18.08.2013 Views

et al

et al

et al

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การสงถายดีเอ็นเอเขาสู<br />

Streptomyces ที่มีระบบการปองกัน<br />

โดยการทําลายดีเอ็นเอแปลกปลอม<br />

ที่มีการเติมหมูเมธิลไดดีกวา<br />

(Fl<strong>et</strong>t <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1997) พลาสมิดที่ใชสําหรับการคอนจูเกชันใน<br />

ปจจุบันลวนเปนพลาสมิดที่ไมสามารถจําลองตัวเองไดใน<br />

Streptomyces (non-replicative<br />

plasmid) ซึ่งจะสามารถเขาไปรวมตัวกับโครโมโซมไดก็ตอเมื่อเกิด<br />

site-specific recombination<br />

ของตําแหนง attachment site (attP) ของฝาจ φC31 ที่อยูบนพลาสมิดนั้นกับตําแหนง<br />

attB บน<br />

โครโมโซม (Bierman <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1992; Thorpe <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000) หรือโดยการเกิดโฮโมโลกัสรีคอม<br />

บิเนชันของชิ้นดีเอ็นเอจาก<br />

Streptomyces ที่โคลนเขาไปในพลาสมิด<br />

(Bierman <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1992)<br />

วิธีการทําคอนจูเกชันตางสกุลระหวาง E. coli และ Streptomyces ทําไดงายโดยการ<br />

เตรียมเซลล E. coli ผูให<br />

และการเตรียมสปอรของ Streptomyces ผูรับ<br />

แลวนํามาผสมกันใน<br />

อัตราสวนที่เหมาะสม<br />

จากนั้นนําไปเกลี่ยบนจานอาหารเลี้ยงเชื้อ<br />

และคัดเลือกผูรับที่มีพลาสมิด<br />

หรือเอกซคอนจูแกนต (exconjugant) โดยใชยาปฏิชีวนะ (Kieser <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000) ซึ่งเชื้อแตละ<br />

ชนิดมีสภาวะที่เหมาะสมที่สุดแตกตางกัน<br />

ทําใหตองศึกษาปรับปรุงวิธีการใหเหมาะสมกับเชื้อแต<br />

ละชนิด (Kitani <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000)<br />

อัตราสวนของสปอรของ Streptomyces ผูรับตอเซลล<br />

E. coli ผูให<br />

เปนปจจัยหนึ่งที่<br />

สงผลตอประสิทธิภาพของการคอนจูเกชัน ตัวอยางเชน การทําคอนจูเกชันตางสกุลระหวาง S.<br />

lavendulae FRI-5 และ E. coli ET12567 (pUZ8002) บนอาหารแข็ง ISP2 ที่มี<br />

MgCl2 เขมขน 10 มิลลิโมลาร ประสิทธิภาพที่ไดจะสูงขึ้นเมื่อคาอัตราสวนของผูรับตอผูใหมีคาต่ําลง<br />

(ประสิทธิภาพอยูระหวาง<br />

1.6x10 -5 - 3.9x10 -8 exconjugant/reciepient) (Kitani <strong>et</strong> <strong>al</strong>.,<br />

2000) อยางไรก็ตามอัตราสวนของผูรับตอผูใหยังขึ้นกับชนิดของอาหาร<br />

ตัวอยางในการทดลอง<br />

เดียวกันเมื่อใชอาหารแข็ง<br />

MS ที่มี<br />

MgCl2 เขมขน 10 มิลลิโมลาร ประสิทธิภาพที่ไดจะใกลเคียง<br />

กันในทุกอัตราสวนของผูรับตอผูให<br />

(ประสิทธิภาพประมาณ 10 -6 exconjugant/reciepient) แต<br />

การคอนจูเกชันระหวาง S. toyocaensis และ E. coli S17-1 พบวาอัตราสวนของผูรับตอผูใหมี<br />

ผลตอประสิทธิภาพของการเกิดคอนจูเกชัน (Matsushima and B<strong>al</strong>tz, 1996)<br />

ชนิดของอาหารแข็งจึงเปนอีกปจจัยหนึ่ง<br />

ซึ่งสงผลตอประสิทธิภาพของการคอนจูเกชันตาง<br />

สกุล ตัวอยางเชน การคอนจูเกชันระหวาง S. lavendulae FRI-5 และ E. coli ET12567<br />

(pUZ8002) บนอาหารแข็ง R5 ที่มี<br />

MgCl2 10 มิลลิโมลาร พบวาไมมีการสงถายพลาสมิด<br />

แตสามารถเกิดการสงถายไดดีเมื่อใชอาหารแข็ง<br />

ISP2 และ MS ที่มี<br />

MgCl2 10 มิลลิโมลาร<br />

(Kitani <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000) ในการคอนจูเกชันระหวาง S. fradiae และ E. coli S17-1 เมื่อศึกษาโดย<br />

ใชอาหารหลายชนิด คือ AS1, TS และ R2 พบวาอาหารแข็ง AS1 ใหผลดีที่สุด<br />

สวน R2 ไมเกิด<br />

การสงถายพลาสมิด (Bierman <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1992) ในการคอนจูเกชันระหวาง S. toyocaensis และ E.<br />

21

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!