18.08.2013 Views

et al

et al

et al

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การสงถายพลาสมิดเขาสู<br />

Streptomyces<br />

การสงถายพลาสมิดเขาสู<br />

Streptomyces สามารถทําไดหลายวิธี อาทิ ทรานสฟอรเมชัน<br />

(transformation), ทรานสดักชัน (transduction) และคอนจูเกชัน (conjugation) ซึ่งจะพบ<br />

ขอจํากัดอยูหลายประการ<br />

เชน การทําทรานสฟอรเมชันจะมีประสิทธิภาพต่ํา<br />

การทําทรานสดัก<br />

ชันทําไดไมแพรหลายเนื่องจากขาดแคลนฝาจ<br />

(phage) ที่สามารถใชกับเชื้อไดหลายชนิด<br />

(Kieser<br />

<strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000) จึงมีการพัฒนาวิธีการใหมใหสามารถสงถายพลาสมิด เขาสู<br />

Streptomyces ได<br />

อยางมีประสิทธิภาพ ดังที่จะไดกลาวตอไป<br />

Streptomyces หลายชนิดมีระบบการปองกัน โดยการทําลายดีเอ็นเอแปลกปลอม<br />

(restriction-modification system) (Sanchez <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1985; MacNeil, 1988; Rodicio and<br />

Chater, 1988) ดังนั้นการสงถายดีเอ็นเอที่ไมมีการเติมหมูเมธิลโดยผานดีเอ็นเอนั้นเขาสู<br />

E. coli<br />

สายพันธุที่ขาดการเติมหมูเมธิล<br />

เชน สายพันธุ<br />

ET12567 (MacNeil <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1992) เสียกอนแลว<br />

จึงนํามาถายเขาสู<br />

Streptomyces จะทําใหประสิทธิภาพในการสงถายพลาสมิดสูงขึ้น<br />

(MacNeil <strong>et</strong><br />

<strong>al</strong>., 1992; Fl<strong>et</strong>t <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1997)<br />

วิธีการสงถายพลาสมิดเขาสู<br />

Streptomyces ในปจจุบัน<br />

Bibb <strong>et</strong> <strong>al</strong>. (1978) ไดพัฒนาวิธีการทรานสฟอรเมชันของ Streptomyces โดยใชไลโซ<br />

ไซม (lysozyme) ทําใหเสนใยอยูในรูปโพรโทพลาสต<br />

(protoplast) แลวนําดีเอ็นเอเขาสูโพรโท<br />

พลาสตโดยอาศัยการเหนี่ยวนําของโพลีเอธิลีนไกลคอล<br />

(poly<strong>et</strong>hylene glycol; PEG) ซึ่งไดมีการ<br />

นําไปดัดแปลงใชกันอยางกวางขวาง วิธีนี้ตองหาสภาวะที่เหมาะสมในการเตรียมโพรโทพลาสต<br />

และการทําใหคืนสภาพ (regeneration) ซึ่งมีความแตกตางกันไปในแตละสายพันธุ<br />

โดยความถี่<br />

ของการเกิดทรานสฟอรแมนต (transformant) อยูระหวาง<br />

10 6 -10 7 ทรานสฟอรแมนตตอ<br />

ไมโครกรัมของดีเอ็นเอ (Matsushima and B<strong>al</strong>tz, 1985; Kieser <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000)<br />

อยางไรก็ตาม Streptomyces บางสายพันธุไมสามารถใชวิธีดังกลาวไดอยางมี<br />

ประสิทธิภาพเนื่องจากความเปราะบางของโพรโทพลาสต<br />

หรือบางสายพันธุก็ไมสามารถเตรียม<br />

โพรโทพลาสตได Pigac and Schrempf (1995) จึงไดพัฒนาวิธีการทรานสฟอรเมชันเขาสูเสน<br />

ใยโดยอาศัยอิเล็กโทรโพเรชัน (electroporation) ซึ่งใหความถี่ของการเกิดทรานสฟอรแมนตสูง<br />

กวาวิธีการทรานสฟอรเมชันของโพรโทพลาสต 10 2 -10 3 เทา โดยแสดงใหเห็นวาสามารถนําดี<br />

เอ็นเอเขาสู<br />

S. venezuelae 13S และสายพันธุกลาย<br />

554W, 601 และ 615 ของ S. rimosus R6<br />

ได ซึ่งทั้ง<br />

4 สายพันธุ<br />

ใชวิธีการทรานสฟอรเมชันของโพรโทพลาสตโดยอาศัยโพลีเอธิลีนไกล<br />

19

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!