุมยีนเพื่อใหสังเคราะห<br />

สารตัวใหมตามที่คาดหมายไวได<br />

สวนโดเมน TE ที่ทําหนาที่ในการเรงการปลดปลอยสายโพลีคี<br />

ไทดออกจากโมดุลทายนั้น<br />

ไมสามารถทําใหสายโพลีคีไทดเชื่อมกันเปนวงแลคโตนไดโดยตรง<br />

แตตองทํางานรวมกันกับ PKS ดวย (Gokh<strong>al</strong>e <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1999)<br />

การศึกษากระบวนการสังเคราะหอีรีโธรมัยซินของ DEBS นั้น<br />

มีรายงานการศึกษาใน<br />

สวนของโมดุลเริ่มตน<br />

(loading module) โดยพบวาสายพันธุกลายที่ไมมี<br />

AT หรือสายพันธุกลาย<br />

ที่ไมมีทั้ง<br />

AT และ ACP ที่โมดุลเริ่มตน<br />

จะสังเคราะหอีรีโธรมัยซินได ถึงแมจะมีปริมาณที่ลดลง<br />

แสดงวาโมดุลเริ่มตนไมมีความจําเปนในการสังเคราะห<br />

(Perada <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1998) และในสายพันธุ<br />

กลายดังกลาวนาจะสังเคราะหโดยเริ่มจากโมดุลที่<br />

1 โดยตรง และจากการศึกษาของ Lau <strong>et</strong> <strong>al</strong>.<br />

(2000) ก็แสดงวา AT ของโมดุลเริ่มตนนี้<br />

ไมมีความจําเพาะตอหนวยเริ่มตน<br />

คือ สามารถจับกับ<br />

หนวยเริ่มตนไดหลายชนิด<br />

ซึ่งสนับสนุนวาโมดุลเริ่มตนนี้<br />

ไมมีความสําคัญในการสังเคราะหอี<br />

รีโธรมัยซิน<br />

การศึกษาการสงตอสายโพลีคีไทดของ DEBS พบวาในแตละ DEBS การสงตอระหวาง<br />

โมดุลจะตองอาศัยบริเวณระหวางโดเมน ACP และ KS (ACP-KS linker) และในการสงตอ<br />

ระหวาง DEBS จะตองอาศัยความเขากันไดของปลายดานคารบอกซี (C-termin<strong>al</strong>) ของ DEBS<br />

14


กอนหนากับปลายดานอะมิโน (N-termin<strong>al</strong>) ของ DEBS ตอมา จึงจะสามารถเกิดการสงตอสาย<br />

โพลีคีไทดได (Wu <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2002)<br />

นอกจากนั้นยังมีการศึกษาอื่น<br />

ที่เกี่ยวของกับการนํา<br />

DEBS มาประยุกตใช โดย Kao <strong>et</strong><br />

<strong>al</strong>. (1994) สามารถโคลนกลุมยีนทั้งหมดของ<br />

DEBS และนํามาแสดงออกไดใน S. coelicolor<br />

ทําใหเกิดการสังเคราะหสารซึ่งมีโครงสรางคลายกับอีรีโธรมัยซิน<br />

ตางกันที่หนวยเริ่มตนที่เปน<br />

มาโลนิล-โคเอ แทน โพรพิโอนิล-โคเอ เนื่องจากไมมีการสังเคราะหโพรพิโอนิล-โคเอ<br />

ใน S.<br />

coelicolor วิธีการนี้<br />

ชวยใหการศึกษาและการดัดแปลงยีน PKS จากเชื้อตางๆ<br />

เปนไปไดงายขึ้น<br />

เนื่องจาก<br />

S. coelicolor เปนสายพันธุที่งายตอการจัดการทางพันธุวิศวกรรม<br />

โดยตอมามีการ<br />

ดัดแปลงยีน DEBS โดยการแทนที่โดเมนตางๆ<br />

ไดแก AT และ KR ในหลายโมดุล ดวยยีน<br />

ดังกลาวจากกลุมยีนสังเคราะหราพามัยซิน<br />

ใน S. hygroscopicus ทําใหไดสารที่มีโครงสราง<br />

แตกตางกันมากกวา 50 แบบ (McDaniel <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1999) เรียกการสังเคราะหสารเหลานี้วา<br />

combinatori<strong>al</strong> biosynthesis (Khosla and Zawada, 1996) ซึ่งโครงสรางของบางโมเลกุลไม<br />

สามารถสังเคราะหไดดวยวิธีทางเคมี การทดลองนี้ยังแสดงใหเห็นวา<br />

DEBS ทนทานตอการ<br />

ดัดแปลงไดหลายตําแหนงพรอมกัน ถึงแมวาสารที่ผลิตไดจะมีปริมาณนอยลงเมื่อเทียบกับ<br />

wild<br />

type (McDaniel <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1999)<br />

การศึกษายีน Type I PKS นอกเหนือไปจากการสังเคราะหอีรีโธรมัยซิน ไดแก การ<br />

สังเคราะหราพามัยซินใน S. hygroscopicus ซึ่งประกอบดวย<br />

14 โมดุล บนโปรตีน 3 สาย และมี<br />

การทํางานของโดเมน โคเอ-ไลเกส (CoA-ligase) ที่โมดุลเริ่มตนสงผลใหมีการนําหนวยเริ่มตนที่<br />

เปนวงแหวนอะโรมาติกเขามา (Schwecke <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1995) การสังเคราะหอะเวอรเมกทิน<br />

(avermectin) ใน S. avermitilis ซึ่งประกอบไปดวย<br />

12 โมดุล (Ikeda <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1999) การ<br />

สังเคราะห FK520 ใน S. hygroscopicus ซึ่งประกอบไปดวย<br />

10 โมดุล บนโปรตีน 3 สาย (Wu<br />

<strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000) และการสังเคราะหนิดดามัยซินซึ ่งประกอบไปดวย 7 โมดุล บนโปรตีน 5 สาย<br />

จากเชื้อ<br />

S. caelestis (Kakavas <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1997) เปนตน<br />

การศึกษายีน Type I PKS ที่เพิ่มขึ้นนี้จะชวยใหเกิดความเขาใจกระบวนการทํางานของ<br />

เอนไซมชนิดนี้มากขึ้น<br />

รวมทั้งยังสามารถนําไปประยุกตใชเพื่อผลิตสารโพลีคีไทดชนิดใหมไดอีก<br />

ดวย<br />

15


สารออกฤทธิ์ตานเชื้อรา<br />

สารตานเชื้อราเปนสารที่มีการนําไปใชประโยชนในหลายดาน<br />

ทางดานการแพทยมีความ<br />

ตองการสารตานเชื้อรา<br />

เนื่องจากการรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียและโรคมะเร็ง<br />

ความ<br />

ชรา หรือภาวะภูมิคุมกันบกพรอง<br />

ทําใหมีโอกาสเสี่ยงสูงที่จะติดเชื้อรา<br />

Candida หรือ Aspergillus<br />

ซึ่งเปนเชื้อฉวยโอกาส<br />

โดยเมื่อมีการติดเชื้อราภายในระบบรางกายก็มักจะทําใหผูปวยเสียชีวิต<br />

ทางดานการสัตวแพทยก็เชนเดียวกัน (Tanaka, 1992) ทางดานการเกษตร โรคจากเชื้อราทําให<br />

มีการสูญเสียผลผลิตในพืชสําคัญ เชน ขาว ขาวสาลี และขาวโพด (Okuda and Tanaka, 1992)<br />

ดังนั้นสารตานเชื้อราจึงเปนสารหนึ่งที่มีความสําคัญ<br />

การคนหาและพัฒนาสารตานเชื้อราใหมๆ<br />

ที่มีประสิทธิภาพเปนไปอยางคอนขางยาก<br />

เมื่อ<br />

เปรียบเทียบกับสารตานเชื้อแบคทีเรีย<br />

เนื่องจากสาเหตุหลักคือ<br />

เชื้อราเปนยูคาริโอต<br />

ทําใหสาร<br />

ตานเชื้อราสวนใหญมีพิษตอมนุษยจนไมสามารถนํามาใชได<br />

(Tanaka, 1992) สารตานเชื้อราที่<br />

ใชอยูในปจจุบันสามารถจัดแบงได<br />

3 กลุม<br />

คือ กลุมสารโพลีอีน<br />

(polyene) เชน แอมโฟเทอริซิน<br />

บี และนัยสตาติน เปนตน กลุมสารอัลลีลเอมีน<br />

(<strong>al</strong>lylamine) เชน นาฟทิฟน (naftifine) และ<br />

เทอรบินาฟน (terbinafine) เปนตน และกลุมสารเอโซล<br />

(azole) เชน ไมโคนาโซล<br />

(miconazole) และฟลูโคนาโซล (fluconazole) เปนตน นอกจากนั้นยังมีสารอื่นที<br />

่ไมอยูในกลุม<br />

ดังกลาว เชน ฟลูไซโทซีน (flucytosine) ซึ่งเปนสารคลายนิวคลีโอไซด<br />

(nucleoside an<strong>al</strong>ogue)<br />

และซอรดาริน (sordarin) เปนตน (Warnock, 1997; Andriole, 2000)<br />

สารโพลีคีไทดที่ออกฤทธิ์ตานเชื้อรา<br />

สารโพลีคีไทดซึ่งออกฤทธิ์ตานเชื้อราเปนสารที่จัดอยูในกลุมโพลีอีน<br />

สารที่สําคัญไดแก<br />

แอมโฟเทอริซิน บี ซึ่งผลิตจากเชื้อ<br />

S. nodosus (Caffrey <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2001) และนัยสตาติน ซึ่งผลิต<br />

จากเชื้อ<br />

S. noursei (Brautas<strong>et</strong> <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000) โดยสารเหลานี้จะเขาไปจับตัวไดดีกับเออรโกส<br />

เทอรอล (ergosterol) ซึ่งเปนสารสเทอรอล<br />

(sterol) สวนใหญในเยื่อหุมเซลลของรา<br />

แตจะจับกับ<br />

คอเลสเตอรอล (cholesterol) ในเยื่อหุมเซลลของมนุษยไดไมดี<br />

ผลการจับทําใหเกิดการรั่วของ<br />

เยื่อหุมเซลล<br />

ทําใหเซลลตาย โดยพบวาจํานวนพันธะคูในโครงสรางของโพลีอีน<br />

สงผลตอระดับ<br />

ความรุนแรงของการออกฤทธิ์ตานเชื้อรา<br />

(McGinnis and Rin<strong>al</strong>di, 1996; Andriole, 2000)<br />

เชนการใช แอมโฟเทอริซิน บี และนัยสตาติน ซึ่งมีจํานวนพันธะคู<br />

7 ตําแหนง (heptaene) และ<br />

4 ตําแหนง (t<strong>et</strong>raene) ตามลําดับ จะใหผลการรักษาไดเทากันเมื่อใชแอมโฟเทอริซินดวยความ<br />

เขมขนที่ต่ํากวานัยสตาติน<br />

นอกจากนี้ยังมีสารโพลีอีนอื่นอีกที่เปนสารออกฤทธิ์ตานเชื้อรา<br />

เชน<br />

แคนดิซิดิน (candicidin) ที่ผลิตจากเชื้อ<br />

S. griseus (Campelo and Gil, 2002), พิมาริซิน<br />

16


(pimaricin) จาก S. nat<strong>al</strong>ensis (Aparicio <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000), ไทรโคมัยซิน (trichomycin) จาก S.<br />

hachijoensis (Hosoya <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1952) รวมทั้งไรโมซิดินจาก<br />

S. rimosus (Davisson <strong>et</strong> <strong>al</strong>.,<br />

1951)<br />

การตรวจหาสารออกฤทธิ์ตานเชื้อรา<br />

การตรวจหาสารตานเชื้อราเบื้องตน<br />

สามารถทําโดยใชวิธีทางจุลชีววิทยา ทดสอบสาร<br />

ตัวอยางในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรา<br />

เรียกวา วิธีการแพรผานวุน<br />

(agar diffusion<br />

m<strong>et</strong>hod) ทําโดยการเพาะเชื้อราบนจานอาหารแข็ง<br />

ซึ่งนิยมใช<br />

Candida หรือ Saccharomyces<br />

จากนั้นนําสารตัวอยางใสลงบนผิวอาหารใหแพรเขาสูเจล<br />

ซึ่งอาจทําไดหลายวิธี<br />

เชน การวางทอ<br />

ทรงกระบอกบนผิวของจานอาหารแลวเติมสารละลายของสารที่ตองการทดสอบลงไป<br />

การเจาะ<br />

อาหารแข็งออกเปนทรงกระบอกแลวเติมสารละลายลงไป หรือการวางแผนกระดาษกลม (paper<br />

disk) ที่ชุมดวยสารละลายบนอาหารแข็ง<br />

(Brewer and Platt, 1967; Tanaka, 1992)<br />

การตรวจสอบสารตานเชื้อราในกลุมโพลีอีน<br />

สามารถใชวิธีทางเคมี ไดแก thin-layer<br />

chromatography (TLC) และสเปกโทรเมทรี (spectrom<strong>et</strong>ry) โดยการสกัดสารโพลีอีนจากเซลล<br />

หรืออาหารเลี้ยงเชื้อดวยบิวทานอล<br />

(n-butanol) หรือเมธานอล จากนั้นจึงนําไปทํา<br />

TLC หรือวัด<br />

การดูดแสงเปรียบเทียบกับสารมาตรฐาน (Brewer and Platt, 1967; Tanaka, 1992)<br />

การแยกสารในกลุมโพลีอีนโดย<br />

TLC สามารถใชตัวพา (mobile phase) ไดหลายชนิด<br />

เชน คลอโรฟอรม:เมธานอล (85:15), บิวทานอล:กรดอะซีติก:น้ํา<br />

(4:1:5) และบิวทานอล:<br />

เอธานอล:น้ํา<br />

(1:1:1) (Pandey and Rinehart, 1977; Pandey <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1982) เปนตน สามารถ<br />

ตรวจสอบจุดของสารที่แยกไดหลายวิธี<br />

เชน ตรวจสอบภายใตแสงอัลตราไวโอเลต, การรมดวยไอ<br />

ของไอโอดีน (iodine vapor), การพนดวยกรดซัลฟูริก (sulfuric acid spray) และการพนดวยนิน<br />

ไฮดริน (ninhydrin spray) เปนตน หรืออาจนําไปทําไบโอออโทกราฟ (bioautography) โดยการ<br />

การเททับแผนเคลือบดวยอาหารที่มีเชื้อรา<br />

เพื่อตรวจสอบไดอีกดวย<br />

(Lomovskaya <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1997;<br />

Campelo and Gil, 2002)<br />

คาการดูดแสงของสารโพลีอีนมีลักษณะเฉพาะ โดยจะมีความยาวคลื่นที่ใหคาการดูดแสง<br />

สูงสุด (λmax) 3 หรือ 4 ตําแหนง (Tanaka, 1992) ซึ่งสารที่มีจํานวนพันธะคูเทากันจะมีการดูด<br />

แสงที่ความยาวคลื่นใกลเคียงกัน<br />

โดยสามารถสรุปการดูดแสงของโพลีอีนทั่วไปไดดังตารางที่<br />

1<br />

17


ตารางที่<br />

1 ความยาวคลื่นที่ใหคาการดูดแสงสูงสุดของสารปฏิชีวนะกลุมโพลีอีน<br />

กลุมสารโพลีอีน<br />

1<br />

λmax (nm)<br />

2 3<br />

T<strong>et</strong>raenes 291 305 319<br />

Pentaenes 318 333 351<br />

Hexaenes 340 358 379<br />

Heptaenes 362 381 405<br />

ที่มา:<br />

Dinya and Sztaricskai, 1986<br />

ไรโมซิดิน<br />

S. rimosus ถูกคนพบวาสามารถสังเคราะหสารตานเชื้อราไรโมซิดิน<br />

(ภาพที่<br />

5) ตั้งแตป<br />

1951 (Davisson <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1951) โดยเริ่มมีรายงานการศึกษาโครงสรางโมเลกุลในป<br />

1965<br />

(Cope <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1965) และทราบโครงสรางทั้งหมดในราวป<br />

1977 (Pandey and Rinehart,<br />

1977; F<strong>al</strong>kowski <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1978) สวนการศึกษา configuration ของหมูตางๆ<br />

มีการรายงานในป<br />

2002 (Volpon and Lancelin, 2002) โดยไรโมซิดินเปนสารโพลีอีนซึ่งมีจํานวนพันธะคู<br />

4<br />

ตําแหนง เชนเดียวกับนัยสตาติน คาการดูดแสงในสารละลายเมธานอลของไรโมซิดิน มีความ<br />

ยาวคลื่นที่ใหคาการดูดแสงสูงสุด<br />

4 ตําแหนง คือ 279, 291, 304 และ 318 นาโนเมตร (Cope<br />

<strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1965)<br />

O<br />

O OH O<br />

OH<br />

R2<br />

ภาพที่<br />

5 โครงสรางโมเลกุลของไรโมซิดิน<br />

R1= CH2-CH3 ; R2= CH2-CH2-CH3 ที่มา:<br />

Volpon and Lancelin, 2002<br />

R1<br />

OH<br />

O<br />

OH<br />

COOH<br />

O O CH3 OH<br />

HO<br />

NH2 18


การสงถายพลาสมิดเขาสู<br />

Streptomyces<br />

การสงถายพลาสมิดเขาสู<br />

Streptomyces สามารถทําไดหลายวิธี อาทิ ทรานสฟอรเมชัน<br />

(transformation), ทรานสดักชัน (transduction) และคอนจูเกชัน (conjugation) ซึ่งจะพบ<br />

ขอจํากัดอยูหลายประการ<br />

เชน การทําทรานสฟอรเมชันจะมีประสิทธิภาพต่ํา<br />

การทําทรานสดัก<br />

ชันทําไดไมแพรหลายเนื่องจากขาดแคลนฝาจ<br />

(phage) ที่สามารถใชกับเชื้อไดหลายชนิด<br />

(Kieser<br />

<strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000) จึงมีการพัฒนาวิธีการใหมใหสามารถสงถายพลาสมิด เขาสู<br />

Streptomyces ได<br />

อยางมีประสิทธิภาพ ดังที่จะไดกลาวตอไป<br />

Streptomyces หลายชนิดมีระบบการปองกัน โดยการทําลายดีเอ็นเอแปลกปลอม<br />

(restriction-modification system) (Sanchez <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1985; MacNeil, 1988; Rodicio and<br />

Chater, 1988) ดังนั้นการสงถายดีเอ็นเอที่ไมมีการเติมหมูเมธิลโดยผานดีเอ็นเอนั้นเขาสู<br />

E. coli<br />

สายพันธุที่ขาดการเติมหมูเมธิล<br />

เชน สายพันธุ<br />

ET12567 (MacNeil <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1992) เสียกอนแลว<br />

จึงนํามาถายเขาสู<br />

Streptomyces จะทําใหประสิทธิภาพในการสงถายพลาสมิดสูงขึ้น<br />

(MacNeil <strong>et</strong><br />

<strong>al</strong>., 1992; Fl<strong>et</strong>t <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1997)<br />

วิธีการสงถายพลาสมิดเขาสู<br />

Streptomyces ในปจจุบัน<br />

Bibb <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1978) ไดพัฒนาวิธีการทรานสฟอรเมชันของ Streptomyces โดยใชไลโซ<br />

ไซม (lysozyme) ทําใหเสนใยอยูในรูปโพรโทพลาสต<br />

(protoplast) แลวนําดีเอ็นเอเขาสูโพรโท<br />

พลาสตโดยอาศัยการเหนี่ยวนําของโพลีเอธิลีนไกลคอล<br />

(poly<strong>et</strong>hylene glycol; PEG) ซึ่งไดมีการ<br />

นําไปดัดแปลงใชกันอยางกวางขวาง วิธีนี้ตองหาสภาวะที่เหมาะสมในการเตรียมโพรโทพลาสต<br />

และการทําใหคืนสภาพ (regeneration) ซึ่งมีความแตกตางกันไปในแตละสายพันธุ<br />

โดยความถี่<br />

ของการเกิดทรานสฟอรแมนต (transformant) อยูระหวาง<br />

10 6 -10 7 ทรานสฟอรแมนตตอ<br />

ไมโครกรัมของดีเอ็นเอ (Matsushima and B<strong>al</strong>tz, 1985; Kieser <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000)<br />

อยางไรก็ตาม Streptomyces บางสายพันธุไมสามารถใชวิธีดังกลาวไดอยางมี<br />

ประสิทธิภาพเนื่องจากความเปราะบางของโพรโทพลาสต<br />

หรือบางสายพันธุก็ไมสามารถเตรียม<br />

โพรโทพลาสตได Pigac and Schrempf (1995) จึงไดพัฒนาวิธีการทรานสฟอรเมชันเขาสูเสน<br />

ใยโดยอาศัยอิเล็กโทรโพเรชัน (electroporation) ซึ่งใหความถี่ของการเกิดทรานสฟอรแมนตสูง<br />

กวาวิธีการทรานสฟอรเมชันของโพรโทพลาสต 10 2 -10 3 เทา โดยแสดงใหเห็นวาสามารถนําดี<br />

เอ็นเอเขาสู<br />

S. venezuelae 13S และสายพันธุกลาย<br />

554W, 601 และ 615 ของ S. rimosus R6<br />

ได ซึ่งทั้ง<br />

4 สายพันธุ<br />

ใชวิธีการทรานสฟอรเมชันของโพรโทพลาสตโดยอาศัยโพลีเอธิลีนไกล<br />

19


คอลไมไดผล อยางไรก็ดีวิธีการนี้ก็ยังจําเปนจะตองศึกษาหาสภาวะที่เหมาะสมซึ่งแตกตางกันไป<br />

ในแตละสายพันธุ<br />

ตอมา Mazodier <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1989) ไดนําเสนอวิธีการสงถายพลาสมิดโดยการทําคอนจูเก<br />

ชันตางสกุล (intergeneric conjugation) ระหวาง E. coli และ Streptomyces ซึ่งนิยมใชกันมากใน<br />

การศึกษาหนาที่ของยีนดวยวิธียีนดิสรัปชันและการแทนที่ยีน<br />

(gene replacement) และวิธีคอมพลี<br />

เมนเทชัน (complementation) (Kieser <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000)<br />

คอนจูเกชันตางสกุลระหวาง E. coli และ Streptomyces<br />

คอนจูเกชันของแบคทีเรียพบไดทั่วไปในธรรมชาติ<br />

ทั้งที่เปนแกรมลบและแกรมบวก<br />

ทํา<br />

ใหเกิดการสงถายพลาสมิดจากเซลลของผูให<br />

(donor) ไปยังผูรับ<br />

(recipient) คอนจูเกชันใน E.<br />

coli อาศัยการทํางานของ 2 สวนที่สําคัญบนพลาสมิด<br />

คือ กลุมยีน<br />

tra ซึ่งมีหนาที่ในการสราง<br />

โปรตีนที่เกี่ยวของในการสงถายพลาสมิด<br />

และ oriT (origin of transfer) ซึ่งมีหนาที่เปนจุดเริ่มตน<br />

และเปนปลายที่จะกลับมาเชื่อมกันของพลาสมิดในการสงถาย<br />

เรียกพลาสมิดที่มีสมบัติเชนนี้วา<br />

self-transmissible plasmid ซึ่งสามารถเกิดการสงถายพลาสมิดไดดวยตัวเอง<br />

ถาขาดยีน tra จะ<br />

เรียกเปน mobilisable plasmid ซึ่งไมสามารถสงถายพลาสมิดไดดวยตัวเอง<br />

ตองอาศัยยีน tra ที่<br />

อยูในสวนอื่น<br />

เชน บนโครโมโซม, บน self-transmissible plasmid หรือบน non-transmissible<br />

plasmid และการเกิดคอนจูเกชันใน E. coli จะมีการสรางเซ็กซพิลัส (sex pilus) เพื่อใชในการ<br />

สงถาย ซึ่งไมมีรายงานในแบคทีเรียแกรมบวก<br />

(Snyder and Champness, 1997)<br />

การทําคอนจูเกชันตางสกุลระหวาง E. coli และ Streptomyces เดิมอาศัยชัทเทิลพลาสมิด<br />

(shuttle plasmid) ที่มีจุดเริ่มตนของการจําลองดีเอ็นเอ<br />

(origin of replication) ของทั้ง<br />

E. coli<br />

และ Streptomyces จากพลาสมิด pBR322 และ pIJ101 ตามลําดับ ซึ่งการสงถายพลาสมิดจะ<br />

เกิดขึ้นโดยอาศัย<br />

oriT [จากพลาสมิด RK2 (IncP)] บนชัทเทิลพลาสมิด และการทํางานของยีน<br />

tra จากพลาสมิด RP4 ที่อยูใน<br />

E. coli (Mazodier <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1989)<br />

E. coli ที่ใชในการทําคอนจูเกชันตางสกุล<br />

ประกอบไปดวยสายพันธุ<br />

S17-1 ที่มียีน<br />

tra<br />

จากพลาสมิด RP4 อยูบนโครโมโซม<br />

(Mazodier <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1989), สายพันธุ<br />

ET12567 ที่มีพลาส<br />

มิด pUB307 ซึ่งเปน<br />

self-transmissible plasmid (Fl<strong>et</strong>t <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1997) และสายพันธุ<br />

ET12567<br />

ที่มีพลาสมิด<br />

pUZ8002 ซึ่งเปน<br />

non-transmissible plasmid (Sia <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1996) โดยสายพันธุ<br />

S17-1 เปนสายพันธุที่มีการเติมหมูเมธิลในดีเอ็นเอตามปกติ<br />

สวนสายพันธุ<br />

ET12567 จะขาด<br />

การเติมหมูเมธิลเนื่องจากมีจีโนไทปเปน<br />

dam - และ dcm - ซึ่งทําให<br />

ET12567 มีประสิทธิภาพใน<br />

20


การสงถายดีเอ็นเอเขาสู<br />

Streptomyces ที่มีระบบการปองกัน<br />

โดยการทําลายดีเอ็นเอแปลกปลอม<br />

ที่มีการเติมหมูเมธิลไดดีกวา<br />

(Fl<strong>et</strong>t <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1997) พลาสมิดที่ใชสําหรับการคอนจูเกชันใน<br />

ปจจุบันลวนเปนพลาสมิดที่ไมสามารถจําลองตัวเองไดใน<br />

Streptomyces (non-replicative<br />

plasmid) ซึ่งจะสามารถเขาไปรวมตัวกับโครโมโซมไดก็ตอเมื่อเกิด<br />

site-specific recombination<br />

ของตําแหนง attachment site (attP) ของฝาจ φC31 ที่อยูบนพลาสมิดนั้นกับตําแหนง<br />

attB บน<br />

โครโมโซม (Bierman <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1992; Thorpe <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000) หรือโดยการเกิดโฮโมโลกัสรีคอม<br />

บิเนชันของชิ้นดีเอ็นเอจาก<br />

Streptomyces ที่โคลนเขาไปในพลาสมิด<br />

(Bierman <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1992)<br />

วิธีการทําคอนจูเกชันตางสกุลระหวาง E. coli และ Streptomyces ทําไดงายโดยการ<br />

เตรียมเซลล E. coli ผูให<br />

และการเตรียมสปอรของ Streptomyces ผูรับ<br />

แลวนํามาผสมกันใน<br />

อัตราสวนที่เหมาะสม<br />

จากนั้นนําไปเกลี่ยบนจานอาหารเลี้ยงเชื้อ<br />

และคัดเลือกผูรับที่มีพลาสมิด<br />

หรือเอกซคอนจูแกนต (exconjugant) โดยใชยาปฏิชีวนะ (Kieser <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000) ซึ่งเชื้อแตละ<br />

ชนิดมีสภาวะที่เหมาะสมที่สุดแตกตางกัน<br />

ทําใหตองศึกษาปรับปรุงวิธีการใหเหมาะสมกับเชื้อแต<br />

ละชนิด (Kitani <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000)<br />

อัตราสวนของสปอรของ Streptomyces ผูรับตอเซลล<br />

E. coli ผูให<br />

เปนปจจัยหนึ่งที่<br />

สงผลตอประสิทธิภาพของการคอนจูเกชัน ตัวอยางเชน การทําคอนจูเกชันตางสกุลระหวาง S.<br />

lavendulae FRI-5 และ E. coli ET12567 (pUZ8002) บนอาหารแข็ง ISP2 ที่มี<br />

MgCl2 เขมขน 10 มิลลิโมลาร ประสิทธิภาพที่ไดจะสูงขึ้นเมื่อคาอัตราสวนของผูรับตอผูใหมีคาต่ําลง<br />

(ประสิทธิภาพอยูระหวาง<br />

1.6x10 -5 - 3.9x10 -8 exconjugant/reciepient) (Kitani <strong>et</strong> <strong>al</strong>.,<br />

2000) อยางไรก็ตามอัตราสวนของผูรับตอผูใหยังขึ้นกับชนิดของอาหาร<br />

ตัวอยางในการทดลอง<br />

เดียวกันเมื่อใชอาหารแข็ง<br />

MS ที่มี<br />

MgCl2 เขมขน 10 มิลลิโมลาร ประสิทธิภาพที่ไดจะใกลเคียง<br />

กันในทุกอัตราสวนของผูรับตอผูให<br />

(ประสิทธิภาพประมาณ 10 -6 exconjugant/reciepient) แต<br />

การคอนจูเกชันระหวาง S. toyocaensis และ E. coli S17-1 พบวาอัตราสวนของผูรับตอผูใหมี<br />

ผลตอประสิทธิภาพของการเกิดคอนจูเกชัน (Matsushima and B<strong>al</strong>tz, 1996)<br />

ชนิดของอาหารแข็งจึงเปนอีกปจจัยหนึ่ง<br />

ซึ่งสงผลตอประสิทธิภาพของการคอนจูเกชันตาง<br />

สกุล ตัวอยางเชน การคอนจูเกชันระหวาง S. lavendulae FRI-5 และ E. coli ET12567<br />

(pUZ8002) บนอาหารแข็ง R5 ที่มี<br />

MgCl2 10 มิลลิโมลาร พบวาไมมีการสงถายพลาสมิด<br />

แตสามารถเกิดการสงถายไดดีเมื่อใชอาหารแข็ง<br />

ISP2 และ MS ที่มี<br />

MgCl2 10 มิลลิโมลาร<br />

(Kitani <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000) ในการคอนจูเกชันระหวาง S. fradiae และ E. coli S17-1 เมื่อศึกษาโดย<br />

ใชอาหารหลายชนิด คือ AS1, TS และ R2 พบวาอาหารแข็ง AS1 ใหผลดีที่สุด<br />

สวน R2 ไมเกิด<br />

การสงถายพลาสมิด (Bierman <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1992) ในการคอนจูเกชันระหวาง S. toyocaensis และ E.<br />

21


coli S17-1 บนอาหารแข็ง R2, AS1 และ Bnt พบวาอาหารแข็ง R2 ใหผลดีที่สุด<br />

(Matsushima<br />

and B<strong>al</strong>tz, 1996) สวนการคอนจูเกชันในอาหารเหลวนั้นไมประสบความสําเร็จ<br />

(Mazodier <strong>et</strong><br />

<strong>al</strong>., 1989)<br />

อุณหภูมิและระยะเวลาที่ใชในการกระตุนการงอกของสปอร<br />

ก็สงผลตอประสิทธิภาพของ<br />

การคอนจูเกชัน ใน S. lividans พบวาการกระตุนสปอรโดยบมที่<br />

50 องศาเซลเซียส เปนเวลา 10<br />

นาที ทําใหประสิทธิภาพของการคอนจูเกชันสูงขึ้น<br />

5-10 เทา (Mazodier <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1989) อยางไร<br />

ก็ดีใน S. lavendulae FRI-5 พบวาสภาวะที่เหมาะสม<br />

คือ บมที่<br />

40 องศาเซลเซียส เปนเวลา 10<br />

นาที แตไมไดชวยใหประสิทธิภาพสูงขึ้น<br />

(Kitani <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000) สวน S. virginiae ซึ่งไมทนตอ<br />

ความรอน เมื่อคอนจูเกชันโดยไมกระตุนการงอกของสปอร<br />

ก็ใหประสิทธิภาพที่ดี<br />

(Voeykova <strong>et</strong><br />

<strong>al</strong>., 1998)<br />

นอกจากนั้นยังมีรายงานวา<br />

อุณหภูมิที่ใชในการบมจานอาหารแข็ง<br />

สงผลตอประสิทธิภาพ<br />

ดวยเชนเดียวกัน ในการคอนจูเกชันระหวาง S. fradiae และ E. coli S17-1 พบวาการบมจาน<br />

อาหารที่<br />

37 องศาเซลเซียส ใหประสิทธิภาพดีกวาเมื่อบมที่<br />

29 องศาเซลเซียส 3 เทา (Bierman<br />

<strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1992)<br />

นอกจากการคอนจูเกชันโดยอาศัยสปอรแลว ยังอาจสามารถใชเสนใยแทนได โดยการ<br />

คอนจูเกชันระหวาง S. fradiae และ E. coli S17-1 เมื่อใชเสนใยที่ทําใหแตกหักมีประสิทธิภาพ<br />

ของการคอนจูเกชันไมแตกตางจากเมื่อใชสปอร<br />

(Bierman <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1992) การคอนจูเกชันระหวาง<br />

S. toyocaensis และ E. coli S17-1 พบวาเมื่อใชเสนใยประสิทธิภาพของการคอนจูเกชันจะต่ํา<br />

กวาการใชสปอร (Matsushima and B<strong>al</strong>tz, 1996) และในการคอนจูเกชันโดยใชเสนใยระหวาง<br />

S. peuc<strong>et</strong>ius ซึ่งสรางสปอรไดไมดีและ<br />

E. coli ET12567 (pUZ8002) พบวามีประสิทธิภาพ<br />

1.5 x 10 -4 exconjugant/reciepient (Paranthaman and Dharm<strong>al</strong>ingam, 2003)<br />

การศึกษาหนาที่ของยีนโดยวิธียีนดิสรัปชัน<br />

ยีนดิสรัปชัน (gene disruption) เปนการทําใหเกิดการกลายวิธีหนึ่ง<br />

ที่ตําแหนงยีนจําเพาะ<br />

บนโครโมโซม จึงนิยมใชศึกษาหนาที่ของยีน<br />

วิธีการนี้ทําโดยการแทรกชิ้นดีเอ็นเอเพื่อยับยั้งการ<br />

ทํางานของยีน (insertion<strong>al</strong> inactivation) ทําโดยการนําสวนของยีนเชื่อมเขากับดีเอ็นเอพาหะซึ่ง<br />

มีสมบัติเปน non-replicative ทําใหเกิดการแทรกเขาไปในโครโมโซม ณ ตําแหนงของยีนนั้นโดย<br />

เกิดโฮโมโลกัสรีคอมบิเนชัน โดยทั่วไปจะเกิดครอสซิงโอเวอร<br />

(crossing over) เพียงครั้งเดียว<br />

ทําใหไดสวนของดีเอ็นเอพาหะแทรกอยูบนโครโมโซม<br />

วิธีนี้สามารถใชทําลาย<br />

transcript ของยีน<br />

22


ซึ่งอยูเปนกลุม<br />

(cluster) ได แตถาตองการศึกษาหนาที่ของยีนใดยีนหนึ่ง<br />

โดยทําใหยีนที่ตองการ<br />

ศึกษากลายพันธุ<br />

ก็ตองอาศัยการเกิดรีคอมบิเนชันแบบ double crossing over เพื่อให<br />

แลกเปลี่ยนยีนกลายที่อยูบนพลาสมิดกับยีนปกติบนโครโมโซม<br />

การศึกษาหนาที่ของกลุมยีน<br />

Type I PKS ใน Streptomyces โดยใชวิธียีนดิสรัปชัน ไดมี<br />

การนําไปใชกันอยางแพรหลาย ตัวอยางเชน ในการตรวจสอบหนาที่ของยีน<br />

Type I PKS ในเชื้อ<br />

S. hygroscopicus ATCC 29253 วาเกี่ยวของกับการสังเคราะหราพามัยซินหรือไม<br />

เนื่องจาก<br />

เชื้อดังกลาวสามารถผลิตโพลีคีไทดชนิดที่<br />

1 ได 2 ชนิด คือราพามัยซินและไนเจอริซิน<br />

(nigericin) เมื่อทํายีนดีสรัปชันและการแทนที่ยีนโดยอาศัยฝาจเปนดีเอ็นเอพาหะ<br />

ทําใหเชื้อไม<br />

สามารถสังเคราะหราพามัยซิน และไมสงผลตอลักษณะสัณฐานของเชื้อ<br />

(Lomovskaya <strong>et</strong> <strong>al</strong>.,<br />

1997) นอกจากนั้นยังใชในการวิเคราะหยีน<br />

Type I PKS ของการสังเคราะหนิดดามัยซิน จาก<br />

เชื้อ<br />

S. caelestis (Kakavas <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1997), พิมาริซิน จากเชื้อ<br />

S. nat<strong>al</strong>ensis (Aparicio <strong>et</strong> <strong>al</strong>.,<br />

1999) และ แอมโฟเทอริซิน จากเชื้อ<br />

S. nodosus (Caffrey <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2001) เปนตน<br />

ขนาดของดีเอ็นเอที่จะนําไปใชเพื่อทํายีนดิสรัปชันก็มีความสําคัญเชนกัน<br />

พบวาชิ้นดีเอ็น<br />

เอขนาดเล็กที่สุดที่จะสามารถเกิดการรีคอมบิเนชันไดใน<br />

S. viridochromogenes มีขนาดประมาณ<br />

200 คูเบส<br />

ซึ่งนําไปใชทําใหเกิดการกลายของยีน<br />

pat เปนผลใหเกิดการยับยั้งการสังเคราะหสาร<br />

ฟอสฟโนธริซิน-ไทรเปปไทด (phosphinothricin-tripeptide)ใน S. griseus DSM40695<br />

(Hillemann <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1991) สําหรับการทํายีนดิสรัปชันของการสังเคราะหมาโครเทโทรไลด<br />

(macrot<strong>et</strong>rolide) ใน S. nat<strong>al</strong>ensis สามารถไดสายพันธุกลายโดยใชชิ้นดีเอ็นเอขนาด<br />

700 คูเบส<br />

ที่ไดจากการเพิ่มปริมาณยีน<br />

nonS ดวยวิธีพีซีอาร (Smith <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000) การทํายีนดิสรัปชันของ<br />

ยีน pimD ที่คาดวาเกี่ยวของกับการดัดแปลงภายหลังของสารพิมาริซิน<br />

โดยใชชิ้นสวนของยีน<br />

ขนาด 667 คูเบส<br />

ทําใหพิสูจนไดวายีนดังกลาวทําหนาที่สรางเอนไซม<br />

cytochrome P450<br />

epoxidase (Mendes <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2001) วิธียีนดิสรัปชันใน S. maritimus ก็ไดใชศึกษาการทํางานของ<br />

ยีน encP ซึ่งเกี่ยวของกับการสังเคราะหหนวยเริ่มตนของสารเอนเทอโรซิน<br />

(enterocin) โดยใช<br />

ชิ้นสวนของยีนขนาด<br />

800 คูเบส<br />

และสงถายพลาสมิดดวยการคอนจูเกชันระหวาง E. coli และ<br />

Streptomyces พบวาสายพันธุ กลายที่ไดไมสามารถสังเคราะหหนวยเริ่มตนได<br />

(Xiang and<br />

Moore; 2002)<br />

23


1. จุลินทรียและพลาสมิดที่ใชในงานวิจัย<br />

อุปกรณและวิธีการ<br />

จุลินทรียและพลาสมิดที่ใชในการวิจัยแสดงสรุปไวในตารางที่<br />

2 และ 3 ตามลําดับ<br />

ตารางที่<br />

2 จุลินทรียที่ใชในงานวิจัย<br />

สายพันธุ<br />

สมบัติ แหลงที่มา/เอกสารอางอิง<br />

Aspergillus niger Wild-type ATCC 6275<br />

Candida <strong>al</strong>bicans Wild-type ATCC 10231<br />

E. coli JM109 endA1 recA1 gyrA96 thi hsdR17 relA1<br />

thi∆(lac-proAB) F’(traD36 proAB+ lacIq lacZ∆M15)<br />

Yanish-Perron <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1985)<br />

E. coli ET12567 dam-13::Tn9 dcm-6 hsdM hsdS Kmr MacNeil <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1992);<br />

(pUZ8002) (tra Cmr ) Sia <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1996)<br />

S. rimosus R7 Rimocidin producer ATCC 10970<br />

ตารางที่<br />

3 พลาสมิดที่ใชในงานวิจัย<br />

พลาสมิด สมบัติ เอกสารอางอิง<br />

Litmus28 Amp r lacZα Evans <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1995)<br />

Litmus38 Amp r lacZα Evans <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1995)<br />

pIJ486 pIJ101 replicon ori pIJ101 T<strong>et</strong> r Thio r Ward <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1986)<br />

pIJ8600 ColE1 replicon oriT attP int Apr r Thio r Sun <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1999)<br />

pIJ8671 ColE1 replicon oriT Apr r Thio r Sun <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1999)<br />

pKC1132 ColE1 replicon oriT Apr r lacZα Bierman <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1992)<br />

pSET151 ColE1 replicon oriT Amp r Thio r lacZα Bierman <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1992)<br />

pSET152 ColE1 replicon oriT attP int Apr r lacZα Bierman <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1992)<br />

pUC18 Amp r lacZα Norrander <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1983)<br />

2. สารเคมีและเอนไซมที่ใชในงานวิจัย<br />

สารเคมีและอาหารเลี้ยงเชื้อจากบริษัท<br />

Ameresco (USA), Amersham Pharmacia<br />

Biotech (UK), APS Finechem (Austr<strong>al</strong>ia), Becton Dickinson (USA), Fluka (Switzerland),<br />

FMC bioproduct (USA), Himedia (India), Hispanlab (Spain), Qiagen (Germany),<br />

24


Macherey-Nagel (Germany), Merck (Germany), Promega (USA), Scharlau (Spain),<br />

Sigma (Germany) และดอยคํา (ประเทศไทย) ดีเอ็นเอมาตรฐาน (1 Kb DNA Ladder) จาก<br />

บริษัท Gibco BRL (USA) และ Fermentas (USA)<br />

เอนไซมตัดจําเพาะจากบริษัท Gibco BRL (USA), Fermentas (USA) และ New<br />

England BioLabs (USA) เอนไซม C<strong>al</strong>f Intestine Alk<strong>al</strong>ine Phosphatase (CIAP) จากบริษัท<br />

Amersham Pharmacia Biotech (UK) เอนไซมไลโซไซมจากบริษัท Ameresco (USA) และ<br />

Fluka (Switzerland) เอนไซม RNase A จากบริษัท Ameresco (USA) เอนไซม T4 DNA<br />

ligase จากบริษัท Gibco BRL (USA) และ Fermentas (USA) เอนไซม Taq DNA polymerase<br />

จากบริษัท Promega (USA) และ Invitrogen (USA)<br />

3. วิธีการพื้นฐานที่ใชสําหรับ<br />

Streptomyces<br />

วิธีการพื้นฐานที่ใชสําหรับ<br />

Streptomyces ใชวิธีการตาม Kieser <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (2000)<br />

3.1 อาหารและสภาวะที่ใชเลี้ยง<br />

การเลี้ยง<br />

Streptomyces บนอาหารแข็ง ทําโดยใชกานไมพันสําลีปลอดเชื้อเขี่ย<br />

สปอรจาก stock culture มาเกลี่ยบนจานอาหารแข็ง<br />

บมไวที่อุณหภูมิ<br />

30 องศาเซลเซียส เปน<br />

เวลาประมาณ 3-5 วัน อาหารแข็งที่ใช<br />

ไดแก อาหาร Mannitol soya flour (MS; 1l: 20 g<br />

mannitol, 20 g soya flour, 20 g agar; Hobbs <strong>et</strong> <strong>al</strong>, 1989)<br />

การเลี้ยง<br />

Streptomyces ในอาหารเหลว จะเลี้ยงในขวดรูปชมพูที่มีขดลวดสปริง<br />

วนรอบกนขวด เขยา 200 รอบตอนาที ที่อุณหภูมิหอง<br />

โดยใสสารละลายสปอรความเขมขน<br />

10 9 -10 10 สปอรตอมิลลิลิตร ลงในอาหารเหลวในอัตราสวน 1:100 อาหารเหลวที่ใช<br />

ไดแก<br />

Tryptone soya broth (TSB; สําเร็จรูป)<br />

เมื่อเลี้ยง<br />

Streptomyces ที่สามารถตานทานยาปฏิชีวนะ<br />

จะเติมยาปฏิชีวนะที่<br />

เหมาะสมในอาหาร ใหมีความเขมขนดังตารางที่<br />

4<br />

25


ตารางที่<br />

4 ความเขมขนของยาปฏิชีวนะที่ใชในการเลี้ยง<br />

Streptomyces และ E. coli<br />

Antibiotic<br />

Fin<strong>al</strong> concentration in media (µg/ml)<br />

stock solution<br />

S. rimosus R7 E. coli<br />

(mg/ml) Agar Broth Overlay (µg/plate) Agar Broth<br />

Ampicillin (100) - - - 100 50<br />

Apramycin (50) 100 50 100 (2000) 100 50<br />

Chloramphenicol (200) - - - 50 25<br />

Kanamycin (50) - - - 50 25<br />

N<strong>al</strong>idixic acid (25) 25 - 25 (500) - -<br />

Thiostrepton (50 in DMSO) 50 5 50 (1000) - -<br />

3.2 การเก็บสปอรของ Streptomyces<br />

เก็บสปอรจากเชื้อที่เลี้ยงบนอาหารแข็ง<br />

MS เปนเวลาประมาณ 5 วัน โดยเติม<br />

น้ํากลั่นที่ฆาเชื้อแลวประมาณ<br />

10 มิลลิลิตร ลงบนจานอาหารแข็ง แลวใชกานไมพันสําลีถูสปอร<br />

บนผิวอาหารใหหลุดออกเบาๆ จากนั้นนํากอนสําลีวางลงใหซับน้ําและสปอรไว<br />

แลวใชหลอดฉีด<br />

ยาดูดสารละลายสปอรผานกอนสําลี เพื่อกรองเสนใยออก<br />

นําไปปนเหวี่ยงที่<br />

4,000-6,000<br />

รอบตอนาที เปนเวลา 2-5 นาที เทสารละลายทิ้ง<br />

แขวนลอยสปอรในกลีเซอรอลความเขมขน<br />

20 เปอรเซ็นต แลวเก็บรักษาไวที่อุณหภูมิ<br />

–80 องศาเซลเซียส<br />

3.3 การสกัดดีเอ็นเอ<br />

สกัดดีเอ็นเอโดยนําเชื้อที่เลี้ยงในอาหารเหลว<br />

TSB เปนเวลา 3 วัน ปริมาตร<br />

1.5 มิลลิลิตร มาปนเหวี่ยงที่<br />

4,000 รอบตอนาที ในหลอดขนาด 1.5 มิลลิลิตร เปนเวลา 2<br />

นาที แลว เทของเหลวทิ้ง<br />

นําเสนใยที่ไดไปสกัดดีเอ็นเอตามวิธีที่ดัดแปลงจากวิธีการของ<br />

Hopwood <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1985) โดยเติม Lysis solution (0.3 M sucrose, 25 mM Tris-HCl, 25<br />

mM EDTA, pH 8.0) ที่มีไลโซไซม<br />

เขมขน 10 ไมโครกรัมตอไมโครลิตร และ RNase A<br />

เขมขน 50 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร ปริมาตร 500 ไมโครลิตร ใชปเปตตดูดขึ้นลงใหเสนใย<br />

กระจาย นําไปบมที่อุณหภูมิ<br />

37 องศาเซลเซียส เปนเวลาประมาณ 1 ชั้วโมง<br />

โดยจะใชป<br />

เปตตดูดขึ้นลงระหวางบม<br />

2-3 ครั้ง<br />

จากนั้นเติม<br />

sodiumdodecylsulfate (SDS) ความเขมขน<br />

2 เปอรเซ็นต ปริมาตร 250 ไมโครลิตร พลิกหลอดไปมาใหของเหลวผสมกันทันที เติม<br />

สารละลาย ฟนอล: คลอโรฟอรม:ไอโซเอมิล แอลกอฮอล (24:24:1) ปริมาตร 250 ไมโครลิตร<br />

ผสมใหเขากัน นําไปปนเหวี่ยงที่<br />

12,000 รอบตอนาที เปนเวลา 5 นาที ดูดสารละลายสวนบน<br />

26


ถายลงสูหลอดใหม<br />

(อาจทําซ้ํา<br />

2-3 ครั้ง<br />

ถามีปริมาณตะกอนโปรตีนมาก) เติมโซเดียมอะซิเทต<br />

ความเขมขน 3 โมลาร ปริมาตร 0.1 เทา ของปริมาตรสารละลายที่ดูดได<br />

เติมไอโซโพรพานอล<br />

ปริมาตร 1 เทา ผสมโดยพลิกหลอดไปมาเบาๆ ตั้งไวที่อุณหภูมิหองเปนเวลา<br />

5 นาที แลวปน<br />

เหวี่ยงที่<br />

12,000 รอบตอนาที เปนเวลา 10 นาที เทสารละลายออก แลวลางตะกอนดีเอ็นเอดวย<br />

เอธานอล 70 เปอรเซ็นต ปริมาตร 200 ไมโครลิตร ดูดสารละลายออกใหหมด ทิ้งใหตะกอน<br />

แหง แลวละลายตะกอนดีเอ็นเอในบัฟเฟอร TE (10 mM Tris-HCl, 1 mM EDTA, pH 8.0)<br />

ปริมาตร 20-50 ไมโครลิตร ตามความเหมาะสม เก็บรักษาไวที่อุณหภูมิ<br />

4 องศาเซลเซียส ถา<br />

ตองการเก็บรักษาเปนระยะเวลานานจะเก็บที่<br />

-20 องศาเซลเซียส<br />

4. วิธีการพื้นฐานที่ใชสําหรับ<br />

E. coli<br />

วิธีการพื้นฐานที่ใชสําหรับ<br />

E. coli ใชวิธีการตาม Sambrook and Russell (2001)<br />

4.1 อาหารและสภาวะที่ใชเลี้ยง<br />

การเลี้ยง<br />

E. coli บนจานอาหารแข็ง จะเขี่ยเชื้อลงบนอาหารแข็ง<br />

Luria-Bertani<br />

(LA; 1l: 10 g tryptone, 5 g yeast extract, 10 g NaCl, 15 g agar, pH 7.2) แลวบมที่<br />

37<br />

องศาเซลเซียส เปนเวลาขามคืน<br />

การเลี้ยงในอาหารเหลว<br />

จะเติมเชื้อลงในขวดรูปชมพูที่มีอาหารเหลว<br />

อัตราสวน<br />

1: 100 โดยใชอาหารเหลว LB (สูตรเหมือน LA แตไมเติม agar) นําไปเขยา 250 รอบตอนาที<br />

ที่<br />

37 องศาเซลเซียส เปนเวลาขามคืน<br />

เมื่อเลี้ยง<br />

E. coli ที่สามารถตานทานยาปฏิชีวนะ<br />

จะเติมยาปฏิชีวนะที่เหมาะสม<br />

ในความเขมขนดังตารางที่<br />

4<br />

4.2 การสกัดพลาสมิด<br />

ใชวิธี Alk<strong>al</strong>ine lysis with SDS ของ Sambrook and Russell (2001) โดยนํา<br />

เชื้อ<br />

E. coli ที่เลี้ยงในอาหาร<br />

LB เปนเวลาขามคืน ปริมาตร 1.5 มิลลิลิตร ใสลงในหลอดขนาด<br />

1.5 มิลลิลิตร ปนเหวี่ยงที่<br />

12,000 รอบตอนาที เปนเวลา 1 นาที เพื่อเก็บเซลล<br />

เทอาหารทิ้ง<br />

จากนั้นแขวนลอยตะกอนเซลลใน<br />

Solution I (50 mM glucose, 25 mM Tris-HCl, 10 mM<br />

EDTA, pH 8.0) ที่เย็นจัด<br />

ปริมาตร 100 ไมโครลิตร นําไปแชในน้ําแข็งเปนเวลา<br />

10-15 นาที<br />

27


เติม Solution II [0.2 M NaOH, 1%(w/v) SDS] ที่เตรียมสําหรับใชทันที<br />

200 ไมโครลิตร<br />

พลิกหลอดไปมาทันที จนของเหลวผสมกันดี แลวแชในน้ําแข็งเปนเวลา<br />

5 นาที นําไปเติม<br />

Solution III (3 M potassium, 5 M ac<strong>et</strong>ate) ที่เย็นจัด<br />

ปริมาตร 150 ไมโครลิตร พลิกหลอดไป<br />

มาใหของเหลวผสมกันดี แลวแชในน้ําแข็งเปนเวลา<br />

3-5 นาที ปนเหวี่ยง<br />

12,000 รอบตอนาที<br />

เปนเวลา 5 นาที ดูดสารละลายถายใสหลอดใหม เติม ฟนอล:คลอโรฟอรม:ไอโซเอมิล<br />

แอลกอฮอล (25:24:1) ปริมาตร 1 เทา ของสารละลายที่ดูดได<br />

พลิกหลอดไปมาประมาณ 1<br />

นาที นําไปปนเหวี่ยงที่<br />

12,000 รอบตอนาที เปนเวลา 5 นาที ดูดสารละลายสวนบนใสหลอด<br />

ใหม แลวเติมเอธานอลสัมบูรณ (absolute <strong>et</strong>hanol) ปริมาตร 2 เทาของสารละลายที่ดูดได<br />

พลิก<br />

หลอดไปมาเบาๆ ตั้งไวที่อุณหภูมิหอง<br />

เปนเวลา 2 นาที แลวปนเหวี่ยงเก็บตะกอนดีเอ็นเอที่<br />

12,000 รอบตอนาที เปนเวลา 5 นาที ลางตะกอนดวยเอธานอล 70 เปอรเซ็นต ปริมาตร 200<br />

ไมโครลิตร ปนเหวี่ยง<br />

1 นาที แลวดูดสารละลายออกใหหมด ทิ้งไวใหตะกอนแหง<br />

จึงละลายดี<br />

เอ็นเอในบัฟเฟอร TE ที่มี<br />

RNase A ความเขมขน 20 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร ปริมาตร 20-50<br />

ไมโครลิตร ตามความเหมาะสม เก็บรักษาไวที่<br />

-20 องศาเซลเซียส<br />

4.3 การสกัดพลาสมิดเพื่อนําไปหาลําดับเบส<br />

ใชชุดอุปกรณ QIAprep Miniprep (QIAGEN, Germany) ทําตามวิธีการในคูมือ<br />

โดยนําเชื้อที่เลี้ยงในอาหารเหลวขามคืน<br />

ปริมาตร 1.5 มิลลิลิตร ปนเหวี่ยงที่<br />

12,000 รอบตอ<br />

นาที เปนเวลา 1 นาที เทอาหารเหลวทิ้ง<br />

แลวแขวนลอยตะกอนเซลลในบัฟเฟอร P1 ปริมาตร<br />

250 ไมโครลิตร ผสมใหเขากัน แลวเติมบัฟเฟอร P2 ปริมาตร 250 ไมโครลิตร กลับหลอดไป<br />

มา 6 ครั้ง<br />

เติมบัฟเฟอร N3 ปริมาตร 350 ไมโครลิตร แลวผสมทันทีโดยการกลับหลอดไปมา<br />

6 ครั้ง<br />

นําไปปนเหวี่ยงที่<br />

12,000 รอบตอนาที เปนเวลา 10 นาที ดูดสารละลายใสลงใน<br />

QIAprep spin column ที่วางอยูใน<br />

Collection tube นําไปปนเหวี่ยงเปนเวลา<br />

1 นาที เทของเหลว<br />

ทิ้ง<br />

เติมบัฟเฟอร PB ปริมาตร 500 ไมโครลิตร ปนเหวี่ยงเปนเวลา<br />

1 นาที เทของเหลวทิ้ง<br />

เติมบัฟเฟอร PE ปริมาตร 750 ไมโครลิตร ปนเหวี่ยงเปนเวลา<br />

1 นาที เทของเหลวทิ้ง<br />

แลวปน<br />

เหวี่ยงอีกครั้งเพื่อกําจัดของเหลวทั้งหมด<br />

จากนั้นยายคอลัมนไปใสในหลอดขนาด<br />

1.5 มิลลิลิตร<br />

หลอดใหม เติมบัฟเฟอร EB ที่มีอุณหภูมิ<br />

50 องศาเซลเซียส ปริมาตร 30-50 ไมโครลิตร ตาม<br />

ความเหมาะสม ตั้งทิ้งไว<br />

2 นาที หรืออาจนําไปบมที่<br />

50 องศาเซลเซียส เปนเวลา 10 นาที กอน<br />

ปนเหวี่ยงเก็บสารละลายดีเอ็นเอ<br />

เปนเวลา 2 นาที เก็บรักษาดีเอ็นเอไวที่<br />

-20 องศาเซลเซียส<br />

28


4.4 การเตรียมคอมพิเทนตเซลล (Comp<strong>et</strong>ent Cell) ของ E. coli<br />

ทําตามวิธีของ Chung <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1989) โดยนําเชื้อที่เลี้ยงขามคืนในอาหาร<br />

LB<br />

ปริมาตร 500 ไมโครลิตร ลงเลี้ยงในอาหาร<br />

LB ปริมาตร 50 มิลลิลิตร ในขวดรูปชมพูขนาด<br />

250 มิลลิลิตร เขยา 250 รอบตอนาที ที่<br />

37 องศาเซลเซียส จนมีคาดูดแสงที่ความยาวคลื่น<br />

600<br />

นาโนเมตร (OD600) เปน 0.3-0.4 (ประมาณ 2-3 ชั่วโมง)<br />

ถายใสหลอดขนาด 50 มิลลิลิตร<br />

แลวแชน้ําแข็งเปนเวลา<br />

15 นาที จึงนําไปปนเหวี่ยงเก็บเซลล<br />

ที่<br />

4,000 รอบตอนาที อุณหภูมิ 4<br />

องศาเซลเซียส เปนเวลา 5 นาที เทอาหารทิ้ง<br />

แลวเติม Transformation and storage solution<br />

[TSS; 10 % (w/v) poly<strong>et</strong>hylene glycol (PEG) MW=8000, 5 % dim<strong>et</strong>hylsulphoxide<br />

(DMSO), 50 mM MgCl2, in LB, pH 6.5) ที่เย็นจัด<br />

ปริมาตร 5 มิลลิลิตร แขวนลอยเซลล<br />

ในสารละลาย นําไปปนเหวี่ยงเก็บเซลล<br />

แลวแขวนลอยเซลลใน TSS ปริมาตร 3 มิลลิลิตร<br />

แบงเก็บในหลอดขนาด 1.5 มิลลิลิตร ที่เย็น<br />

หลอดละ 100 ไมโครลิตร แชหลอดทิ้งไวในน้ําแข็ง<br />

เปนเวลา 10 นาที ถายังไมนําไปใชใหเก็บรักษาไวที่<br />

-80 องศาเซลเซียส<br />

4.5 การทรานสฟอรเมชัน (Transformation)<br />

ใชวิธี heat-shock (Sambrook and Russell, 2001) โดยนําคอมพิเทนตเซลล<br />

100 ไมโครลิตร แลวเติมพลาสมิด 1-10 ไมโครลิตร ใชปเปตตผสมเบาๆ ทิ้งไวในน้ําแข็งอีก<br />

20 นาที จึงนําไปบมที่อุณหภูมิ<br />

42 องศาเซลเซียส เปนเวลา 90 วินาที แลวนํากลับไปแชใน<br />

น้ําแข็งทันที<br />

เปนเวลา 5 นาที เติมอาหาร LB ปริมาตร 900 ไมโครลิตร แลวบมที่<br />

37 องศา<br />

เซลเซียส เขยา 250 รอบตอนาที เปนเวลา 1 ชั่วโมง<br />

จึงแบงเซลล 100 ไมโครลิตร ไปเกลี่ยลง<br />

อาหาร LA ซึ่งมียาปฏิชีวะนะตามความเหมาะสมเพื่อคัดเลือก<br />

โดยใชความเขมขนของยาปฏิชีวนะ<br />

ตามตารางที่<br />

4 กรณีที่คัดเลือกโดยการทํางานของยีน<br />

lacZ จะเกลี่ยทับอาหารแข็งไวกอนดวย<br />

X-g<strong>al</strong> (5-bromo-4-chloro-3-indolyl-β-D-g<strong>al</strong>actoside) เขมขน 20 มิลลิกรัมตอมิลลิลิตร<br />

ใน dim<strong>et</strong>hylformamide ปริมาตร 40 ไมโครลิตร และ IPTG (isopropylthio-β-D-g<strong>al</strong>actoside)<br />

เขมขน 200 มิลลิกรัมตอมิลลิลิตร ปริมาตร 4 ไมโครลิตร จากนั้นบมจานอาหารที่เกลี่ยดวย<br />

เซลลแลวที่<br />

37 องศาเซลเซียส เปนเวลาขามคืน คัดเลือกโคโลนีที่เจริญ<br />

ไปตรวจสอบการ<br />

ไดรับพลาสมิดตอไป<br />

29


5. เทคนิคทางพันธุวิศวกรรม<br />

5.1 อะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส (Agarose Gel Elctrophoresis)<br />

ผสมสารละลายดีเอ็นเอกับ 6x loading buffer [0.25% (w/v) bromophenol<br />

blue, 0.25% (w/v) xylene cyanol, 30% glycerol] ในอัตราสวน 5:1 แลวทําอะกาโรส<br />

เจลอิเล็กโทรโฟรีซิส เทียบกับดีเอ็นเอมาตรฐาน (1 Kb DNA Ladder) โดยใชอะกาโรสความ<br />

เขมขน 0.8 เปอรเซ็นต ในบัฟเฟอร 1x TAE (40 mM Tris-ac<strong>et</strong>ate, 1 mM EDTA) ที่ความ<br />

ตางศักยไฟฟา 100 โวลต ตรวจสอบแถบดีเอ็นเอดวยการยอมในเอธิเดียมโบรไมด (<strong>et</strong>hidium<br />

bromide) ความเขมขน 0.5 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร ตรวจดูแถบดีเอ็นเอและถายภาพภายใตแสง<br />

อัลตราไวโอเลตดวยเครื่อง<br />

BioDoc-It System (UVP, USA)<br />

5.2 การสกัดดีเอ็นเอจากอะกาโรสเจล<br />

ใชชุดอุปกรณ QIAquick Gel Extraction (QIAGEN, Germany) ทําตามวิธีการ<br />

ในคูมือ<br />

โดยตัดอะกาโรสเจลในตําแหนงที่ปรากฏแถบดีเอ็นเอที่ตองการ<br />

ใสลงในหลอดขนาด<br />

1.5 มิลลิลิตร เติมบัฟเฟอร QG ปริมาตรประมาณ 3 เทาของเจล นําไปบมที่<br />

50 องศา<br />

เซลเซียส ประมาณ 10 นาทีหรือจนกวาเจลละลายหมด โดยตองพลิกหลอดไปมาเปนครั้งคราว<br />

ดูดสารละลายทั้งหมดใสลงใน<br />

QIAquick spin column ที่วางอยูใน<br />

Collection tube นําไปปน<br />

เหวี่ยงที่<br />

12,000 รอบตอนาที เปนเวลา 1 นาที เทของเหลวทิ้ง<br />

เติมบัฟเฟอร PE ปริมาตร 750<br />

ไมโครลิตร ปนเหวี่ยงเปนเวลา<br />

1 นาที เทของเหลวทิ้ง<br />

ปนเหวี่ยงอีกครั้งเพื่อกําจัดของเหลว<br />

ทั้งหมด<br />

จากนั้นยายคอลัมนไปใสในหลอดขนาด<br />

1.5 มิลลิลิตรหลอดใหม เติมบัฟเฟอร EB ที่มี<br />

อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส ปริมาตร 30-50 ไมโครลิตร ตามความเหมาะสม ตั้งทิ้งไว<br />

2 นาที<br />

หรืออาจนําไปบมที่<br />

50 องศาเซลเซียส เปนเวลา 10 นาที กอนปนเหวี่ยงเก็บสารละลายดีเอ็นเอที่<br />

12,000 รอบตอนาที เปนเวลา 1 นาที เก็บรักษาดีเอ็นเอไวที่<br />

-20 องศาเซลเซียส<br />

5.3 การทําสารละลายดีเอ็นเอใหบริสุทธิ์โดยใชชุดอุปกรณ<br />

สกัดดีเอ็นเอดวยชุดอุปกรณ QIAquick PCR Purification (QIAGEN,<br />

Germany) ตามขั้นตอนในคูมือ<br />

โดยนําสารละลายดีเอ็นเอไปเติมบัฟเฟอร PB ปริมาตร 5 เทา<br />

ของปริมาตรสารละลายดีเอ็นเอ ผสมใหเขากัน ดูดของเหลวทั้งหมดใสลงใน<br />

QIAquick spin<br />

column ที่วางอยูใน<br />

Collection tube นําไปปนเหวี่ยงที่<br />

12,000 รอบตอนาที เปนเวลา 1 นาที<br />

เทของเหลวทิ้ง<br />

เติมบัฟเฟอร PE ปริมาตร 750 ไมโครลิตร ปนเหวี่ยงเปนเวลา<br />

1 นาที เท<br />

30


ของเหลวทิ้ง<br />

แลวปนเหวี่ยงอีกครั้งเพื่อกําจัดของเหลวทั้งหมด<br />

จากนั้นยายคอลัมนไปใสในหลอด<br />

ขนาด 1.5 มิลลิลิตรหลอดใหม เติมบัฟเฟอร EB ที่มีอุณหภูมิ<br />

50 องศาเซลเซียส ปริมาตร 30-<br />

50 ไมโครลิตร ตามความเหมาะสม ตั้งทิ้งไว<br />

2 นาที หรืออาจนําไปบมที่<br />

50 องศาเซลเซียส<br />

เปนเวลา 10 นาที กอนปนเหวี่ยงเก็บสารละลายดีเอ็นเอ<br />

เปนเวลา 1 นาที เก็บรักษาดีเอ็นเอไวที่<br />

-20 องศาเซลเซียส<br />

5.4 การหาลําดับเบส<br />

สกัดพลาสมิดโดยใชชุดอุปกรณ QIAprep Miniprep (QIAGEN, Germany)<br />

ตามวิธีการในขอ 4.3 และสงไปหาลําดับเบสที่<br />

หนวยบริการชีวภาพ (BSU) ศูนยพันธุวิศวกรรม<br />

และเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ<br />

5.5 การตัดและเชื่อมตอดีเอ็นเอ<br />

การตัดดีเอ็นเอ ใชเอนไซมตัดจําเพาะที่เหมาะสม<br />

โดยเตรียมสวนผสมตาม<br />

คําแนะนําในคูมือ<br />

บมในอางน้ําควบคุมอุณหภูมิ<br />

ที่<br />

37 องศาเซลเซียส เปนเวลา 2 ชั่วโมงถึง<br />

ขามคืน<br />

เมื่อตัดพลาสมิดดวยเอนไซมตัดจําเพาะชนิดเดียว<br />

จะนําไปกําจัดหมูฟอสเฟตที่<br />

ปลาย 5’ ดวยเอนไซม CIAP เติมสวนผสมตามคําแนะนําในคูมือ<br />

นําไปบมไวที่<br />

37 องศา<br />

เซลเซียส ในอางน้ําควบคุมอุณหภูมิ<br />

เปนเวลา 2 ชั่วโมง<br />

แลวหยุดการทํางานของเอนไซมโดย<br />

นําไปบมที่<br />

70 องศาเซลเซียส เปนเวลา 20 นาที<br />

การเชื่อมตอดีเอ็นเอเพื่อสรางพลาสมิดสายผสม<br />

จะนําสารละลายดีเอ็นเอที่ทําให<br />

บริสุทธิ์ตามวิธีการขอ<br />

5.3 เชื่อมตอโดยใชอัตราสวนของพลาสมิดตอชิ้นดีเอ็นเอ<br />

เทากับ 1:5<br />

ในปฏิกิริยาที่ประกอบดวย<br />

T4 DNA ligase 1 ยูนิต และ 5x Ligation buffer 4 ไมโครลิตร ใน<br />

ปริมาตรสุดทาย 20 ไมโครลิตร บมที่อุณหภูมิ<br />

16 องศาเซลเซียส ในอางน้ําควบคุมอุณหภูมิ<br />

ขามคืน เก็บรักษาไวที่<br />

4 องศาเซลเซียส กอนนําไปใชในการทรานสฟอรเมชันตามวิธีการขอ 4.5<br />

31


5.6 Southern Blot, Dot Blot และ Colony Dot Blot Hybridisation<br />

5.6.1 Southern Blot<br />

ทํา Southern Blot (Southern, 1975) โดยนําเจลที่ทําอะกาโรส<br />

เจลอิเล็กโทรโฟรีซิสตามวิธีการขอ 5.1 แชในสารละลาย HCl ความเขมขน 0.25 โมลาร เขยา 50<br />

รอบตอนาที เปนเวลา 15 นาที ลางดวยน้ํากลั่น<br />

แลวจึงนําไปแชใน Denaturing solution (0.5<br />

M NaOH, 1.5 M NaCl) เขยา 50 รอบตอนาที เปนเวลา 15 นาที ทําซ้ําอีกครั้ง<br />

โดยเปลี่ยน<br />

Denaturing solution ใหม จากนั้นยายดีเอ็นเอไปสูเมมเบรนแบบ<br />

capillary transfer เปนเวลา<br />

ขามคืน โดยใช Alk<strong>al</strong>ine transfer buffer (0.25 M NaOH, 1.5 M NaCl) เมมเบรนที่ใชคือ<br />

Hybond-N + (Amersham Pharmacia Biotech, UK) เมมเบรนเก็บรักษาไดที่<br />

4 องศาเซลเซียส<br />

กอนนําไปใช<br />

5.6.2 Dot Blot<br />

นําสารละลายดีเอ็นเอ ที่เตรียมใหมีปริมาณดีเอ็นเอประมาณ<br />

1<br />

ไมโครกรัม ในน้ํากลั่นปริมาตรรวม<br />

10 ไมโครลิตร ไปทําใหเสียสภาพในน้ําเดือด<br />

เปนเวลา 5<br />

นาที แลวแชในน้ําแข็งทันที<br />

เปนเวลา 5 นาที จากนั้นจึงหยดสารละลายดีเอ็นเอลงบนเมมเบรน<br />

Hybond-N + ที่ละ<br />

2 ไมโครลิตร จนหมด รอใหเมมเบรนแหงดี เก็บรักษาเมมเบรน ที่<br />

4 องศา<br />

เซลเซียส กอนนําไปใช<br />

5.6.3 Colony Dot Blot<br />

หลังจากคัดเลือกโคโลนีของ E. coli ที่ไดรับการทรานสฟอรมบนจาน<br />

อาหาร LA ที่มียาปฏิชีวนะ<br />

นําโคโลนีที่เจริญไปเกลี่ยใหเต็มเปนพื้นที่ขนาด<br />

0.5x0.5 เซนติเมตร<br />

บนอาหาร LA ที่มียาปฏิชีวนะ<br />

บมไวที่<br />

37 องศาเซลเซียส ขามคืน เขี่ยเชื้อที่เจริญในพื้นที่<br />

ทั้งหมดไปแขวนลอยในน้ํากลั่น<br />

ปริมาตร 10 ไมโครลิตร แลวนําไปหยดลงบนเมมเบรน<br />

Hybond-N + ที่ละ<br />

2 ไมโครลิตร จนหมด รอใหแหงแลวนําไปวางลงบนกระดาษกรอง 3MM<br />

(Whatman, UK) ที่ชุมดวยสารละลาย<br />

SDS เขมขน 10 เปอรเซ็นต โดยหงายดานที่มีโคโลนีไว<br />

ดานบน ทิ้งไวเปนเวลา<br />

3 นาที จึงถายเมมเบรนไปวางบนกระดาษกรอง 3MM ที่ชุมดวย<br />

Denaturing solution เปนเวลา 5 นาที ยายไปวางบนกระดาษกรองใหม รอใหแหง เก็บรักษา<br />

เมมเบรน ที่<br />

4 องศาเซลเซียส กอนนําไปใช<br />

32


5.6.4 การติดฉลากดีเอ็นเอที่ใชเปนโพรบ<br />

ใชชุดอุปกรณ Gene Images random prime labeling module<br />

(Amersham Pharmacia Biotech, UK) ทําตามวิธีการในคูมือ<br />

โดยนําดีเอ็นเอที่ใชทําเปนโพรบ<br />

50 นาโนกรัม ในน้ํากลั่นปริมาตร<br />

34 ไมโครลิตร ไปทําใหเสียสภาพในน้ําเดือด<br />

เปนเวลา 5 นาที<br />

แลวแชในน้ําแข็งทันที<br />

เปนเวลา 5 นาที เติม Nucleotide mix 10 ไมโครลิตร Random primer<br />

5 ไมโครลิตร Klenow 1 ไมโครลิตร ในปริมาตรสุดทาย 50 ไมโครลิตร ผสมใหเขากัน แลวบม<br />

ที่<br />

37 องศาเซลเซียส เปนเวลาขามคืน เก็บรักษาในที่มืด<br />

ที่<br />

-20 องศาเซลเซียส กอนนําไปใช<br />

5.6.5 Hybridisation และการตรวจสอบผล<br />

ใชชุดอุปกรณ Gene Images CDP-star d<strong>et</strong>ection module (Amersham<br />

Pharmacia Biotech, UK) โดยบมเมมเบรนใน Hybridisation buffer [5 % Liquid block, 5x<br />

SSC (20x SSC; 3 M sodium chloride, 0.3 M sodium citrate, pH 7.0), 0.1 % SDS, 5 %<br />

(w/v) dextran sulphate หรือ 1.25 % PEG MW=8000] ที่อุณหภูมิ<br />

68 องศาเซลเซียส เปน<br />

เวลา 1-2 ชั่วโมง<br />

จากนั้นเติมดีเอ็นเอโพรบที่ทําใหเสียสภาพแลว<br />

ปริมาตร 5-10 ไมโครลิตร<br />

ขึ้นกับขนาดของเมมเบรน<br />

(ทําโดยนําดีเอ็นเอโพรบปริมาณที่เหมาะสมเติมลงใน<br />

Hybridisation<br />

buffer 500 ไมโครลิตร แลวนําไปทําใหเสียสภาพในน้ําเดือด<br />

เปนเวลา 5 นาที แลวแชในน้ําแข็ง<br />

ทันที เปนเวลา 5 นาที กอนนําไปเติม) บมไวที่อุณหภูมิเดิมเปนเวลาขามคืน<br />

จากนั้นนําเมม<br />

เบรนมาลางดวยสารละลายที่ประกอบดวย<br />

2x SSC และ SDS เขมขน 0.1 เปอรเซ็นต (w/v) ที่<br />

อุณหภูมิหอง เขยา 50 รอบตอนาที เปนเวลา 20 นาที 2 ครั้ง<br />

แลวลางดวย สารละลาย 0.1x<br />

SSC และ SDS เขมขน 0.1 เปอรเซ็นต (w/v) ที่อุณหภูมิ<br />

68 องศาเซลเซียส 15 นาที 2 ครั้ง<br />

โดยเขยาบางเปนครั้งคราว<br />

จากนั้นนําไปลางในสารละลาย<br />

Washing buffer [0.3% Tween 20<br />

ใน Buffer A (10 mM Tris-HCl, 300 mM NaCl pH 9.5)] เปนเวลา 1-5 นาที จึงนําไปบม<br />

ใน Blocking solution (10 % Liquid block ใน buffer A) ที่อุณหภูมิหอง<br />

เขยา 50 รอบตอนาที<br />

เปนเวลา 1 ชั่วโมง<br />

แลวนําไปบมใน Antibody solution [anti-fluorescein <strong>al</strong>k<strong>al</strong>ine phosphatase<br />

conjugate 1: 5000 ใน Buffer A ที่มี<br />

0.5 % bovine serum <strong>al</strong>bumin (BSA)] เขยา 50 รอบตอ<br />

นาที เปนเวลา 1 ชั่วโมง<br />

แลวนําเมมเบรนไปลางใน Washing buffer โดยเขยา 50 รอบตอนาที<br />

เปนเวลา 10 นาที 3 ครั้ง<br />

จากนั้นนําเมมเบรนวางบนแผนพลาสติก<br />

เติม CDP-star d<strong>et</strong>ection<br />

agent จนทวมแผนเมมเบรน นําพลาสติกอีกแผนปดทับโดยไมใหมีฟองอากาศ ทิ้งไว<br />

5 นาที รีด<br />

ของเหลวสวนเกินออก แลวนําไปทาบกับฟลม Kodak Medic<strong>al</strong> X-ray Film (Kodak, Japan)<br />

ระยะเวลาตามความเหมาะสม นําฟลมไปลางดวยสารละลาย Kodak Developer and Replenisher<br />

33


เปนเวลา 1 นาที ลางดวยน้ํา<br />

แลวลางฟลมใน Kodak Fixer and Replenisher (Kodak, Austr<strong>al</strong>ia)<br />

อีก 1 นาที ตามลําดับ จากนั้นจึงลางดวยน้ําประปาและตากฟลมใหแหง<br />

5.7 การวิเคราะหลําดับเบสและลําดับกรดอะมิโน<br />

การแปลรหัสลําดับเบสเปนลําดับกรดอะมิโนใชโปรแกรม Six-Frame<br />

Translation (http://searchlauncher.bcm.tmc.edu/seq-util/Options/sixframe.html) เปลี่ยน<br />

ลําดับเบสเปนสายคูสมโดยโปรแกรม<br />

Reverse Complement (http://searchlauncher.bcm.tmc<br />

.edu/seq-util/Options/revcomp.html) การหาตําแหนงจดจําของเอนไซมตัดจําเพาะบนลําดับ<br />

เบสอาศัยโปรแกรม Webcutter 2.0 (http://www.firstmark<strong>et</strong>.com/cutter/cut2.html) การ<br />

คนหาลําดับที่มีความคลายกันในฐานขอมูลใชโปรแกรม<br />

BLAST (http://www.ncbi.nlm.nih<br />

.gov/BLAST/; Altschul <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1990) เมื่อตองการเปรียบเทียบความสัมพันธ<br />

ทําโดยการ<br />

คัดเลือกขอมูลในฐานขอมูลจํานวนหนึ่งมาทํา<br />

multiple <strong>al</strong>ignment และ clustering โดยใช<br />

โปรแกรม Clust<strong>al</strong>W 1.82 (http://www.ebi.ac.uk/clust<strong>al</strong>w/; Thompson <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1994)<br />

การทํา bootstrapping ใชโปรแกรม Clust<strong>al</strong>W 1.83 (http://bioweb.pasteur.fr/seqan<strong>al</strong>/<br />

interfaces/clust<strong>al</strong>w.html; Thompson <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1994) สุมเปนจํานวน<br />

1,000 ครั้ง<br />

การวาด<br />

phylogen<strong>et</strong>ic tree ใชโปรแกรม TreeView 1.6.6 (Page, 1996)<br />

6. การตรวจสอบการผลิตสารตานเชื้อราไรโมซิดิน<br />

6.1 ตรวจสอบการเกิดวงใส (Clear Zone) ดวยวิธี Agar Plug Assay<br />

นําเชื้อ<br />

S. rimosus ที่ตองการตรวจสอบเกลี่ยลงบนอาหาร<br />

MS ซึ่งมียาปฏิชีวนะ<br />

ตามความเหมาะสม เลี้ยงโดยบมที่อุณหภูมิ<br />

30 องศาเซลเซียส เปนเวลา 5 วัน เจาะเอาอาหารที่<br />

มีเชื้อเจริญอยูดวย<br />

cork borer เปนวงกลมเสนผานศูนยกลาง 5 มิลลิเมตร<br />

เลี้ยง<br />

Candida <strong>al</strong>bicans และ Aspergillus niger โดยเกลี่ยบนอาหารแข็ง<br />

Potato<br />

dextrose agar (PDA; 1l: 200 g potato, 20 g dextrose, 20 g agar, pH 7.2) บมที่<br />

อุณหภูมิหอง เปนเวลา 2-3 วัน สําหรับ Candida และจนกวาจะผลิตสปอรไดดีสําหรับ<br />

Aspergillus เมื่อตองการนําไปทดสอบ<br />

จะนําเซลลของ Candida หรือสปอรของ Aspergillus ไป<br />

แขวนลอยในอาหารกึ่งแข็ง<br />

PDA (สูตรเหมือน PDA แตเพิ่ม<br />

agar 10 กรัม) ที่ละลายและรอให<br />

เย็นลงมีอุณหภูมิประมาณ 50 องศาเซลเซียส นําไปเททับบนจานอาหารแข็ง MS ใหหนา<br />

ประมาณ 2 มิลลิเมตร<br />

34


นําชิ้นอาหารที่เจาะออกมา<br />

วางลงบนจานอาหารแข็ง MS ที่เททับดวยเชื้อแลว<br />

บมไวที่อุณหภูมิหอง<br />

เปนเวลา 2-3 วัน ตรวจสอบการเกิดวงใส เทียบกับ S. rimosus R7 สาย<br />

พันธุ<br />

wild type<br />

6.2 การคัดเลือกอาหารเลี้ยงที่เหมาะสมในการสรางสารไรโมซิดิน<br />

ทดสอบเบื้องตนโดยใชอาหารแข็งชนิดตางๆ<br />

โดยเกลี่ยเชื้อ<br />

S. rimosus R7 สาย<br />

พันธุ<br />

wild type ลงบนจานอาหารแข็ง บมไวที่อุณหภูมิ<br />

30 องศาเซลเซียส เปนเวลา 5 วัน กอน<br />

เจาะอาหารไปทดสอบการเกิดวงใสตามวิธีการขอ 6.1<br />

เมื่อคัดเลือกอาหารที่เหมาะสมไดแลว<br />

จึงนําไปทดสอบเลี้ยงเชื้อในอาหารเหลว<br />

ปริมาตร 100 มิลลิลิตร ในขวดรูปชมพูขนาด<br />

250 มิลลิลิตร ซึ่งมีขดลวดสปริงวนรอบกนขวด<br />

โดยบมที่อุณหภูมิหอง<br />

เขยา 200 รอบตอนาที เปนเวลา 3-5 วัน นําน้ําเลี้ยงที่มีเซลลแขวนลอย<br />

ไปทดสอบการผลิตสารไรโมซิดิน โดยตรวจสอบการเกิดวงใสดวยวิธี paper disk assay โดยหยด<br />

น้ําเลี้ยงปริมาตร<br />

50 ไมโครลิตร ลงบนกระดาษกรองเบอร 1 (Whatman, UK) ที่ตัดเปนวงกลม<br />

ขนาดเสนผานศูนยกลาง 5 มิลลิเมตร ซอนกัน 3 แผน ตากใหแหง แลววางลงบนจานอาหารแข็ง<br />

MS ที่เททับดวยเชื้อแลว<br />

ตามวิธีการในขอ 6.1 บมไวที่อุณหภูมิหอง<br />

เปนเวลา 2-3 วัน แลว<br />

ตรวจสอบการเกิดวงใส<br />

6.3 การสกัดสารไรโมซิดิน<br />

เลี้ยงเชื้อในอาหารเหลวที่เหมาะสม<br />

ปริมาตร 100 มิลลิลิตร ในขวดรูปชมพู<br />

ขนาด 250 มิลลิลิตร ซึ่งมีขดลวดสปริงวนรอบกนขวด<br />

โดยบมที่อุณหภูมิหอง<br />

เขยา 200 รอบ<br />

ตอนาที เปนเวลา 5 วัน แยกการสกัดไรโมซิดินเปน 2 สวน คือ น้ําเลี้ยงและเสนใย<br />

โดยกรอง<br />

ดวยกระดาษกรองเบอร 1 เพื่อแยกเสนใยและน้ําเลี้ยง<br />

สกัดไรโมซิดินจากน้ําเลี้ยง<br />

ในขวดรูปชมพูขนาด<br />

250 มิลลิลตร โดยเติม<br />

เอธิลอะซีเทต (<strong>et</strong>hyl ac<strong>et</strong>ate) ปริมาตร 100 มิลลิลิตร ปดฝาดวยแผนฟอยล (foil) ใหสนิด<br />

นําไปเขยา 200 รอบตอนาที เปนเวลา 1 ชั่วโมง<br />

ทิ้งใหแยกชั้นแลวดูดเก็บสวนบนไว<br />

นํา<br />

สวนลางไปสกัดซ้ําเชนเดิม<br />

นําของเหลวสวนบนมารวมกัน กําจัดน้ําที่มีอยูออกไปโดยเติม<br />

MgSO4.3H2O จนอิ่มตัว<br />

(ตกตะกอนดี) แลวกรอง MgSO4 ออกดวยกระดาษกรอง Whatman<br />

เบอร 1 นําไประเหยเอธิลอะซีเทตออกโดย เขยา 200 รอบตอนาที ในตูควัน<br />

(fume hood)<br />

35


จนกวาจะแหง (1-2 วัน) ละลายตะกอนในเมธานอล 0.5-1 มิลลิลิตร ตามความเหมาะสม<br />

นําไปเก็บรักษาที่<br />

-20 องศาเซลเซียส<br />

สกัดไรโมซิดินจากเสนใยที่ติดอยูบนกระดาษกรอง<br />

โดยนําไปแชลงในขวดรูป<br />

ชมพูขนาด<br />

250 มิลลิลตร ที่มีบิวทานอล<br />

(n-butanol) ปริมาตร 100 มิลลิลิตร นําไปเขยา 200<br />

รอบตอนาที เปนเวลา 1 ชั่วโมง<br />

กรองแยกตะกอนและเก็บสวนสารละลายไว นําตะกอนไปสกัด<br />

ซ้ําเชนเดิม<br />

นําสารละลายมารวมกัน นําไประเหยบิวทานอลออกโดย เขยา 200 รอบตอนาที ใน<br />

ตูควัน<br />

จนกวาจะแหง แลวละลายตะกอนในเมธานอล 0.5-1 มิลลิลิตร ตามความเหมาะสม<br />

นําไปเก็บรักษาที่<br />

-20 องศาเซลเซียส<br />

6.4 ตรวจสอบโดยโครมาโทกราฟแบบแผนเคลือบ<br />

(Thin-Layer Chromatography; TLC)<br />

6.4.1 การคัดเลือกตัวพา (Mobile Phase)<br />

ทดสอบตัวพาในการแยกสารปฏิชีวนะมาโครไลด ชนิดโพลีอีน ดวย<br />

TLC ใชนัยสตาตินเปนสารทดสอบ และแผน TLC เปน Silica gel 60 F254 (Merck, USA) ทํา<br />

โดยจุดสารละลายนัยสตาติน เขมขน 10 มิลลิกรัมตอมิลลิลิตร ในเอธานอล ลงบนแผน TLC ที<br />

ละ 2 ไมโครลิตร ปริมาตรรวม 10 ไมโครลิตร (100 ไมโครกรัม) รอใหแหง จึงนําไปทํา TLC<br />

โดยใชตัวพาชนิดตางๆ และตรวจสอบการเคลื่อนที่ของนัยสตาตินภายใตแสงอัลตราไวโอเลต<br />

6.4.2 การทํา TLC และไบโอออโทกราฟ (Bioautography)<br />

นําสารสกัดซึ่งตองการตรวจสอบ<br />

จุดลงบนแผน TLC Silica gel 60<br />

F254 ทีละ 1 ไมโครลิตร รวม 3 ไมโครลิตร สูงจากขอบลาง 1.5 เซนติเมตร เปรียบเทียบกับ<br />

นัยสตาติน 100 ไมโครกรัม ทิ้งไวใหแผน<br />

TLC แหง แลวทํา TLC โดยใชตัวพาที่คัดเลือกได<br />

จากขอ 6.4.1 ตรวจสอบผลภายใตแสงอัลตราไวโอเลต<br />

ทําไบโอออโทกราฟ โดยนําแผน TLC ที่ระเหยตัวพาดีแลว<br />

วางลงใน<br />

กลองปลอดเชื้อ<br />

แลวเททับดวยอาหารกึ่งแข็ง<br />

PDA ที่แขวนลอยดวยสปอรของ<br />

A. niger ใหทั่วทั้ง<br />

แผน บมไวที่อุณหภูมิหอง<br />

เปนเวลา 2-3 วัน ตรวจสอบตําแหนงการเกิดวงใส (Brautas<strong>et</strong> <strong>et</strong> <strong>al</strong>.,<br />

2000)<br />

36


6.5 ตรวจสอบโดยสเปกโทรเมทรี (Spectrom<strong>et</strong>ry)<br />

ตรวจสอบการดูดแสงของสารสกัดจากขอ 6.3 ในชวงแสง 200-400 นาโนเมตร<br />

(UV scan) (Cope <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1965; Tanaka, 1992) โดยเครื่อง<br />

Lambda Bio UV/VIS<br />

Spectrom<strong>et</strong>er (Perkin Elmer, Germany) ซึ่งตองเจือจางสารสกัดดวยเอธานอลตามความ<br />

เหมาะสมใหมีคาดูดแสงในชวง 0-2<br />

7. การตรวจหาและโคลนยีน Type I PKS ใน S. rimosus R7<br />

ตรวจหากลุมยีน<br />

Type I PKS โดยการใชโพรบที่จําเพาะตอยีน<br />

Type I PKS ตรวจสอบ<br />

ชิ้นสวนโครโมโซมของ<br />

S. rimosus R7 ที่ไดจากการตัดดวยเอนไซมตัดจําเพาะที่เหมาะสม<br />

ดวย<br />

วิธี Southern hybridisation แลวจึงโคลนชิ้นดีเอ็นเอที่คาดวามียีนที่เกี่ยวของตอไป<br />

7.1 การเตรียมดีเอ็นเอโพรบ<br />

เพิ่มปริมาณยีน<br />

Type I PKS จากโครโมโซมของ S. rimosus R7 โดยการทํา<br />

พีซีอาร (PCR; polymerase chain reaction) ดวยไพรเมอรที่จําเพาะตอโดเมน<br />

KS คือ ATT10<br />

5’ TTTGAATTCGAGCCGWTSGCGATCGTSGGYATG 3’ และ ATT11 5’<br />

TTTCTGCAGGATSACGTGSGCGTTGGTG CC 3’ (W=A/T; S=G/C; Y=C/T;<br />

GAATTC, CTGCAG =ตําแหนงตัดของ EcoRI, PstI ตามลําดับ; ณัฏฐิกาและอรินทิพย, 2544)<br />

ในปฏิกิริยาประกอบดวย โครโมโซมของ S. rimosus R7 20 นาโนกรัม ไพรเมอร ATT10<br />

และ ATT11 อยางละ 0.05 พิโคโมล 1x PCR buffer MgCl2 1.5 มิลลิโมลาร dNTP 0.2<br />

มิลลิโมลาร DMSO 10 เปอรเซ็นต Taq DNA polymerase 0.5 ยูนิต ในปริมาตรสุดทาย 20<br />

ไมโครลิตร โดยใชรอบพีซีอาร ดังนี้<br />

รอบที่<br />

1: 94 องศาเซลเซียส เปนเวลา 4 นาที รอบที่<br />

2-<br />

35: 94 องศาเซลเซียส เปนเวลา 30 วินาที 70 องศาเซลเซียส เปนเวลา 1 นาที และ 72 องศา<br />

เซลเซียส เปนเวลา 1 นาที 30 วินาที และรอบที่สุดทาย:<br />

72 องศาเซลเซียส เปนเวลา 4 นาที<br />

นําผลิตภัณฑพีซีอารที่ไดไปแยกขนาดดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส<br />

ตาม<br />

วิธีการขอ 5.1 แลวสกัดชิ้นดีเอ็นเอขนาดประมาณ<br />

1.3 กิโลเบส ซึ่งคาดวาเปนสวนยีน<br />

KS<br />

(ณัฏฐิกาและอรินทิพย, 2544) ออกจากเจลตามวิธีการขอ 5.2 จากนั้นนําไปตัดดวยเอนไซมตัด<br />

จําเพาะ EcoRI และ PstI แลวเชื่อมตอกับพลาสมิด<br />

pUC18 ที่ตัดดวยเอนไซมเดียวกันตามวิธีการ<br />

ขอ 5.5 แลวทรานสฟอรมพลาสมิดสายผสมเขาสู<br />

E. coli JM109 ตามวิธีการขอ 4.5 ตรวจสอบ<br />

โคลนที่ได<br />

โดยการตัดดวยเอนไซมตัดจําเพาะ EcoRI และ PstI แลวแยกขนาดดวยอะกาโรส<br />

37


เจลอิเล็กโทรโฟริซีส นําโคลนที่คัดเลือกไดไปเลี้ยงแลวสกัดพลาสมิดสงไปหาลําดับเบส<br />

ตาม<br />

วิธีการขอ 4.3 เปรียบเทียบลําดับเบสกับยีน Type I PKS ที่มีในฐานขอมูลดวยโปรแกรม<br />

Blast<br />

จากนั้นจึงนําไปใชเปนดีเอ็นเอโพรบตอไป<br />

7.2 การตรวจสอบดวย Southern Blot Hybridisation<br />

นําโครโมโซมของ S. rimosus R7 ไปตัดใหสมบูรณดวยเอนไซมตัดจําเพาะที่<br />

เหมาะสม แยกขนาดโดยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟริซีส แลวจึงนําไปทํา Southern blot<br />

hybridisation ตามวิธีการขอ 5.6 ตรวจสอบชิ้นดีเอ็นเอที่มีกลุมยีน<br />

Type I PKS ดวยโพรบที่<br />

เตรียมไวในขอ 7.1 โดยติดฉลากตามวิธีการขอ 5.6.4<br />

7.3 การโคลนยีน<br />

เลือกโคลนชิ้นดีเอ็นเอจากผลการทํา<br />

Southern blot hybridisation ในขอ 7.2<br />

โดยตัดเจลบริเวณที่คาดวามีชิ้นดีเอ็นเอที่ตองการไปสกัดดีเอ็นเอออกจากเจล<br />

นําสารละลายดีเอ็น<br />

เอที่ไดไปตรวจสอบซ้ําเพื่อยืนยันวามีชิ้นดีเอ็นเอที่ตองการดวยการทํา<br />

dot blot hybridisation ตาม<br />

วิธีการขอ 5.6 โดยใชโพรบเดิมจากขอ 7.2 จากนั้นจึงโคลนเขาไปในพลาสมิด<br />

pUC18 ที่ตัด<br />

ดวยเอนไซมเดียวกัน โดยทรานสฟอรมพลาสมิดสายผสมเขาสู<br />

E. coli JM109 ตรวจสอบโคลน<br />

โดยการนําไปทํา colony dot hybridisation ตามวิธีการขอ 5.6 เลือกโคลนที่ใหผลชัดเจนไป<br />

ตรวจสอบอีกครั้งดวยการทําพีซีอารโดยตรงจากเซลล<br />

โดยเขี่ยเซลลที่เจริญบนอาหารแข็งพื้นที่<br />

ประมาณครึ่งตารางเซ็นติเมตร<br />

แขวนลอยในน้ํา<br />

10 ไมโครลิตร แลวนําไปใชพีซีอาร 2<br />

ไมโครลิตรดวยไพรเมอรจําเพาะตอ KS ตามวิธีการในขอ 13.1 คัดเลือกโคลนที่ใหผลิตภัณทพีซี<br />

อารขนาด 1.3 กิโลเบส สกัดดีเอ็นเอแลวนําไปทํา Southern blot hybridisation โดยตัดดวย<br />

เอนไซมตัดจําเพาะตามความเหมาะสม และตรวจสอบดวยโพรบเดิมจากขอ 7.1 จากนั้นจึงเลือก<br />

โคลนที่ไดไปทําแผนที่ของเอนไซมตัดจําเพาะ<br />

subclone หาลําดับเบสบางสวน และศึกษาลําดับ<br />

เบสของโคลนโดยเปรียบเทียบกับฐานขอมูล<br />

38


8. การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมสําหรับการเกิดคอนจูเกชันตางสกุลระหวาง<br />

S. rimosus R7<br />

และ E. coli ET12567 (pUZ8002)<br />

ศึกษาปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของกับประสิทธิภาพของการสงถายพลาสมิด<br />

ในการเกิดคอนจู<br />

เกชันตางสกุลระหวาง S. rimosus R7 และ E. coli ET12567 (pUZ8002) ซึ่งไดดัดแปลง<br />

วิธีการมาจาก Mazodier <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1989) โดยใชพลาสมิด pIJ8600 (ภาพที่<br />

6; Sun <strong>et</strong> <strong>al</strong>.,<br />

1999) และ pSET152 (ภาพที่<br />

7; Bierman <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1992) ซึ่งเปน<br />

mobilisable plasmid ที่มี<br />

attP เมื่อเกิดการสงถายโดยอาศัย<br />

tra บน pUZ8002 ใน E. coli ทําใหสามารถตรวจสอบไดจาก<br />

การแทรกตัวของพลาสมิดเขาไปในโครโมโซมบริเวณ attB<br />

8.1 การศึกษาหาอุณหภูมิและเวลาที่เหมาะสมในการกระตุนการงอกของสปอร<br />

ในการกระตุนการงอกของสปอรใชขั้นตอนตาม<br />

Kieser <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (2000) โดยเก็บ<br />

สปอรของ S. rimosus R7 ที่เลี้ยงบนอาหาร<br />

MS ที่อุณหภูมิ<br />

30 องศาเซลเซียส เปนเวลา 3-5<br />

วัน ปรับใหสปอรมีความเขมขนเปน 10 2 -10 3 สปอรตอมิลลิลิตร ในอาหาร 2x YT (1l: 16<br />

g tryptone, 10 g yeast extract, 5 g NaCl 5 g) แลวนําสปอรไปกระตุนการงอก<br />

โดยทดสอบ<br />

อุณหภูมิที่เหมาะสมในเวลาบม<br />

10 นาที ที่อุณหภูมิ<br />

30, 35, 40, 45, 50, 55 และ 60<br />

องศาเซลเซียส เมื่อตองการทดสอบระยะเวลาที่เหมาะสม<br />

จะใชเวลาบม 0, 5, 10, 15 และ<br />

20 นาที ที่อุณหภูมิ<br />

40 และ 45 องศาเซลเซียส จากนั้นทิ้งใหสปอรเย็นลงโดยแชในอางน้ําที่<br />

อุณหภูมิหอง แลวนําไปปนเหวี่ยงที่<br />

12,000 รอบตอนาที เปนเวลา 1 นาที แขวนลอยตะกอน<br />

ใน 2x YT ปริมาตร 100 ไมโครลิตร แลวนําไปเกลี่ยบนอาหารแข็ง<br />

MS ที่มี<br />

MgCl2 10 มิลลิโม<br />

ลาร บมไวที่<br />

30 องศาเซลเซียส เปนเวลา 3 วัน บันทึกจํานวนโคโลนีที่เจริญบนอาหาร<br />

8.2 การเตรียม E. coli ET12567 (pUZ8002/pIJ8600)<br />

สกัดพลาสมิด pIJ8600 จาก E. coli S17-1 ตามวิธีการในขอ 4.2 แลวนําไป<br />

ทําทรานสฟอรเมชัน ตามวิธีการในขอ 4.5 เขาสู<br />

E. coli ET12567 (pUZ8002) คัดเลือก<br />

โคลน ในอาหาร LB ที่มี<br />

อะพรามัยซิน (คัดเลือก pIJ8600) คานามัยซิน (คัดเลือก Tn9 ที่ทําให<br />

E. coli มีจีโนไทปเปน dam - ) และคลอแรมฟนิคอล (คัดเลือก pUZ8002) ความเขมขนตาม<br />

ตารางที่<br />

4 นําโคลนที่ไดไปตรวจสอบ<br />

โดยสกัดพลาสมิด แลวตัดดวยเอนไซมตัดจําเพาะ<br />

BamHI นําไปแยกขนาดโดยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส<br />

39


ภาพที่<br />

6 แผนที่พลาสมิด<br />

pIJ8600 ที่ใชศึกษาคอนจูเกชัน<br />

ประกอบดวยยีน oriT (จากพลาสมิด RK2), attP และ int (ของ actinophage φC31),<br />

ยีนตานอะพรามัยซิน [acc(3)IV] และไธโอสเตรปทอน (tsr)<br />

ที่มา:<br />

Kieser <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000<br />

ภาพที่<br />

7 แผนที่พลาสมิด<br />

pSET152 ที่ใชศึกษาคอนจูเกชัน<br />

ประกอบดวยยีน oriT (จากพลาสมิด RK2), attP และ int (ของ actinophage φC31)<br />

และยีนตานอะพรามัยซิน [acc(3)IV]<br />

ที่มา:<br />

Kieser <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000<br />

40


8.3 คอนจูเกชันตางสกุล<br />

การทําคอนจูเกชันตางสกุล อาศัยวิธีการของ Kieser <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (2000)<br />

8.3.1 การเตรียม E. coli ผูให<br />

นําเชื้อที่เลี้ยงขามคืนในอาหาร<br />

LB ที่มียาปฏิชีวนะที่เหมาะสม<br />

ความ<br />

เขมขนตามวิธีการขอ 4.1 เจือจางเซลล 1:100 ดวยอาหาร LB ที่มียาปฏิชีวนะเชนเดิม<br />

แลว<br />

เลี้ยงตอที่สภาวะเดิม<br />

จนมีคาดูดแสงที่ความยาวคลื่น<br />

600 (OD600) อยูระหวาง<br />

0.4-0.6<br />

(ประมาณ 3 ชั่วโมง)<br />

นําเชื้อที่ได<br />

5 มิลลิลิตร ไปลางดวยอาหาร LB ปริมาตรเทากัน 2 ครั้ง<br />

ตกตะกอนโดยการปนเหวี่ยง<br />

12,000 รอบตอนาที เปนเวลา 1 นาที แลวแขวนลอยเซลลใน<br />

อาหาร LB ปริมาตร 500 ไมโครลิตร<br />

8.3.2 การเตรียม S. rimosus ผูรับ<br />

เลี้ยงเชื้อ<br />

S. rimosus R7 บนอาหาร MS ที่อุณหภูมิ<br />

30 องศาเซลเซียส<br />

เปนเวลา 3-5 วัน เก็บสปอรตามวิธีการขอ 3.2 ปรับใหมีความเขมขนสปอรเปน 10 9 -10 10<br />

สปอรตอมิลลิลิตรในน้ํา<br />

ดูดสปอรปริมาตร 100 ไมโครลิตร ใสลงในหลอดขนาด 1.5 มิลลิลิตร<br />

ปนเหวี่ยง<br />

12,000 รอบตอนาที เปนเวลา 1 นาที เทน้ําทิ้ง<br />

แลวแขวนลอยสปอรในอาหาร 2x<br />

YT ปริมาตรเปน 500 ไมโครลิตร แลวนําไปกระตุนการงอกของสปอรตามสภาวะที่ไดจากขอ<br />

8.1<br />

ทิ้งไวใหมีอุณหภูมิเย็นในอางน้ําอุณหภูมิหอง<br />

กอนนําไปใช<br />

8.3.3 การทําคอนจูเกชัน<br />

ผสมผูใหและผูรับอยางละ<br />

500 ไมโครลิตร เขาดวยกัน ในหลอดขนาด<br />

1.5 มิลลิลิตร นําไปปนเหวี่ยง<br />

12,000 รอบตอนาที เปนเวลา 1 นาที เทของเหลวทิ้ง<br />

แขวนลอยตะกอนในอาหาร 2x YT ปริมาตร 100 ไมโครลิตร แลวเจือจางใหมีความเขมขน<br />

ตางๆ ตามความเหมาะสมดวยอาหาร 2x YT กอนเกลี่ยของผสมลงบนจานอาหารแข็ง<br />

ใน<br />

ปริมาตร 100 ไมโครลิตรตอจานอาหาร บมไวที่อุณหภูมิ<br />

30 องศาเซลเซียส เปนเวลา 16-20<br />

ชั่วโมง<br />

เมื่อสงถายพลาสมิดที่ตานยาปฏิชีวนะไธโอสเตรปทอน<br />

จะเททับจาน<br />

อาหารที่บมแลวดวยสารละลาย<br />

1 มิลลิลิตร ที่มีไธโอสเตรปทอน<br />

1,000 ไมโครกรัม และกรดนา<br />

41


ลิดิซิก 500 ไมโครกรัม เพื่อคัดเลือก<br />

Strptomyces ที่ไดรับพลาสมิดหรือเอกซคอนจูแกนต<br />

(exconjugant) และกําจัด E. coli ตามลําดับ บมที่<br />

30 องศาเซลเซียส ตอไปอีก 3-5 วัน นํา<br />

โคโลนีของเชื้อเจริญไปเขี่ยลงบนอาหารแข็ง<br />

MS ที่มียาปฏิชีวนะไธโอสเตรปทอนและกรดนาลิดิซิก<br />

ความเขมขนตามตารางที่<br />

4 ซ้ําอีก<br />

1-2 รอบ เพื่อตรวจสอบยืนยันผลการตานยาปฏิชีวนะ<br />

จากพลาสมิดที่ไดรับรวมทั้งกําจัด<br />

E. coli ที่อาจหลงเหลืออยู<br />

เมื่อสงถายพลาสมิดที่ตานยาปฏิชีวนะอะพรามัยซิน<br />

จะนําไปเททับดวย<br />

สารละลาย 1 มิลลิลิตร ซึ่งมีอะพรามัยซิน<br />

2,000 ไมโครกรัม และกรดนาลิดิซิก 500 ไมโครกรัม<br />

บมไวอีก 3-5 วัน จึงเก็บสปอรไปเกลี่ยซ้ําลงบนอาหารแข็ง<br />

TSA (สูตรเหมือน TSB แตมี Agar<br />

15 g/l) ที่มีอะพรามัยซินและกรดนาลิดิซิก<br />

เขมขนตามตารางที่<br />

4 บมไวอีก 3 วัน จึงนําโคโลนี<br />

ของเชื้อเจริญไปเขี่ยลงบนอาหารแข็ง<br />

TSA ที่มียาปฏิชีวนะเชนเดิมซ้ําอีก<br />

1-2 รอบ<br />

8.4 การศึกษาผลของความเขมขนของสปอรและชนิดของอาหาร<br />

ทําคอนจูเกชันตามวิธีการในขอ 8.3 ศึกษาผลของความเขมขนของสปอรที่ใชตอ<br />

ประสิทธิภาพของคอนจูเกชัน โดยใชจํานวนสปอรของ S. rimosus R7 ตางกัน 10 เทา ที่จํานวน<br />

สปอรเปน 10 8 และ 10 9 สปอร ในการทําคอนจูเกชัน แลวนําไปเกลี่ยลงบนอาหารแข็ง<br />

3 ชนิด<br />

เพื่อศึกษาผลของชนิดของอาหาร<br />

โดยใชอาหารแข็ง MS ที่มี<br />

MgCl2 10 มิลลิโมลาร อาหารแข็ง<br />

ISP4 [1l: 10 g soluble starch, 1 g KH2PO4 anhydrous, 1 g MgSO4.7H2O, 1 g NaCl, 1 g<br />

(NH4) 2SO4, 2 g CaCO3, 1 ml trace element (1l: 1 g FeSO4.7H2O, 1 g MnCl2.4H2O, 1 g<br />

ZnSO4.7H2O), 20 g agar, pH 7.2; Shirling and Gottlieb, 1966] ที่มี<br />

MgCl2 10 มิลลิโมลาร<br />

และอาหารแข็ง ISP3 [1 l: 20 g oatme<strong>al</strong>, 1 ml trace element (เหมือน ISP4), 20 g agar, pH<br />

7.2; Shirling and Gottlieb, 1966] ที่มี<br />

MgCl2 10 มิลลิโมลาร<br />

8.5 การตรวจสอบเอกซคอนจูแกนตที่ไดรับพลาสมิด<br />

pIJ8600<br />

นําโคโลนีเอกซคอนจูแกนตที่เจริญไดบนอาหารแข็ง<br />

MS ที่มียาปฏิชีวะนะไปเลี้ยง<br />

ในอาหารเหลว TSB ที่มีไธโอสเตรปทอน<br />

ความเขมขนตามตารางที่<br />

4 เพื่อสกัดดีเอ็นเอ<br />

แลว<br />

นําดีเอ็นเอที่สกัดไดไปตรวจสอบโดยทํา<br />

dot blot hybridisation กับโพรบที่เปนสวนของยีน<br />

tsr<br />

ขนาดประมาณ 2 กิโลเบส ซึ่งไดจากตัดพลาดมิด<br />

pIJ8600 ดวยเอนไซม EcoRI และตรวจสอบ<br />

ตําแหนงของการแทรกตัวในโครโมโซมโดยนําไปทํา Southern blot hybridisation โดยใชโพรบ<br />

เดิม การตรวจสอบการสรางสารไรโมซิดินของเอกซคอนจูแกนต ใชการตรวจสอบการเกิดวงใส<br />

การทํา TLC และสเปกโทรเมทรี ตามวิธีการในขอ 6<br />

42


8.6 การคํานวณหาประสิทธิภาพของการเกิดคอนจูเกชัน<br />

คํานวณจากอัตราสวนของจํานวนสปอรที่ไดรับพลาสมิดกับจํานวนสปอรที่ใช<br />

ทั้งหมด<br />

โดยนับโคโลนีที่ไดรับพลาสมิดจากจานอาหารคัดเลือกเอกซคอนจูแกนต<br />

และจํานวน<br />

สปอรที่ใชทั้งหมดคํานวณไดจากการนับจํานวนโคโลนีที่เจริญ<br />

จากการเจือจางสปอรที่ใชในการทํา<br />

คอนจูเกชันแลวเกลี่ยลงบนอาหาร<br />

MS ที่มี<br />

MgCl2 เขมขน 10 มิลลิโมลาร<br />

9. การศึกษาหนาที่ของยีน<br />

Type I PKS จาก S. rimosus R7<br />

นําชิ้นดีเอ็นเอที่หาลําดับเบสแลวคาดวาจะเปน<br />

Type I PKS ไดแก ชิ้นที่ไดจากการทําพีซี<br />

อาร (ขอ 7.1) และจากโครโมโซม (ขอ 7.3) ไปทํายีนดิสรัปชันเพื่อศึกษาหนาที่ของยีน<br />

โดย<br />

ตรวจผลจากการสังเคราะหสารตานเชื้อราไรโมซิดินของสายพันธุกลายที่ได<br />

9.1 การเตรียมพลาสมิดและการทํายีนดิสรัปชัน<br />

นําชิ้นพีซีอารของโดเมน<br />

KS จากขอ 7.1 และชิ้นดีเอ็นเอที่โคลนไดจาก<br />

โครโมโซมซึ่งเปนสวนประกอบของยีน<br />

PKS จากขอ 7.3 โคลนเขาสูพลาสมิด<br />

pSET151 (ภาพที่<br />

8) และ pKC1132 (ภาพที่<br />

9) ดวยเอนไซมตัดจําเพาะที่เหมาะสม<br />

แลวทําทรานสฟอรเมชันเขาสู<br />

E. coli ET12567 (pUZ8002) ตามวิธีการขอ 4.5 จากนั้นนําไปทําคอนจูเกชัน<br />

(ตามวิธีการขอ<br />

8.3) เขาสู<br />

S. rimosus R7<br />

9.2 การตรวจสอบสายพันธุกลาย<br />

9.2.1 Dot Blot และ Southern Blot Hybridization<br />

ตรวจสอบโดยนําเอกซคอนจูแกนตของ S. rimosus R7 ที่ขึ้นบนจาน<br />

อาหารแข็งที่มียาปฏิชีวนะตามความเหมาะสม<br />

ไปเลี้ยงในอาหารเหลว<br />

TSB ที่มียาปฏิชีวนะ<br />

ที่<br />

อุณหภูมิหอง เขยา 200 รอบตอนาที เปนเวลา 3 วัน แลวสกัดโครโมโซมตามวิธีการในขอ 3.3<br />

นําไปทํา dot blot hybridisation และ Southern blot hybridization ตามวิธีการขอ 5.6 โดยใช<br />

โพรบที่เหมาะสม<br />

43


ภาพที่<br />

8 แผนที่พลาสมิด<br />

pSET151 ที่ใชในการทํายีนดิสรัปชัน<br />

สวนประกอบสําคัญ คือ oriT (จากพลาสมิด RK2) และยีนตานยาปฏิชีวนะไธ<br />

โอสเตรปทอน (tsr)<br />

ที่มา:<br />

Kieser <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000<br />

ภาพที่<br />

9 แผนที่พลาสมิด<br />

pKC1132 ที่ใชในการทํายีนดิสรัปชัน<br />

ไดมาจากพลาสมิด pOJ620 โดยการตัดชิ้นสวนบริเวณ<br />

KpnI-SpeI ที่มีตําแหนงตัด<br />

ของ DraI ทิ้งออกไป<br />

สวนประกอบสําคัญ คือ oriT (จากพลาสมิด RK2) และยีน<br />

ตานยาปฏิชีวนะอะพรามัยซิน [Am R ; acc(3)IV]<br />

ที่มา:<br />

Bierman <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1992<br />

44


9.2.2 การตรวจสอบการผลิตไรโมซิดิน<br />

นําสายพันธุกลายที่ได<br />

ไปตรวจสอบการสังเคราะหสารไรโมซิดิน ซึ่ง<br />

เปนสารตานเชื้อราโดยการเกิดวงใสของเชื้อรา<br />

C. <strong>al</strong>bicans และ A. niger ตรวจสอบดวย TLC<br />

และสเปกโทรเมทรี ตามวิธีการในขอ 6<br />

10. สถานที่และระยะเวลาทําการวิจัย<br />

หองปฏิบัติการวิจัย ภาควิชาพันธุศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

วิทยาเขตบางเขน ในระหวางเดือน พฤศจิกายน 2544 - กรกฎาคม 2547<br />

45


ผลและวิจารณ<br />

1. การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมสําหรับการเกิดคอนจูเกชันตางสกุลระหวาง<br />

S. rimosus R7<br />

และ E. coli ET12567 (pUZ8002/pIJ8600)<br />

1.1 อุณหภูมิและระยะเวลาที่เหมาะสมตอการกระตุนการงอกของสปอรของ<br />

S. rimosus R7<br />

ศึกษาอุณหภูมิและระยะเวลาในการกระตุนการงอกของสปอร<br />

S. rimosus R7<br />

ตามวิธีการในขอ 8.1 โดยเมื่อใชเวลาบมสปอรเปนเวลา<br />

10 นาที แปรอุณหภูมิที่<br />

30, 35, 40,<br />

45, 50, 55 และ 60 องศาเซลเซียส ทดลอง 3 ซ้ํา<br />

จากคาเฉลี่ยพบวาการอยูรอดของสปอร<br />

เริ่มลดลงอยางชัดเจนในระหวางชวงอุณหภูมิ<br />

40 และ 45 องศาเซลเซียส (ภาพที่<br />

10) โดย<br />

ลดลงจากการอยูรอดที่<br />

88.66 ± 3.24 เปอรเซ็นต เปน 75.30 ± 9.12 เปอรเซ็นต คาดวา<br />

อุณหภูมิที่เหมาะสมสําหรับการกระตุนสปอรควรอยูระหวางนี้<br />

จากรายงานอุณหภูมิที่ใชในการ<br />

กระตุนการงอกของสปอรของ<br />

Streptomyces โดยทั่วไป<br />

จะอยูที่<br />

50 องศาเซลเซียส เชน S.<br />

lividans (Mazodier <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1989), S. coelicolor (Fl<strong>et</strong>t <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1997) และ S. peuc<strong>et</strong>ius<br />

(Paranthaman and Dharm<strong>al</strong>ingam, 2003) เปนตน แตที่อุณหภูมิ<br />

50 องศาเซลเซียส การอยู<br />

รอดของสปอรของ S. rimosus R7 มีคาเปน 57.89 ± 11.05 เปอรเซ็นต จึงเปนอุณหภูมิที่ไม<br />

เหมาะสม และอาจแสดงวาสปอรของ S. rimosus R7 ทนตอความรอนไดไมดี<br />

การศึกษาระยะเวลาในการบมจึงเลือกใชอุณหภูมิที่<br />

40 และ 45 องศาเซลเซียส<br />

บมสปอรเปนระยะเวลา 0, 5, 10, 15 และ 20 นาที ทดลอง 3 ซ้ํา<br />

จากคาเฉลี่ยพบวาการอยู<br />

รอดของสปอรเริ่มลดลงหลังจากบมเปนระยะเวลา<br />

5 นาที ทั้งที่<br />

40 และ 45 องศาเซลเซียส ซึ่ง<br />

ที่<br />

45 องศาเซลเซียส การอยูรอดลดลงมากกวาที่<br />

40 องศาเซลเซียส (ภาพที่<br />

11) โดยเมื่อบม<br />

เปนเวลา 10 นาที การอยูรอดของสปอรที่<br />

40 และ 45 องศาเซลเซียส มีคาเปน 89.49 ± 7.30<br />

เปอรเซ็นต และ 76.27 ± 9.79 เปอรเซ็นต ตามลําดับ<br />

เนื่องจากการบมทําใหการอยูรอดของสปอรลดลง<br />

มีผลตอจํานวนสปอรมีชีวิตที่<br />

จะนําไปใชในการทําคอนจูเกชัน อุณหภูมิและระยะเวลาที่เหมาะสมจึงควรเปนอุณหภูมิต่ําที่สุด<br />

และระยะเวลาสั้นที่สุดที่สามารถกระตุนใหเกิดการงอกของสปอรได<br />

ซึ่งจากการศึกษาของ<br />

Kitani<br />

<strong>et</strong> <strong>al</strong>. (2000) พบวาอุณหภูมิและระยะเวลาที่เริ่มทําใหการอยูรอดของสปอรลดลงสามารถ<br />

กระตุนการงอกของสปอรได<br />

ดังนั้นสําหรับ<br />

S. rimosus R7 อุณหภูมิและระยะเวลาที่เหมาะสม<br />

คือ บมที่อุณหภูมิ<br />

40 องศาเซลเซียส เปนเวลา 10 นาที ซึ่งเปนสภาวะเชนเดียวกับ<br />

S.<br />

46


lavendulae FRI-5 (Kitani <strong>et</strong> <strong>al</strong>.; 2000) แตแตกตางจากสภาวะที่ใชสําหรับ<br />

S. lividans<br />

(Mazodier <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1989) และ S. coelicolor (Kieser <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000) ซึ่งบมที่อุณหภูมิ<br />

50 องศา<br />

เซลเซียส เปนเวลา 10 นาที ซึ่งการกระตุนการงอกของสปอรนี้จะทําใหประสิทธิภาพของการ<br />

คอนจูเกชันตางสกุลสูงขึ้น<br />

(Mazodier <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1989)<br />

การอยูรอดของสปอร<br />

(%)<br />

ภาพที่<br />

10 กราฟแสดงการอยูรอดของสปอรเมื่อกระตุนการงอกของสปอรที่อุณหภูมิตางๆ<br />

การอยูรอดของสปอร<br />

(%)<br />

100<br />

80<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

100<br />

80<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

30 35 40 45 50 55 60<br />

อุณหภูมิ (ºC)<br />

0 5 10 15 20<br />

ระยะเวลา (นาที)<br />

40 ºC<br />

45 ºC<br />

ภาพที่<br />

11 กราฟแสดงการอยูรอดของสปอรเมื่อกระตุนการงอกของสปอรที่อุณหภูมิ<br />

40 และ<br />

45 องศาเซลเซียสในระยะเวลาตางๆ<br />

47


1.2 การเตรียม E. coli ET12567 (pUZ8002/pIJ8600)<br />

สกัดพลาสมิด pIJ8600 ขนาด 8.1 กิโลเบส จาก E. coli S17-1 ตรวจสอบ<br />

โดยการตัดดวยเอนไซมตัดจําเพาะ BamHI แลวทําอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส (ภาพที่<br />

12 แถว<br />

ที่<br />

2) จากนั้นจึงนําพลาสมิดที่ไดทรานสฟอรมเขาสู<br />

E. coli ET12567 (pUZ8002) คัดเลือก<br />

และตรวจสอบโคลนที่ไดโดยการสกัดพลาสมิดแลวตัดดวยเอนไซมตัดจําเพาะ<br />

BamHI ซึ่งผล<br />

จากอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิสแสดงวามีพลาสมิด pIJ8600 (ภาพที่<br />

12 แถวที่<br />

5 และ 6)<br />

โดย E. coli ET12567 (pUZ8002/pIJ8600) ที่ไดจะนําไปใชในการทําคอนจูเกชันตอไป<br />

10 kb<br />

8 kb<br />

5 kb<br />

M 1 2 3 4 5 6<br />

8.1 kb<br />

ภาพที่<br />

12 การตรวจสอบการทรานสฟอรมพลาสมิด pIJ8600 เขาสู<br />

E. coli ET12567<br />

(pUZ8002) ดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส<br />

M=1 kb ladder แถวที่<br />

1=pIJ8600 แถวที่<br />

2=pIJ8600/BamHI<br />

แถวที่<br />

3=pUZ8002 แถวที่<br />

4=pUZ8002/BamHI<br />

แถวที่<br />

5=(pUZ8002+pIJ8600) และแถวที่<br />

6=(pUZ8002+pIJ8600)/BamHI<br />

48


1.3 ประสิทธิภาพของคอนจูเกชันตางสกุล<br />

การทดลองนี้จะทําคอนจูเกชันตางสกุลโดยใช<br />

E. coli ET12567<br />

(pUZ8002/pSET152) และ E. coli ET12567 (pUZ8002/pIJ8600) เปนผูให<br />

และ S.<br />

rimosus R7 เปนผูรับ<br />

ตามวิธีการในขอ 8.3 จํานวน 3 ซ้ํา<br />

โดยมีความเขมขนสปอรที่เก็บมาใชอยู<br />

ในชวง 10 9 -10 10 สปอรตอมิลลิลิตร ซึ่งทําใหมีจํานวนสปอรจริงที่ใชผสมกับเซลล<br />

E. coli อยู<br />

ในชวง 10 8 -10 9 สปอร นําไปกระตุนการงอกของสปอรโดยบมที่อุณหภูมิ<br />

40 องศาเซลเซียส<br />

เปนเวลา 10 นาที หลังจากทําคอนจูเกชัน นําไปเกลี่ยลงบนอาหารแข็ง<br />

3 ชนิด คือ MS, ISP3<br />

และ ISP4 ที่มี<br />

MgCl2 เขมขน 10 มิลลิโมลาร แลวคัดเลือกโคลนที่มีพลาสมิด<br />

pSET152 โดย<br />

การเททับดวยยาปฏิชีวนะอะพรามัยซิน 1,000 ไมโครกรัมตอจานอาหาร ซึ่งเปนปริมาณที่ใช<br />

คัดเลือกใน S. coelicolor และ S. lividans (Kieser <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000) พบวา S. rimosus R7 บน<br />

จานอาหารคัดเลือกสามารถเจริญไดดีพอๆ กับบนจานอาหารที่ไมไดคัดเลือก<br />

จึงไมสามารถ<br />

คัดเลือกดวยยาตามปริมาณดังกลาวได เมื่อเพิ่มปริมาณยาเปน<br />

2,000 ไมโครกรัมตอจาน<br />

อาหาร สามารถคัดเลือกโคโลนีไดจํานวนหนึ่ง<br />

แตเมื่อนําไปเลี้ยงในอาหาร<br />

TSB ที่มียาปฏิชีวนะ<br />

อะพรามัยซิน 50 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร พบวาไมมีโคลนใดสามารถที่จะเจริญได<br />

แสดง<br />

วาอะพรามัยซินเปนยาปฏิชีวนะที่ไมเหมาะสม<br />

ทําให S. rimosus R7 เจริญไดดี จากการ<br />

ตรวจสอบขอมูลเพิ่มเติมพบวา<br />

มีรายงานขอมูลของยีน aminoglycoside N(3')-ac<strong>et</strong>yltransferase<br />

VII [acc(3)VII] จากเชื้อ<br />

S. rimosus subsp. paromomycinus (Lopez-Cabrera <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1989;<br />

Perez-Gonz<strong>al</strong>ez <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1989) ซึ่งมีสมบัติในการเติมหมูอะเซทิลใหกับอะพรามัยซินได<br />

เชนเดียวกับยีน acc(3)IV ที่มีในพลาสมิด<br />

คาดวา S. rimosus R7 ที่เจริญไดบนอาหารแข็งที่มี<br />

ยาปฏิชีวนะอะพรามัยซินนาจะมีการทํางานของยีนดังกลาว ทําใหสามารถตานอะพรามัยซินได<br />

เมื่อคัดเลือกโคลนที่มีพลาสมิด<br />

pIJ8600 โดยการเททับดวยยาปฏิชีวนะไธ<br />

โอสเตรปทอน นับจํานวนโคโลนีที่เจริญไดบนอาหาร<br />

(ภาพที่<br />

13) และคํานวณประสิทธิภาพคอน<br />

จูเกชันตางสกุล พบวาการทําคอนจูเกชันบนอาหาร MS ที่มี<br />

MgCl2 10 มิลลิโมลาร ให<br />

ประสิทธิภาพสูงสุดที่<br />

1.91 x 10 -4 เอกซคอนจูแกนตตอผูรับ<br />

โดยประสิทธิภาพอยูในชวง<br />

10 -5 -<br />

10 -4 เอกซคอนจูแกนตตอผูรับ<br />

(ตารางที่<br />

5) ซึ่งมีคาไมแตกตางกันเมื่อใชสปอรแตกตางกัน<br />

10<br />

เทา เชนเดียวกับการแปรจํานวนสปอรในการทําคอนจูเกชันของ S. nodosus บนอาหาร MS<br />

(Nikodinovic <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2003) เมื่อเปรียบเทียบกับคอนจูเกชันของ<br />

S. rimosus R7บนอาหาร MS<br />

และ ISP4 ที่มี<br />

MgCl2 10 มิลลิโมลาร พบวาประสิทธิภาพคอนจูเกชันบนอาหาร MS ดีกวาบน<br />

อาหาร ISP4 ที่มี<br />

MgCl2 10 มิลลิโมลาร ซึ่งใหประสิทธิภาพอยูในชวง<br />

10 -7 -10 -5 เอกซคอนจู<br />

แกนตตอผูรับ<br />

(ตารางที่<br />

5) โดยบนอาหาร ISP4 เมื่อใชจํานวนสปอรแตกตางกันจะให<br />

ประสิทธิภาพแตกตางกัน โดยประสิทธิภาพจะลดลงเมื่ออัตราสวนของผูรับตอผูใหเพิ่มขึ้น<br />

49


(ก)<br />

(ข)<br />

1 2 3<br />

4 5<br />

1 2 3<br />

4 5<br />

ภาพที่<br />

13 เอกซคอนจูแกนตที่ไดจากการคอนจูเกชันซึ่งใชจํานวนสปอร<br />

10 8 สปอร หลังจากบม<br />

ไวที่<br />

30 องศาเซลเซียส เปนเวลา 5 วัน<br />

(ก) บนอาหาร MS ที่มี<br />

MgCl2 10 มิลลิโมลาร (ข) บนอาหาร ISP4 ที่มี<br />

MgCl2 10 มิลลิโมลาร (1) สปอรที่ไมไดรับการคอนจูเกชันเมื่อคัดเลือกดวยไธ<br />

โอสเตรปทอน (negative control) (2, 3) คอนจูเกชันที่สปอรเจือจาง<br />

10 1 และ 10 2<br />

เทา ตามลําดับ และไมเททับดวยไธโอสเตรปทอน (4, 5) คอนจูเกชันที่สปอรเจือจาง<br />

10 1 และ 10 2 เทา ตามลําดับ และเททับดวยไธโอสเตรปทอน 1,000 ไมโครกรัม<br />

50


ตารางที่<br />

5 ประสิทธิภาพการเกิดคอนจูเกชันระหวาง E. coli ET12567 (pUZ8002/pIJ8600)<br />

และ S. rimosus R7 ที่กระตุนการงอกของสปอรที่<br />

40 องศาเซลเซียส เปนเวลา 10<br />

นาที<br />

Number of recipient spores<br />

Exconjugants per recipient<br />

MS+10 mM MgCl2 ISP4+10 mM MgCl2 10 9 (5.81 ± 7.76) x 10 -5 (5.57 ± 5.17) x 10 -7<br />

10 8 (1.91 ± 2.24) x 10 -4 (2.32 ± 2.26) x 10 -5<br />

สวนบนอาหาร ISP3 ที่มี<br />

MgCl2 10 มิลลิโมลาร ไมพบเอ็กซคอนจูเกนท แสดงวา ISP3 เปน<br />

อาหารที่ไมเหมาะสมในการเกิดคอนจูเกชันของ<br />

S. rimosus R7 กับ E. coli<br />

ประสิทธิภาพการสงถายพลาสมิด pIJ8600 ซึ่งมีขนาด<br />

8.1 กิโลเบส เขาสู<br />

S.<br />

rimosus R7 บนอาหาร MS ที่มี<br />

MgCl2 10 มิลลิโมลาร นั้นอยูในชวง<br />

10 -6 -10 -4 เอกซคอนจู<br />

แกนตตอผูรับ<br />

ซึ่งมีคาสูงกวาคอนจูเกชันของ<br />

E. coli ET12567 (pUZ8002/pSET152) และ<br />

S. lavendulae FRI-5 เพื่อสงถายพลาสมิด<br />

pSET152 ซึ่งมีขนาดเล็กกวา<br />

(5.5 กิโลเบส) โดย<br />

ประสิทธิภาพบนอาหาร MS อยูในชวง<br />

10 -6 เอกซคอนจูแกนตตอผูรับ<br />

และบนอาหาร ISP2 อยู<br />

ในชวง 10 -8 -10 -5 เอกซคอนจูแกนตตอผูรับ<br />

(Kitani <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000) อยางไรก็ตามประสิทธิภาพ<br />

การสงถายพลาสมิด pIJ8600 เขาสู<br />

S. rimosus R7 นั้น<br />

มีคาใกลเคียงกับการเกิดคอนจูเกชัน<br />

ของ pTO1 ขนาด 8.8 กิโลเบส โดยใช E. coli S17-1 (มีการเติมเมธิล) เขาสู<br />

Streptomyces<br />

จํานวน 16 สายพันธุ<br />

โดยมีประสิทธิภาพอยูในชวง<br />

10 -5 - 10 -3 เอกซคอนจูแกนตตอผูรับ<br />

ซึ่ง<br />

รวมไปถึง S. rimosus ATCC 23955 ซึ่งใหประสิทธิภาพ<br />

1 x 10 -4 เอกซคอนจูแกนตตอผูรับ<br />

(Voeykova <strong>et</strong> <strong>al</strong>.; 1998)<br />

จากผลการทดลองนี้จะเลือกใชอาหารแข็ง<br />

MS ที่มี<br />

MgCl2 10 มิลลิโมลาร ใน<br />

การทําคอนจูเกชันของ S. rimosus R7 ตอไป<br />

51


1.4 การตรวจสอบเอกซคอนจูแกนตดวย Dot Blot และ Southern Blot Hybridisation<br />

เลือกเอกซคอนจูแกนตจํานวน 46 โคลน มาตรวจสอบดวย dot blot<br />

hybridisation โดยใชยีน tsr เปนโพรบ มีขนาด 2 กิโลเบส ที่ไดจากการตัดพลาสมิด<br />

pIJ8600<br />

ดวยเอนไซม EcoRI จากผลการทดลองพบวาเอกซคอนจูแกนตจํานวน 41 โคลน ใหผลเปนบวก<br />

(ภาพที่<br />

14) จึงสุมเลือกเอกซคอนจูแกนต<br />

11 โคลน ไปตรวจสอบดวย Southern blot<br />

hybridisation กับโพรบเดิม โดยตัดดวยเอนไซมตัดจําเพาะ 2 ชนิด คือ EcoRV และ KpnI เพื่อ<br />

ตรวจสอบรูปแบบการแทรกตัวของพลาสมิด pIJ8600 ในโครโมโซม<br />

− + <br />

<br />

<br />

<br />

ภาพที่<br />

14 การตรวจสอบเอกซคอนจูแกนตของ S. rimosus R7 ที่ไดรับพลาสมิด<br />

pIJ8600 ดวย<br />

dot blot hybridisation โดยใชยีน tsr เปนโพรบ<br />

(-) = S. rimosus R7 (+) = pIJ8600 = เอกซคอนจูแกนต<br />

52


ผลของ Southern blot hybridisation (ภาพที่<br />

15) แสดงวาเอกซคอนจูแกนต<br />

ไดรับพลาสมิด pIJ8600 ซึ่งแทรกตัวเขาไปในโครโมโซม<br />

โดยเมื่อตัดดวยเอนไซม<br />

EcoRV ให<br />

แถบดีเอ็นเอ 2 แถบ ขนาดใหญมากกวา 10 กิโลเบส (ภาพที่<br />

15 แถวที่<br />

3, 5 และ 7) ขณะที่<br />

pIJ8600 ใหแถบดีเอ็นเอ 1 แถบ ขนาด 8.1 กิโลเบส (ภาพที่<br />

15 แถวที่<br />

9) แสดงวาบน<br />

โครโมโซม จะมีตําแหนงตัดของ EcoRV อยูหางออกไปทางซายและขวาของ<br />

pIJ8600 ที่แทรก<br />

ตัวอยู<br />

(ภาพที่<br />

16) เมื่อตัดดวยเอนไซม<br />

KpnI ใหแถบดีเอ็นเอ 2 แถบ ขนาด 0.6 กิโลเบส และ<br />

ขนาดประมาณ 8 กิโลเบส (ภาพที่<br />

15 แถวที่<br />

4, 6 และ 8) ขณะที่<br />

pIJ8600 ใหแถบดีเอ็นเอ 2<br />

แถบ ขนาด 0.6 และ 7.5 กิโลเบส (ภาพที่<br />

15 แถวที่<br />

10) แสดงวามีตําแหนงตัดของ KpnI อยู<br />

หางออกไปทางดานซายของ pIJ8600 ที่แทรกตัวอยู<br />

(ภาพที่<br />

16) จากการตรวจสอบเอกซคอนจู<br />

แกนต 11 โคลน พบวารูปแบบของ Southern blot hybridisation มีรูปแบบเดียวกันทั้งหมด<br />

แสดงวาตําแหนงการแทรกตัวของพลาสมิดเขาไปในตําแหนง attB ของ φC31 บนโครโมโซมเปน<br />

ตําแหนงเดียวกัน เชนเดียวกับที่มีรายงานใน<br />

S. ambofaciens (Kuhstoss <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1991) S.<br />

toyocaensis (Matsushima and B<strong>al</strong>tz, 1996) S. clavuligerus (Fouces <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000) และ S.<br />

lavendulae (Kitani <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000) อยางไรก็ตามจากการศึกษาของ Combes <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (2002)<br />

แสดงวาโครโมโซมของ Streptomyces มีตําแหนง attB ของ φC31 อยูหลายตําแหนง<br />

แตการที่<br />

ตรวจสอบพบการแทรกตัวที่ตําแหนงเดียวกันเสมอนั้น<br />

เนื่องจากความถี่ในการแทรกตัวในแตละ<br />

ตําแหนงมีความแตกตางกัน โดยพบการแทรกที่ตําแหนงแรกมากกวาตําแหนงที่<br />

2 ถึง 300 เทา<br />

53


(ก) M 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 M<br />

10 kb<br />

8 kb<br />

0.6 kb<br />

>10 kb<br />

>10 kb<br />

(ข) M 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 M<br />

8.1 kb<br />

7.5 kb<br />

0.6 kb<br />

8.1 kb<br />

7.5 kb<br />

0.6 kb<br />

ภาพที่<br />

15 การตรวจสอบเอกซคอนจูแกนตของ S. rimosus R7 ที่ไดรับพลาสมิด<br />

pIJ8600 ดวย<br />

Southern blot hybridisation โดยใชยีน tsr เปนโพรบ<br />

(ก) อะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิสของโครโมโซมที่ถูกตัดดวยเอนไซมตัดจําเพาะ<br />

(ข) Southern hybridisation M=1 kb ladder แถวที่<br />

1= S. rimosus R7/EcoRV<br />

แถวที่<br />

2= S. rimosus R7/KpnI แถวที่<br />

3, 5, 7 =เอกซคอนจูแกนต 1-3/EcoRV<br />

แถวที่<br />

4, 6, 8=เอกซคอนจูแกนต 1-3/KpnI แถวที่<br />

9= pIJ8600/EcoRV แถวที่<br />

10=pIJ8600/KpnI<br />

54


E5 K<br />

tsr<br />

pIJ8600<br />

attP<br />

attB<br />

chromosome<br />

site-specific recombination<br />

probe<br />

cut with EcoRV<br />

cut with KpnI<br />

ภาพที่<br />

16 การแทรกตัวของพลาสมิด pIJ8600 เขาไปในโครโมโซมของ S. rimosus R7<br />

E1=EcoRI E5=EcoRV K=KpnI<br />

X<br />

E1 E5 K<br />

3.6 kb 1.5 kb 3.3 kb<br />

4.5 kb<br />

2.0 kb<br />

> 10 kb > 10 kb<br />

8 kb 0.6 kb<br />

K/E1 E5<br />

55


1.5 การคัดเลือกอาหารเลี้ยงเชื้อสําหรับการสรางไรโมซิดินจาก<br />

S. rimosus<br />

คัดเลือกอาหารเลี้ยงเชื้อที่เหมาะสมกับการผลิตไรโมซิดินในเบื้องตน<br />

โดยเลี้ยง<br />

S. rimosus ในอาหารแข็ง 7 ชนิด ไดแก MS, PDA, ISP3, ISP4, Waksman agar (1l: 20 g<br />

glucose, 5 g peptone, 3 g yeast extract, 5 g meat extract, 5 g NaCl, 3 g CaCO3, 20 g<br />

agar, pH 7.0), Nutrient agar (NA; 1 l: 5 g peptone, 3 g meat extract, 15 g agar, pH 7.0)<br />

และ TSA ทดสอบการเกิดวงใสดวยวิธี agar plug assay (วิธีการขอ 6.1) ตอเชื้อ<br />

C. <strong>al</strong>bicans<br />

พบวา อาหารที่ใหวงใสกวางที่สุด<br />

คือ Waksman agar ซึ่งคาดวาเหมาะสมในการผลิตไรโมซิดิน<br />

(ภาพที่<br />

17) ขณะที่<br />

ISP4 และ TSB ไมพบการสรางวงใส (ไมไดแสดงผล)<br />

จากนั้นจึงทดสอบเลี้ยง<br />

S. rimosus ในอาหารเหลว Waksman broth (สูตร<br />

เชนเดียวกับ Waksman agar แตไมเติม agar) ตามวิธีการขอ 6.2 ผลของการทดสอบการเวิดวง<br />

ใสดวยวิธี paper disk assay ของน้ําเลี้ยงเชื้อในวันที่<br />

3, 4 และ 5 ตอเชื้อ<br />

C. <strong>al</strong>bicans พบวาเกิด<br />

วงใสจากน้ําเลี้ยงเชื้อทั้งหมด<br />

โดยน้ําเลี้ยงเชื้อในวันที่<br />

3 ใหวงใสขนาดเล็กกวาของวันที่<br />

4 และ 5<br />

แสดงวาไรโมซิดินมีการผลิตแลวตั้งแตวันที่<br />

3 ในการเลี้ยงดวยสภาวะนี้<br />

6<br />

5<br />

2<br />

1<br />

4<br />

3<br />

ภาพที่<br />

17 การตรวจสอบการสรางไรโมซิดินของ S. rimosus R7 บนอาหารแข็งตางๆ จากการ<br />

เกิดวงใสของ C. <strong>al</strong>bicans<br />

(1) = MS, (2) = Waksman agar, (3) = ISP3, (4) = ISP4, (5) = PDA และ<br />

(6) = NA<br />

56


1.6 การตรวจสอบสัณฐานวิทยาและการสรางสารไรโมซิดินของเอกซคอนจูแกนต<br />

จากการศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของเอกซคอนจูแกนต ไดแก ลักษณะโคโลนี<br />

สีของสปอร การสรางสปอรบนอาหารแข็ง พบวามีลักษณะเหมือน wild type ทุกประการ และ<br />

เมื่อนําเอกซคอนจูแกนตไปทดสอบการสรางสารไรโมซิดินโดยวิธี<br />

agar plug assay ตรวจสอบการ<br />

เกิดวงใสตอเชื้อ<br />

A. niger และ C. <strong>al</strong>bicans เปรียบเทียบกับ wild type พบวายังคงสามารถสราง<br />

สารตานเชื้อราไรโมซิดินไดเทากับ<br />

wild type (ภาพที่<br />

18) แสดงวาการแทรกตัวของพลาสมิดเขา<br />

ไปในโครโมโซมในตําแหนง attB ที่เกิดขึ้นนั้น<br />

ไมมีผลตอลักษณะทางฟโนไทปของ S. rimosus<br />

R7 และไมไดขัดขวางการสังเคราะหไรโมซิดิน<br />

2<br />

3<br />

1<br />

5<br />

4<br />

ภาพที่<br />

18 การตรวจสอบการสรางสารไรโมซิดินโดยการเกิดวงใสของเอกซคอนจูแกนตของ S.<br />

rimosus R7 (pIJ8600) ตอ C. <strong>al</strong>bicans ดวยวิธี agar plug assay<br />

(1) = S. rimosus R7 (2)-(4) =เอกซคอนจูแกนตที่<br />

1-3 (5) = MS ที่มีไธ<br />

โอสเตรปทอน 25 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร (negative control)<br />

57


1.7 การทํา Thin-Layer Chromatography (TLC)<br />

1.7.1 การคัดเลือกตัวพา (Mobile Phase)<br />

ทดสอบการแยกสารปฏิชีวนะมาโครไลด กลุมโพลีอีน<br />

ดวย TLC<br />

ใชนัยสตาติน 100 ไมโครกรัม เปนสารทดสอบ โดยใชแผน TLC เปน Silica gel 60 F254 (Merck, USA) ความยาว 10 เซนติเมตร ทดสอบตัวพา 2 ชนิด คือ chloroform:m<strong>et</strong>hanol<br />

(85:15) และ n-butanol:ac<strong>et</strong>ic acid:H2O (4:1:5) (ทิ้งไวใหแยกชั้น<br />

นําสวนบนมาใช)<br />

(Pandey <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1977; Pandey <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1982) จากการตรวจสอบการเคลื่อนที่ของนัยสตาติน<br />

ภายใตแสงอัลตราไวโอเลต พบวา chloroform:m<strong>et</strong>hanol (85:15) และ n-butanol:ac<strong>et</strong>ic<br />

acid:H2O (4:1:5) ใหคา Rf เปน 0.03 และ 0.36 ตามลําดับ (ภาพที่<br />

19) ดังนั้นตัวพาที่<br />

เหมาะสมสําหรับการแยกสารโพลีอีน คือ n-butanol:ac<strong>et</strong>ic acid:H2O (4:1:5) ซึ่งทําใหเกิดการ<br />

เคลื่อนที่ไดดีกวา<br />

(ก) (ข)<br />

Rf = 0.03<br />

เริ่มตน<br />

R f = 0.36<br />

เริ่มตน<br />

ภาพที่<br />

19 การตรวจสอบการแยกนัยสตาตินโดย TLC ภายใตแสงอัลตราไวโอเลต<br />

(ก) ตัวพาคือ chloroform:m<strong>et</strong>hanol (85:15)<br />

(ข) ตัวพาคือ n-butanol:ac<strong>et</strong>ic acid:H2O (4:1:5)<br />

58


1.7.2 การแยกสารโดย TLC และไบโอออโทกราฟ<br />

นําสารละลายที่ไดจากการสกัดไรโมซิดินในขอ<br />

6.3 มาทํา TLC ตาม<br />

วิธีการขอ 6.4.2 โดยใชแผน TLC เปน Silica gel 60 F254 (Merck, USA) ความยาว 20<br />

เซนติเมตร โดยใชตัวพาเปน n-butanol:ac<strong>et</strong>ic acid:H2O (4:1:5) ทํา TLC เปรียบเทียบกับ<br />

นัยสตาติน 100 ไมโครกรัม เมื่อนําไปตรวจสอบผลภายใตแสงอัลตราไวโอเลต<br />

พบวาสารละลาย<br />

ที่ไดจากการสกัดจากเสนใยและอาหารเลี้ยงเชื้อประกอบไปดวยสารตางชนิดกัน<br />

(ภาพที่<br />

20 ก)<br />

และผลที่ไดจากการทําไบโอออโทกราฟ<br />

(ภาพที่<br />

20 ข) แสดงใหเห็นวาสารที่ทําใหเกิดวงใสของ<br />

เชื้อ<br />

A. niger ที่คาดวาเปนไรโมซิดินนั้น<br />

เคลื่อนที่ไดเร็วกวานัยสตาติน<br />

(Rf 0.24) และมีคา Rf เปน 0.31 และพบวามีสารอีกชนิดที่สกัดได<br />

ซึ่งทําใหเกิดวงใสเชนเดียวกัน<br />

และสามารถเคลื่อนที่<br />

ไดไกลกวาไรโมซิดินเล็กนอย (มีคา Rf เปน 0.41) คาดวานาจะเปนสารอนุพันธของไรโมซิดิน<br />

จากผลการทดลองพบวาไรโมซิดินที่สกัดไดจากเสนใยมีปริมาณมากกวาที่สกัดไดจากอาหารเลี้ยง<br />

เชื้อ<br />

เมื่อนําสารละลายที่สกัดไดจากเอกซคอนจูแกนตมาทํา<br />

TLC และไบโอ<br />

ออโทกราฟนี้<br />

พบวาเอกซคอนจูแกนตของพลาสมิด pIJ8600 ยังคงสามารถผลิตไรโมซิดินและ<br />

ทําใหเกิดวงใสได ดังนั้นการแทรกตัวของพลาสมิด<br />

pIJ8600 ที่ตําแหนง<br />

attP จึงไมไดสงผลตอ<br />

การสังเคราะหไรโมซิดิน<br />

59


0.41<br />

0.31<br />

ก) ข)<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 1 2 3 4 5 6<br />

ภาพที่<br />

20 การตรวจสอบการแยกสารสกัดจาก S. rimosus R7 และเอกซคอนจูแกนตดวย TLC ภายใตแสงอัลตราไวโอเลตและไบโอออโทกราฟ<br />

(ก) TLC, (ข) ไบโอออโทกราฟ<br />

(1-5) =สารสกัดจากเสนใย, (7-11) =สารสกัดจากน้ําเลี้ยงเชื้อ,<br />

(1,7) =S. rimosus R7, (2-5, 8-11)=เอกซคอนจูแกนต pIJ8600,<br />

(6, 12) =นัยสตาติน 100 ไมโครกรัม<br />

0.41<br />

0.31<br />

0.24<br />

0.24<br />

60


1.8 การทําสเปกโทรเมทรี<br />

เมื่อนําสารสกัดจากเสนใยและน้ําเลี้ยง<br />

ไปเจือจางในเอธานอลแลวนําไปวัดการ<br />

ดูดแสงชวง 200-400 นาโนเมตร ดวยเครื่อง<br />

Lambda Bio UV/VIS Spectrom<strong>et</strong>er (Perkin<br />

Elmer, Germany) เปรียบเทียบกับนัยสตาติน พบวานัยสตาตินใหคาการดูดแสงสูงสุด (λmax) ที่<br />

280.0, 290.8, 304.0 และ 318.8 นาโนเมตร (ภาพที่<br />

21 ก) สวนไรโมซิดินที่สกัดไดใหคา<br />

λmax ที่<br />

278.0, 289.6, 303.2 และ 317.6 นาโนเมตร ใกลเคียงกับรายงานของ Cope <strong>et</strong> <strong>al</strong>.<br />

(1965) ซึ่งใหคา<br />

λmax ที่<br />

279, 291, 304 และ 318 นาโนเมตร โดยสารสกัดที่ไดจากเสนใยให<br />

คาการดูดแสงและความชัดเจนของกราฟมากกวาสารสกัดที่ไดจากน้ําเลี้ยง<br />

ซึ่งแสดงปริมาณของไร<br />

โมซิดินที่สกัดไดจากเสนใยมีมากกวาที่สกัดไดจากน้ําเลี้ยงประมาณ<br />

10 เทา (ภาพที่<br />

21)<br />

61


ก) ข)<br />

ค) ง) จ)<br />

ภาพที่<br />

21 การดูดแสงของนัยสตาตินและไรโมซิดินโดยสเปกโทรเมทรี<br />

(ก) นัยสตาติน (10 µg/ml) (ข) ไรโมซิดินที่สกัดจากเสนใยของ<br />

S. rimosus R7<br />

เจือจาง 1,000 เทา (ค) ไรโมซิดินจากน้ําเลี้ยงของ<br />

S. rimosus R7 เจือจาง 100<br />

เทา (ง) ไรโมซิดินจากเสนใยของเอกซคอนจูแกนต (pIJ8600) เจือจาง 1,000 เทา<br />

(จ) ไรโมซิดินจากน้ําเลี้ยงของเอกซคอนจูแกนต<br />

(pIJ8600) เจือจาง 100 เทา<br />

Absorbance nm<br />

Absorbance nm<br />

62


2. การโคลนยีน Type I PKS จาก S. rimosus R7<br />

จากโครงสรางของไรโมซิดิน (ภาพที่<br />

5) คาดวาการสังเคราะหอาศัยกลุมยีน<br />

Type I PKS<br />

จํานวน 13 โมดุล เมื่อไมรวมโมดุลเริ่มตน<br />

โดยเชื่อมหนวยเริ่มตนที่เปน<br />

บิวทีริล-โคเอ กับหนวย<br />

ตอเติม ไดแก มาโลนิล-โคเอ จํานวน 11 หนวย เมธิลมาโลนิล-โคเอ จํานวน 1 หนวย และ<br />

เอธิลมาโลนิล-โคเอ จํานวน 1 หนวย การทดลองนี้จะโคลนยีน<br />

Type I PKS ที่เกี่ยวของกับการ<br />

สรางไรโมซิดิน โดยการสรางโพรบจากโดเมน KS<br />

2.1 การเตรียมดีเอ็นเอโพรบ<br />

ชิ้นดีเอ็นเอที่นํามาเตรียมเปนโพรบ<br />

ไดจากการทําพีซีอารดวยไพรเมอรซึ่ง<br />

จําเพาะตอยีน Type I PKS ในสวนของโดเมน KS จากรายงานของ ณัฏฐิกาและอรินทิพย<br />

(2544) ตามวิธีการในขอ 7.1 เมื่อทําพีซีอารโดยใชอุณหภูมิ<br />

anne<strong>al</strong>ing ที่<br />

70 องศาเซลเซียส<br />

พบวาผลิตภัณฑพีซีอารที่ไดมีแถบดีเอ็นเอที่ตองการ<br />

ขนาดประมาณ 1.3 กิโลเบส พรอมกับพบ<br />

แถบดีเอ็นเอที่ไมจําเพาะ<br />

(non-specific) ซึ่งมีขนาดเล็กกวาอยูบางสวน<br />

จึงไดทดลองทําพีซีอาร<br />

โดยเพิ่มอุณหภูมิ<br />

anne<strong>al</strong>ing ใหสูงขึ้นเปน<br />

72 องศาเซลเซียส แตยังคงพบวามีแถบดีเอ็นเอที่ไม<br />

จําเพาะอยู<br />

(ภาพที่<br />

22 ก) ดังนั้นอุณหภูมิ<br />

anne<strong>al</strong>ing ที่<br />

70 องศาเซลเซียส จึงเปนอุณหภูมิที่<br />

เหมาะสมที่สุด<br />

เชนเดียวกับที่มีรายงานใน<br />

Streptomyces sp. A2a-19 (ณัฏฐิกาและอรินทิพย,<br />

2544)<br />

สกัดผลิตภัณฑพีซีอารขนาด 1.3 กิโลเบส จากเจล แลวตัดดวยเอนไซมตัด<br />

จําเพาะ EcoRI และ PstI ซึ่งจะตัดบริเวณปลายของชิ้นดีเอ็นเอตามที่ไดออกแบบตําแหนงตัดของ<br />

เอนไซมไวที่ปลาย<br />

5’ ของไพรเมอร (วิธีการขอ 7.1; ณัฏฐิกาและอรินทิพย, 2544) พบวาชิ้นดี<br />

เอ็นเอขนาด 1.3 กิโลเบส ถูกตัดใหแถบดีเอ็นเอ 2 แถบ มีขนาด 1.1 และ 1.3 กิโลเบส (ภาพที่<br />

22 ข) ซึ่งแสดงวามีตําแหนงตัดของเอนไซม<br />

EcoRI หรือ PstI ในชิ้นดีเอ็นเอ<br />

โดยจะไดกลาวถึงใน<br />

ขอ 2.2 ตอไป<br />

เชื่อมตอชิ้นดีเอ็นเอทั้งขนาด<br />

1.1 และ 1.3 กิโลเบสนั้น<br />

กับพลาสมิด pUC18 ซึ่ง<br />

ตัดดวยเอนไซมเดียวกัน นําไปทรานสฟอรมเขาสู<br />

E. coli JM109 คัดเลือกโคลนโดยการตัดดวย<br />

เอนไซม EcoRI และ PstI พบวาโคลนไดเฉพาะชิ้นดีเอ็นเอขนาด<br />

1.1 กิโลเบส เทานั้น<br />

ใหชื่อ<br />

พลาสมิดวา pATT401 (ภาพที่<br />

22 ค)<br />

63


(ก) (ข)<br />

M 1 2<br />

M 1 2 3<br />

1.6 kb<br />

1 kb<br />

(ค)<br />

3 kb<br />

2.5 kb<br />

1.2 kb<br />

1 kb<br />

1.3 kb<br />

1.6 kb<br />

1 kb<br />

M 1 2 3 4 5<br />

2.7 kb<br />

1.1 kb<br />

1.3 kb<br />

1.1 kb<br />

ภาพที่<br />

22 ผลการทําพีซีอารยีนดวยไพรเมอร ATT10 และ ATT11 จาก S. rimosus R7 และ<br />

การตรวจสอบการโคลนชิ้นดีเอ็นเอดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส<br />

M=1 kb ladder (ก) ผลการทําพีซีอารชิ้นดีเอ็นเอ<br />

(KS-R7) ที่อุณหภูมิ<br />

anne<strong>al</strong>ing<br />

ที่<br />

แถวที่<br />

1 = 70 องศาเซลเซียส แถวที่<br />

2 = 72 องศาเซลเซียส (ข) การเตรียมชิ้น<br />

ดีเอ็นเอสําหรับการโคลน แถวที่<br />

1 = KS-R7 แถวที่<br />

2 = KS-R7 ที่สกัดจากเจล<br />

แถวที่<br />

3 = KS-R7 ที่สกัดจากเจล/EcoRI/PstI<br />

(ค) การตรวจสอบโคลน<br />

pATT401 แถวที่<br />

1 = KS-R7 ที่สกัดจากเจล/EcoRI/PstI<br />

แถวที่<br />

2 =<br />

pUC18/EcoRI/PstI แถวที่<br />

3 = pUC18 แถวที่<br />

4 = pATT401/EcoRI/PstI<br />

แถวที่<br />

5 = pATT401<br />

64


2.2 การวิเคราะหชิ้นดีเอ็นเอที่ใชเปนโพรบ<br />

นําพลาสมิด pATT401 ไปหาลําดับเบสโดยใชไพรเมอร M13 Forward และ<br />

M13 Reverse ไดลําดับเบสจํานวน 806 และ 825 คูเบส<br />

ตามลําดับ (ภาพที่<br />

23) เมื่อวิเคราะห<br />

แลวพบวาชิ้นดีเอ็นเอในพลาสมิด<br />

pATT401 มีลําดับเบสขนาด 1,050 คูเบส<br />

สามารถแปลรหัส<br />

เปนกรดอะมิโนขนาด 350 กรดอะมิโน (ภาพที่<br />

24) เมื่อนําลําดับกรดอะมิโนที่ไดไป<br />

เปรียบเทียบกับฐานขอมูลโดยใชโปรแกรม BlastP (23 กุมภาพันธ 2547) พบวามีความ<br />

คลายคลึงกับกลุมยีน<br />

Type I PKS ในฐานขอมูลดังตารางที่<br />

6 โดย 4 ลําดับแรกที่มีคาความ<br />

เหมือน (identity) สูงที่สุด<br />

ที่<br />

72-89 เปอรเซ็นต เปนยีน Type I PKS ในกระบวนการ<br />

สังเคราะหสารโพลีคีไทดในกลุมโพลีอีนเชนเดียวกับไรโมซิดิน<br />

ซึ่งไดแก<br />

พิมาริซินจาก S.<br />

nat<strong>al</strong>ensis (Aparicio <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000), แคนดิซิดิน (candicidin) จาก Streptomyces sp. FR-008<br />

(Chen <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2003), นัยสตาตินจาก S. noursei (Brautas<strong>et</strong> <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000) และแอมโฟเทอริซิน<br />

จาก S. nodusus (Caffrey <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2001) จากคาความเหมือนนี้แสดงใหเห็นวา<br />

401-KS นาจะ<br />

เปนโดเมนหนึ่ง<br />

ซึ่งอยูในกลุมยีนที่เกี่ยวของกับการสังเคราะหสารโพลีอีนมากกวากลุมยีน<br />

Type I<br />

PKS ชนิดอื่น<br />

นําลําดับกรดอะมิโน (401-KS) ไปทํา multiple <strong>al</strong>ignment และ clustering<br />

โดยใชโปรแกรม Clust<strong>al</strong>W เปรียบเทียบกับลําดับกรดอะมิโนของยีน Type I PKS ในสวน KS<br />

จากฐานขอมูล โดยเลือกโดเมน KS จากโพลีคีไทดชนิดที่<br />

1 กลุมมาโครไลด<br />

ไดแก KS โมดุลที่<br />

1<br />

ของการสังเคราะหทัยโลซิน (tylosin; TYL-KS1; DeHoff <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1996), KS โมดุลที่<br />

2 ของ<br />

การสังเคราะหอีรีโธรมัยซิน (ERY-KS2; Donadio <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1991) และ KS โมดุลที่<br />

2 ของการ<br />

สังเคราะหอะเวอรเมกทิน (AVE-KS2; Ikeda <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1999) มาเปรียบเทียบกับโดเมน KS จาก<br />

โพลีคีไทดชนิดที่<br />

1 กลุมโพลีอีน<br />

ไดแก KS โมดุลที่<br />

6 ของการสังเคราะหพิมาริซิน (PIM-KS6;<br />

Aparicio <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000), KS โมดุลที่<br />

9 ของการสังเคราะหนัยสตาติน (NYS-KS9; Brautas<strong>et</strong><br />

<strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000) และ KS โมดุลที่<br />

9 ของการสังเคราะหแอมโฟเทอริซิน (AMP-KS9; Caffrey <strong>et</strong><br />

<strong>al</strong>., 2001) เมื่อวาด<br />

phylogen<strong>et</strong>ic tree ดวยโปรแกรม TreeView (ภาพที่<br />

25) ปรากฏวา KS<br />

ของ S. rimosus R7 ที่ไดจากการพีซีอาร<br />

(401-KS) จัดอยูในกลุม<br />

KS ของสารโพลีอีน แยก<br />

ออกจากกลุม<br />

KS ของสารมาโครไลด เชื่อไดวา<br />

KS ที่ไดจากการพีซีอารนาจะเกี่ยวของกับการ<br />

สังเคราะหสารไรโมซิดิน<br />

ผลจากการทํา <strong>al</strong>ignment ทําใหทราบวาขนาดที่สั้นลงของ<br />

KS ที่โคลนไดใน<br />

พลาสมิด pATT401 เกิดจากการมีตําแหนงตัดของเอนไซม EcoRI ในชวงตนของปลาย 5’ ของ<br />

ยีน KS (ภาพที่<br />

23)<br />

65


ภาพที่<br />

23 ทิศทางการหาลําดับเบสของพลาสมิด pATT401 และทิศทางของยีน KS<br />

(ก)<br />

M13 Reverse primer<br />

825 bp<br />

EcoRI PstI<br />

1.1 kb<br />

KS pATT401<br />

806 bp<br />

M13 Forword primer<br />

EcoRI<br />

1: GAATTCGACGCCTCCTTCTTCGGGATCTCCCCGCGTGAGGCGCTCGCCATG<br />

1: E F D A S F F G I S P R E A L A M<br />

52: GACCCGCAGCAGCGGCTGCTGCTGGAGTCCTCCTGGGAAGCCTTCGAGCGG<br />

18: D P Q Q R L L L E S S W E A F E R<br />

103: GCCGGCATCGACCCGGCGGCGGTCCGGGGCACCCGGACGGGCATGTTCGTC<br />

35: A G I D P A A V R G T R T G M F V<br />

154: GGGGCGATGCCCCAGGAGTACCGGGTGGGCCCGGACGACGACGTCCAGGGC<br />

52: G A M P Q E Y R V G P D D D V Q G<br />

205: TTCGCCTTGACCGGCACCACCACCAGCGTCATCTCGGGCCGCCTCGCCTAC<br />

69: F A L T G T T T S V I S G R L A Y<br />

256: TTCTTCGGGGCCGTGGGCCCGGCGGTCACCATCGACACCGCCTGCTCCTCC<br />

86: F F G A V G P A V T I D T A C S S<br />

307: TCCCTCGTGGCCCTGCACCTGGCCGCCCACTCGCTGCGCCAGGGCGAGTGC<br />

103: S L V A L H L A A H S L R Q G E C<br />

358: TCCCTCGCGCTGGCCGCCGGTGTGACCGTGATGTCCAGCCCCACCACCTTC<br />

120: S L A L A A G V T V M S S P T T F<br />

409: GTGGAGTTCAGCCGCCAGGGCGGCCTCTCCCCGGACGGGCGCTGCCGCTCC<br />

137: V E F S R Q G G L S P D G R C R S<br />

460: TTCGCGGACTCCGCCAACGGCACCGGCTGGGCCGAGGCGGTCGGCGTCCTG<br />

154: F A D S A N G T G W A E A V G V L<br />

511: GTCCTGGAGCGCCTCTCCGAGGCCCGCCGCAACGGGCACGAGATCCTGGGC<br />

171: V L E R L S E A R R N G H E I L G<br />

562: GTCGTACGGGGCTCCGCCGTCAACCAGGACGGCGCCTCCAACGGCCTGACC<br />

188: V V R G S A V N Q D G A S N G L T<br />

613: GCCCCCAACGGCCCCTCCCAGCAGCGGGTCATCGAACAGGCGCTGGTCAGC<br />

205: A P N G P S Q Q R V I E Q A L V S<br />

664: GCGCGGCTCTCGGCCGACGAGGTCGACGCCGTCAAGGGGCACGGCACCGGC<br />

222: A R L S A D E V D A V K G H G T G<br />

ภาพที่<br />

24 ลําดับเบสและลําดับกรดอะมิโนของโดเมน KS จาก S. rimosus R7 ในพลาสมิด<br />

pATT401<br />

(ก) ลําดับเบสขนาด 1,050 คูเบสและการแปลรหัส<br />

(ข) ลําดับกรดอะมิโนขนาด<br />

350 กรดอะมิโน ตีกรอบ=active-site sequence (*)=active site<br />

*<br />

66


(ข)<br />

ภาพที่<br />

24 (ตอ)<br />

715: ACCACCCTCGGCGACCCGGTCGAGGCGCAGGCGCTGCTGGCGACCTACGGT<br />

239: T T L G D P V E A Q A L L A T Y G<br />

766: CAGGGCCGCGACGCCGACAGCCCCCTCCTGCTGGGCTCCGTCAAGTCGAAC<br />

256: Q G R D A D S P L L L G S V K S N<br />

817: CTCGGCCACACCCAGCCGGCGGCCGGCCTGGCCGGTGTCATCAAGATGGTG<br />

273: L G H T Q P A A G L A G V I K M V<br />

868: CTGGCCATGAAGCACGGCCTGCTCCCGCGCACGCTCCATGTGGACGCGCCG<br />

290: L A M K H G L L P R T L H V D A P<br />

919: TCCTCGCACGTCGACTGGACGCAGGGGGCCGTACGCCTGCTCACCGAGCAG<br />

307: S S H V D W T Q G A V R L L T E Q<br />

970: GTCCCCTGGCCGCAGGGTGAACGGCCGCGCCGGGCCGGCGTCTCCTCGTTC<br />

324: V P W P Q G E R P R R A G V S S F<br />

Primer ATT11 PstI<br />

1021: GGGCTCAGCGGCACCAACGCCCACGTGATCCTGCAG<br />

341: G L S G T N A H V I<br />

1 EFDASFFGISPREALAMDPQQRLLLESSWEAFERAGIDPAAVRGTRTGMF<br />

51 VGAMPQEYRVGPDDDVQGFALTGTTTSVISGRLAYFFGAVGPAVTIDTAC<br />

101 SSSLVALHLAAHSLRQGECSLALAAGVTVMSSPTTFVEFSRQGGLSPDGR<br />

151 CRSFADSANGTGWAEAVGVLVLERLSEARRNGHEILGVVRGSAVNQDGAS<br />

201 NGLTAPNGPSQQRVIEQALVSARLSADEVDAVKGHGTGTTLGDPVEAQAL<br />

251 LATYGQGRDADSPLLLGSVKSNLGHTQPAAGLAGVIKMVLAMKHGLLPRT<br />

301 LHVDAPSSHVDWTQGAVRLLTEQVPWPQGERPRRAGVSSFGLSGTNAHVI<br />

ตารางที่<br />

6 ขอมูล 4 ลําดับแรก ที่ไดจากการเปรียบเทียบลําดับกรดอะมิโนของชิ้นดีเอ็นเอใน<br />

พลาสมิด pATT401 กับฐานขอมูลดวยโปรแกรม BlastP<br />

ลําดับที่<br />

เอนไซม เชื้อ<br />

สารที่สังเคราะห<br />

Accession No. เอกสารอางอิง<br />

Identity<br />

(%)<br />

1 PimS2 S. nat<strong>al</strong>ensis Pimaricin CAC20921 Aparicio <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000 89<br />

2 FscD Streptomyces sp. FR-008/ AAQ82568 Chen <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2003 80<br />

FR-008 Candicidin<br />

3 NysI S. noursei Nystatin AAF71766 Brautas<strong>et</strong> <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000 72<br />

4 AmphI S. nodosus Amphotericin AAK73501 Caffrey <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2001 72<br />

67


401-KS<br />

ภาพที่<br />

25 Phylogen<strong>et</strong>ic tree ที่<br />

bootstrap 1,000 ครั้ง<br />

ของโดเมน KS จากพลาสมิด<br />

pATT401 (401-KS) เปรียบเทียบกับ KS ของทัยโลซิน (TYL), อีรีโธรมัยซิน<br />

(ERY), อะเวอรเมกทิน (AVE), พิมาริซิน (PIM), นัยสตาติน (NYS) และแอมโฟ<br />

เทอริซิน (AMP)<br />

ตัวเลขทาย=ลําดับโมดุล<br />

2.3 การตรวจสอบยีน Type I PKS ดวย Southern Blot Hybridization<br />

ตัดโครโมโซมของ S. rimosus R7 ใหสมบูรณดวยเอนไซมตัดจําเพาะ BamHI,<br />

EcoRI, KpnI และ PstI (ภาพที่<br />

26 ก) แลวนําไปทํา Southern blot hybridisation ดวยโพรบของ<br />

ยีน KS จากพลาสมิด pATT401 เมื่อใชอุณหภูมิ<br />

hybridise ที่<br />

65 องศาเซลเซียส ตรวจสอบพบ<br />

แถบดีเอ็นเอขนาดตางๆ กัน ตั้งแตขนาดประมาณ<br />

4 กิโลเบส จนถึงมากกวา 12 กิโลเบส (ภาพที่<br />

26 ข) และเมื่อใชอุณหภูมิ<br />

hybridise ที่<br />

68 องศาเซลเซียส ตรวจสอบพบแถบดีเอ็นเอที่จําเพาะ<br />

มากขึ้น<br />

คือ เมื่อตัดดวย<br />

BamHI ไดขนาดมากกวา 12 กิโลเบส ตัดดวย EcoRI ไดขนาดมากกวา<br />

12 กิโลเบส ตัดดวย KpnI ไดขนาด 4 และมากกวา 12 กิโลเบส และตัดดวย PstI ไดขนาด<br />

มากกวา 12 กิโลเบส (ภาพที่<br />

26 ค)<br />

68


(ก)<br />

12 kb<br />

5 kb<br />

4 kb<br />

3 kb<br />

1.6 kb<br />

1 kb<br />

M 1 2 3 4 5<br />

ภาพที่<br />

26 การทํา Southern blot hybridisation ของโครโมโซมของ S. rimosus R7 ดวยโพรบ<br />

KS จากพลาสมิด pATT401<br />

(ก) อะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส (ข) และ (ค) Southern hybridization เมื่อใช<br />

อุณหภูมิ hybridise ที่<br />

65 และ 68 องศาเซลเซียส ตามลําดับ M=1 kb ladder<br />

แถวที่<br />

1-4 = โครโมโซมที่ตัดดวยเอนไซม<br />

BamHI, EcoRI, KpnI และ PstI<br />

ตามลําดับ แถวที่<br />

5 = KS-R7 จากพีซีอาร<br />

(ข)<br />

(ค)<br />

1.3 kb<br />

M 1 2 3 4 5<br />

M 1 2 3 4 5<br />

>12 kb<br />

4 kb<br />

1.3 kb<br />

4 kb<br />

1.3 kb<br />

69<br />

>12 kb


2.4 การโคลนยีน Type I PKS จาก S. rimosus R7<br />

จากผลการตรวจสอบยีน Type I PKS ในโครโมโซมของ S. rimosus R7 (ภาพที่<br />

26 ข และ ค) จึงเลือกชิ้นดีเอ็นเอที่จะโคลนจํานวน<br />

3 ชิ้น<br />

ไดแก ชิ้นดีเอ็นเอขนาดประมาณ<br />

3.7<br />

กิโลเบส และขนาดมากกวา 12 กิโลเบส ที่ตัดโดยเอนไซม<br />

KpnI และชิ้นดีเอ็นเอขนาดมากกวา<br />

12 กิโลเบส ที่ตัดโดยเอนไซม<br />

PstI โดยนําดีเอ็นเอของ S. rimosus R7 มาตัดดวยเอนไซม<br />

ดังกลาว แลวแยกขนาดดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส ตัดเอาเจลบริเวณที่คาดวามีชิ้นดีเอ็น<br />

เอที่ตองการไปสกัดดีเอ็นเอ<br />

นําดีเอ็นเอที่สกัดไดไปทํา<br />

dot blot hybridisation กับโพรบ KS<br />

จากพลาสมิด pATT401 เพื่อยืนยันวามีชิ้นดีเอ็นเอดังกลาวอยู<br />

จากผลการทดลองแสดงวาการ<br />

สกัดดีเอ็นเอจากเจลไดชิ้นดีเอ็นเอที่ตองการ<br />

ซึ่งมีขนาดประมาณ<br />

3.7 กิโลเบส ที่ตัดโดยเอนไซม<br />

KpnI และชิ้นดีเอ็นเอขนาดมากกวา<br />

12 กิโลเบส ที่ตัดโดยเอนไซม<br />

PstI (ภาพที่<br />

27 ก และ ข)<br />

(ก)<br />

1 2 3 4<br />

10 kb<br />

4 kb<br />

3 kb<br />

2 kb<br />

(ข) M 2 3 4 5 6<br />

>12 kb<br />

3.7 kb<br />

ภาพที่<br />

27 การตรวจสอบชิ้นดีเอ็นเอของ<br />

S. rimosus R7 ที่สกัดจากเจล<br />

(ก) dot blot hybridisation ดวยโพรบ KS จากพลาสมิด pATT401 (ข) อะกาโรส<br />

เจลอิเล็กโทรโฟรีซิส M=1 kb ladder 1=pATT401 2 และ 3=ชิ้นดีเอ็นเอขนาด<br />

3.7 และมากกวา 12 กิโลเบสจากการตัดดวย KpnI 4=ชิ้นดีเอ็นเอขนาดมากกวา<br />

12 กิโลเบสจากการตัดดวย PstI<br />

70


เมื่อนําชิ้นดีเอ็นเอที่สกัดไดทั้ง<br />

2 ชิ้นไปเชื่อมกับพลาสมิด<br />

pUC18 ที่ตัดดวย<br />

เอนไซมชนิดเดียวกัน แลวทรานสฟอรมเขาสู<br />

E. coli JM109 คัดเลือกโคลนไปทํา colony dot<br />

blot hybridisation ดวยโพรบ KS จากพลาสมิด pATT401 (ภาพที่<br />

28 ก) สุมเลือกโคลนที่<br />

ใหผลเปนบวก จํานวน 28 โคลน ไปตรวจสอบอีกครั้งดวยการทําพีซีอารโดยตรงจากเซลล<br />

โดยใช<br />

ไพรเมอรจําเพาะตอ KS คัดเลือกโคลนที่ใหผลิตภัณทพีซีอารขนาด<br />

1.3 กิโลเบส จํานวน 16<br />

โคลน (ภาพที่<br />

28 ข โคลนที่มีเครื่องหมาย<br />

*) นําไปสกัดพลาสมิดและทํา Southern blot<br />

hybridisation โดยการตัดดวยเอนไซมตัดจําเพาะ KpnI หรือ PstI ตามความเหมาะสม และ<br />

ตรวจสอบดวยโพรบ KS จากพลาสมิด pATT401 (ภาพที่<br />

29) ผลของ Southern blot แสดงวา<br />

สามารถโคลนยีน Type I PKS ได 2 ชิ้น<br />

ไดแก ชิ้นดีเอ็นเอขนาดประมาณ<br />

3.7 กิโลเบส จากการ<br />

ตัดดวยเอนไซม KpnI ใหชื่อพลาสมิดวา<br />

pATT403 (ภาพที่<br />

29 แถวที่<br />

2) และชิ้นดีเอ็นเอขนาด<br />

มากกวา 12 กิโลเบส จากการตัดดวยเอนไซม PstI ใหชื่อ<br />

พลาสมิดวา pATT404 (ภาพที่<br />

29<br />

แถวที่<br />

17) โดยจะเลือกใชพลาสมิด pATT403 ในการศึกษาตอไป<br />

71


(ก)<br />

+ -<br />

(ข)<br />

M 1 2 3 * 4 * * 5 * 6 * 7 * 8 9 10 11 12 13 14 * 15 * 16 * M 17 * 18 * 19 20 * 21 22 23 24 * 25 * 26 * 27 * 28 29 30<br />

ภาพที่<br />

28 การตรวจสอบโคลนของยีน Type I PKS โดย colony dot blot hybridisation<br />

และพีซีอาร<br />

(ก) Colony dot blot hybridisation ดวยโพรบ KS จาก pATT401<br />

และ = โคลนของชิ<br />

1.3 kb<br />

้นดีเอ็นเอขนาด 3.7 กิโลเบสจากการตัดดวยเอนไซม KpnI<br />

และ = โคลนของชิ้นดีเอ็นเอขนาดมากกวา<br />

12 กิโลเบสตัดดวยเอนไซม PstI<br />

และ = โคลนที่คาดวามียีน<br />

Type I PKS<br />

(+) = E. coli (pATT401), (−) = E. coli (pUC18)<br />

(ข) อะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิสของผลิตภัณฑพีซีอาร โดยตรงจากเซลลของ E.<br />

coli ดวยไพรเมอร ATT10 และ ATT11 M=1 kb ladder แถวที่<br />

1-13 = โคลน<br />

ของชิ้นดีเอ็นเอขนาด<br />

3.7 กิโลเบสจากการตัดดวยเอนไซม KpnI แถวที่<br />

14-28 =<br />

โคลนของชิ้นดีเอ็นเอขนาดมากกวา<br />

12 กิโลเบสจากการตัดดวยเอนไซม PstI แถวที่<br />

29 = ดีเอ็นเอ S. rimosus R7 แถวที่<br />

30 = pUC18 (*) = โคลนที่คาดวามียีน<br />

Type I PKS<br />

72


10 kb<br />

4 kb<br />

3 kb<br />

2 kb<br />

(ก) M 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17<br />

(ข)<br />

M 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17<br />

>12 kb<br />

3.7 kb<br />

2.7 kb<br />

>12 kb<br />

3.7 kb<br />

ภาพที่<br />

29 การตรวจสอบโคลนของยีน Type I PKS ดวย Southern blot hybridisation<br />

(ก) การตัดของเอนไซมตัดจําเพาะของพลาสมิดบนอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส<br />

(ข) Southern hybridisation ดวยโพรบ KS จาก pATT401 M=1 kb ladder<br />

แถวที่<br />

1-7=โคลนของชิ้นดีเอ็นเอขนาด<br />

3.7 กิโลเบส ตัดดวยเอนไซม KpnI แถวที่<br />

8-17=โคลนของชิ้นดีเอ็นเอขนาดมากกวา<br />

12 กิโลเบส ตัดดวยเอนไซม PstI แถว<br />

ที่<br />

2 = pATT403 แถวที่<br />

17 = pATT404<br />

73


2.5 การวิเคราะหพลาสมิด pATT403 โดยการตัดดวยเอนไซมตัดจําเพาะ<br />

นําพลาสมิด pATT403 ไปตัดดวยเอนไซมตัดจําเพาะ 12 ชนิด ไดแก BamHI,<br />

BglII, DraI, EcoRI, EcoRV, KpnI, MluI, NcoI, PstI, SacI, S<strong>al</strong>I และ SphI ซึ่งบางเอนไซมมี<br />

ตําแหนงตัด 1 ตําแหนง บน multiple cloning site ของพลาสมิด pUC18 คือ BamHI, EcoRI,<br />

KpnI, PstI, SacI, S<strong>al</strong>I สวน SphI และ DraI มีตําแหนงตัด 3 ตําแหนง บนพลาสมิด จากการ<br />

แยกขนาดโดยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส แสดงวาเอนไซม BglII, DraI, EcoRI, EcoRV,<br />

MluI, PstI และ SphI ไมมีตําแหนงตัดบนชิ้นดีเอ็นเอ<br />

(ภาพที่<br />

30 แถวที่<br />

3-7, 9 และ 12)<br />

เอนไซม BamHI ใหแถบดีเอ็นเอ 2 แถบ ขนาด 1 และ 5.4 กิโลเบส แสดงวามีตําแหนงตัดบน<br />

ชิ้นดีเอ็นเอ<br />

1 ตําแหนง (ภาพที่<br />

30 แถวที่<br />

2) เอนไซม NcoI ใหแถบดีเอ็นเอ 4 แถบ ขนาด<br />

0.1, 0.5, 1.7 และ 4.1 กิโลเบส แสดงวามีตําแหนงตัดบนชิ้นดีเอ็นเอ<br />

4 ตําแหนง (ภาพที่<br />

30<br />

แถวที่<br />

8) เอนไซม SacI ใหแถบดีเอ็นเอ 3 แถบ ขนาด 0.4, 2.7 และ 3.3 กิโลเบส แสดงวามี<br />

ตําแหนงตัดบนชิ้นดีเอ็นเอ<br />

2 ตําแหนง (ภาพที่<br />

30 แถวที่<br />

10) เอนไซม S<strong>al</strong>I ใหแถบดีเอ็นเอ 5<br />

แถบ ขนาด 0.4, 0.6 (2 แถบ), 1.6 และ 3.0 กิโลเบส แสดงวามีตําแหนงตัดบนชิ้นดีเอ็นเอ<br />

4<br />

ตําแหนง (ภาพที่<br />

30 แถวที่<br />

11)<br />

2.6 การ subclone พลาสมิด pATT403<br />

จากผลการตัดดวยเอนไซมตัดจําเพาะของพลาสมิด pATT403 ในขอ 2.5 จึง<br />

เลือกใชเอนไซม NcoI ในการ subclone โดยชิ้นดีเอ็นเอขนาด<br />

0.5 และ 1.7 กิโลเบส โคลนเขา<br />

สูพลาสมิด<br />

Litmus28 ที่ตัดดวยเอนไซมเดียวกัน<br />

ใน E. coli JM109 ไดพลาสมิด pATT407<br />

และ pATT406 ตามลําดับ (ตรวจสอบโคลนในภาพที่<br />

31)<br />

นําพลาสมิด pATT406 มาตัดดวยเอนไซม S<strong>al</strong>I ไดชิ้นดีเอ็นเอขนาด<br />

0.6 และ<br />

3.9 กิโลเบส เชื่อมชิ้นดีเอ็นเอขนาด<br />

3.9 กิโลเบส ซึ่งมีพลาสมิด<br />

Litmus28 อยู<br />

ตอกับตัวเอง ให<br />

ชื่อพลาสมิดวา<br />

pATT418 สวนชิ้นดีเอ็นเอขนาด<br />

0.6 กิโลเบส โคลนเขาสูพลาสมิด<br />

pUC18 ให<br />

ชื่อวา<br />

pATT419 (ตรวจสอบโคลนในภาพที่<br />

32)<br />

นําพลาสมิด pATT403 มาตัดดวยเอนไซม KpnI และ NcoI โคลนชิ้นดีเอ็นเอ<br />

ขนาด 0.8 กิโลเบส เขาสูพลาสมิด<br />

Litmus28 ใหชื่อพลาสมิดวา<br />

pATT420 (ตรวจสอบโคลนใน<br />

ภาพที่<br />

33)<br />

74


10 kb<br />

6<br />

4<br />

kb<br />

kb<br />

3 kb<br />

2 kb<br />

1 kb<br />

0.5 kb<br />

M 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12<br />

6.4 kb<br />

5.4 kb<br />

4.1 kb<br />

3.3 kb<br />

3.0 kb<br />

2.7 kb<br />

1.7 kb<br />

1.0 kb<br />

0.6 kb<br />

0.5 kb<br />

0.4 kb<br />

0.1 kb<br />

ภาพที่<br />

30 การตัดพลาสมิด pATT403 ดวยเอนไซมตัดจําเพาะ 12 ชนิด<br />

M=1 kb ladder แถวที่<br />

1=pATT403 แถวที่<br />

2=BamHI แถวที่<br />

3=BglII แถวที่<br />

4=<br />

DraI แถวที่<br />

5=EcoRI แถวที่<br />

6=EcoRV แถวที่<br />

7=MluI แถวที่<br />

8=NcoI แถวที่<br />

9=PstI แถวที่<br />

10=SacI แถวที่<br />

11=S<strong>al</strong>I แถวที่<br />

12=SphI<br />

3 kb<br />

2 kb<br />

1 kb<br />

0.5 kb<br />

M 1 2 3 4 5 6 7 8 9<br />

2.7 kb<br />

1.7 kb<br />

0.5 kb<br />

ภาพที่<br />

31 การตรวจสอบโคลนของพลาสมิด pATT406 และ pATT407 ดวยอะกาโรส<br />

เจลอิเล็กโทรโฟรีซิส<br />

M=1 kb ladder แถวที่<br />

1= pATT403 แถวที่<br />

2= pATT403/NcoI แถวที่<br />

3= ชิ้น<br />

ดีเอ็นเอขนาด 1.7 กิโลเบส ที่สกัดจากเจล<br />

แถวที่<br />

4= ชิ้นดีเอ็นเอขนาด<br />

0.5 กิโลเบส<br />

ที่สกัดจากเจล<br />

แถวที่<br />

5= Litmus28/NcoI/CIAP แถวที่<br />

6= pATT406 แถวที่<br />

7= pATT406/NcoI แถวที่<br />

8= pATT407 แถวที่<br />

9= pATT407/NcoI<br />

75


3 kb<br />

2 kb<br />

1 kb<br />

0.5 kb<br />

ภาพที่<br />

32 การตรวจสอบโคลนของพลาสมิด pATT418 และ pATT419 ดวยอะกาโรส<br />

เจลอิเล็กโทรโฟรีซิส<br />

M=1 kb ladder แถวที่<br />

1= pATT406 แถวที่<br />

2=pATT406/S<strong>al</strong>I แถวที่<br />

3=ชิ้นดี<br />

เอ็นเอขนาด 0.6 กิโลเบส ที่สกัดจากเจล<br />

แถวที่<br />

4=ชิ้นดีเอ็นเอขนาด<br />

3.9 กิโลเบสที่<br />

สกัดจากเจล แถวที่<br />

5=pUC18/S<strong>al</strong>I/CIAP แถวที่<br />

6=pATT418 แถวที่<br />

7=<br />

pATT418/S<strong>al</strong>I แถวที่<br />

8=pATT419 แถวที่<br />

9=pATT419/S<strong>al</strong>I<br />

3 kb<br />

2 kb<br />

1 kb<br />

0.5 kb<br />

M 1 2 3 4 5 6 7 8 9<br />

M 1 2 3 4 5 6<br />

2.8 kb<br />

0.8 kb<br />

3.9 kb<br />

2.7 kb<br />

0.6 kb<br />

ภาพที่<br />

33 การตรวจสอบโคลนของพลาสมิด pATT420 ดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส<br />

M=1 kb ladder แถวที่<br />

1=pATT403 แถวที่<br />

2=pATT403/KpnI/NcoI แถวที่<br />

3=<br />

ชิ้นดีเอ็นเอขนาด<br />

0.8 กิโลเบส ที่สกัดจากเจล<br />

แถวที่<br />

4=Litmus28/KpnI/NcoI<br />

แถวที่<br />

5=pATT420 แถวที่<br />

6=pATT420/KpnI/NcoI<br />

76


3. การวิเคราะหลําดับเบสของยีน Type I PKS จาก S. rimosus R7<br />

3.1 การหาลําดับเบสและวิเคราะหลําดับเบสของพลาสมิด pATT403 และ subclone<br />

หาลําดับเบสของพลาสมิด pATT403 โดยใชไพรเมอร M13 Reverse ไดลําดับ<br />

เบสยาว 777 คูเบส<br />

แปลรหัสเปนกรดอะมิโนได 259 กรดอะมิโน เมื่อนําไปเปรียบเทียบกับ<br />

ฐานขอมูล โดยใชโปรแกรม BlastP (24 กุมภาพันธ 2547) พบวามี conserved domain อยู<br />

2<br />

บริเวณ คือ ฟอสโฟแพนทีธีอินที่บริเวณตอนกลาง<br />

และสวน N-termin<strong>al</strong> ของ KS บริเวณปลาย<br />

C-termin<strong>al</strong> ของลําดับกรดอะมิโน และพบวามีความคลายคลึงกับกลุมยีน<br />

Type I PKS ใน<br />

ฐานขอมูล (ตารางที่<br />

7) โดยกลุมยีนที่ใหคาความเหมือนมากจะเกี่ยวของกับการสังเคราะหสารโพ<br />

ลีอีน เชน พิมาริซิน จาก S. nat<strong>al</strong>ensis (Aparicio <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000) ซึ่งใหคาความเหมือนสูงที่สุด<br />

ที่<br />

68 เปอรเซ็นต แคนดิซิดินจาก Streptomyces sp. FR-008 (Chen <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2003) แอมโฟ เท<br />

อริซินจาก S. nodosus (Caffrey <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2001) และนัยสตาติน จาก S. noursei (Brautas<strong>et</strong> <strong>et</strong><br />

<strong>al</strong>., 2000) และจากการวิเคราะหพบวาบริเวณตอนกลางของลําดับกรดอะมิโนมีความเหมือนกับ<br />

โดเมน ACP และดาน C-termin<strong>al</strong> มีความเหมือนกับสวนตนของโดเมน KS สอดคลองกับ<br />

conserved domain ที่ตรวจสอบพบโดยโปรแกรม<br />

BlastP แสดงวา pATT403 มียีน Type I PKS<br />

จึงทําการหาลําดับเบส โดยใชไพรเมอร M13 Forword และ Reverse สําหรับพลาสมิด<br />

pATT403 และ subclone ตางๆ ดังแสดงในตารางที่<br />

8<br />

ตารางที่<br />

7 ขอมูล 4 ลําดับแรก ที่ไดจากการเปรียบเทียบลําดับกรดอะมิโนของชิ้นดีเอ็นเอใน<br />

พลาสมิด pATT403 ทางดานไพรเมอร M13 Reverse กับฐานขอมูลดวยโปรแกรม<br />

BlastP<br />

่<br />

ลําดับ<br />

ที<br />

เอนไซม เชื้อ<br />

สารที่สังเคราะห<br />

Accession No. เอกสารอางอิง Identity (%)<br />

1 PimS2 S. nat<strong>al</strong>ensis Pimaricin CAC20921 Aparicio <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000 68<br />

2 FscD Streptomyces sp. FR-008/ AAQ82568 Chen <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2003 60<br />

FR-008 Candicidin<br />

3 AmphI S. nodosus Amphotericin AAK73501 Caffrey <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2001 54<br />

4 NysI S. noursei Nystatin AAF71766 Brautas<strong>et</strong> <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000 54<br />

77


ตารางที่<br />

8 การหาลําดับเบสของพลาสมิด pATT403 และ subclone<br />

พลาสมิด ไพรเมอร ความยาวของลําดับเบส (คูเบส)<br />

กรดอะมิโน<br />

pATT403<br />

M13 Forword<br />

M13 Reverse<br />

653<br />

777<br />

217<br />

259<br />

pATT406<br />

M13 Forword<br />

M13 Reverse<br />

706<br />

744<br />

234<br />

247<br />

pATT407 M13 Forword 444 147<br />

pATT418 M13 Forword 322 104<br />

pATT419 M13 Forword 621 207<br />

pATT420 M13 Reverse 550 182<br />

3.2 การสรางแผนที่ยีนของพลาสมิด<br />

pATT403<br />

ผลจากการวิเคราะหตําแหนงตัดของเอนไซมตัดจําเพาะของชิ้นดีเอ็นเอในขอ<br />

2.5 รวมกับการวิเคราะหตําแหนงตัดจดจําของเอนไซมตัดจําเพาะในลําดับเบส และการวิเคราะห<br />

ตําแหนงยีนบนลําดับอะมิโนในขอ 3.1 สามารถนําไปสรางแผนที่การตัดของเอนไซมตัดจําเพาะ<br />

และนําไปเปนแนวทางในการเชื่อมตอลําดับเบสจากพลาสมิดตางๆ<br />

เขาดวยกัน ทําใหสามารถ<br />

สรางแผนที่ยีนของชิ้นดีเอ็นเอในพลาสมิด<br />

pATT403 ไดดังภาพที่<br />

34<br />

จากการเชื่อมตอลําดับเบสทั้งหมดเขาดวยกัน<br />

ทําใหไดลําดับเบสของชิ้นดีเอ็นเอ<br />

บนพลาสมิด pATT403 ซึ่งที่มีความยาวทั้งหมด<br />

3,692 คูเบส<br />

มีปริมาณ G+C เปน 75.2%<br />

แปลรหัสเปนกรดอะมิโนไดยาว 1,231 กรดอะมิโน (ภาพที่<br />

35) พบวาลําดับกรดอะมิโน<br />

ประกอบไปดวย 3 โดเมน คือ โดเมน ACP (กรดอะมิโนที่<br />

71-142) โดเมน KS (กรดอะมิโนที่<br />

165-579) และโดเมน AT (กรดอะมิโนที่<br />

691-1007) โดยทั้ง<br />

3 โดเมน มีลําดับกรดอะมิโน<br />

ครอบคลุมครบทั้งโดเมน<br />

78


ACP KS AT<br />

ภาพที่<br />

34 แผนที่ยีนของโคลน<br />

pATT403 ขนาด 3.7 กิโลเบส<br />

ลูกศรโปรงแสดงทิศทางของยีน Type I PKS (โดเมน ACP, KS, AT)<br />

ลูกศรเล็กแสดงทิศทางการหาลําดับเบส<br />

K=KpnI, S=S<strong>al</strong>I, Sc=SacI, N=NcoI และ B=BamHI<br />

79


1: GGTACCGACGCGGCCTCGGTGACGGTCGCCGACGTACGGTGGGACCGGTTC<br />

1: G T D A A S V T V A D V R W D R F<br />

52: GCGCCGGCCTTCACCCGCAACCGGCGCGGCGCCCTGTTCACCGACCTGCCC<br />

18: A P A F T R N R R G A L F T D L P<br />

103: GAGGCCAGGGCCGCACTCGCGGAACCCGGGAACGCCGGGCAGGGCACCGCG<br />

35: E A R A A L A E P G N A G Q G T A<br />

154: ACCGGACTCGGGGCCCGGCTCGCCGGCCGACCGGCCGCCGAGCAGACCGAG<br />

52: T G L G A R L A G R P A A E Q T E<br />

205: GCGCTGCTGACCCTGATCCGCGGCGAGGTGGCCACGGTGCTCGGCTTCGCC<br />

69: A L L T L I R G E V A T V L G F A<br />

*<br />

KpnI1 pATT403r<br />

Acyl carrier protein (ACP)<br />

256: GACGCCGACGCCGTCCCGTCCGGACCCGCCTTCAAGGACCTCGGCTTCGAC<br />

86: D A D A V P S G P A F K D L G F D<br />

S<strong>al</strong>I2<br />

307: TCGCTGACCGCCGTCGACCTGCGCAACCAGCTCGCCACGGCGACCGGCCTG<br />

103: S L T A V D L R N Q L A T A T G L<br />

358: TCCCTGCCCGCCACCCTCGTCTTCGACTACCCGACGGCGGAGGCGCTGGCC<br />

120: S L P A T L V F D Y P T A E A L A<br />

S<strong>al</strong>I6<br />

SacI3<br />

409: GGGCACCTGCGGACCGAGCTCTTCGGCGAGGACGGCGACGCGCTGCCCGCC<br />

137: G H L R T E L F G E D G D A L P A<br />

460: GTCGGAGCGGTACGGGCGCGGGGCGCGGCCGACGACCCGGTCGTCATCGTC<br />

154: V G A V R A R G A A D D P V V I V<br />

511: GGCATGAGCTGCCGCTACCCGGGCGGGGTCCGCTCGCCCGAGGACCTGTGG<br />

171: G M S C R Y P G G V R S P E D L W<br />

NcoI4 pATT406f<br />

562: CAGCTGGCCATGGGCGAGGTGGACGCCATCGGCGGCTTCCCCGTGGACCGT<br />

188: Q L A M G E V D A I G G F P V D R<br />

613: GGCTGGGACCTGGAGACGCTGCTGAACGGCGACCGGGACGGCCGCGGCCGG<br />

205: G W D L E T L L N G D R D G R G R<br />

664: ACCGCCGTCCGCGAAGGCGGCTTCCTCTACGACGTGGCCGACTTCGACCCG<br />

222: T A V R E G G F L Y D V A D F D P<br />

715: GGGTTCTTCGGGATCGCGCCGCGCGAGGCCATGGTGATGGACCCGCAGCAG<br />

239: G F F G I A P R E A M V M D P Q Q<br />

766: CGCATCCTGCTGGAAGCATCCTGGGAGGCGCTGGAGCGGGCGGGCATCGAC<br />

256: R I L L E A S W E A L E R A G I D<br />

817: CCGGCCGGGCTGCGCGGCGGTGACACCGGCGTGTTCATCGGCGGCGGCTCG<br />

273: P A G L R G G D T G V F I G G G S<br />

868: GGCGACTACCGGCCCGAGGCGGGCCAGCTGGGCCACGCCCAGACCGCGCAG<br />

290: G D Y R P E A G Q L G H A Q T A Q<br />

919: TCGGCCAGCCTGCTGTCCGGCCGGGTGGCCTACCACTTCGGCCTGGAAGGC<br />

307: S A S L L S G R V A Y H F G L E G<br />

971: CCGACCGTCAGCGTCGACACGGCCTGCTCGTCGTCCCTGGTGGCGCTCCAC<br />

324: P T V S V D T A C S S S L V A L H<br />

ภาพที่<br />

35 ลําดับเบสและลําดับกรดอะมิโนของโคลน pATT403<br />

ประกอบดวยยีน Type I PKS ของ S. rimosus R7 จํานวน 3 โดเมน (ACP, KS,<br />

AT) กรดอะมิโนตัวหนา=โดเมน อักษรตัวหนาและขีดเสนใต=ตําแหนงตัดของ<br />

เอนไซมตัดจําเพาะ ตีกรอบ=active-site sequence (*)=active site ลูกศรแสดง<br />

ทิศทางการหาลําดับเบส<br />

*<br />

NcoI5<br />

K<strong>et</strong>o-acyl synthase (KS)<br />

80


ภาพที่<br />

35 (ตอ)<br />

1021: CTGGCCGCCCAGGCGCTGCGCAACGGCGAGTGCTCCGTCGCGCTCACCGGC<br />

341: L A A Q A L R N G E C S V A L T G<br />

1072: GGTGTGACGGTGATGTCCAGCCCGGTGAACTTCGTCGAGTTCGGCGAGATG<br />

358: G V T V M S S P V N F V E F G E M<br />

1123: GGCGCCCTCGCGCCCGACGGCCGCTGCCGGGCCTTCGCCGACTCCGCGAGC<br />

375: G A L A P D G R C R A F A D S A S<br />

1174: GGCACCGGCTGGTCCGAGGGTGTGGGCGTCCTCGTACTGGAGCGCCTCTCG<br />

392: G T G W S E G V G V L V L E R L S<br />

1225: GACGCCCGCCGCAACGGCCACGAGATCCTGGCCGTACTGCGCGGCTCGGCG<br />

409: D A R R N G H E I L A V L R G S A<br />

1276: ATCAACCAGGACGGCGCCAGCAACGGCATCACCGCGCCCAACGGCCCCTCG<br />

426: I N Q D G A S N G I T A P N G P S<br />

1327: CAGCGCCGTGTCATCCGCCGGGCCCTGGCCGACGCCGGGCTTGCGCCGGGC<br />

443: Q R R V I R R A L A D A G L A P G<br />

1378: GACGTGGACGCGGTGGAGGCGCACGGCACCGGCACCACCCTGGGCGACCCC<br />

460: D V D A V E A H G T G T T L G D P<br />

1429: ATCGAGGCGCAGGCGCTGCTGGCCACGTACGGGCAGGAGCGTGAACTGCCG<br />

477: I E A Q A L L A T Y G Q E R E L P<br />

1480: CTGTACCTCGGGTCGTTGAAGTCCAACATCGGCCACACCCAGGCCGCCGCC<br />

494: L Y L G S L K S N I G H T Q A A A<br />

1531: GGTGTTGCCGGCGTGATCAAGATGGTGCAGGCCATGCGGCACGGCGTGCTG<br />

511: G V A G V I K M V Q A M R H G V L<br />

pATT419f S<strong>al</strong>I7 pATT418f<br />

1582: CCCAGGACCCTGCACGTCGACGCGCCGTCGGCGCACGTGGACTGGGACTCC<br />

528: P R T L H V D A P S A H V D W D S<br />

1633: GGCGCCGTCGAGCTGCTGACGGAGGCGGCCGACTGGCCGCGTACGGACCAC<br />

545: G A V E L L T E A A D W P R T D H<br />

1684: CCCCGGCGCGCCGGCATCTCGGCCTTCGGCGCCAGCGGCACCAACTCCCAC<br />

562: P R R A G I S A F G A S G T N S H<br />

1735: GTGATCATCGAGCAGTTCGAGCAGCCCGAACCGGCGGTCACCACCGAACCG<br />

579: V I I E Q F E Q P E P A V T T E P<br />

1786: GTGGAGGCCCACGGCCCGCTGCCGGTGCCCGTGTCGGCCGCCGCGCCGCAG<br />

596: V E A H G P L P V P V S A A A P Q<br />

1837: GCACTGCGGGCCCAGGCCCGGCAGCTGCACTCCTACGTGACCGCCCGGCCC<br />

613: A L R A Q A R Q L H S Y V T A R P<br />

1888: GGACTCGGCACCGCCGACCTGGCCCGCGCGCTGGCCACCACCCGCTCGGTC<br />

630: G L G T A D L A R A L A T T R S V<br />

1939: TTCACCCACCGCGCCGCCGTCCTCGCGGGCGACCGCGACCGACTGCTGGCC<br />

647: F T H R A A V L A G D R D R L L A<br />

1990: GGCCTGGCCGCGCTCGCCGACGGCCGCACCGCACCCCAGGTCGTACAGGGT<br />

664: G L A A L A D G R T A P Q V V Q G<br />

2041: GAGGCGGCGGCCCGCCGCGGCAAGCTCGCGGTGCTGTTCTCCGGCCAGGGC<br />

681: E A A A R R G K L A V L F S G Q G<br />

Acyl transferase (AT)<br />

2092: ACCCAGCGCCTGGGCATGGGACGGGAGCTGTACGCCCGCTTCCCGGCGTTC<br />

698: T Q R L G M G R E L Y A R F P A F<br />

2143: GCCGCGGCCTTCGACGCGGTGACCGCGCACCTGGACACCGAACTGGACCGC<br />

715: A A A F D A V T A H L D T E L D R<br />

81


ภาพที่<br />

35 (ตอ)<br />

2194: CCCCTGCGGGACGTGCTGTCCGAGGACGCGGAGCGGCTGAACGAGACCGGC<br />

732: P L R D V L S E D A E R L N E T G<br />

2245: TACACCCAGCCCGCGCTGTTCGCCATCGAGGTGGCGCTGTTCCGCCTGGTG<br />

749: Y T Q P A L F A I E V A L F R L V<br />

2296: GAGTCCTGGGGTATCCGCCCGGACTTCGCCGCCGGGCACTCGATCGGCGAG<br />

766: E S W G I R P D F A A G H S I G E<br />

2347: ATCGCGGCCGCGCACGTGGCCGGGGTCTTCTCCCTGGAGGACGCCTGCAAG<br />

783: I A A A H V A G V F S L E D A C K<br />

2398: GTCGTGGCCGCGCGGGCCCGGCTGATGAACGCCCTGCCGTCCGGCGGCGCC<br />

800: V V A A R A R L M N A L P S G G A<br />

2449: ATGGTCGCCGTCCAGGCCACCGAGGAGGAGGTGACGGCCCTGCTGACCGCG<br />

817: M V A V Q A T E E E V T A L L T A<br />

2500: GGAGTGTCGATCGCCGCGGTCAACGGGCCGCGGTCGGTGGTCCTCTCCGGC<br />

834: G V S I A A V N G P R S V V L S G<br />

2551: GACGAGGGCGCCGTCCTGGACATCGCGGACAAACTCACCGCCGACGGGCGC<br />

851: D E G A V L D I A D K L T A D G R<br />

2602: AAGACTAGGCGTTTGCGGGTCAGCCATGCATTTCACTCACTGCACATGGAC<br />

868: K T R R L R V S H A F H S L H M D<br />

2653: GCCATCCTCGACGACTTCCGGCGGGTCACCCGCAGCGTGGACTACCACGCC<br />

885: A I L D D F R R V T R S V D Y H A<br />

2704: CCGCGGATCCCGCTGGTGTCCAACGTCACCGGCGAGGCGGCCACCGAGGAG<br />

902: P R I P L V S N V T G E A A T E E<br />

2755: CAGGTGTGCTCCCCGGACTACTGGGTGCGCCACGTCCGCGAGGCCGTCCGC<br />

919: Q V C S P D Y W V R H V R E A V R<br />

2806: TTCGGCGACGGCATCCGCACCCTCGCCGAGAGCGGCGTGACCGCCTTCCTG<br />

936: F G D G I R T L A E S G V T A F L<br />

SacI10<br />

pATT407f<br />

BamHI9<br />

2857: GAGCTCGGCCCCGACGGCGGGCTGTGCGCCATGGCCCAGGACACCCTGGAC<br />

953: E L G P D G G L C A M A Q D T L D<br />

2908: GCCCTGGCGTCGCGGGCCCTGGCCGTACCGGTCCTGCGCAAGGACCGCGGC<br />

970: A L A S R A L A V P V L R K D R G<br />

2959: GAGCAGGAATCCGCGGTCACCGCCCTCGCCCGGCTGTACGCCGACGGAGCG<br />

987: E Q E S A V T A L A R L Y A D G A<br />

3010: GCCCCGGACTGGGACGCCCTGCTCGCCGGGACGGCCACCGGGCCCCGCCGC<br />

1004: A P D W D A L L A G T A T G P R R<br />

3061: AACGACCTGCCCACCTACCCCTTCCAGCGCCAGCGCTACTGGCCCGCCACC<br />

1021: N D L P T Y P F Q R Q R Y W P A T<br />

3112: CTGCCGGGCGACGCTTCCGCAGCGCCGGAGGGCGCGGACGACGGCTTCTGG<br />

1038: L P G D A S A A P E G A D D G F W<br />

3163: ACGGCGGTGCGCGAGGCCGACTTCGCCTCGCTGGAGACGACGCTGAACGTC<br />

1055: T A V R E A D F A S L E T T L N V<br />

3214: GACGGCGAAGCGCTGGCCAAGGTGCTCCCCGCCCTCGCCGACTGGCGCCGC<br />

1072: D G E A L A K V L P A L A D W R R<br />

S<strong>al</strong>I13<br />

NcoI11<br />

3265: CGGCGCGGCGAGGAGAACACCGTCGACGGCTGGCGGCAGCAGATCACCTGG<br />

1089: R R G E E N T V D G W R Q Q I T W<br />

*<br />

pATT406f NcoI8<br />

S<strong>al</strong>I12<br />

82


ภาพที่<br />

35 (ตอ)<br />

3316: CAGCCGCTGAGTCCGCAGCCCGCCCGCACCCCGGCAGGCACCTGGCTCGCC<br />

1106: Q P L S P Q P A R T P A G T W L A<br />

3367: GTGCTCCCGGCCGGACACGCCGACGACCCCTGGGCCGCCGACGCCGTCACC<br />

1123: V L P A G H A D D P W A A D A V T<br />

3418: GCGCTGGGACCGGACACCGTACGCCTGGAAGTGGCGGACCCCGACCGAGCG<br />

1140: A L G P D T V R L E V A D P D R A<br />

3469: GCGCTCGCCGAACGGCTGCGCGCACTGGCCGCCGACGGGTTCGCGTTCACC<br />

1157: A L A E R L R A L A A D G F A F T<br />

3520: GGAGTGGTGTCCCTGCTGGCCCTCGCCACCACGCCCGCGCCCGGCGCGGAC<br />

1174: G V V S L L A L A T T P A P G A D<br />

3571: GCCCCCGAGGCACTGGCCCTGACCACCGCCCTGATCCAGGCGCTCGGCGAC<br />

1191: A P E A L A L T T A L I Q A L G D<br />

3622: GCGGACCTCGCCGCACCCCTGTGGTGCGTCACCCGCGGCGCGGTCGCCGCC<br />

1208: A D L A A P L W C V T R G A V A A<br />

pATT403f KpnI14<br />

3673: GCGCCCTCCGAGCCGGTACC<br />

1225: A P S E P V P<br />

3.3 การวิเคราะหโดเมนของยีน Type I PKS ที่โคลนได<br />

3.3.1 โดเมน ACP<br />

โดเมน ACP มีความยาว 72 กรดอะมิโน (ภาพที่<br />

35; นิวคลีโอไทดที่<br />

211-426; กรดอะมิโนที่<br />

71-142) จากการทํา multiple <strong>al</strong>ignment เปรียบเทียบกับโดเมน<br />

ACP อื่นที่มีรายงานในฐานขอมูล<br />

จํานวน 179 โดเมน (ตารางที่<br />

9) พบวา ACP ทุกโดเมนมี<br />

ความสัมพันธใกลชิดกัน ไมแบงเปนกลุมยอยที่ชัดเจน<br />

(ไมแสดงผล) ตรวจสอบพบลําดับกรดอะ<br />

มิโน LGFDS (ภาพที ่ 35; กรดอะมิโนที่<br />

99-103) ซึ่งเปน<br />

active-site sequence ของบริเวณ<br />

เขาจับของฟอสโฟแพนทีธีอิน ตรงกันกับ motif คือ LGxDS โดยมี S (serine) เปน active site<br />

(Donadio and Katz, 1992) ดังภาพที่<br />

36<br />

3.3.2 โดเมน KS<br />

โดเมน KS ที่โคลนไดมีทั้งหมด<br />

2 โดเมน โดเมนแรกมาจากการพีซี<br />

อาร (401-KS) เพื่อนําไปใชเปนโพรบตรวจสอบกลุมยีน<br />

Type I PKS มีความยาว 1,050 คูเบส<br />

แปลรหัสไดยาว 350 กรดอะมิโน (ภาพที่<br />

24 ก) อีกโดเมนหนึ่งเปนชิ้นดีเอ็นเอที่โคลนไดจาก<br />

โครโมโซม บน pATT403 (403-KS) มีความยาว 1,245 คูเบส<br />

แปลรหัสไดยาว 415 กรดอะ<br />

มิโน (ภาพที่<br />

35; นิวคลีโอไทดที่<br />

493-1737; กรดอะมิโนที่<br />

165-579) พบวา 401-KS ที่ได<br />

83


ตารางที่<br />

9 กลุมยีน<br />

Type I PKS ที่นํามาใชในการทํา<br />

multiple <strong>al</strong>ignment และ phylogen<strong>et</strong>ic tree<br />

สาร<br />

Erythromycin<br />

Meg<strong>al</strong>omycin<br />

Olendomycin<br />

Pikromycin<br />

Niddamycin<br />

Tylosin<br />

FKB520<br />

Rifamycin<br />

Spinosad<br />

Avermectin<br />

Pimaricin<br />

Rapamycin<br />

Amphotericin<br />

Nystatin<br />

Candicidin/FR008<br />

ตัวยอ<br />

ERY<br />

MEG<br />

OLE<br />

PIK<br />

NID<br />

TYL<br />

FKB<br />

RIF<br />

SPN<br />

AVE<br />

PIM<br />

RAP<br />

AMP<br />

NYS<br />

FSC<br />

จํานวน<br />

โมดุล<br />

6<br />

6<br />

6<br />

6<br />

7<br />

7<br />

10<br />

10<br />

10<br />

12<br />

13<br />

14<br />

18<br />

18<br />

21<br />

KS<br />

6<br />

6<br />

7<br />

7<br />

8<br />

8<br />

10<br />

10<br />

10<br />

12<br />

13<br />

14<br />

19<br />

19<br />

21<br />

จํานวนโดเมน<br />

AT<br />

7<br />

7<br />

7<br />

7<br />

8<br />

8<br />

10<br />

10<br />

11<br />

13<br />

13<br />

14<br />

19<br />

19<br />

21<br />

ACP<br />

7<br />

7<br />

7<br />

7<br />

8<br />

8<br />

11<br />

11<br />

11<br />

13<br />

14<br />

15<br />

19<br />

19<br />

22<br />

เชื้อที่ผลิต<br />

Saccharopolyspora erythraea<br />

Micromonospora meg<strong>al</strong>omicea<br />

Streptomyces antibioticus<br />

Streptomyces venezuelae<br />

Streptomyces caelestis<br />

Streptomyces fradiae<br />

Streptomyces hygroscopicus<br />

Amycolatopsis mediterranei<br />

Saccharopolyspora spinosa<br />

Streptomyces avermitilis<br />

Streptomyces nat<strong>al</strong>ensis<br />

Streptomyces hygroscopicus<br />

Streptomyces nodosus<br />

Streptomyces noursei<br />

Streptomyces sp. FR-008<br />

Accession<br />

Q03131-3<br />

AAG13917–9<br />

Q07017,<br />

AAF82408-9<br />

AAC69329-32<br />

AAC46024-8<br />

AAB66504-8<br />

AAF86392-3, 6<br />

AAC01710-4<br />

AAG23262-6<br />

BAA84474-5, 8-9<br />

CAC20919-21, 30-1<br />

CAA60459-60, 62<br />

AAK73501-3,12-4<br />

AAF71766-8, 74-6<br />

AAQ82561, 4-8<br />

เอกสารอางอิง<br />

Donadio <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1991<br />

Volchegursky <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000<br />

Swan <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1994;<br />

Shah <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000<br />

Xue <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1998<br />

Kakavas <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1997<br />

DeHoff <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1996<br />

Wu <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000<br />

August <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1998<br />

W<strong>al</strong>dron <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2001<br />

Ikeda <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1999<br />

Aparicio <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000<br />

Schwecke <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1995<br />

Caffrey <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2001<br />

Brautas<strong>et</strong> <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000<br />

Chen <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2003<br />

84


ขาดหายไปในสวน N-termin<strong>al</strong> ของโดเมน ประมาณ 70 กรดอะมิโน สวน 403-KS ที่ได<br />

ครอบคลุมทั้งโดเมน<br />

KS<br />

นอกจากนั้นพบวา<br />

ทั้ง<br />

2 โดเมนมีลําดับกรดอะมิโนของ active site<br />

motif สําหรับการเกิดพันธะไธโอเอสเทอร คือ GPxxxxxTACSS ซึ่งมี<br />

C (Cystein) เปน active<br />

site (Donadio <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1991; Aparicio <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1996) โดยใน 401-KS มีลําดับเปน<br />

GPAVTIDTACSS (ภาพที่<br />

24; กรดอะมิโนที่<br />

91-102) และ 403-KS มีลําดับเปน<br />

GPTVSVDTACSS (ภาพที่<br />

35; กรดอะมิโนที่<br />

323-334) ดังภาพที่<br />

37<br />

PIM-ACP5 LGAVRSQIAGVLGHAEATEIDQDRAFLDLGFDSLTAVELRNRLGAVTGIRLPATLLFDYP 60<br />

FSC-ACP7 LDLVRGQIAVVLGHSGAQTVNPHRAFQDLGFDSLTAVELRNRLGKVTGLRLPATVVFDYP 60<br />

AMP-ACP8 LTLVRGQAATVLGHRDGSAIGRERQFQELGFDSLTAVEFRNRLNTATGLRLPATLLFDYP 60<br />

OLE-ACP3 VSLVQSEVAAVLGHSSTDAVQPQRAFREIGFDSLTAVQLRNRLTATTGMRLPTTLVFDYP 60<br />

RAP-ACP13 LELVL-ERRSVLGHSSADAIATDTSFKDLGMDSLTAIELRNRLVAETGLQLPATMVFDYP 59<br />

ERY-ACP2 VRLVRTSTATVLGHDDPKAVRATTPFKELGFDSLAAVRLRNLLNAATGLRLPSTLVFDHP 60<br />

RIF-ACP6 VDLVRGQVAVVLGYDGPEAVRPDTAFKDTGFDSLTSVELRNRLREATGLKLPATLVFDYP 60<br />

NID-ACP3 LELVRTEVAAVLGHGDPGAVGAERSFKDAGFDSLTAVDLRNRLNARTGLRLPATLVFDHP 60<br />

TYL-ACP3 TGFVRAQVAAVLGHPTSDTIDVRRSFKEAGFDSLTAVELRNRLRAATGLKLPATLVFDHP 60<br />

FKB-ACP1 LAIVCAATAAVLGHADASEITPTTAFKDLGIDSLSGVRLRNSLAETTGVRLSATAVFDHP 60<br />

SPN-ACP9 LGVVREHAAAVLGYSSAADVGVERAFRDLGFDSLSGVELRNRLAGVLGVRLPATAVFDYP 60<br />

MEG-ACP4 AELVRSHAAAVAGYDSADQLPERKAFKDLGFDSLAAVELRNRLGVTTGVRLPSTLVFDHP 60<br />

PIK-ACP1 LGLVRAQAAAVLRMRSPEDVAADRAFKDIGFDSLAGVELRNRLTRATGLQLPATLVFDHP 60<br />

403-ACP LTLIRGEVATVLGFADADAVPSGPAFKDLGFDSLTAVDLRNQLATATGLSLPATLVFDYP 60<br />

NYS-ACP12 LDLLRTQVAAVLGHADPRTVEDDHAFRDLGFDSLTILELRNALNAATGLSLPATLVYDLP 60<br />

AVE-ACP5 LGLIRTGICTVLGLRNPEGIEDQRAFRDLGFDSLTSAQFSKELAKETGLPLPPSLVFDYP 60<br />

motif LGxDS<br />

ภาพที่<br />

36 Multiple <strong>al</strong>ignment ของโดเมน ACP ในบริเวณ active site<br />

บรรทัดลางแสดง active site motif<br />

AVE-KS1 VEGHILTGTTGSVLSGRIAYSFGLEGPAITVDTGCSA 179<br />

OLE-KS1 SGGYVLTGNTASVASGRIAYSLGLEGPAVTVDTACSS 164<br />

NID-KS2 YGGHLLTGTLASVMSGRVAYTLGLQGPALTVDTACSS 175<br />

FKB-KS6 LDGFGSIGMQPSVLTGRISYFYGLQGPAFTVDTACSS 163<br />

RAP-KS10 LGGFGTTAGAASVLSGRVSYFFGLEGPAFTVDTACSS 170<br />

403-KS QLGHAQTAQSASLLSGRVAYHFGLEGPTVSVDTACSS 170<br />

NYS-KS14 EAGQWQTAQSASLLSGRLAYTFGIQGPTVSVDTACSS 167<br />

401-KS VQGFALTGTTTSVISGRLAYFFGAVGPAVTIDTACSS 102<br />

PIM-KS6 VQGFALTGTTTSVISGRLAYFFGAVGPAVTVDTACSS 163<br />

AMP-KS9 AEGFQLTGNTGSVLSGRISYTFGTVGPAVTVDTACSS 164<br />

SPN-KS9 FEGYLGNGSAGGVFSGRVAYSFGFEGPAVTVDTACSS 176<br />

FSC-KS8 YEGYRGNGSAGSIASGRVSYTFGFEGPAVTVDTACSS 173<br />

PIK-KS4 LEGYVGTGNAASIMSGRVSYTLGLEGPAVTVDTACSS 175<br />

TYL-KS5 FDGYLGTGNSASVMSGRLSYVFGLEGPAVTVDTACSA 175<br />

RIF-KS5 LEGFVTTATAGSVASGRVSYTFGFEGPAVTVDTACSS 175<br />

ERY-KS4 VDGYQGLGNSASVLSGRIAYTFGWEGPALTVDTACSS 175<br />

MEG-KS3 AEGYSVTGVAPAVASGRISYALGLEGPSISVDTACSS 174<br />

motif GPxxxxxTACSS<br />

ภาพที<br />

่ 37 Multiple <strong>al</strong>ignment ของโดเมน KS ในบริเวณ active site<br />

บรรทัดลางแสดง active site motif<br />

85


เมื่อนําไปทํา<br />

multiple <strong>al</strong>ignment รวมกับโดเมน KS ทั้ง<br />

170 โดเมน<br />

ของกลุมยีน<br />

Type I PKS (ตารางที่<br />

9) ทํา clustering แลววาด phylogen<strong>et</strong>ic tree พบวาโดเมน<br />

KS แบงกลุมยอยออกตามชนิดของสารที่ผลิต<br />

และตามขนาดโมเลกุลของสารที่ใกลเคียงกัน<br />

จึง<br />

เลือก KS บางโดเมน มาทํา multiple <strong>al</strong>ignment และ clustering พบวา phylogen<strong>et</strong>ic tree ที่ได<br />

(ภาพที่<br />

38) แสดงการแบงแยกออกจากกันของโดเมน KS เปน 2 กลุมที่ชัดเจน<br />

คือกลุมของมา<br />

โครไลดซึ่งมีโครงสรางเปนวงแลคโตนขนาด<br />

12- ถึง 24-member (มียีน Type I PKS 6-12<br />

โมดุล) กับ กลุมโพลีอีนซึ่งมีโครงสรางเปนวงแหวนแลคโตนขนาดมากกวา<br />

26-member (มียีน<br />

Type I PKS มากกวา 12 โมดุล) แสดงวาโดเมน KS อาจใชระบุขนาดของโครงสรางของวงแลค<br />

โตนได<br />

เมื่อพิจารณาโดเมน<br />

KS ในกลุมโพลีอีน<br />

พบวามีการแบงกลุมยอย<br />

ตามลําดับโมดุล ซึ่งจากการเปรียบเทียบรูปแบบการจัดเรียงตัวของกลุมยีน<br />

Type I PKS ของสาร<br />

โพลีอีน ไดแก นัยสตาติน (NYS), แอมโฟเทอริซิน (AMP), แคนดิซิดิน (FSC) และ พิมาริซิน<br />

(PIM) ดังภาพที่<br />

39 แสดงใหเห็นวา การแบงกลุมยอยตามลําดับโมดุลนี้เกิดอยางเห็นไดชัด<br />

เฉพาะใน ORF ที่<br />

4 ของ NYS, AMP และ FSC และ ORF ที่<br />

3 ของ PIM โดย ORF นี้<br />

เกี่ยวของกับการสังเคราะหสวน<br />

exocyclic carboxyl group และ hemik<strong>et</strong><strong>al</strong> ring ของสารโพลีอี<br />

นทุกชนิด (ภาพที่<br />

40) (Aparicio <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2003) ตัวอยางกลุมยอย<br />

ไดแก กลุมยอยของ<br />

AMP-<br />

KS12, NYS-KS12, FSC-KS14 และ PIM-KS9 เปนตน (ภาพที่<br />

38) นอกจากนั้นยั้งพบวา<br />

403-KS แบงกลุมยอยไปอยูรวมกับ<br />

AMP-KS14, NYS-KS14, FSC-KS16 และ PIM-<br />

KS11 ซึ่งเปน<br />

KS ในโมดุลสุดทายของ ORF และ 401-KS แบงกลุมยอยไปอยูรวมกับ<br />

AMP-<br />

KS9, NYS-KS9, FSC-KS11 และ PIM-KS6 ซึ่งเปน<br />

KS โมดุลแรกของ ORF คาดวา 403-<br />

KS และ 401-KS นาจะเกี่ยวของกับการสังเคราะหโครงสรางสวน<br />

exocyclic carboxyl group<br />

และ hemik<strong>et</strong><strong>al</strong> ring ของไรโมซิดิน จากการวิเคราะหนี้ยังแสดงใหเห็นวา<br />

403-KS และ 401-<br />

KS เปน KS ตางโดเมนกันและอยูคนละโมดุล<br />

86


403-KS<br />

401-KS<br />

Macrolide<br />

Polyene<br />

ภาพที่<br />

38 Phylogen<strong>et</strong>ic tree ที่คา<br />

bootstrap 1,000 ครั้ง<br />

ของโดเมน KS ของ S. rimosus R7<br />

ที่ใชเปนโพรบ<br />

(401-KS) และที่โคลนได<br />

(403-KS) เปรียบเทียบกับ KS ของสาร<br />

มาโครไลดและโพลีอีน<br />

กรอบเสนประ=กลุมยอยของ<br />

KS ตัวเลขขางทาย KS=ลําดับโมดุล<br />

87


NYS<br />

AMP<br />

FSC<br />

PIM<br />

L 1 3 9 15 18<br />

L 1 3 9 15 18<br />

L 2 5 11 17 21<br />

L 2 6 12 13<br />

Loading Minim<strong>al</strong> PKS + DH + KR<br />

Minim<strong>al</strong> PKS Minim<strong>al</strong> PKS + DH + ER + KR<br />

Minim<strong>al</strong> PKS + KR TE<br />

M<strong>et</strong>hylm<strong>al</strong>onyl-specific module<br />

ภาพที่<br />

39 การจัดเรียงตัวของกลุมยีน<br />

Type I PKS ของสารกลุมโพลีอีน<br />

NYS=นัยสตาติน AMP=แอมโฟเทอริซิน FSC=แคนดิซิดิน<br />

PIM=พิมาริซิน L=Loading domain และ ตัวเลข=ลําดับโมดุล<br />

HO<br />

C<br />

H 3<br />

C<br />

H 3<br />

1<br />

O<br />

CH 3<br />

3<br />

18<br />

O<br />

OH OH OH<br />

OH O<br />

OH NH2 O OH<br />

O<br />

ภาพที่<br />

40 โครงสรางของนัยสตาติน<br />

วงกลม=ตําแหนง exocyclic carboxyl group และ hemik<strong>et</strong><strong>al</strong> ring<br />

ตัวเลข=ลําดับโมดุล<br />

15<br />

OH<br />

9<br />

OH<br />

OH<br />

COOH<br />

CH 3<br />

88


3.3.3 การวิเคราะหโดเมน AT<br />

โดเมน AT ที่โคลนได<br />

(403-AT) มีความยาว 317 กรดอะมิโน (ภาพ<br />

ที่<br />

35; นิวคลีโอไทดที่<br />

2071-3021; กรดอะมิโนที่<br />

691-1007) จากการทํา multiple<br />

<strong>al</strong>ignment เปรียบเทียบกับโดเมน AT อื่นที่มีรายงานในฐานขอมูล<br />

(ตารางที่<br />

9) จํานวน 174<br />

โดเมน พบ active site motif คือ GHSxG ซึ่งมี<br />

S (serine) เปน active site (Donadio <strong>et</strong> <strong>al</strong>.,<br />

1991; Aparicio <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1996) มีลําดับเปน GHSIG (กรดอะมิโนที่<br />

777-781) เมื่อคัดเลือก<br />

โดเมน AT ทั้งที่จําเพาะตอ<br />

มาโลนิล-โคเอ (mAT) และ AT ที่จําเพาะตอเมธิลมาโลนิล-โคเอ<br />

(mmAT) บางสวนไปทํา clustering พบวา phylogen<strong>et</strong>ic tree ที่ได<br />

(ภาพที่<br />

41) มีการแบงกลุม<br />

เปนกลุม<br />

mAT และ mmAT โดย 403-AT จับกลุมอยูในกลุม<br />

mAT และจากลําดับกรดอะมิโน<br />

ตรวจพบวามีบริเวณของ specificity motif ของ mAT คือ xTxxtQPALFAxevALxrLxxxwGxxP<br />

xxvxGHS (Thamchaipen<strong>et</strong> and Chotewutmontri, 2002) โดยมีลําดับเปน ETGYTQPALFAIE<br />

VALFRLVESWGIRPDFAAGHS (ภาพที่<br />

42) สนับสนุนวา 403-AT เปน AT ที่จําเพาะ<br />

ตอมาโลนิล-โคเอ นอกจากนั้นยังพบวา<br />

403-AT อยูในกลุมยอยของ<br />

AMP-AT14, NYS-<br />

AT14, FSC-AT16 และ PIM-AT11 ซึ่งใหความสัมพันธเชนเดียวกันกับ<br />

403-KS ซึ่งอยูใน<br />

โมดุลเดียวกัน ดังที่ไดกลาวไปกอนหนานี้<br />

89


403-AT<br />

ภาพที่<br />

41 Phylogen<strong>et</strong>ic tree ที่คา<br />

bootstrap 1,000 ครั้ง<br />

ของโดเมน AT ของ S. rimosus R7<br />

(403-AT) เปรียบเทียบกับ AT ของสารโพลีคีไทด<br />

กรอบเสนประ=กลุมยอยของ<br />

AT mAT=m<strong>al</strong>onate specific AT<br />

mmAT = m<strong>et</strong>hylm<strong>al</strong>onate specific AT<br />

403-AT EDAERLNETGYTQPALFAIEVALFRLVESWGIRPDFAAGHSIGEIAAAHVAGVFS 103<br />

AMP-AT3 SDAELLNETGWTQPALFAVEVALYRLVSSLGVTPDYVGGHSIGEIAAAHVAGVLS 104<br />

NYS-AT4 EDAQLVDRTGYTQPALFAIEVALFRLLEAWGITPDFVAGHSIGEIAAAHVAGVLS 104<br />

PIM-AT6 PEAALLDQTGYAQPALFAIEVALYRLAESFGITPDFLAGHSIGEIAAAHVAGVFT 108<br />

FSC-AT11 EEAALLDRTEYAQPALFALEVALYRLVESWGVTPDHLTGHSVGEIAAAHVAGVFT 108<br />

PIK-AT2 AEAALLDETRYTQCALFALEVALFRLVESWGMRPAALLGHSVGEIAAAHVAGVFS 108<br />

TYL-AT7 PEAALLDRTEYTQPALFAVEVALHRLLEHWGMRPDLLLGHSVGELAAAHVAGVLD 108<br />

RAP-AT5 VPDLEVNETGYAQPALFALQVALFGLLESWGVRPDAVVGHSVGELAAGYVSGLWS 91<br />

RIF-AT9 AETGLLNQTVFTQAGLFAVESALFRLAESWGVRPDVVLGHSIGEITAAYAAGVFS 111<br />

SPN-AT4 SDAQLLDQTLWAQSGLFALQAGLLGLLGSWGVRPDVVMGHSVGELAAAFAAGVLS 106<br />

FKB-AT10 EHGALAHDTLYAQAGLFTLEVALLRLLEHWGVRPDVLVGHSVGEVTAAYAAGVLT 104<br />

NID-AT1 DQPDLLDRTEYTQPALFALQTALYRTLTARGTQAHLVLGHSVGEITAAHIAGVLD 105<br />

motif xTxxtQPALFAxevALxrLxxxwGxxPxxvxGHS<br />

mmAT<br />

mAT<br />

ภาพที่<br />

42 Multiple <strong>al</strong>ignment ของโดเมน AT ที่จําเพาะตอมาโลนิล-โคเอในบริเวณ<br />

active site<br />

บรรทัดลางแสดง specificity motif ของ m<strong>al</strong>onate specific AT<br />

90


4. การทํายีนดิสรัปชันดวยชิ้นดีเอ็นเอที่โคลนได<br />

4.1 การเตรียมพลาสมิดสําหรับทํายีนดิสรัปชัน<br />

พลาสมิดที่ใชในการทํายีนดิสรัปชัน<br />

ไดมาจากการแทรกชิ้นยีนที่โคลนไดเขาไป<br />

ใน mobilisable plasmid ซึ่งไมสามารถเพิ่มจํานวนไดใน<br />

Streptomyces ไดแก pSET151 และ<br />

pKC1132<br />

4.1.1 พลาสมิดสายผสมที่มาจาก<br />

pSET151<br />

ก. พลาสมิด pATT402<br />

พลาสมิด pATT402 ไดจากการนําชิ้นดีเอ็นเอ<br />

401-KS ขนาด<br />

1.1 กิโลเบส ที่ตัดดวยเอนไซมตัดจําเพาะ<br />

EcoRI และ PstI แลวโคลนเขาไปในพลาสมิด<br />

pSET151 ทรานสฟอรม พลาสมิดสายผสมเขาสู<br />

E. coli JM109 และตรวจสอบโคลนโดยการ<br />

ตัดดวยเอนไซม แลวจึงนําเขาสู<br />

E. coli ET12567 (pUZ8002) (ภาพที่<br />

43) เขียนแผนที่<br />

พลาสมิดไดดังภาพที่<br />

44 ก<br />

ข. พลาสมิด pATT405<br />

พลาสมิด pATT405 ไดจากการนําชิ้นดีเอ็นเอ<br />

403-PKS<br />

ขนาด 3.7 กิโลเบส ที่ตัดดวยเอนไซม<br />

EcoRI และ PstI โคลนเขาไปใน พลาสมิด pSET151<br />

ทรานสฟอรมพลาสมิดสายผสมเขาสู<br />

E. coli JM109 และตรวจสอบโคลนโดยการตัดดวย<br />

เอนไซม แลวจึงนําเขาสู<br />

E. coli ET12567 (pUZ8002) (ภาพที่<br />

45) เขียนแผนที่พลาสมิดได<br />

ดังภาพที่<br />

44 ข<br />

ค. พลาสมิด pATT408<br />

พลาสมิด pATT408 ไดจากการนําชิ้นดีเอ็นเอขนาด<br />

1.7 กิโล<br />

เบส จากพลาสมิด pATT406 ซึ่งตัดดวยเอนไซม<br />

EcoRI และ XbaI โคลนเขาสูพลาสมิด<br />

pSET151 ทรานสฟอรมพลาสมิดสายผสมเขาสู<br />

E. coli JM109 และตรวจสอบโคลนโดยการตัด<br />

ดวยเอนไซม แลวจึงนําเขาสู<br />

E. coli ET12567 (pUZ8002) (ภาพที่<br />

46) เขียนแผนที่พลาสมิด<br />

ไดดังภาพที่<br />

44 ค<br />

91


ภาพที่<br />

43 การตรวจสอบพลาสมิด pATT402 ดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส<br />

M=1 kb ladder แถวที่<br />

1=pATT401/EcoRI/PstI แถวที่<br />

2=1.1 kb ที่สกัดจาก<br />

เจล แถวที่<br />

3=pSET151/EcoRI/PstI แถวที่<br />

4=pATT402 แถวที่<br />

5=<br />

pATT402/EcoRI/PstI และแถวที่<br />

6=pUZ8002+pATT402 ที่สกัดจาก<br />

E. coli<br />

ET12567/EcoRI/PstI<br />

(ก)<br />

6 kb<br />

3 kb<br />

2 kb<br />

1 kb<br />

0.5 kb<br />

M 1 2 3 4 5 6<br />

6.2 kb<br />

2.7 kb<br />

1.1 kb<br />

ภาพที่<br />

44 แผนที่ของพลาสมิดสายผสมซึ่งใชในการทํายีนดิสรัปชันที่มาจาก<br />

pSET151<br />

(ก) pATT402 (ข) pATT405 (ค) pATT408<br />

92


ภาพที่<br />

44 (ตอ)<br />

(ข)<br />

(ค)<br />

93


6 kb<br />

3 kb<br />

2 kb<br />

M 1 2 3 4 5<br />

6.2 kb<br />

3.8 kb<br />

2.7 kb<br />

ภาพที่<br />

45 การตรวจสอบพลาสมิด pATT405 ดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส<br />

M=1 kb ladder แถวที่<br />

1=pATT403/EcoRI/PstI แถวที่<br />

2=3.7 kb ที่สกัดจาก<br />

เจล แถวที่<br />

3=pSET151/EcoRI/PstI แถวที่<br />

4=pATT405/EcoRI/PstI และแถว<br />

ที่<br />

5=pUZ8002+pATT405 ที่สกัดจาก<br />

E. coli ET12567/EcoRI/PstI<br />

2 kb<br />

3 kb<br />

6 kb<br />

1 kb<br />

M 1 2 3 4 5 6<br />

6.2 kb<br />

2.7 kb<br />

1.7 kb<br />

ภาพที่<br />

46 การตรวจสอบพลาสมิด pATT408 ดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส<br />

M=1 kb ladder แถวที่<br />

1=pATT406/EcoRI/XbaI แถวที่<br />

2=1.7 kb ที่สกัดจาก<br />

เจล แถวที่<br />

3=pSET151/EcoRI/XbaI แถวที่<br />

4=pATT408 แถวที่<br />

5=<br />

pATT408/EcoRI/XbaI และแถวที่<br />

6=pUZ8002+pATT408 ที่สกัดจาก<br />

E. coli<br />

ET12567/EcoRI/XbaI<br />

94


4.1.2 พลาสมิดสายผสมที่มาจาก<br />

pKC1132<br />

จากการหาประสิทธิภาพคอนจูเกชันของเชื้อ<br />

S. rimosus R7 ในผลการ<br />

ทดลองขอ 1.3 ทําใหทราบวา S. rimosus R7 ตานทานตอยาอะพรามัยซิน ไมสามารถใชยานี้ใน<br />

การคัดเลือกได การสรางพลาสมิดสายผสมเพื่อทํายีนดิสรัปชันโดยใช<br />

pKC1132 นี้<br />

จึงจะโคลน<br />

ยีนตานไธโอเสตรปทอน (tsr) ใสเขาไปดวย เนื่องจาก<br />

pKC1132 มียีนตานอะพรามัยซินเทานั้น<br />

ชิ้นยีน<br />

tsr ตัดจากพลาสมิด pIJ8671 (ภาพที่<br />

47) ดวยเอนไซมตัด<br />

จําเพาะ EcoRI ไดขนาด 2.0 กิโลเบส แลวโคลนเขาไปในพลาสมิด pUC18 ทรานสฟอรม<br />

พลาสมิดสายผสมเขาสู<br />

E. coli JM109 ไดโคลนที่มีทิศทางของยีน<br />

tsr สวนทางกับยีนตานแอมพิ<br />

ซิลลิน ใหชื่อวาพลาสมิด<br />

pATT412 (ตรวจสอบโคลนดังภาพที่<br />

48) จากนั้นตัดยีน<br />

tsr ขนาด<br />

1.3 กิโลเบส จากพลาสมิด pATT412 ดวยเอนไซมตัดจําเพาะ KpnI แลวโคลนเขาไปใน<br />

พลาสมิด pUC18 ทรานสฟอรมพลาสมิดสายผสมเขาสู E. coli JM109 ไดโคลนที่มีทิศทางของ<br />

ยีน tsr สวนทางกับยีนตานแอมพิซิลลิน ใหชื่อวาพลาสมิด<br />

pATT413 (ตรวจสอบโคลนดังภาพที่<br />

49) โดยพลาสมิดนี้จะมีตําแหนงตัดของ<br />

EcoRI อยูทั้ง<br />

2 ขางของยีน tsr ขนาด 1.3 กิโลเบส<br />

ภาพที่<br />

47 พลาสมิด pIJ8671 ที่นํายีนตานยาปฏิชีวนะไธโอสเตรปทอนมาใช<br />

สวนประกอบสําคัญ คือ oriT (จากพลาสมิด RK2) และยีนตานยาปฏิชีวนะไธ<br />

โอสเตรปทอน (tsr) และอะพรามัยซิน [acc(3)IV]<br />

ที่มา:<br />

Kieser <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000<br />

95


ภาพที่<br />

48 การตรวจสอบพลาสมิด pATT412 ดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส<br />

M=1 kb ladder แถวที่<br />

1=pIJ8671/EcoRI แถวที่<br />

2=2.0 kb ที่สกัดจากเจล<br />

แถว<br />

ที่<br />

3=pUC18/EcoRI แถวที่<br />

4=pATT412 แถวที่<br />

5=pATT412/EcoRI แถวที่<br />

6=pATT412/HindII/PvuII<br />

3 kb<br />

2 kb<br />

1 kb<br />

3 kb<br />

2 kb<br />

1 kb<br />

M 1 2 3 4 5 6<br />

M 1 2 3 4 5 6<br />

2.7 kb<br />

2.0 kb<br />

2.7 kb<br />

1.3 kb<br />

ภาพที่<br />

49 การตรวจสอบพลาสมิด pATT413 ดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส<br />

M=1 kb ladder แถวที่<br />

1=pATT412/KpnI แถวที่<br />

2=1.3 kb ที่สกัดจากเจล<br />

แถว<br />

ที่<br />

3=pUC18/KpnI แถวที่<br />

4=pATT413 แถวที่<br />

5=pATT413/KpnI แถวที่<br />

6=pATT413/EcoRI<br />

96


ก. พลาสมิด pATT414 และ pATT416<br />

ตัดชิ้นดีเอ็นเอขนาด<br />

1.1 กิโลเบส จากพลาสมิด pATT401<br />

ดวยเอนไซมตัดจําเพาะ EcoRI และ PstI แลวโคลนเขาไปในพลาสมิด pKC1132 ที่ตัดดวย<br />

เอนไซมชนิดเดียวกัน ทรานสฟอรม พลาสมิดสายผสมเขาสู<br />

E. coli JM109 ใหชื่อวาพลาสมิด<br />

pATT410 (ตรวจสอบโคลนดังภาพที่<br />

50) จากนั้นตัดยีนตานไธโอสเตรปทอนขนาด<br />

1.3 กิโล<br />

เบส จากพลาสมิด pATT413 โดยการตัดดวยเอนไซมตัดจําเพาะ EcoRI แลวเชื่อมเขาไปใน<br />

พลาสมิด pATT410 ที่ตัดดวยเอนไซมเดียวกัน<br />

ทรานสฟอรมพลาสมิดสายผสมเขาสู<br />

E. coli<br />

JM109 คัดเลือกโคลนที่ยีนตานไธโอสเตรปทอนมีทิศทางเดียวกับยีน<br />

PKS ใหชื่อวา<br />

pATT414<br />

และเมื่อยีนมีทิศทางตรงกันขาม<br />

ใหชื่อวา<br />

pATT416 (ตรวจสอบโคลนดังภาพที่<br />

51) เขียนแผน<br />

ที่พลาสมิดทั้ง<br />

2 ไดดังภาพที่<br />

52 ก และ ข นําพลาสมิดทั้งสองเขาสู<br />

E. coli ET12567<br />

(pUZ8002)<br />

ข. พลาสมิด pATT415 และ pATT417<br />

ตัดชิ้นดีเอ็นเอขนาด<br />

1.7 กิโลเบส จากพลาสมิด pATT406<br />

ดวยเอนไซมตัดจําเพาะ EcoRI และ XbaI แลวโคลนเขาไปในพลาสมิด pKC1132 ที่ตัดดวย<br />

เอนไซมชนิดเดียวกัน ทรานสฟอรม พลาสมิดสายผสมเขาสู<br />

E. coli JM109 ใหชื่อวา<br />

pATT411<br />

(ตรวจสอบโคลนดังภาพที่<br />

53) จากนั้นตัดยีนตานทานไธโอสเตรปทอนขนาด<br />

1.3 กิโลเบส<br />

จากพลาสมิด pATT413 โดยการตัดดวยเอนไซมตัดจําเพาะ EcoRI แลวเชื ่อมเขาไปในพลาสมิด<br />

pATT411 ที่ตัดดวยเอนไซมเดียวกัน<br />

ทรานสฟอรมพลาสมิดสายผสมเขาสู<br />

E. coli JM109<br />

คัดเลือกโคลนที่ยีนตานทานไธโอสเตรปทอนมีทิศทางเดียวกับยีน<br />

PKS ใหชื่อวา<br />

pATT415 และ<br />

เมื่อยีนมีทิศทางตรงกันขาม<br />

ใหชื่อวา<br />

pATT417 (ตรวจสอบโคลนดังภาพที่<br />

54) เขียนแผนที่<br />

พลาสมิดทั้ง<br />

2 ไดดังภาพที่<br />

52 ค และ ง นําพลาสมิดทั้งสองเขาสู<br />

E. coli ET12567<br />

(pUZ8002)<br />

97


3 kb<br />

1 kb<br />

M 1 2 3 4 5 6<br />

3.4 kb<br />

1.1 kb<br />

ภาพที่<br />

50 การตรวจสอบพลาสมิด pATT410 ดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส<br />

M=1 kb ladder แถวที่<br />

1=pATT401/EcoRI/PstI แถวที่<br />

2=1.1 kb ที่สกัดจาก<br />

เจล แถวที่<br />

3=pKC1132/EcoRI/PstI แถวที่<br />

4=pATT410 แถวที่<br />

5=<br />

pATT410/EcoRI/PstI<br />

5 kb<br />

4 kb<br />

3 kb<br />

2 kb<br />

1 kb<br />

M 1 2 3 4 5 6 7 8 9<br />

4.5 kb<br />

1.9 kb<br />

1.5 kb<br />

1.3 kb<br />

ภาพที่<br />

51 การตรวจสอบพลาสมิด pATT414 และ pATT416 ดวยอะกาโรส<br />

เจลอิเล็กโทรโฟรีซิส<br />

M=1 kb ladder แถวที่<br />

1=pATT413/EcoRI แถวที่<br />

2=1.3 kb ที่สกัดจากเจล<br />

แถว<br />

ที่<br />

3=pATT410/EcoRI แถวที่<br />

4=pATT414 แถวที่<br />

5=pATT414/EcoRI แถวที่<br />

6=pATT414/HindII/PvuII แถวที่<br />

7=pATT416 แถวที่<br />

8=pATT416/EcoRI<br />

แถวที่<br />

9=pATT416/HindII/PvuII<br />

98


(ก)<br />

(ค)<br />

ภาพที่<br />

52 แผนที่ของพลาสมิดสายผสมซึ่งใชในการทํายีนดิสรัปชันที่มาจาก<br />

pKC1132<br />

(ก) pATT414 (ข) pATT416 (ค) pATT415 (ง) pATT417<br />

(ข)<br />

(ง)<br />

99


3 kb<br />

2 kb<br />

M 1 2 3 4 5 6<br />

3.4 kb<br />

1.7 kb<br />

ภาพที่<br />

53 การตรวจสอบพลาสมิด pATT411 ดวยอะกาโรสเจลอิเล็กโทรโฟรีซิส<br />

M=1 kb ladder แถวที่<br />

1=pATT406/EcoRI/XbaI แถวที่<br />

2=1.7 kb ที่สกัดจาก<br />

เจล แถวที่<br />

3=pKC1132/EcoRI/XbaI แถวที่<br />

4=pATT411 แถวที่<br />

5=<br />

pATT411/EcoRI/XbaI<br />

5 kb<br />

4 kb<br />

1 kb<br />

0.5 kb<br />

M 1 2 3 4 5 6 7 8 9<br />

5.1 kb<br />

1.3 kb<br />

1.0 kb<br />

0.7 kb<br />

100<br />

ภาพที่<br />

54 การตรวจสอบพลาสมิด pATT415 และ pATT417 ดวยอะกาโรส<br />

เจลอิเล็กโทรโฟรีซิส<br />

M=1 kb ladder แถวที่<br />

1=pATT413/EcoRI แถวที่<br />

2=1.3 kb ที่สกัดจากเจล<br />

แถว<br />

ที่<br />

3=pATT411/EcoRI แถวที่<br />

4=pATT415 แถวที่<br />

5=pATT415/EcoRI แถวที่<br />

6=pATT415/HindII/PvuII แถวที่<br />

7=pATT417 แถวที่<br />

8=pATT417/EcoRI<br />

แถวที่<br />

9=pATT417/HindII/PvuII


4.2 การตรวจสอบสายพันธุกลายจากการทํายีนดิสรัปชันโดย<br />

Hybridisation<br />

4.2.1 พลาสมิด pATT402, pATT405 และ pATT408<br />

จากการทําคอนจูเกชันและคัดเลือกเอกซคอนจูแกนตของทั้งพลาสมิด<br />

pATT402, pATT405 และ pATT408 (ภาพที่<br />

46) หลายการทดลอง พบวาไมสามารถ<br />

คัดเลือกเอกซคอนจูแกนตที่ไดรับพลาสมิดเหลานี้<br />

ทั้งนี้อาจจะเนื่องมาจากขนาดของพลาสมิดซึ่ง<br />

มีขนาดใหญ โดยพลาสมิด pATT402, pATT405 และ pATT408 มีขนาดเปน 7.3, 10.0<br />

และ 7.9 กิโลเบส ตามลําดับ ทําใหความสามารถในการสงถายพลาสมิดลดลง เชนเดียวกับที่มี<br />

รายงานการสงถายพลาสมิดเขาสู<br />

S. coelicolor และ S. lividans กอนหนานี้<br />

(Fl<strong>et</strong>t <strong>et</strong> <strong>al</strong>.,<br />

1997) สําหรับในการใชพลาสมิด pIJ8600 ซึ่งมีขนาด<br />

8.1 กิโลเบส เพื่อศึกษาการเกิดคอนจูเก<br />

ชันนั้น<br />

ถึงแมวาพลาสมิดจะมีขนาดใหญและสงถายไดนอย แตเมื่อเกิดการสงถายไปแลวจะเกิด<br />

การแทรกตัวแบบ site-specific recombination ของ attB และ attP โดยอาศัยเอนไซม integrase<br />

จากยีน int ของฝาจ φC31 ไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยจากการศึกษาคอนจูเกชันระหวาง S.<br />

coelicolor และ S. lividans กับ E. coli ET12567 (pUB307) แสดงวาประสิทธิภาพของ sitespecific<br />

recombination สูงกวาโฮโมโลกัสรีคอมบิเนชัน เปน 10 3 และ 10 6 เทา เมื่อชิ้นดีเอ็นเอที่<br />

ใชในการเกิดโฮโมโลกัสรีคอมบิเนชันมีขนาดเปน 5.8 และ 2.1 กิโลเบส ตามลําดับ (Fl<strong>et</strong>t <strong>et</strong> <strong>al</strong>.,<br />

1997) จึงสามารถคัดเลือกเอกซคอนจูแกนตที่ไดรับพลาสมิด<br />

pIJ8600 ได ตางจากพลาสมิด<br />

pATT402, pATT405 และ pATT408 ซึ่งตองอาศัยการแทรกตัวแบบโฮโมโลกัสรีคอมบิเนชัน<br />

4.2.2 พลาสมิด pATT414, pATT415, pATT416 และ pATT417<br />

เมื่อนําไปทําคอนจูเกชันแลวคัดเลือกเอกซคอนจูแกนตบนอาหารแข็งที่<br />

มีไธโอสเตรปทอน พบวามีเชื้อที่สามารถเจริญได<br />

จึงไดนําไปเขี่ยเปนโคโลนีเดี่ยวบนอาหารแข็ง<br />

MS ที่มีไธโอสเตรปทอน<br />

3 รอบ จากนั้นจึงนําไปเลี้ยงในอาหารเหลว<br />

TSB ที่มีไธโอสเตรปทอน<br />

เพื่อสกัดดีเอ็นเอ<br />

แตเมื่อตรวจสอบโดยการทํา<br />

dot blot hybridisation โดยใช โพรบขนาด 1.4<br />

กิโลเบส ที่มียีน<br />

oriT จากการตัดพลาสมิด pKC1132 ดวยเอนไซม SacI และ HindIII พบวา<br />

ทั้งหมดใหผลเปนลบ<br />

(ภาพที่<br />

55) แสดงวาเชื้อที่เจริญไดบนอาหารแข็งไมใช<br />

เอกซคอนจูแกนต<br />

ดังนั้น<br />

ถึงแมวาจะทํายีนดิสรัปชันโดยสงถายพลาสมิด pATT414 และ<br />

pATT416 (ขนาด 5.8 กิโลเบส) และ pATT415 และ pATT417 (ขนาด 6.4 กิโลเบส) ที่มี<br />

ขนาดเล็กลงกวา pATT402, pATT405 และ pATT408 และยังมีขนาดเล็กกวาพลาสมิดที่ใช<br />

ทดสอบการคอนจูเกชัน คือ pIJ8600 แลวก็ตาม ก็ไมสามารถทําใหเกิดยีนดิสรัปชันไดใน S.<br />

rimosus R7<br />

101


+ -<br />

<br />

ภาพที่<br />

55 การตรวจสอบเอกซคอนจูแกนตของ S. rimosus R7 ที่ไดรับการสงถายพลาสมิด<br />

102<br />

pATT414 และ pATT415 ดวย dot blot hybridisation<br />

(-) = S. rimosus R7, (+) = pKC1132, = เอกซคอนจูแกนตของ pATT416,<br />

= เอกซคอนจูแกนตของ pATT415<br />

คาดวาการที่ไมสามารถพบสายพันธุกลาย<br />

จากการเกิดโฮโมโลกัสรีคอมบิเนชัน<br />

ได นาจะเกิดขึ้นเนื่องจากความถี่ของโฮโมโลกัสรีคอมบิเนชันมีคาต่ํามาก<br />

โดยอาจจะตองเพิ่ม<br />

ขนาดของชิ้นดีเอ็นเอที่ใชในการเกิดรีคอมบิเนชันใหมีขนาดใหญขึ้น<br />

เพื่อเพิ่มความถี่ใหสูงขึ้น<br />

และอาจตองเปลี่ยนไปใชพลาสมิดรูปแบบอื่น<br />

เชน พลาสมิดแบบ temperature-sensitive<br />

replicon ของ Streptomyces เชน pGM160 (Muth <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1989) และ pKC1139 (Bierman <strong>et</strong><br />

<strong>al</strong>., 1992) ซึ ่งจะสามารถควบคุมการเพิ่มจํานวนของพลาสมิดไดดวยอุณหภูมิ<br />

โดยที่อุณหภูมิ<br />

30 องศาเซลเซียส จะสามารถตรวจสอบการสงถายพลาสมิดจากการคอนจูเกชันไดในขั้นตน<br />

(พลาสมิดเพิ่มจํานวนได)<br />

และสามารถบังคับใหเกิดรีคอมบิเนชัน โดยการเปลี่ยนอุณหภูมิให<br />

สูงขึ้นมากกวา<br />

34 องศาเซลเซียส ทําใหพลาสมิดเพิ่มจํานวนไมได<br />

จากการที่สามารถสงถายพลาสมิด<br />

pIJ8600 เขาไปใน S. rimosus R7 ได แสดง<br />

วาระบบการทําลายดีเอ็นเอแปลกปลอม (restriction-modification system) ใน S. rimosus R7<br />

ไมมีผลในการทําลายพลาสมิดที่ซึ่งสงเขา<br />

และวิธีการที่ใชในการทําคอนจูเกชันนั้นมีหลายขั้นตอน<br />

ที่ชวยลดการทําลายพลาสมิดที่สงถายไปได<br />

ไดแก การใช E. coli ET12567 เปนผูให<br />

ซึ่งขาด<br />

สมบัติการเติมหมูเมธิลบนดีเอ็นเอ<br />

(Kwak <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2002) รวมทั้งระบบการสงถายพลาสมิดใน<br />

การเกิดคอนจูเกชันนั้น<br />

พลาสมิดจะอยูในรูปดีเอ็นเอสายเดี่ยว<br />

ซึ่งไมถูกตัดดวยเอนไซมตัดจําเพาะ<br />

(Hillemann <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1991; Fl<strong>et</strong>t <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1997) โดยพบวาสายพันธุที่มีการทําลายดีเอ็นเอ<br />

แปลกปลอมไดดี เชน S. <strong>al</strong>bus G (Voeykova <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1998), S. coelicolor (Fl<strong>et</strong>t <strong>et</strong> <strong>al</strong>.,<br />

1997), S. fradiae (Bierman <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1992) และ Saccharopolyspora spinosa (Matsushima <strong>et</strong><br />

<strong>al</strong>., 1994) เปนตน สามารถสงถานพลาสมิดโดยการทําคอนจูเกชันกับ E. coli ได ดังนั้นคอนจู<br />

เกชันนาจะเปนวิธีการที่สามารถหลีกเลี่ยงระบบการทําลายดีเอ็นเอแปลกปลอมได


สรุป<br />

103<br />

การศึกษาการสงถายพลาสมิดเขาสู<br />

S. rimosus R7 โดยอาศัยการเกิดคอนจูเกชันตางสกุล<br />

กับ E. coli ET12567 (pUZ8002) เพื่อนําไปใชสรางสายพันธุกลายและศึกษาหนาที่ของยีน<br />

Type I PKS พบวาสภาวะที่เหมาะสม<br />

คือ กระตุนสปอรของ<br />

S. rimosus R7 ที่<br />

40 องศา<br />

เซลเซียส เปนเวลา 10 นาที กอนผสมกับ E. coli โดยสามารถสงถายพลาสมิด pIJ8600 เขาสู<br />

S. rimosus R7 ไดที่ความถี่อยูในชวง<br />

10 -7 -10 -4 เอกซคอนจูแกนตตอผูรับ<br />

โดยใหความถี่สูงสุด<br />

ที่<br />

1.91 x 10 -4 เอกซคอนจูแกนตตอผูรับ<br />

เมื่อทําคอนจูเกชันบนอาหารแข็ง<br />

MS ที่มี<br />

MgCl2 เขมขน 10 มิลลิโมลาร พบวาเอกซคอนจูแกนตมีลักษณะสัณฐานวิทยาและสมบัติในการสรางสาร<br />

ตานเชื้อราไดเทียบเทา<br />

wild type ทุกประการ โดยที่การแทรกตัวของ<br />

pIJ8600 เขาไปใน<br />

โครโมโซมจะเกิดขึ้นที่ตําแหนงเดียวกัน<br />

เมื่อสกัดสารไรโมซิดินในอาหาร<br />

Waksman broth พบวา<br />

สารสกัดที่ไดจากเสนใยใหปริมาณไรโมซิดินสูงกวาจากน้ําเลี้ยงเชื้อประมาณ<br />

10 เทา โดยเมื่อแยก<br />

TLC ดวยแผน Silica gel 60 F254 ตัวพาที่เหมาะสม<br />

คือ n-butanol:ac<strong>et</strong>ic acid:H2O (4:1:5)<br />

เมื่อนําสารสกัดมาวัดคาการดูดแสงดวยสเปกโทรเมทรี<br />

พบวาได λmax ของสารไรโมซิดินที่<br />

278.0, 289.6, 303.2 และ 317.6 นาโนเมตร<br />

การโคลนยีน Type I PKS จาก S. rimosus R7 โดยการทําพีซีอารดวยไพรเมอรจําเพาะ<br />

ตอโดเมน KS ใหยีนขนาด 1.1 กิโลเบส จัดอยูในกลุมเดียวกับ<br />

KS ของ Type I PKS ใน<br />

กระบวนการสังเคราะหสารโพลีคีไทดกลุมโพลีอีน<br />

เมื่อใชชิ้น<br />

KS นี้เปนโพรบ<br />

สามารถโคลนชิ้นดี<br />

เอ็นเอ ขนาด 3.7 และ 18 กิโลเบส จากโครโมโซมของ S. rimosus R7 ได ซึ่งชิ้นดีเอ็นเอขนาด<br />

3.7 กิโลเบส นี้ประกอบไปดวยยีน<br />

Type I PKS ในสวนของโดเมน ACP, KS และ AT โดย<br />

สามารถตรวจพบบริเวณ active site การทํา phylogen<strong>et</strong>ic tree แสดงใหเห็นวาโดเมน AT จัดอยู<br />

ในกลุมที่มีความจําเพาะตอมาโลนิล-โคเอ<br />

ขณะที่โดเมน<br />

KS และ AT เกี่ยวของกับกระบวนการ<br />

สังเคราะหสวน exocyclic carboxyl group และ hemik<strong>et</strong><strong>al</strong> ring ซึ่งเปนโครงสรางสําคัญสวนหนึ่ง<br />

ของโพลีอีน<br />

นํายีน KS ที่ไดจากพีซีอาร<br />

และบางสวนของ Type I PKS จากโครโมโซมของ S. rimosus<br />

R7 ไปศึกษาหนาที่โดยการทํายีนดิสรัปชัน<br />

อาศัยดีเอ็นเอพาหะ คือ pSET151 และ pKC1132<br />

พบวาไมสามารถไดสายพันธุกลาย<br />

คาดวานาจะเกิดจากความถี่ในการเกิดโฮโมโลกัสรีคอมบิเนชัน<br />

ใน S. rimosus R7 มีคาต่ํามาก


เอกสารและสิ่งอางอิง<br />

ณัฏฐิกา พูลสวัสดิ์<br />

และ อรินทิพย ธรรมชัยพิเนต. 2544. การโคลนยีนคีโตซินเทสซึ่งเกี่ยวของ<br />

กับการสังเคราะหโพลีคีไทดชนิดที่<br />

1 จาก Streptomyces sp. A2a-19, น. 119-122.<br />

ใน รายงานการประชุมทางวิชาการของสมาคมพันธุศาสตรแหงประเทศไทย ครั้งที่<br />

12. ภาควิชาพันธุศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

Altschul, S.F., W. Gish, W. Miller, E.W. Myers and D.J. Lipman. 1990. Basic loc<strong>al</strong><br />

<strong>al</strong>ignment search tool. J. Mol. Biol. 215: 403-410.<br />

Andriole, V.T. 2000. Current and future antifung<strong>al</strong> therapy: new targ<strong>et</strong> for antifung<strong>al</strong><br />

therapy. Int. J. Antimicrob. Agents 16: 317-321.<br />

Aparicio, J.F., A.J. Colina, E. Ceb<strong>al</strong>los and J.F. Martin. 1999. The biosynth<strong>et</strong>ic gene<br />

cluster for the 26-membered ring polyene macrolide pimaricin. J. Biol. Chem.<br />

274: 10133-10139.<br />

, I. Molnar, T. Schwecke, A. Konig, S.F. Haydock, L.E. Khaw, J. Staunton and<br />

P.F. Leadlay. 1996. Organization of the biosynth<strong>et</strong>ic gene cluster for rapamycin<br />

in Streptomyces hygroscopicus: an<strong>al</strong>ysis of the enzymatic domains in the modular<br />

polyk<strong>et</strong>ide synthase. Gene 169: 9-16.<br />

, P. Caffrey P., J.A. Gil and S.B. Zotchev. 2003. Polyene antibiotic biosynthesis<br />

gene clusters. Appl. Microbiol. Bitechnol. 61: 179-188.<br />

, R. Fouces, M.V. Mendes, N. Olivera and J.F. Martin. 2000. A complex<br />

multienzyme system encoded by five polyk<strong>et</strong>ide synthase genes is involved in the<br />

biosynthesis of the 26-membered polyene macrolide pimaricin in Streptomyces<br />

nat<strong>al</strong>ensis. Chem. Biol. 7: 895-905.<br />

104


August, P.R., L. Tang, Y.J. Yoon, S. Ning, R. Muller, T.W. Yu, M. Taylor, D.<br />

Hoffmann, C.G. Kim, X. Zhang, C.R. Hutchinson CR and H.G. Floss. 1998.<br />

Biosynthesis of the ansamycin antibiotic rifamycin: deductions from the molecular<br />

an<strong>al</strong>ysis of the rif biosynth<strong>et</strong>ic gene cluster of Amycolatopsis mediterranei S699.<br />

Chem. Biol. 5: 69-79.<br />

B<strong>al</strong>tz, R.H. 1998. Gen<strong>et</strong>ic manipulation of antibiotic producing Streptomyces. Trends<br />

Microbiol. 6: 76-83.<br />

Bangera, M.G. and L.S. Thomashow. 1999. Identification and characterization of a gene<br />

cluster for synthesis of the polyk<strong>et</strong>ide antibiotic 2,4-diac<strong>et</strong>ylphloroglucinol from<br />

Pseudomonas fluorescens Q2-87. J. Bacteriol. 181: 3155-3163.<br />

Bevitt, D.J., J. Cortes, S.F. Haydock and P. Leadlay. 1992. 6-Deoxyerythronolide-B<br />

synthase 2 from Saccharopolyspora erythraea: cloning of the structur<strong>al</strong> gene,<br />

sequence an<strong>al</strong>ysis and inferred domain structure of the multifunction<strong>al</strong> enzyme.<br />

Eur. J. Biochem. 204: 39-49.<br />

Bibb, M.J., S. Biro, H. Motamedi, J.F. Collins and C.R. Hutchinson. 1989. An<strong>al</strong>ysis of<br />

the nucleotide sequence of the Streptomyces glaucescens tcmI genes provides key<br />

information about the enzymology of polyk<strong>et</strong>ide antibiotic biosynthesis. EMBO J.<br />

8: 2727-2736.<br />

, J.M. Ward and D.A. Hopwood. 1978. Transformation of plasmid DNA into<br />

Streptomyces at high frequency. Nature 274: 398-400.<br />

Bierman, M., R. Logan, K. Obrien, E.T. Seno, R.N. Rao and B.E. Schoner. 1992.<br />

Plasmid cloning vectors for the conjug<strong>al</strong> transfer of DNA from Escherichia coli to<br />

Streptomyces spp. Gene 116: 43-39.<br />

Birch, A.J. 1967. Biosynthesis of polyk<strong>et</strong>ides and related compounds. Science 156:<br />

202-206.<br />

105


Brautas<strong>et</strong>, T., O.N. Sekurova, H. Sl<strong>et</strong>ta, T.E. Ellingsen, A.R. StrLm, S. V<strong>al</strong>la and S.B.<br />

Zotchev. 2000. Biosynthesis of the polyene antifung<strong>al</strong> antibiotic nystatin in<br />

Streptomyces noursei ATCC 11455: an<strong>al</strong>ysis of the gene cluster and deduction of<br />

the biosynth<strong>et</strong>ic pathway. Chem. Biol. 7: 395-403.<br />

Brewer, G.A. and T.B. Platt. 1967. Antibiotics, pp. 460-633. In F.D. Snell and C.L.<br />

Hilton, eds. Encyclopedia of Industri<strong>al</strong> Chemic<strong>al</strong> An<strong>al</strong>ysis. Vol 5. John Wiley and<br />

Sons, Inc., New York. 677 p.<br />

Butler, M.J., E.J. Friend, I.S. Hunter, F.S. Kaczmarek, D.A. Sugden and M. Warren.<br />

1989. Molecular cloning of resistance genes and architecture of a linked gene<br />

cluster involved in biosynthesis of oxyt<strong>et</strong>racycline by Streptomyces rimosus. Mol.<br />

Gen. Gen<strong>et</strong>. 215: 231-238.<br />

Caffrey, P., S. Lynch, E. Flood, S. Finnan and M. Oliynyk. 2001. Amphotericin<br />

biosynthesis in Streptomyces nodosus: deductions from an<strong>al</strong>ysis of polyk<strong>et</strong>ide<br />

synthase and lated genes. Chem. Biol. 8: 713-723.<br />

Campelo, A.B. and J.A. Gil. 2002. The candicidin gene cluster from Streptomyces<br />

griseus IMRU 3570. Microbiol. 148: 51-59.<br />

Carreras, C.W., R. Pieper and C. Khosla. 1997. The chemistry and biology of fatty acid,<br />

polyk<strong>et</strong>ide, and nonribosom<strong>al</strong> peptide biosynthesis. Top. Curr. Chem. 188: 85-<br />

126.<br />

Chen, S., X. Huang, X. Zhou, L. Bai, J. He K.J. Jeong, S.Y. Lee and Z. Deng. 2003.<br />

Organization<strong>al</strong> and mutation<strong>al</strong> an<strong>al</strong>ysis of a compl<strong>et</strong>e FR-008/candicidin gene<br />

cluster encoding a structur<strong>al</strong>ly related polyene complex. Chem. Biol. 10: 1065-<br />

1076.<br />

Chung, C.T., S.L. Niemela and R.H. Miller. 1989. One-step preparation of comp<strong>et</strong>ent<br />

Escherichia coli: transformation and storage of bacteri<strong>al</strong> cells in the same solution.<br />

Proc. Natl. Acad. Sci. USA 86: 2172-2175.<br />

106


Combes, P., R. Till, S. Bee and M.C.M. Smith. 2002. The Streptomyces genome<br />

contains multiple pseudo-attB sites for the φC31-encoded site specific<br />

recombination system. J. Bacteriol. 184: 5746-5752.<br />

Cope, C., E.P. Burrows, M.E. Derieg, S. Moon and W.-D. Wirth. 1965. Rimocidin I:<br />

carbon skel<strong>et</strong>on, parti<strong>al</strong> structure and absolute configuration at C-27. J. Am.<br />

Chem. Soc. 87: 5452-5460.<br />

Cortes, J., S.F. Haydock, G.A. Roberts, D.J. Bevitt and P. Leadlay. 1990. An unusu<strong>al</strong>ly<br />

large multifunction<strong>al</strong> polypeptide in the erythromycin-producing polyk<strong>et</strong>ide<br />

synthase of Saccharopolyspora erythraea. Nature 348:176-178.<br />

Crawford, D.L. 1988. Biodegradation of agricultur<strong>al</strong> and urban wastes, pp. 433-459.<br />

In M. Goodfellow, S.T. Williams and M. Mordarski, eds. Actinomyc<strong>et</strong>es in<br />

Biotechnology. Academic Press, San Diego. 501 p.<br />

Cross, T. and L.J. Al-Diwany. 1981. Streptomyc<strong>et</strong>es with substrate mycelium spores:<br />

the genus Elytrosporangium. Zentr<strong>al</strong>lbl. Bakteriol. Mikrobiol. Hyg. I Abt. Suppl.<br />

11: 59-65.<br />

Davisson, J.D., F.W. Tanner, Jr., A.C. Finlay and I.A. Solomons. 1951. Rimocidin, a<br />

new antibiotic. Antibiot. Chemother. 1: 289-290.<br />

DeHoff, B.S., K.L. Sutton and P.R Jr. Rosteck. 1996. Sequence of Streptomyces fradiae<br />

tylactone synthase gene tylG. (Unpublished).<br />

Dinya, Z.M. and F.J. Sztaricskai. 1986. Ultraviol<strong>et</strong> and light absorption spectrom<strong>et</strong>ry. In<br />

A. Asz<strong>al</strong>os, ed. Modern An<strong>al</strong>ysis of Antibiotics. Marcel Dekker, Inc., New York.<br />

535 p.<br />

107


Donadio, S., J.B. McAlpine, P.J. Sheldon, M. Jackson and L. Katz. 1993. An<br />

erythromycin an<strong>al</strong>og produced by reprogramming of polyk<strong>et</strong>ide synthesis. Proc.<br />

Natl. Acad. Sci. USA 99: 7119-7123.<br />

108<br />

and L. Katz. 1992. Organization of the enzymatic domains in the multifunction<strong>al</strong><br />

polyk<strong>et</strong>ide synthase involved in erythromycin formation in Saccharopolyspora<br />

erythraea. Gene 111: 51-60.<br />

, S., M.J. Staver, J.B. McAlpine, S.J. Swanson and L. Katz. 1991. Modular<br />

organization of genes required for complex polyk<strong>et</strong>ide biosynthesis. Science 252:<br />

675-679.<br />

Ebben, M.H. and D.M. Spencer. 1978. The use of antagonistic organisms for control of<br />

black root rot of cucumber, Phomopsis sclerotioides. Annu. Appl. Biol. 89:103-<br />

106.<br />

Evans, P.D., S.N. Cook, R.D. Riggs and C.J. Noren. 1995. LITMUS: multipurpose<br />

cloning vectors with a novel system for bidirection<strong>al</strong> in vitro transcription.<br />

Biotechniques. 19: 130-135.<br />

F<strong>al</strong>kowski, L., J. Zielinski, J. Golik, E. Bylec and E. Borowski. 1978. The structure of<br />

rimocidin: mass spectrom<strong>et</strong>ric an<strong>al</strong>ysis of derivatives of the antibiotic. J. Antibiot.<br />

31: 742-749.<br />

Fernandez-Moreno, M.A., E. Martinez, L. Boto, D.A. Hopwood and F. M<strong>al</strong>partida.<br />

1992. Nucleotide sequence and deduced functions of a s<strong>et</strong> of cotranscribed genes<br />

of Streptomyces coelicolor A3(2) including the polyk<strong>et</strong>ide synthase for the<br />

antibiotic actinorhodin. J. Biol. Chem. 267: 19278-19290.<br />

Fischer, G., B. Decaris and P. Leblond. 1997. Occurrence of del<strong>et</strong>ions, associated with<br />

gen<strong>et</strong>ic instability in Streptomyces ambofaciens, is independent of the linearity of<br />

the chromosom<strong>al</strong> DNA. J. Bacteriol. 179: 4553-4558


Fl<strong>et</strong>t, F., V. Mersinias and C.P. Smith. 1997. High efficiency intergeneric conjug<strong>al</strong><br />

transfer of plasmid DNA from Escherichia coli to m<strong>et</strong>hyl DNA-restricting<br />

streptomyc<strong>et</strong>es. FEMS Microbiol. L<strong>et</strong>t. 155: 223-229.<br />

109<br />

Fouces, R., M. Rodriguez, E. Mellado, B. Diez and J.L. Barredo. 2000. Conjugation and<br />

transformation of Streptomyces species by tylosin resistance. FEMS Microbiol.<br />

L<strong>et</strong>t. 186: 319-325.<br />

Funa, N., Y. Ohnishi, I. Fujii, M. Shibuya, Y. Ebizuka and S. Horinouchi. 1999. A new<br />

pathway for polyk<strong>et</strong>ide synthesis in microorganisms. Nature 400: 897-899.<br />

Gokh<strong>al</strong>e, R.S., D. Hunziker, D.E. Cane and C. Khosla. 1999. Mechanism and specificity<br />

of the termin<strong>al</strong> thioesterase domain from the erythromycin polyk<strong>et</strong>ide synthase.<br />

Chem. Biol. 6: 117-125.<br />

Goodfellow, M. 1989. Supergeneric classification of actinomyc<strong>et</strong>es, pp. 2333-2339. In<br />

S.T. Williams, ed. Bergey’s Manu<strong>al</strong> of Systematic Bacteriology. Vol. 4. Williams<br />

and Wilkins, B<strong>al</strong>timore. 349 p.<br />

Hillemann, D., A. Puhler and W. Wohlleben. 1991. Gene disruption and gene<br />

replacement in the Streptomyces via single stranded DNA transformation of<br />

integration vectors. Nucleic Acids Res. 19: 727-731.<br />

Hobbs, G., C.M. Frazer, D.C.J. Gardner, J.A. Cullum and S.G. Oliver. 1989. Dispersed<br />

growth of Streptomyces in liquid culture. Appl. Microbiol. Biotechnol. 31: 272-<br />

277.<br />

Hopwood, D.A., M.J. Bibb, K.F. Chapter, T. Kieser, C.T. Bruton, H.M. Kieser, D.J.<br />

Lydiate, C.P. Smith, J.M. Ward and H. Schrempf. 1985. Gen<strong>et</strong>ic Manipulation<br />

of Streptomyces: a Laboratory Manu<strong>al</strong>. The John Innes Foundation, Norwich.<br />

356 p.


and D.H. Sherman. 1990. Molecular gen<strong>et</strong>ics of polyk<strong>et</strong>ides and its comparison<br />

to fatty acid biosynthesis. Annu. Rev. Gen<strong>et</strong>. 24: 37-66.<br />

Horton, H.R., L.A. Moran, R.S. Ochs, J.D. Rawn and K.G. Scrimgeour. 2002.<br />

Principles of Biochemistry. 3 rd ed. Prentice H<strong>al</strong>l, New Jersey. 862 p.<br />

Hosoya, S., N. Komatsu, M. Soeda and Y. Sonoda. 1952. Trichomycin, a new antibiotic<br />

produced by Streptomyces hachijoensis with trichomonadicid<strong>al</strong> and antifung<strong>al</strong><br />

activity. Jap. J. Exp. Med. 22: 505-509.<br />

Hutchinson, C.R. and I. Fujii. 1995. Polyk<strong>et</strong>ide synthase gene manipulation: a structurefunction<br />

approach in engineering novel antibiotics. Annu. Rev. Microbiol. 49:<br />

201-238.<br />

Ikeda, H., T. Nonomiya, M. Usami, T. Ohta and S. Omura. 1999. Organization of the<br />

biosynth<strong>et</strong>ic gene cluster for the polyk<strong>et</strong>ide anthelmintic macrolide avermectin in<br />

Streptomyces avermitilis. Proc. Natl. Acad. Sci. USA 96: 9509-9514.<br />

Kakavas, S.J., L. Katz and D. Stassi. 1997. Identification and characterization of the<br />

niddamycin polyk<strong>et</strong>ide synthase genes from Streptomyces caelestis. J. Bacteriol.<br />

179: 7515-7522.<br />

Kao, C.M., L. Katz and C. Khosla. 1994. Engineered biosynthesis of a compl<strong>et</strong>e<br />

macrolactone in a h<strong>et</strong>erologous host. Science 265: 509-512.<br />

Khosla, C. and R.J. Zawada. 1996. Generation of polyk<strong>et</strong>ide libraries via combinatori<strong>al</strong><br />

biosynthesis. Trends Biotechnol. 14: 335-341.<br />

Kieser, T., M.J. Bibb, M.J. Buttner, K.F. Chater and D.A. Hopwood. 2000. Practic<strong>al</strong><br />

Streptomyces Gen<strong>et</strong>ics. The John Innes Foundation, Norwich. 613 p.<br />

110


Kitani, S., K., M.J. Bibb, T. Nihira and Y. Yamada. 2000. Conjug<strong>al</strong> transfer of plasmid<br />

DNA from Escherichia coli to Streptomyces lavendulae FRI-5. J. Microbiol.<br />

Biotechnol. 10: 535-538.<br />

Kuhstoss, S., M.A. Richardson and R.N. Rao. 1991. Plasmid cloning vector that<br />

integrate site-specific<strong>al</strong>ly in Streptomyces spp. Gene 97: 143-146.<br />

Kwak, J., H. Jiang and K.E. Kendrick. 2002. Transformation using in vivo and in vitro<br />

m<strong>et</strong>hylation in Strptomyces griseus. FEMS Microbiol. L<strong>et</strong>t. 209: 243-248.<br />

Lacey, J. 1988. Actinomyc<strong>et</strong>es as biod<strong>et</strong>eriogens and pollutants of the environment, pp.<br />

359-432. In M. Goodfellow, S.T. Williams and M. Mordarski, eds.<br />

Actinomyc<strong>et</strong>es in Biotechnology. Academic Press, San Diego. 501 p.<br />

Lau, J., D.E. Cane and C. Khosla. 2000. Substrate specificity of the loading didomain of<br />

the erythromycin polyk<strong>et</strong>ide synthase. Biochem. 39: 10514-10520.<br />

Lechev<strong>al</strong>ier, M. 1988. Actinomyc<strong>et</strong>es in agriculture and forestry, pp. 327-358. In M.<br />

Goodfellow, S.T. Williams and M. Mordarski, eds. Actinomyc<strong>et</strong>es in<br />

Biotechnology. Academic Press, San Diego. 501 p.<br />

111<br />

Lin, Y.-S., H.M. Kieser, D.A. Hopwood and C.W. Chen. 1993. The chromosom<strong>al</strong> DNA<br />

of Streptomyces lividans 66 is linear. Mol. Microbiol. 10: 923-933.<br />

Lomovskaya, N., L. Fonstein, X. Ruan, D. Stassi, L. Katz and C.R. Hutchinson. 1997.<br />

Gene disruption and replacement in the rapamycin-producing Streptomyces<br />

hygroscopicus strain ATCC 29253. Microbiol. 143: 875-883.<br />

Lopez-Cabrera, M., J.A. Perez-Gonz<strong>al</strong>ez, P. Heinzel, W. Piepersberg and A. Jimenez.<br />

1989. Isolation and nucleotide sequencing of an aminocyclitol ac<strong>et</strong>yltransferase<br />

gene from Streptomyces rimosus forma paromomycinus. J. Bacteriol. 171: 321-<br />

328.


MacNeil, D.J. 1988. Characterization of a unique m<strong>et</strong>hyl-specific restriction system in<br />

Streptomyces avermitilis. J. Bacteriol. 170: 5607-5612.<br />

MacNeil, D.J., K.M. Gewain, C.L. Ruby, G. Dezeny, P.H. Gibbons and T. MacNeil.<br />

1992. An<strong>al</strong>ysis of Streptomyces avermitilis genes required for avermectin<br />

biosynthesis utilizing a novel integration vector. Gene 111: 61-68.<br />

Mazodier, P., R. P<strong>et</strong>ter and C. Thompson. 1989. Intergeneric conjugation b<strong>et</strong>ween<br />

Escherichia coli and Streptomyces species. J. Bacteriol. 171: 3583-3585.<br />

Matsushima, P. and R.H. B<strong>al</strong>tz. 1985. Efficient plasmid transformation of Streptomyces<br />

ambofaciens and Streptomyces fradiae protoplasts. J. Bacteriol. 163: 180-185.<br />

and . 1996. A gene cloning system for Streptomyces toyocaensis.<br />

Microbiol. 142: 261-267.<br />

, M.C. Broughton, J.R. Turner JR and R.H. B<strong>al</strong>tz. 1994. Conjug<strong>al</strong> transfer of<br />

cosmid DNA from Escherichia coli to Saccharopolyspora spinosa: effects of<br />

chromosom<strong>al</strong> insertions on macrolide A83543 production. Gene 146:39-45.<br />

McDaniel, R., A. Thamchaipen<strong>et</strong>, C. Gustafsson, H. Fu, M. B<strong>et</strong>lach, M. B<strong>et</strong>lach and G.<br />

Ashley. 1999. Multiple gen<strong>et</strong>ic modification of the erythromycin polyk<strong>et</strong>ide<br />

synthase to produce a library of novel “unnatur<strong>al</strong>” natur<strong>al</strong> products. Proc. Natl.<br />

Acad. Sci. USA 96: 1846-1851.<br />

, S. Ebert-Khosla, H. Fu, D.A. Hopwood and C. Khosla. 1994. Engineered<br />

biosynthesis of novel polyk<strong>et</strong>ides: influence of a downstream enzyme on the<br />

cat<strong>al</strong>ytic specificity of a minim<strong>al</strong> aromatic polyk<strong>et</strong>ide synthase. Proc. Natl. Acad.<br />

Sci. USA 91: 11542-11546.<br />

112


McGinnis, M.R. and M.G. Rin<strong>al</strong>di. 1996. Antifung<strong>al</strong> drugs: mechanisms of action, drug<br />

resistance, susceptibility testing, and assays of activity in biologic fluids, pp. 176-<br />

184. In V. Lorian, ed. Antibiotics in Laboratory Medicine. 4 th ed. Williams and<br />

Wilkins, B<strong>al</strong>timore. 1238 p.<br />

Mendes, M.V., E. Recio, R. Fouces, R. Luiten, J.F. Martin and J.F. Aparicio. 2001.<br />

Engineered biosynthesis of novel polyenes: a pimaricin derivative produced by<br />

targ<strong>et</strong>ed gene disruption in Streptomyces nat<strong>al</strong>ensis. Chem. Biol. 8:635-644.<br />

Miyashita, K., T. Fujii and Y. Sawada. 1991. Molecular cloning and characterization of<br />

chitinase genes from Streptomyces lividans 66. J. Gen. Microbiol. 137: 2065-<br />

2072.<br />

Moore, B.S. and J.N. Hopke. 2001. Discovery of a new bacteri<strong>al</strong> polyk<strong>et</strong>ide biosynth<strong>et</strong>ic<br />

pathway. ChemBioChem. 2: 35-38.<br />

Muth, G., B. Nussbaumer, W. Wohlleben and A. Puhler. 1989. A vector system with<br />

temperature-sensitive replication for gene disruption and mutation<strong>al</strong> cloning in<br />

streptomyc<strong>et</strong>es. Mol. Gen. Gen<strong>et</strong>. 219: 341-348.<br />

Nikodinovic, J., K.D. Barrow and J.-A. Chuck. 2003. High frequency transformation of<br />

the amphotericin-producing bacterium Streptomyces nodosus. J. Microbiol.<br />

M<strong>et</strong>hods 55: 273-277.<br />

Norrander, J., T. Kempe and J. Messing. 1983. Construction of improved M13 vectors<br />

using oligodeoxynucleotide-directed mutagenesis. Gene 26: 101-106.<br />

Okuda S. and Y. Tanaka. 1992. Fungicides and antibacteri<strong>al</strong> agents, pp. 213-223. In<br />

S. Omura, ed. The Search for Bioactive Compounds from Microorganisms.<br />

Springer-Verlag, New York. 352 p.<br />

113


Oliynyk, M., C.B. Stark, A. Bhatt, M.A. Jones, Z.A. Hughes-Thomas, C. Wilkinson, Z.<br />

Oliynyk, Y. Demydchuk, J. Staunton and P.F. Leadlay. 2003. An<strong>al</strong>ysis of the<br />

biosynth<strong>et</strong>ic gene cluster for the poly<strong>et</strong>her antibiotic monensin in Streptomyces<br />

cinnamonensis and evidence for the role of monB and monC genes in oxidative<br />

cyclization. Mol. Microbiol. 49: 1179-1190.<br />

Omura, S., H. Ikeda, J. Ishikawa, A. Hanamoto, C. Takahashi, M. Shinose, Y. Takahashi,<br />

H. Horikawa, H. Nakazawa, T. Osonoe, H. Kikuchi, T. Shiba, Y. Sakaki and M.<br />

Hattori. 2001. Genome sequence of an industri<strong>al</strong> microorganism Streptomyces<br />

avermitilis: deducing the ability of producing secondary m<strong>et</strong>abolites. Proc. Natl.<br />

Acad. Sci. USA 98: 12215-12220.<br />

Page, R.D.M. 1996. TREEVIEW: an application to display phylogen<strong>et</strong>ic trees on<br />

person<strong>al</strong> computers. Comput. Appl. Biosci. 12: 357-358.<br />

Pandey, R.C., E.C. Guenther, A.A. Asz<strong>al</strong>os and J. Brajtburg. 1982. Physicochemic<strong>al</strong> and<br />

biologic<strong>al</strong> comparison of polyene macrolide antibiotics fungichromin, lagosin and<br />

cogomycin. J. Antibiot. 35: 988-996.<br />

and K.L. Rinehart, Jr. 1977. Polyene antibiotic VIII: the structure of rimocidin.<br />

J. Antibiot. 30:146-162.<br />

Pandza, K., G. Pf<strong>al</strong>zer, J. Cullum and D. Hranueli. 1997. Physic<strong>al</strong> mapping shows that<br />

the unstable oxyt<strong>et</strong>racycline gene cluster of Streptomyces rimosus lies close to one<br />

end of the linear chromosome. Microbiol. 143: 1493-1501.<br />

Paranthaman, S. and K. Dharm<strong>al</strong>ingam. 2003. Intergeneric conjugation in Streptomyces<br />

peuc<strong>et</strong>ius and Streptomyces sp. strain C5: chromosom<strong>al</strong> integration and expression<br />

of recombinant plasmids carrying the chiC gene. Appl. Environ. Microbiol. 69:<br />

84-91.<br />

114


Peczynska-Czoch, W. and M. Mordarski. 1988. Actinomyc<strong>et</strong>e enzymes, pp. 219-283.<br />

In M. Goodfellow, S.T. Williams and M. Mordarski, eds. Actinomyc<strong>et</strong>es in<br />

Biotechnology. Academic Press, San Diego. 501 p.<br />

Perada, A., R.G. Summers, D.L. Stassi, X. Ruan and L. Katz. 1998. The loading<br />

domain of the erythromycin polyk<strong>et</strong>ide synthase is not essenti<strong>al</strong> for erythromycin<br />

biosynthesis in Saccharopolyspora erythraea. Microbiol. 144: 543-553.<br />

Perez-Gonz<strong>al</strong>ez, J.A., M. Lopez-Cabrera, J.M. Pardo and A. Jimenez. 1989.<br />

Biochemic<strong>al</strong> characterization of two cloned resistance d<strong>et</strong>erminants encoding a<br />

paromomycin ac<strong>et</strong>yltransferase and a paromomycin phosphotransferase from<br />

Streptomyces rimosus forma paromomycinus. J. Bacteriol. 171: 329-334.<br />

Pigac, J. and H. Schrempf. 1995. A simple and rapid m<strong>et</strong>hod of transformation of<br />

Streptomyces rimosus R6 and other streptomyc<strong>et</strong>es by electroporation. Appl.<br />

Environ. Microbiol. 61: 352-356.<br />

Pir<strong>et</strong>, J.M. and A.L. Demain. 1988. Actinomyc<strong>et</strong>es in biotechnology: an overview, pp.<br />

461-482. In M. Goodfellow, S.T. Williams and M. Mordarski, eds.<br />

Actinomyc<strong>et</strong>es in Biotechnology. Academic Press, San Diego. 501 p.<br />

Redenbach, M., H.M. Kieser, D. Denapaite, A. Eichner, J. Cullum, H. Kinashi and D.A.<br />

Hopwood. 1996. A s<strong>et</strong> of ordered cosmids and a d<strong>et</strong>ailed gen<strong>et</strong>ic and physic<strong>al</strong><br />

map for the 8 Mb Streptomyces coelicolor A3(2) chromosome. Mol. Microbiol.<br />

21: 77-96.<br />

Reeves, C.D., S. Murli, G.W. Ashley, M. Piagentini, C.R. Hutchinson and R. McDaniel.<br />

2001. Alteration of the substrate specificity of a modular polyk<strong>et</strong>ide synthase<br />

acyltransferase domain through site-specific mutations. Biochem. 40: 15464-<br />

15470.<br />

115


Reid, R., M. Piagentini, E. Rodriguez, G.Ashley, N. Viswanathan, J. Corney, D.V. Santi,<br />

C.R. Hutchinson and R. McDaniel. 2003. A model of structure and cat<strong>al</strong>ysis for<br />

k<strong>et</strong>oreductase domains in modular polyk<strong>et</strong>ide synthase. Biochem. 42: 72-79.<br />

Rodicio, M.R, and K.F. Chater. 1988. The S<strong>al</strong>I (S<strong>al</strong>GI) restriction-modification system<br />

of Streptomyces <strong>al</strong>bus G. Gene 74:39-42.<br />

Rodriguez, E. and R. McDaniel. 2001. Combinatori<strong>al</strong> biosynthesis of antimicrobi<strong>al</strong>s and<br />

other natur<strong>al</strong> products. Curr. Opin. Microbiol. 4: 526-534.<br />

Sambrook, J. and D.W. Russell. 2001. Molecular Cloning: a Laboratory Manu<strong>al</strong>. 3 nd<br />

ed. Cold Spring Harbor Laboratory Press, New York.<br />

Sanchez, J., C. Barbes, A. Hernandez, C.R. de los Reyes Gavilan and C. Hardisson.<br />

1985. Restriction-modification systems in Streptomyces antibioticus. Can. J.<br />

Microbiol. 31: 942-946.<br />

Schwecke, T., J.F. Aparicio, I. Molnar, A. Konig, L.E. Khaw, S.F. Haydock, M. Oliynyk,<br />

P. Caffrey, J. Cortes, J.B. Lester, G.A. Bohm, J. Staunton and P. Leadlay. 1995.<br />

The biosynth<strong>et</strong>ic gene cluster for the polyk<strong>et</strong>ide immunosuppressant rapamycin.<br />

Proc. Natl. Acad. Sci. USA 92: 7839-7843.<br />

Shah, S., Q. Xue, L. Tang, J.R. Carney, M. B<strong>et</strong>lach and R. McDaniel. 2000. Cloning,<br />

characterization and h<strong>et</strong>erologous expression of a polyk<strong>et</strong>ide synthase and P-450<br />

oxidase involved in the biosynthesis of the antibiotic oleandomycin. J. Antibiot.<br />

53: 502-508.<br />

Shen, B. and C.R. Hutchinson. 1993. Enzymatic synthesis of a bacteri<strong>al</strong> polyk<strong>et</strong>ide from<br />

ac<strong>et</strong>yl and m<strong>al</strong>onyl CoA by a type II polyk<strong>et</strong>ide synthase. Science 262: 1535-<br />

1540.<br />

Shirling, E.B. and D. Gottlieb. 1966. M<strong>et</strong>hods for characterization of Streptomyces<br />

species. Int. J. Syst. Bacteriol. 16: 3313-3340.<br />

116


Sia, L.A., D.M. Kuehner and D.H. Figurski. 1996. Mechanism of r<strong>et</strong>rotransfer in<br />

conjugation: prior transfer of the conjugative plasmid is required. J. Bacteriol.<br />

178: 1457–1464.<br />

Siddiqui, Z.A. and I. Mahmood. 1999. Role of bacteria in the management of plant<br />

parasitic nematodes: a review. Bioresource Tech. 69: 167-179.<br />

Smith, W.C., L. Xiang and B. Shen. 2000. Gen<strong>et</strong>ic loc<strong>al</strong>ization and molecular<br />

characterization of the nonS gene required for macrot<strong>et</strong>rolide biosynthesis in<br />

Streptomyces griseus DSM40695. Antimicrob. Agents Chemother. 44: 1809-<br />

1817.<br />

117<br />

Snyder, L. and W. Champness. 1997. Molecular Gen<strong>et</strong>ics of Bacteria. American Soci<strong>et</strong>y<br />

for Microbiology Press, Washington. 504 p.<br />

Southern, T.G. 1975. D<strong>et</strong>ection of specific sequences among DNA fragments separated<br />

by electrophoresis. J. Mol. Biol. 98: 503-507.<br />

Sun, J., G.H. Kelemen, J.M. Fernandez-Ab<strong>al</strong>os and M.J. Bibb. 1999. Green fluorescent<br />

protein as a reporter for spati<strong>al</strong> and tempor<strong>al</strong> gene expression in Streptomyces<br />

coelicolor A3(2). Microbiol. 145: 2221-2227.<br />

Sun, Y., X. Zhou, H. Dong, G. Tu, M. Wang, B. Wang and Z. Deng. 2003. A compl<strong>et</strong>e<br />

gene cluster from Streptomyces nanchangensis NS3226 encoding biosynthesis of<br />

the poly<strong>et</strong>her ionophore nanchangmycin. Chem Biol. 10: 431-441.<br />

Swan, D.G., A.M. Rodriguez, C. Vilches, C. Mendez and J.A. S<strong>al</strong>as. 1994.<br />

Characterisation of a Streptomyces antibioticus gene encoding a type I polyk<strong>et</strong>ide<br />

synthase which has an unusu<strong>al</strong> coding sequence. Mol. Gen. Gen<strong>et</strong>. 242: 358-<br />

362.


Tanaka, Y. 1992. Antifung<strong>al</strong> agents, pp. 30-44. In S. Omura, ed. The Search for<br />

Bioactive Compounds from Microorganisms. Springer-Verlag, New York. 352 p.<br />

Thompson, J.D., D.G. Higgins and T.J. Gibson. 1994. CLUSTAL W: improving the<br />

sensitivity of progressive multiple sequence <strong>al</strong>ignment through sequence weighting,<br />

position-specific gap pen<strong>al</strong>ties and weight matrix choice. Nucleic Acids Res. 22:<br />

4673-4680.<br />

Thorpe, H.M., S.E. Wilson and M.C.M. Smith. 2000. Control of direction<strong>al</strong>ity in the<br />

site-specific recombination system of the Streptomyces phage φC31. Mol.<br />

Microbiol. 38: 232-241.<br />

Voeykova, T. L. Emelyanova, T. Vyacheslav and N. Mkrtumyan. 1998. Transfer of<br />

plasmid pTO1 from Escherichia coli to various representatives of the order<br />

Actinomyc<strong>et</strong><strong>al</strong>es by intergenic conjugation. FEMS Microbiol. L<strong>et</strong>t. 162: 47-52.<br />

Volchegursky, Y., Z. Hu, L. Katz and R. McDaniel. 2000. Biosynthesis of the antiparasitic<br />

agent meg<strong>al</strong>omicin: transformation of erythromycin to meg<strong>al</strong>omicin in<br />

Saccharopolyspora erythraea. Mol. Microbiol. 37: 752-762.<br />

Volpon, L. and J.-M. Lancelin. 2002. Solution NMR structure of five representative<br />

glycosylated polyene macrolide antibiotics with a sterol-dependent antifung<strong>al</strong><br />

activity. Eur. J. Biochem. 269: 4533-4541.<br />

W<strong>al</strong>dron, C., P. Matsushima, P.R. Rosteck Jr., M.C. Broughton, J. Turner, K. Madduri,<br />

K.P. Crawford, D.J. Merlo and R.H. B<strong>al</strong>tz. 2001. Cloning and an<strong>al</strong>ysis of the<br />

spinosad biosynth<strong>et</strong>ic gene cluster of Saccharopolyspora spinosa. Chem. Biol. 8:<br />

487-499.<br />

Ward, J.M., G.R. Janssen, T. Kieser and M.J. Bibb. 1986. Construction and<br />

characterisation of a series of multi-copy promoter-probe plasmid vectors for<br />

Streptomyces using the aminoglycoside phosphotransferase gene from Tn5 as<br />

indicator. Mol. Gen. Gen<strong>et</strong>. 203: 468-478.<br />

118


Warnock, D.W. 1997. Chapter 36: antifung<strong>al</strong> agents, pp. 485-498. In F. O’Grady,<br />

H.P. Lambert, R.G. Finch and D. Greenwood, eds. Antibiotic and Chemotherapy:<br />

Anti-infective Agent and Their Use in Therapy. 7 th ed. Churchill Livingstone,<br />

New York. 957 P.<br />

119<br />

Williams, S.T., M. Goodfellow and G. Alderson. 1989. Genus Streptomyces, pp. 2452-<br />

2492. In S.T. Williams, ed. Bergey’s Manu<strong>al</strong> of Systematic Bacteriology. Vol. 4.<br />

Williams and Wilkins, B<strong>al</strong>timore. 349 p.<br />

Wu, K., L. Chung, W.P. Revill, L. Katz and C.D. Reeves. 2000. The FK520 gene<br />

cluster of Streptomyces hygroscopicus var. ascomyc<strong>et</strong>icus (ATCC 14891) contains<br />

genes for biosynthesis of unusu<strong>al</strong> polyk<strong>et</strong>ide extender units. Gene 251: 81-90.<br />

Wu, N., D.E. Cane and C. Khosla. 2002. Quantitative an<strong>al</strong>ysis of the relative<br />

contributions of donor acyl carrier proteins, acceptor k<strong>et</strong>osynthases, and linker<br />

regions to intermodular transfer of intermediates in hybrid polyk<strong>et</strong>ide synthases.<br />

Biochem. 41: 5056-5066.<br />

Xiang, L. and B.S. Moore. 2002. Inactivation, complementation, and h<strong>et</strong>erologous<br />

expression of encP, a novel bacteri<strong>al</strong> phenyl<strong>al</strong>anine ammoni<strong>al</strong>yase gene. J. Biol.<br />

Chem. 277: 32505-32509.<br />

Xiao, K., L.L. Kinkel and D.A. Samac. 2002. Biologic<strong>al</strong> control of Phytophthora root<br />

rots on <strong>al</strong>f<strong>al</strong>fa and soybean with Streptomyces. Biol. Control 23: 285-295.<br />

Xue, Y., L. Zhao, H.W. Liu and D.H. Sherman. 1998. A gene cluster for macrolide<br />

antibiotic biosynthesis in Streptomyces venezuelae: architecture of m<strong>et</strong>abolic<br />

diversity. Proc. Natl. Acad. Sci. USA. 95: 12111-12116.<br />

Yanisch-Perron, C., J. Vieira and J. Messing. 1985. Improved M13 phage cloning<br />

vectors and host strains: nucleotide sequences of the M13mp18 and pUC19<br />

vectors. Gene 33: 103-119.


ประวัติการศึกษา<br />

่<br />

ชื่อ<br />

นายประกิตชัย โชติวุฒิมนตรี<br />

เกิดวันที<br />

7 มิถุนายน 2523<br />

สถานที่เกิด<br />

อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี<br />

ประวัติการศึกษา<br />

ผลงานทางวิชาการ<br />

วท.บ. (ชีววิทยา) พันธุศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (2544)<br />

120<br />

ประกิตชัย โชติวุฒิมนตรี และ อรินทิพย ธรรมชัยพิเนต. 2546. การคอนจูเกชันตางจีนัส<br />

ระหวาง Escherichia coli และ Streptomyces rimosus R7, น. 385-388. ใน รายงาน<br />

การสัมมนาวิชาการพันธุศาสตร ครั้งที่<br />

13. มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.<br />

Chotewutmontri, P. and A. Thamchaipen<strong>et</strong>. 2002. Cloning of type I polyk<strong>et</strong>ide synthase<br />

gene from Streptomyces rimosus R7, an anti-fung<strong>al</strong> producer, P-EP03. In<br />

Proceedings of the 14 th Annu<strong>al</strong> Me<strong>et</strong>ing of the Thai Soci<strong>et</strong>y for Biotechnology.<br />

Thamchaipen<strong>et</strong>, A. and P. Chotewutmontri. 2002. Phylogen<strong>et</strong>ic an<strong>al</strong>ysis of KS, AT and<br />

ACP domains of TypeI polyk<strong>et</strong>ide synthase genes from actinomyc<strong>et</strong>es, P-BMicro-<br />

04. In Proceedings of the Internation<strong>al</strong> Conference on Bioinformatics 2002.<br />

Thamchaipen<strong>et</strong>, A., P. Chotwutmontri, N. Pulsawat, N. Peric and I.S. Hunter. 2003.<br />

Insertion<strong>al</strong> inactivation of a putative acyl CoA-ligase gene from oxyt<strong>et</strong>racycline<br />

gene cluster of Streptomyces rimosus, pp 104-107. In Proceeding of the 13 th<br />

Annu<strong>al</strong> Me<strong>et</strong>ing of the Thai Soci<strong>et</strong>y for Gen<strong>et</strong>ics.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!