18.08.2013 Views

et al

et al

et al

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

2.2 การวิเคราะหชิ้นดีเอ็นเอที่ใชเปนโพรบ<br />

นําพลาสมิด pATT401 ไปหาลําดับเบสโดยใชไพรเมอร M13 Forward และ<br />

M13 Reverse ไดลําดับเบสจํานวน 806 และ 825 คูเบส<br />

ตามลําดับ (ภาพที่<br />

23) เมื่อวิเคราะห<br />

แลวพบวาชิ้นดีเอ็นเอในพลาสมิด<br />

pATT401 มีลําดับเบสขนาด 1,050 คูเบส<br />

สามารถแปลรหัส<br />

เปนกรดอะมิโนขนาด 350 กรดอะมิโน (ภาพที่<br />

24) เมื่อนําลําดับกรดอะมิโนที่ไดไป<br />

เปรียบเทียบกับฐานขอมูลโดยใชโปรแกรม BlastP (23 กุมภาพันธ 2547) พบวามีความ<br />

คลายคลึงกับกลุมยีน<br />

Type I PKS ในฐานขอมูลดังตารางที่<br />

6 โดย 4 ลําดับแรกที่มีคาความ<br />

เหมือน (identity) สูงที่สุด<br />

ที่<br />

72-89 เปอรเซ็นต เปนยีน Type I PKS ในกระบวนการ<br />

สังเคราะหสารโพลีคีไทดในกลุมโพลีอีนเชนเดียวกับไรโมซิดิน<br />

ซึ่งไดแก<br />

พิมาริซินจาก S.<br />

nat<strong>al</strong>ensis (Aparicio <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000), แคนดิซิดิน (candicidin) จาก Streptomyces sp. FR-008<br />

(Chen <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2003), นัยสตาตินจาก S. noursei (Brautas<strong>et</strong> <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000) และแอมโฟเทอริซิน<br />

จาก S. nodusus (Caffrey <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2001) จากคาความเหมือนนี้แสดงใหเห็นวา<br />

401-KS นาจะ<br />

เปนโดเมนหนึ่ง<br />

ซึ่งอยูในกลุมยีนที่เกี่ยวของกับการสังเคราะหสารโพลีอีนมากกวากลุมยีน<br />

Type I<br />

PKS ชนิดอื่น<br />

นําลําดับกรดอะมิโน (401-KS) ไปทํา multiple <strong>al</strong>ignment และ clustering<br />

โดยใชโปรแกรม Clust<strong>al</strong>W เปรียบเทียบกับลําดับกรดอะมิโนของยีน Type I PKS ในสวน KS<br />

จากฐานขอมูล โดยเลือกโดเมน KS จากโพลีคีไทดชนิดที่<br />

1 กลุมมาโครไลด<br />

ไดแก KS โมดุลที่<br />

1<br />

ของการสังเคราะหทัยโลซิน (tylosin; TYL-KS1; DeHoff <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1996), KS โมดุลที่<br />

2 ของ<br />

การสังเคราะหอีรีโธรมัยซิน (ERY-KS2; Donadio <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1991) และ KS โมดุลที่<br />

2 ของการ<br />

สังเคราะหอะเวอรเมกทิน (AVE-KS2; Ikeda <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 1999) มาเปรียบเทียบกับโดเมน KS จาก<br />

โพลีคีไทดชนิดที่<br />

1 กลุมโพลีอีน<br />

ไดแก KS โมดุลที่<br />

6 ของการสังเคราะหพิมาริซิน (PIM-KS6;<br />

Aparicio <strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000), KS โมดุลที่<br />

9 ของการสังเคราะหนัยสตาติน (NYS-KS9; Brautas<strong>et</strong><br />

<strong>et</strong> <strong>al</strong>., 2000) และ KS โมดุลที่<br />

9 ของการสังเคราะหแอมโฟเทอริซิน (AMP-KS9; Caffrey <strong>et</strong><br />

<strong>al</strong>., 2001) เมื่อวาด<br />

phylogen<strong>et</strong>ic tree ดวยโปรแกรม TreeView (ภาพที่<br />

25) ปรากฏวา KS<br />

ของ S. rimosus R7 ที่ไดจากการพีซีอาร<br />

(401-KS) จัดอยูในกลุม<br />

KS ของสารโพลีอีน แยก<br />

ออกจากกลุม<br />

KS ของสารมาโครไลด เชื่อไดวา<br />

KS ที่ไดจากการพีซีอารนาจะเกี่ยวของกับการ<br />

สังเคราะหสารไรโมซิดิน<br />

ผลจากการทํา <strong>al</strong>ignment ทําใหทราบวาขนาดที่สั้นลงของ<br />

KS ที่โคลนไดใน<br />

พลาสมิด pATT401 เกิดจากการมีตําแหนงตัดของเอนไซม EcoRI ในชวงตนของปลาย 5’ ของ<br />

ยีน KS (ภาพที่<br />

23)<br />

65

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!