18.08.2013 Views

et al

et al

et al

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

(pimaricin) จาก S. nat<strong>al</strong>ensis (Aparicio <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000), ไทรโคมัยซิน (trichomycin) จาก S.<br />

hachijoensis (Hosoya <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1952) รวมทั้งไรโมซิดินจาก<br />

S. rimosus (Davisson <strong>et</strong> <strong>al</strong>.,<br />

1951)<br />

การตรวจหาสารออกฤทธิ์ตานเชื้อรา<br />

การตรวจหาสารตานเชื้อราเบื้องตน<br />

สามารถทําโดยใชวิธีทางจุลชีววิทยา ทดสอบสาร<br />

ตัวอยางในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรา<br />

เรียกวา วิธีการแพรผานวุน<br />

(agar diffusion<br />

m<strong>et</strong>hod) ทําโดยการเพาะเชื้อราบนจานอาหารแข็ง<br />

ซึ่งนิยมใช<br />

Candida หรือ Saccharomyces<br />

จากนั้นนําสารตัวอยางใสลงบนผิวอาหารใหแพรเขาสูเจล<br />

ซึ่งอาจทําไดหลายวิธี<br />

เชน การวางทอ<br />

ทรงกระบอกบนผิวของจานอาหารแลวเติมสารละลายของสารที่ตองการทดสอบลงไป<br />

การเจาะ<br />

อาหารแข็งออกเปนทรงกระบอกแลวเติมสารละลายลงไป หรือการวางแผนกระดาษกลม (paper<br />

disk) ที่ชุมดวยสารละลายบนอาหารแข็ง<br />

(Brewer and Platt, 1967; Tanaka, 1992)<br />

การตรวจสอบสารตานเชื้อราในกลุมโพลีอีน<br />

สามารถใชวิธีทางเคมี ไดแก thin-layer<br />

chromatography (TLC) และสเปกโทรเมทรี (spectrom<strong>et</strong>ry) โดยการสกัดสารโพลีอีนจากเซลล<br />

หรืออาหารเลี้ยงเชื้อดวยบิวทานอล<br />

(n-butanol) หรือเมธานอล จากนั้นจึงนําไปทํา<br />

TLC หรือวัด<br />

การดูดแสงเปรียบเทียบกับสารมาตรฐาน (Brewer and Platt, 1967; Tanaka, 1992)<br />

การแยกสารในกลุมโพลีอีนโดย<br />

TLC สามารถใชตัวพา (mobile phase) ไดหลายชนิด<br />

เชน คลอโรฟอรม:เมธานอล (85:15), บิวทานอล:กรดอะซีติก:น้ํา<br />

(4:1:5) และบิวทานอล:<br />

เอธานอล:น้ํา<br />

(1:1:1) (Pandey and Rinehart, 1977; Pandey <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1982) เปนตน สามารถ<br />

ตรวจสอบจุดของสารที่แยกไดหลายวิธี<br />

เชน ตรวจสอบภายใตแสงอัลตราไวโอเลต, การรมดวยไอ<br />

ของไอโอดีน (iodine vapor), การพนดวยกรดซัลฟูริก (sulfuric acid spray) และการพนดวยนิน<br />

ไฮดริน (ninhydrin spray) เปนตน หรืออาจนําไปทําไบโอออโทกราฟ (bioautography) โดยการ<br />

การเททับแผนเคลือบดวยอาหารที่มีเชื้อรา<br />

เพื่อตรวจสอบไดอีกดวย<br />

(Lomovskaya <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1997;<br />

Campelo and Gil, 2002)<br />

คาการดูดแสงของสารโพลีอีนมีลักษณะเฉพาะ โดยจะมีความยาวคลื่นที่ใหคาการดูดแสง<br />

สูงสุด (λmax) 3 หรือ 4 ตําแหนง (Tanaka, 1992) ซึ่งสารที่มีจํานวนพันธะคูเทากันจะมีการดูด<br />

แสงที่ความยาวคลื่นใกลเคียงกัน<br />

โดยสามารถสรุปการดูดแสงของโพลีอีนทั่วไปไดดังตารางที่<br />

1<br />

17

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!