18.08.2013 Views

et al

et al

et al

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ซึ่งอยูเปนกลุม<br />

(cluster) ได แตถาตองการศึกษาหนาที่ของยีนใดยีนหนึ่ง<br />

โดยทําใหยีนที่ตองการ<br />

ศึกษากลายพันธุ<br />

ก็ตองอาศัยการเกิดรีคอมบิเนชันแบบ double crossing over เพื่อให<br />

แลกเปลี่ยนยีนกลายที่อยูบนพลาสมิดกับยีนปกติบนโครโมโซม<br />

การศึกษาหนาที่ของกลุมยีน<br />

Type I PKS ใน Streptomyces โดยใชวิธียีนดิสรัปชัน ไดมี<br />

การนําไปใชกันอยางแพรหลาย ตัวอยางเชน ในการตรวจสอบหนาที่ของยีน<br />

Type I PKS ในเชื้อ<br />

S. hygroscopicus ATCC 29253 วาเกี่ยวของกับการสังเคราะหราพามัยซินหรือไม<br />

เนื่องจาก<br />

เชื้อดังกลาวสามารถผลิตโพลีคีไทดชนิดที่<br />

1 ได 2 ชนิด คือราพามัยซินและไนเจอริซิน<br />

(nigericin) เมื่อทํายีนดีสรัปชันและการแทนที่ยีนโดยอาศัยฝาจเปนดีเอ็นเอพาหะ<br />

ทําใหเชื้อไม<br />

สามารถสังเคราะหราพามัยซิน และไมสงผลตอลักษณะสัณฐานของเชื้อ<br />

(Lomovskaya <strong>et</strong> <strong>al</strong>.,<br />

1997) นอกจากนั้นยังใชในการวิเคราะหยีน<br />

Type I PKS ของการสังเคราะหนิดดามัยซิน จาก<br />

เชื้อ<br />

S. caelestis (Kakavas <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1997), พิมาริซิน จากเชื้อ<br />

S. nat<strong>al</strong>ensis (Aparicio <strong>et</strong> <strong>al</strong>.,<br />

1999) และ แอมโฟเทอริซิน จากเชื้อ<br />

S. nodosus (Caffrey <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2001) เปนตน<br />

ขนาดของดีเอ็นเอที่จะนําไปใชเพื่อทํายีนดิสรัปชันก็มีความสําคัญเชนกัน<br />

พบวาชิ้นดีเอ็น<br />

เอขนาดเล็กที่สุดที่จะสามารถเกิดการรีคอมบิเนชันไดใน<br />

S. viridochromogenes มีขนาดประมาณ<br />

200 คูเบส<br />

ซึ่งนําไปใชทําใหเกิดการกลายของยีน<br />

pat เปนผลใหเกิดการยับยั้งการสังเคราะหสาร<br />

ฟอสฟโนธริซิน-ไทรเปปไทด (phosphinothricin-tripeptide)ใน S. griseus DSM40695<br />

(Hillemann <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1991) สําหรับการทํายีนดิสรัปชันของการสังเคราะหมาโครเทโทรไลด<br />

(macrot<strong>et</strong>rolide) ใน S. nat<strong>al</strong>ensis สามารถไดสายพันธุกลายโดยใชชิ้นดีเอ็นเอขนาด<br />

700 คูเบส<br />

ที่ไดจากการเพิ่มปริมาณยีน<br />

nonS ดวยวิธีพีซีอาร (Smith <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000) การทํายีนดิสรัปชันของ<br />

ยีน pimD ที่คาดวาเกี่ยวของกับการดัดแปลงภายหลังของสารพิมาริซิน<br />

โดยใชชิ้นสวนของยีน<br />

ขนาด 667 คูเบส<br />

ทําใหพิสูจนไดวายีนดังกลาวทําหนาที่สรางเอนไซม<br />

cytochrome P450<br />

epoxidase (Mendes <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2001) วิธียีนดิสรัปชันใน S. maritimus ก็ไดใชศึกษาการทํางานของ<br />

ยีน encP ซึ่งเกี่ยวของกับการสังเคราะหหนวยเริ่มตนของสารเอนเทอโรซิน<br />

(enterocin) โดยใช<br />

ชิ้นสวนของยีนขนาด<br />

800 คูเบส<br />

และสงถายพลาสมิดดวยการคอนจูเกชันระหวาง E. coli และ<br />

Streptomyces พบวาสายพันธุ กลายที่ไดไมสามารถสังเคราะหหนวยเริ่มตนได<br />

(Xiang and<br />

Moore; 2002)<br />

23

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!