18.08.2013 Views

et al

et al

et al

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ทําใหหมูคีโตเปลี่ยนเปนหมูไฮดรอกซิล<br />

(hydroxyl) หรือหมูอื่นตอไป<br />

อยางไรก็ดีก็ยังคงมีหมูคี<br />

โตหลงเหลืออยูบางสวนในสายคารบอนหลัก<br />

จึงเปนที่มาของชื่อสารกลุมนี้<br />

(Hopwood and<br />

Sherman, 1990; Hutchinson and Fujii, 1995)<br />

กระบวนการสังเคราะหโพลีคีไทด<br />

Birch (1967) ไดนําเสนอ กระบวนการชีวสังเคราะหของสารโพลีคีไทด ซึ่งมีความ<br />

คลายคลึงกับการสังเคราะหกรดไขมันสายยาว (long-chain fatty acid)<br />

การสังเคราะหกรดไขมันสายยาว (ภาพที่<br />

1) ควบคุมโดยเอนไซมแฟตทีแอซิดซินเธส<br />

(fatty acid synthase; FAS) โดยในโปรคาริโอต จะประกอบไปดวยกลุมเอนไซมที่มีหนาที่ชนิด<br />

เดียว (monofunction<strong>al</strong> enzyme) หลายเอนไซมอยูรวมกัน<br />

และในยูคาริโอตจะเปนเอนไซมเดี่ยว<br />

ขนาดใหญซึ่งมีหลายหนาที่<br />

(multifunction<strong>al</strong> enzyme) โดยทั่วไปการสังเคราะหจะเริ่มจากโดเมน<br />

(domain) ที่ทําหนาที่เปนเอซิลทรานสเฟอเรส<br />

(acyltransferase; AT) นําหนวยเริ่มตน<br />

(starter<br />

unit) ในที่นี้<br />

คือ อะเซทิล-โคเอ (ac<strong>et</strong>yl-CoA) ไปยังบริเวณฟอสโฟแพนทีธีอิน<br />

(phosphopant<strong>et</strong>heine) ของโดเมนเอซิลแคริเออรโปรตีน (acyl carrier protein; ACP) เกิด<br />

พันธะโธโอเอสเทอร (thioester) และเคลื่อนยายไปเกิดพันธะโธโอเอสเทอรใหม<br />

ที่โดเมนเบตา-<br />

คีโตเอซิลซินเธส (β-k<strong>et</strong>oacylsynthase; KS) จากนั้นโดเมน<br />

AT จะนําหนวยตอเติม (extender<br />

unit) คือ มาโลนิล-โคเอ (m<strong>al</strong>onyl-CoA) ไปที่<br />

ACP ที่วางลง<br />

แลวเกิดกระบวนการดีคารบอก<br />

ซิเลทีฟคอนเดนเซชัน (decarboxylative condensation) โดยโดเมน KS เชื่อมหนวยเริ่มตนกับ<br />

หนวยตอเติมบน ACP ไดสายคารบอนที่มีความยาวเพิ่มขึ้น<br />

2 คารบอนจากหนวยตอเติม ตอมา<br />

หมูคีโตที่ตําแหนงเบตาจะเกิดกระบวนการคีโตรีดักชัน<br />

(k<strong>et</strong>oreduction) ดีไฮเดรชัน<br />

(dehydration) และอีโนอิลรีดักชัน (enoyl reduction) ขึ้น<br />

โดยเอนไซมคีโตรีดักเทส<br />

(k<strong>et</strong>oreductase; KR), ดีไฮดราเทส (dehydratase; DH) และอีโนอิลรีดักเทส (enoylreductase;<br />

ER) เปลี่ยนหมูคีโตนั้นใหเปนหมูไฮดรอกซิล<br />

(hydroxyl), หมูอีโนอิล<br />

(enoyl) และหมูอัลคิล<br />

(<strong>al</strong>kyl) ตามลําดับ แลวจึงกลับเขาสูการเชื่อมหนวยตอเติม<br />

ตามขั้นตอนดังกลาวซ้ํากันอีกหลาย<br />

รอบ จนไดสายคารบอนที่มีขนาดยาวตามตองการ<br />

จึงปลดปลอยสายคารบอนออกมาไดเปนกรด<br />

ไขมันอิ่มตัว<br />

(saturated fatty acid) โดยการทํางานของเอนไซมไธโอเอสเธอเรส (thioesterase;<br />

TE) (Hopwood and Sherman, 1990; Horton <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2002)<br />

5

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!