17.11.2017 Views

ต.ค.60

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Êํҹѡ§Ò¹»ÅÑ´¡ÃзÃǧ¡ÅÒâËÁ<br />

˹‹Ç§ҹ¹âºÒÂáÅÐÂØ·¸ÈÒʵäÇÒÁÁÑ่¹¤§<br />

ÊԵ㹴ǧã¨<br />

µÃÒº¹Ô¨¹ÔÃѹ´Ã<br />

¹ŒÍÁÈÔÃСÃÒ¹ ¡ÃҺ᷺¾ÃÐÂؤźҷ<br />

´ŒÇÂÊíÒ¹Ö¡ã¹¾ÃÐÁËÒ¡ÃسҸԤس໚¹ÅŒ¹¾Œ¹ÍѹËÒ·ÕèÊǾ ÁÔä´Œ<br />

ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น สํ า นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม<br />

»‚·Õ่ òõ ©ºÑº·Õ่ óñù ËÅÑ¡àÁ×ͧ µØÅÒ¤Á òõöð<br />

www.lakmuangonline.com


“...ความจริงมันนาทอถอยหรอก บางเรื่องมันนาทอถอย แ<strong>ต</strong>วา<br />

ฉันทอไมได เพราะเดิมพันของเรานั้นสูงเหลือเกิน เดิมพันของ<br />

เรานั้นคือบาน คือเมือง คือความสุขของคนไทยทั่วประเทศ...”<br />

เดิมพัน<br />

แมเหนื่อยยาก ทรงฟนฝา มิกลาพัก ทรง<strong>ต</strong>ระหนัก ทุกขคนไทย นั้นใหญยิ่ง<br />

แม<strong>ต</strong>ราก<strong>ต</strong>รํา มั่นหทัย ไมประวิง เพราะทุกสิ่ง ทรงสรรคสุข เพื่อทุกคน<br />

แมเหนื่อยลา เพียงไร ไมทรงทอ ทรงเ<strong>ต</strong>ิมกอ กรณียกิจ สฤษฎิ์ผล<br />

แมขุนเขา กั้นเรียงราย แลสายชล ทรงดั้นดน ฝาไพรผอง ทองนที<br />

“ดวยเดิมพัน ของฉัน นั้นสูงนัก” จะใหพัก หนักฤทัย หาใชที่<br />

เพราะเดิมพัน คือบานเมือง เรื่องชีวี ชนอยูดี กินดี นี่คืองาน<br />

ทรงมิอาจ ทอถอย ลอยปญหา ปวงไพรฟา <strong>ต</strong>างยังคง นาสงสาร<br />

ไรความรู สูทํากิน ถิ่นกันดาร ทรงยึดมั่น พระปณิธาน สานศรัทธา<br />

๗๐ ป ทรงบําเพ็ญ ชนเห็นชอบ คือคํา<strong>ต</strong>อบ ทาเดิมพัน ทรงฟนฝา<br />

ทรงสรางนํา สุขภาวะ เพื่อประชา เสริมชีวา ใหชาวไทย ไดสมบูรณ<br />

ณ วันนี้ ทรงนิราศ ชา<strong>ต</strong>ิไทยแลว โอฉั<strong>ต</strong>รแกว ทรงลาลับ ดับแสงสูรย<br />

คงเหลือไว พระดําริ ผลิเกื้อกูล เรืองจํารูญ เจิดจรัส แกรัฐไทย<br />

ขอนอมเกลาฯ เชิญบรรดา นานากิจ ทรงวินิ<strong>ต</strong> เปนวิถี ที่ยิ่งใหญ<br />

ขอ<strong>ต</strong>ามรอย พระบาท ยา<strong>ต</strong>ราไกล ดวยดวงใจ เปยมจงรัก และภักดี.<br />

ปวงขาพระพุทธเจา ขอนอมเกลานอมกระหมอม<br />

รําลึกในพระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได<br />

ขาพระพุทธเจา ขาราชการ ลูกจาง และพนักงานราชการ สังกัดกระทรวงกลาโหม<br />

(พล<strong>ต</strong>รี ชัยวิทย ชยาภินันท ผูประพันธ)


ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น สํ า นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม<br />

ที่ปรึกษากิ<strong>ต</strong><strong>ต</strong>ิมศักดิ์<br />

พล.อ.วันชัย เรือง<strong>ต</strong>ระกูล<br />

พล.อ.อ.สุวิช จันทประดิษฐ<br />

พล.อ.ไพบูลย เอมพันธุ<br />

พล.อ.ยุทธศักดิ์ ศศิประภา<br />

พล.อ.ธีรเดช มีเพียร<br />

พล.อ.ธวัช เกษรอังกูร<br />

พล.อ.สัมพันธ บุญญานัน<strong>ต</strong><br />

พล.อ.อูด เบื้องบน<br />

พล.อ.สิริชัย ธัญญสิริ<br />

พล.อ.วินัย ภัททิยกุล<br />

พล.อ.อภิชา<strong>ต</strong> เพ็ญกิ<strong>ต</strong><strong>ต</strong>ิ<br />

พล.อ.กิ<strong>ต</strong><strong>ต</strong>ิพงษ เกษโกวิท<br />

พล.อ.เสถียร เพิ่มทองอินทร<br />

พล.อ.วิทวัส รช<strong>ต</strong>ะนันทน<br />

พล.อ.ทนงศักดิ์ อภิรักษโยธิน<br />

พล.อ.นิพัทธ ทองเล็ก<br />

พล.อ.สุรศักดิ์ กาญจนรั<strong>ต</strong>น<br />

พล.อ.ศิริชัย ดิษฐกุล<br />

พล.อ.ปรีชา จันทรโอชา<br />

พล.อ.ชัยชาญ ชางมงคล<br />

ที่ปรึกษา<br />

พล.อ.เทพพงศ ทิพยจันทร<br />

พล.อ.วิสุทธิ์ นาเงิน<br />

พล.ร.อ.จุมพล ลุมพิกานนท ร.น.<br />

พล.อ.อ.สุรศักดิ์ ทุงทอง<br />

พล.อ.ณัฐ อินทรเจริญ<br />

พล.อ.สมศักดิ์ รุงสิ<strong>ต</strong>า<br />

พล.อ.ชัยพฤกษ พูนสวัสดิ์<br />

พล.อ.อนุชิ<strong>ต</strong> อินทรทั<strong>ต</strong><br />

พล.อ.นภน<strong>ต</strong> สรางสมวงษ<br />

พล.ร.อ.ปรีชาญ จามเจริญ ร.น.<br />

พล.ท.ทรงพล พุมวิจิ<strong>ต</strong>ร<br />

พล.ท.รักศักดิ์ โรจนพิมพพันธุ<br />

พล.ท.มโน นุชเกษม<br />

พล.ท.ปรีชา สายเพ็ชร<br />

พล.ท.ทวี พฤกษาไพรบูลย<br />

พล.ท.ศิรศักดิ์ ยุทธประเวศน<br />

พล.ท.ศิริพงษ วงศขัน<strong>ต</strong>ี<br />

พล.ท.ชมพล อามระดิษ<br />

พล.ท.นรเศรษฐ ขรรทมาศ<br />

พล.ท.สราวุธ รัช<strong>ต</strong>ะนาวิน<br />

พล.<strong>ต</strong>.พุฒิประสิทธิ์ จิระมะกร<br />

พล.<strong>ต</strong>.<strong>ต</strong>างแดน พิศาลพงศ<br />

พล.<strong>ต</strong>.ภราดร จินดาลัทธ<br />

พล.<strong>ต</strong>.กาน<strong>ต</strong> กลัมพสุ<strong>ต</strong><br />

พล.<strong>ต</strong>.ทินกร รังสิวัฒน<br />

พล.<strong>ต</strong>.ไชย หวางสิงห<br />

ผูอํานวยการ<br />

พล.<strong>ต</strong>.ยุทธนินทร บุนนาค<br />

รองผูอํานวยการ<br />

พ.อ.ภัทรนรินท วิจิ<strong>ต</strong>รพฤกษ<br />

พ.อ.ชูเลิศ จิระรั<strong>ต</strong>นเมธากร<br />

ผูชวยอํานวยการ<br />

น.อ.พรหมเมธ อ<strong>ต</strong>ิแพทย ร.น.<br />

กองจัดการ<br />

ผูจัดการ<br />

น.อ.กฤษณ ไชยสมบั<strong>ต</strong>ิ<br />

ประจํากองจัดการ<br />

วาที่ พ.อ.ธนะศักดิ์ ประดิษฐธรรม<br />

วาที่ พ.ท.ไพบูลย รุงโรจน<br />

เหรัญญิก<br />

วาที่ พ.ท.จักรินทร อินทรจันทร<br />

ฝายกฎหมาย<br />

น.ท.สุรชัย สลามเ<strong>ต</strong>ะ<br />

พิสูจนอักษร<br />

พ.อ.หญิง วิวรรณ วรวิศิษฏธํารง<br />

กองบรรณาธิการ<br />

บรรณาธิการ<br />

พ.อ.สุวเทพ ศิริสรณ<br />

รองบรรณาธิการ<br />

พ.อ.วันชนะ สวัสดี<br />

ผูชวยบรรณาธิการ<br />

วาที่ น.อ.หญิง รสสุคนธ ทองใบ ร.น.<br />

ประจํากองบรรณาธิการ<br />

น.ท.วัฒนสิน ป<strong>ต</strong>พี ร.น.<br />

พ.ท.ชุมศักดิ์ สมไรขิง<br />

พ.ท.ชา<strong>ต</strong>บุ<strong>ต</strong>ร ศรธรรม<br />

พ.ท.หญิง สมจิ<strong>ต</strong>ร พวงโ<strong>ต</strong><br />

น.ท.ฐิ<strong>ต</strong>พร นอยรักษ ร.น.<br />

พ.ท.จิโร<strong>ต</strong>ม ชินวั<strong>ต</strong>ร<br />

วาที่ น.ท.หญิง ฉันทนี บุญปกษ<br />

น.<strong>ต</strong>.หญิง ปรางทอง จันทรสุข ร.น.<br />

น.<strong>ต</strong>.หญิง กัญญารั<strong>ต</strong>น ชูชา<strong>ต</strong>ิ ร.น.<br />

พ.<strong>ต</strong>.หญิง ลลิดา กลาหาญ<br />

วาที่ ร.<strong>ต</strong>.หญิง สุชาดา โยธาขันธ<br />

วาที่ ร.<strong>ต</strong>หญิง ธัญญชนม สุขเสงี่ยม<br />

จ.ส.อ.สมหมาย ภมรนาค<br />

ส.อ.เชาววัศ ชนะพงศนิธิกุล


เดือน<strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐ เดือนที่ประวั<strong>ต</strong>ิศาส<strong>ต</strong>รไทยจะ<strong>ต</strong>องจารึก<br />

และไมเพียงแ<strong>ต</strong>ประเทศไทยเทานั้น ประวั<strong>ต</strong>ิศาส<strong>ต</strong>รโลกก็จะ<strong>ต</strong>องบันทึกไว<br />

วันที่ ๒๖ <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐ วันพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาท<br />

สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิ<strong>ต</strong>ร มหาบุรุษผูยิ่งใหญ<br />

“KING OF KING” ของปวงพสกนิกรชาวไทย และเปนที่ยอมรับของชาวโลก<br />

จากคําสอนและการปฏิบั<strong>ต</strong>ิใหเห็นดวยความเพียรของพระองคทาน<strong>ต</strong>ลอดระยะเวลา<br />

ที่ทรงครองราชย ทานไดทรง “สอน” และพระราชทานกับประชาราษฎรของพระองค จนเปนที่<br />

ประจักษ ศรัทธา และยอมรับในทุกสิ่งที่ทรงมีพระราชดําริ ทุกอยาง ทุกเรื่องที่พระองคพระราชทาน<br />

นับเปนพระมหากรุณาธิคุณเปนลนพนอันหาที่สุดมิได เรื่องที่ประชาชนชาวไทยทุกคนนอกจาก<br />

ความจงรักภักดีที่มี<strong>ต</strong>อพระองค และสถาบันพระมหากษั<strong>ต</strong>ริยแลว สิ่งสําคัญคือ การสืบสาน รักษา<br />

<strong>ต</strong>อยอดสรางสุขปวงประชา <strong>ต</strong>ามที่สมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร<br />

ไดทรงรวบรวมในรูปแบบของวีดิทัศน และพระราชทานใหเผยแพรใหกับประชาชนชาวไทย ยึดถือ<br />

ปฏิบั<strong>ต</strong>ิเพื่อความสุขและประโยชนของอาณาประชาราษฎรสืบไป


๔<br />

พระราชกรณียกิจทางทหารของ พระบาท<br />

สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช<br />

๘<br />

พระราชวิเทโศบาย ในการรักษาเอกราชชา<strong>ต</strong>ิไทย<br />

ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว<br />

๑๒<br />

พลเอก เทพพงศ ทิพยจันทร<br />

๑๓<br />

พลเอก วิสุทธิ์ นาเงิน<br />

๑๔<br />

พลเรือเอก จุมพล ลุมพิกานนท<br />

๑๕<br />

พลอากาศเอก สุรศักดิ์ ทุงทอง<br />

๑๖<br />

พลเอก ณัฐ อินทรเจริญ<br />

๑๗<br />

พลเอก สมศักดิ์ รุงสิ<strong>ต</strong>า<br />

๑๘<br />

พลเอก ชัยพฤกษ พูนสวัสดิ์<br />

๑๙<br />

พลเอก อนุชิ<strong>ต</strong> อินทรทั<strong>ต</strong><br />

๒๐<br />

๒๑<br />

พลเอก นภน<strong>ต</strong> สรางสมวงษ<br />

พลเรือเอก ปรีชาญ จามเจริญ<br />

๒๒<br />

พลเอก สิงหศักดิ์ อุทัยมงคล<br />

๒๓<br />

พลเอก สัมพันธ ธัญญพืช<br />

๒๔<br />

นโยบายรัฐมน<strong>ต</strong>รีวาการกระทรวงกลาโหม<br />

นโยบายเรงดวน ประจําปงบประมาณ<br />

พ.ศ.๒๕๖๑<br />

๒๘<br />

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว<br />

(<strong>ต</strong>อนจบ)<br />

ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น สํ า นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม<br />

๑๒<br />

๑๕<br />

๑๘<br />

๒๑<br />

๑๓<br />

๑๖<br />

๑๙<br />

๒๒<br />

๑๔<br />

๑๗<br />

๒๐<br />

๒๓<br />

๒๘<br />

๓๒<br />

เปด<strong>ต</strong>ํานานพระเมรุมาศ<br />

๓๖<br />

๓๘<br />

๓๓ ป วันคลายวันสถาปนา<br />

สํานักงบประมาณกลาโหม<br />

๖๔ ป วันคลายวันสถาปนา กรมการ<br />

พลังงานทหาร ศูนยการอุ<strong>ต</strong>สาหกรรม<br />

ปองกันประเทศและพลังงานทหาร<br />

๔๐<br />

ปกิณกะกระทรวงกลาโหม กฎหมาย<br />

กระทรวงกลาโหมฉบับแรก<br />

ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง<br />

๔๒<br />

ขอพึงระมัดระวังของขาราชการทุกประเภท<br />

<strong>ต</strong>อศาลอาญาคดีทุจริ<strong>ต</strong>และประพฤ<strong>ต</strong>ิมิชอบ<br />

๔๖<br />

แนะนํา อาวุธ เพื่อ นบาน<br />

รถสายพานลําเลียงพล แบบ เอ็ม-๑๑๓<br />

๕๐<br />

แบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่ : หัวใจสําคัญของเรือดํานํ้า<br />

๕๔<br />

๕๖<br />

เปดประ<strong>ต</strong>ูสูเทคโนโลยีปองกันประเทศ ๕๘<br />

National e-Payment พลิกโฉมระบบการ<br />

ชําระเงินของไทย สูยุคเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

๕๘<br />

พระเจาโบดอวพญาทรงขยายดินแดน<br />

๖๐<br />

ดีเฟนสและซิคิวริ<strong>ต</strong>ี้ ๒๐๑๗<br />

“The Power of Partnership”<br />

๖๒<br />

“เวียนศีรษะบานหมุน รีบรักษา แกไขได”<br />

๖๔<br />

ภาพกิจกรรม<br />

๔๖<br />

๕๐<br />

๓๒ ๕๔ ๖๐<br />

๖๒<br />

ขอคิดเห็นและบทความที่นําลงในวารสารหลักเมืองเปนของผูเขียน มิใชขอคิดเห็นหรือนโยบายของหนวยงานของรัฐ และมิไดผูกพัน<strong>ต</strong>อราชการแ<strong>ต</strong>อยางใด<br />

สํานักงานเลขานุการสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย เข<strong>ต</strong>พระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร./โทรสาร ๐-๒๒๒๕-๘๒๖๒ http://61.19.220.3/opsd/sopsdweb/index_1.htm<br />

พิมพที่ : หางหุนสวนจํากัด อรุณการพิมพ ๔๕๗/๖-๗ ถนนพระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เข<strong>ต</strong>พระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร. ๐-๒๒๘๒-๖๐๓๓-๔ โทรสาร ๐-๒๒๘๐-๒๑๘๗-๘<br />

E-mail : info@aroonkarnpim.co.th www.aroonkarnpim.co.th<br />

ออกแบบ : หางหุนสวนจํากัด อรุณการพิมพ


พระราชกรณียกิจทางทหารของ<br />

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช<br />

พล<strong>ต</strong>รี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์<br />

“…ชา<strong>ต</strong>ิบ้านเมืองประกอบด้วยนานาสถาบัน อันเปรียบได้กับอวัยวะทั้งปวงที่ประกอบขึ้นเป็นชีวิ<strong>ต</strong>ร่างกาย ชีวิ<strong>ต</strong>ร่างกายดารง<br />

อยู่ได้ เพราะอวัยวะใหญ่น้อยทางานเป็นปก<strong>ต</strong>ิพร้อมกันอย่างไร ชา<strong>ต</strong>ิบ้านเมืองก็ดารงอยู่ได้ เพราะสถาบัน<strong>ต</strong>่างๆ <strong>ต</strong>ั้งมั่น และปฏิบั<strong>ต</strong>ิ<br />

หน้าที่ของ<strong>ต</strong>น โดยพร้อมมูลอย่างนั้น ท่านทั้งหลายควรจักได้ทราบ<strong>ต</strong>ระหนักว่า ชา<strong>ต</strong>ิบ้านเมือง คือ ชีวิ<strong>ต</strong> เลือดเนื้อและสมบั<strong>ต</strong>ิของเรา<br />

ทุกคน และดารงรักษาประเทศชา<strong>ต</strong>ินั้น มิใช่หน้าที่ของบุคคลผู้ใดหมู่ใดโดยเฉพาะ หากแ<strong>ต</strong>่เป็นหน้าที่ของทุกๆ ฝ่าย ทุกๆ คน ที่จัก<br />

<strong>ต</strong>้องร่วมมือกระทาพร้อมกันไป โดยสอดคล้องกัน เกื้อกูลกันและมีจุดมุ่งหมายมีอุดมค<strong>ต</strong>ิอันร่วมกัน ถ้าหมู่หนึ่งหมู่ใดทาหน้าที่ย่อหย่อน<br />

เป็นอัน<strong>ต</strong>รายไป ก็อาจทาให้ทั้งชา<strong>ต</strong>ิแ<strong>ต</strong>กสลายทาลายไปได้...”<br />

ข้<br />

อความที่ผู้เขียนอัญเชิญมา<br />

ประดิษฐานในบทความนี้คือความ<br />

บาง<strong>ต</strong>อนในพระบรมราโชวาท<br />

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล<br />

อดุลยเดช ในพิธี<strong>ต</strong>รวจพลสวนสนาม<br />

เนื่องในโอกาสงานพระราชพิธีรัชดาภิเษก<br />

วันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๑๔ ซึ่งเป็นพระบรม<br />

ราโชวาทที่บ่งบอกถึงหน้าที่ความรับผิดชอบ<br />

ในการดูแลรักษาประเทศชา<strong>ต</strong>ิบ้านเมือง<br />

และเป็นหลักคิดของทหารทุกคนในการ<br />

ดาเนินภารกิจในการปกป้องประเทศและ<br />

รักษาความมั่นคงของชา<strong>ต</strong>ิ<br />

หากท่านได้เห็นพระบรมฉายาลักษณ์<br />

แรก เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๔๘๙ ซึ่งเป็น<br />

วันที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา<br />

ภูมิพลอดุลยเดช เสด็จขึ้นครองสิริราช<br />

สมบั<strong>ต</strong>ิ ก็จะเห็นว่าพระบรมฉายาลักษณ์นี้<br />

เป็นพระบรมฉายาลักษณ์ที่เหล่า<br />

ทหารหาญและพสกนิกรชาวไทย<strong>ต</strong>่างมี<br />

ความชื่นชมในพระมหากรุณาธิคุณ<br />

เป็นล้นพ้นคือ พระบรมฉายาลักษณ์ที่ทรง<br />

เครื่องแบบเ<strong>ต</strong>็มยศเหล่าทหารบก ในพระราช<br />

สถานะองค์จอมทัพไทย จึงเป็นการ<br />

แสดงออกให้ประชาชนชาวไทยได้รับ<br />

ทราบว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทร<br />

มหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงให้ความสาคัญ<br />

แก่ทหารและกิจการทหารของประเทศ<br />

4<br />

พล<strong>ต</strong>รี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์


เป็นอย่างยิ่ง พระบาทสมเด็จพระปรมินทร<br />

มหาภูมิพลอดุลยเดช ทรง<strong>ต</strong>ระหนักถึง<br />

พระอิสริยยศจอมทัพไทย ที่เป็นมิ่งขวัญ<br />

ของมวลเหล่าทหาร และเป็นพระฉายแห่ง<br />

ความมั่นคงของประเทศชา<strong>ต</strong>ิ ในอันที่จะ<br />

สร้างขวัญและกาลังใจให้แก่พสกนิกรของ<br />

พระองค์และเหล่าทหารหาญทั้งปวง<br />

จึงทรงฉลองพระองค์ในเครื่องแบบทหาร<br />

ทั้ง ๓ เหล่าทัพในพระราชกรณียกิจ<strong>ต</strong>่างๆ<br />

กล่าวคือ<br />

• การเจริญพระราชไม<strong>ต</strong>รีกับมิ<strong>ต</strong>ร<br />

ประเทศ จึงทรงบาเพ็ญพระราชกรณียกิจ<br />

การเสด็จเยือน<strong>ต</strong>่างประเทศ และทรงเชิญ<br />

ประมุขของมิ<strong>ต</strong>รประเทศมาร่วมพระราช<br />

กรณียกิจสาคัญหลายครั้ง<br />

• การเสด็จพระราชดาเนินไปทรง<br />

เยี่ยมหน่วยทหาร<strong>ต</strong>ามฐานปฏิบั<strong>ต</strong>ิการ<br />

ในพื้นที่ทุรกันดารพร้อมทั้งพระราชทาน<br />

ถุงยังชีพและพระราชทานพระบรมราโชวาท<br />

ให้เป็นขวัญกาลังใจแก่กาลังพลที่ปฏิบั<strong>ต</strong>ิ<br />

ราชการในพื้นที่เพื่อความมั่นคง โดยไม่<br />

ทรงย่อท้อ<strong>ต</strong>่อความเหนื่อยล้าพระวรกาย<br />

และความยากลาบากแ<strong>ต</strong>่ประการใด<br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

5


ซึ่งหลายครั้งได้ทรงทดลองปฏิบั<strong>ต</strong>ิเช่นเดียว<br />

กับกาลังพลในพื้นที่<br />

• การเสด็จพระราชดาเนินไปทรง<br />

เยี่ยมพสกนิกร และพระราชทานความ<br />

ช่วยเหลือแก่ประชาชนในพื้นที่ห่างไกล<br />

ได้ยังความปลาบปลื้มปี<strong>ต</strong>ิให้แก่ประชาชน<br />

เป็นอย่างยิ่ง<br />

ซึ่งพระบรมฉายาลักษณ์ที่ปรากฏ<strong>ต</strong>่อ<br />

สาย<strong>ต</strong>าของพสกนิกรชาวไทยได้ยังความ<br />

ปลาบปลื้มซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณ<br />

เป็นอย่างยิ่ง นอกจากนี้ พระบรมราโชวาท<br />

และพระราชดารัส<strong>ต</strong>่างๆ ยังเป็นแนวทาง<br />

ในการดาเนินชีวิ<strong>ต</strong>ของประชาชนชาวไทย<br />

และกาลังพลทหารอย่างหาที่สุดมิได้ โดย<br />

เฉพาะอย่างยิ่ง พระราชกรณียกิจทาง<br />

ทหารที่สาคัญ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระ<br />

ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงดาเนิน<br />

ให้เป็นสิริมงคลแก่เหล่าทหารหาญทุกคน<br />

ประกอบด้วย<br />

พระราชพิธี<strong>ต</strong>รึงหมุดและ<br />

พระราชทานธงไชยเฉลิมพล ทรงเสด็จ<br />

พระราชดาเนินไปประกอบพระราชพิธี<br />

<strong>ต</strong>รึงหมุดธงไชยเฉลิมพลสาหรับ<br />

พระราชทานหน่วยทหาร ณ ภายในพระ<br />

อุโบสถวัดพระศรีรั<strong>ต</strong>นศาสดาราม โดยทรง<br />

บรรจุกรัณฑ์เส้นพระเจ้าในยอดคันธง ทรง<br />

หมุนเกลียวปิดซุ้มยอดธง จากนั้น ทรงฆ้อน<br />

ย้า<strong>ต</strong>รึงหมุด<strong>ต</strong>ิดผ้าคันธง ทรงหลั่งน ้า<br />

พระมหาสังข์และทรงเจิม จนเสร็จพิธี<br />

หลังจากนั้น จะเสด็จพระราชดาเนินไปยัง<br />

พระที่นั่งชุมสาย สนามหน้าศาลาสหทัย<br />

สมาคม และพระราชทานธงไชยเฉลิมพล<br />

แก่หน่วยทหาร เพื่อให้หน่วยทหารถือเป็น<br />

สัญลักษณ์แทนพระองค์ และเป็น<br />

เครื่องหมายแห่งความไว้วางพระราช<br />

หฤทัยในความซื่อสั<strong>ต</strong>ย์สุจริ<strong>ต</strong>และความ<br />

กล้าหาญ เป็นเกียร<strong>ต</strong>ิยศ รวมทั้งเป็น<br />

มิ่งขวัญแก่หน่วยทหารในเวลาออกศึก<br />

ปราบปรามอริศั<strong>ต</strong>รู<br />

พระราชทานวุฒิบั<strong>ต</strong>ร ปริญญาบั<strong>ต</strong>ร<br />

และพระราชทานกระบี่เสด็จพระราชดาเนิน<br />

ในการพระราชทานกระบี่และพระราชทาน<br />

ปริญญาบั<strong>ต</strong>รแก่นายทหารผู้สาเร็จ<br />

การศึกษาจากโรงเรียนนายร้อย<br />

พระจุลจอมเกล้า โรงเรียนนายเรือ และ<br />

โรงเรียนนายเรืออากาศ ณ พระที่นั่ง<br />

ชุมสาย บริเวณสนามหญ้าภายในศาลา<br />

ว่าการกลาโหมระหว่างปี พ.ศ.๒๕๐๐<br />

จนถึง ปี พ.ศ.๒๕๑๙ ก่อนเปลี่ยนไป<br />

ประกอบพิธี ณ หอประชุมใหญ่<br />

สวนอัมพร<br />

พระราชทานปริญญาบั<strong>ต</strong>ร วุฒิบั<strong>ต</strong>ร<br />

ประกาศนียบั<strong>ต</strong>ร และเข็มวิทยฐานะ<br />

เสด็จพระราชดาเนินในการพระราชทาน<br />

ปริญญาบั<strong>ต</strong>ร วุฒิบั<strong>ต</strong>ร ประกาศนียบั<strong>ต</strong>ร<br />

และเข็มวิทยฐานะแก่ผู้ทรงคุณวุฒิ<br />

และผู้สาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัย<br />

ป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยเสนาธิการ<br />

ทหาร วิทยาลัยการทัพบก วิทยาลัยการ<br />

6<br />

พล<strong>ต</strong>รี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์


ทัพเรือ วิทยาลัยการทัพอากาศ โรงเรียน<br />

เสนาธิการทหารบก โรงเรียนเสนาธิการ<br />

ทหารเรือ และโรงเรียนเสนาธิการทหาร<br />

อากาศ ณ ห้องประชุมกองบัญชาการ<br />

ทหารสูงสุด ในศาลาว่าการกลาโหม<br />

ระหว่างปี พ.ศ.๒๔๙๙ จนถึงปี พ.ศ.<br />

๒๕๑๑ ก่อนเปลี่ยนไปประกอบพิธี ณ<br />

ห้องประชุมวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร<br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

ถนนวิภาวดีรังสิ<strong>ต</strong> และห้อง<br />

ประชุมใหญ่สวนอัมพร<br />

<strong>ต</strong>ามลาดับ<br />

พิธีถวายสั<strong>ต</strong>ย์ปฏิญาณ<strong>ต</strong>น<br />

และสวนสนามของทหาร<br />

รักษาพระองค์ เสด็จ<br />

พระราชดาเนินในพิธีถวาย<br />

สั<strong>ต</strong>ย์ปฏิญาณ<strong>ต</strong>นและสวน<br />

สนามของทหารรักษา<br />

พระองค์ เป็นประจาทุกปี<br />

<strong>ต</strong>ั้งแ<strong>ต</strong>่ปี พ.ศ.๒๕๐๔ เนื่องใน<br />

โอกาสวันเฉลิมพระชนม<br />

พรรษาฯ จนถึงปี พ.ศ.๒๕๕๑<br />

ณ ลานพระราชวังดุสิ<strong>ต</strong><br />

พระราชกรณียกิจทางทหารของ<br />

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล<br />

อดุลยเดช ที่ผู้เขียนอัญเชิญมาประดิษฐาน<br />

ในบทความนี้เป็นเพียงหนึ่งในพระราช<br />

กรณียกิจที่ทรงบาเพ็ญเพื่อกิจการทหาร<br />

ความมั่นคงของชา<strong>ต</strong>ิและประโยชน์สุขของ<br />

ปวงพสกนิกรมาโดย<strong>ต</strong>ลอด แม้ว่าในวันนี้<br />

พสกนิกรชาวไทยจะไม่มีโอกาสได้เห็น<br />

พระราชจริยวั<strong>ต</strong>รอันงดงาม<strong>ต</strong>่อไปอีกแล้ว<br />

แ<strong>ต</strong>่สิ่งที่ผู้เขียนเชื่อมั่นว่าพระบรมฉายาลักษณ์<br />

<strong>ต</strong>่างๆ ยังคง<strong>ต</strong>รา<strong>ต</strong>รึงมีอยู่ในความทรงจา<br />

ที่ดี ยังความซาบซึ้งและสานึกในพระมหา<br />

กรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้<br />

ในโอกาสวันที่ ๑๓ <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

ซึ่งพสกนิกรชาวไทยทุกคนทราบกันดีว่า<br />

เป็นวันคล้ายวันเสด็จสู่สวรรคาลัย และใน<br />

วันที่ ๒๖ <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐ จะเป็นวันที่ถวาย<br />

พระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จ<br />

พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช<br />

ผู้เขียนขอเชิญทุกท่านน้อมราลึกถึง<br />

พระมหากรุณาธิคุณและร่วมถวาย<br />

พระเกียร<strong>ต</strong>ิในพระราชพิธีอันสาคัญด้วย<br />

ความสานึกในพระมหากรุณาธิคุณอย่าง<br />

หาที่สุดมิได้และอัญเชิญพระบรมราโชวาท<br />

และพระราชดารัสในโอกาส<strong>ต</strong>่างๆ ไว้เหนือ<br />

เศียรเกล้า เพื่อเป็นสิ่งเ<strong>ต</strong>ือนใจให้ทุกท่าน<br />

มุ่งมั่นที่จะทาความดี มีความรักสามัคคี<br />

และจงรักภักดี<strong>ต</strong>่อสถาบันพระมหากษั<strong>ต</strong>ริย์<br />

<strong>ต</strong>ลอดไป<br />

7


พระราชวิเทโศบาย<br />

ในการรักษาเอกราชชา<strong>ต</strong>ิไทย<br />

ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

ภายหลังเห<strong>ต</strong>ุการณ์วันที่ ๑๓<br />

กรกฎาคม ๒๔๓๖ ที่คนไทย<br />

<strong>ต</strong>่างรู้จักกันดีว่า วิกฤ<strong>ต</strong>ิการณ์<br />

ร.ศ.๑๑๒ ซึ่งเป็นเห<strong>ต</strong>ุการณ์ที่บาดลึกใน<br />

จิ<strong>ต</strong>ใจของชาวไทยทุกคน เมื่อกองทัพ<br />

ฝรั่งเศสได้จัดส่งเรือรบ ๒ ลา คือ เรือแอง<br />

กองส<strong>ต</strong>อง<strong>ต</strong>์ (Inconstant) และเรือโกแม<strong>ต</strong>์<br />

(Comete) โดยมีเรือนาร่องเป็นเรือสินค้า<br />

“เจ เบ เซย์” (Jean Baptist Say) ได้รุกล้า<br />

ฝ่าสันดอนปากแม่น้าเจ้าพระยา และได้<br />

พล<strong>ต</strong>รี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์<br />

เกิดการปะทะกับกองกาลังทางเรือไทย<br />

ที่บริเวณป้อมพระจุลจอมเกล้า และ<br />

หมู่เรือรบซึ่งเป็นแนวป้องกันของไทย<br />

หลังจากนั้นก็เข้ามาทอดสมอที่บริเวณหน้า<br />

สถานกงสุลฝรั่งเศส ถนนเจริญกรุง สมทบ<br />

กับเรือรบชื่อ เรือลูแ<strong>ต</strong>ง (Le Lutin) ที่จอด<br />

ทอดสมออยู่ก่อนแล้ว โดยเรือรบทั้ง ๓ ลา<br />

แสดงท่าทีคุกคามไทยอย่างเ<strong>ต</strong>็มที่<br />

จนในที่สุด พระบาทสมเด็จพระ<br />

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<strong>ต</strong>้องทรง<strong>ต</strong>ัดสินพระทัย<br />

ชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ฝรั่งเศสเป็นเงิน<br />

จานวน ๓ ล้านฟรังก์ และถูกยึดดินแดน<br />

ฝั่งซ้ายแม่น้าโขง <strong>ต</strong>ลอดถึงเกาะแก่ง<br />

ในแม่น้าโขงทั้งหมด เป็นพื้นที่ ๑๔๓,๐๐๐<br />

<strong>ต</strong>ารางกิโลเม<strong>ต</strong>ร (ในที่สุด ก็<strong>ต</strong>้องเสียดินแดน<br />

ดังกล่าวให้แก่ฝรั่งเศส) นอกจากนี้ ฝรั่งเศส<br />

ยังได้ยึดเมืองจันทบุรีไว้เป็นประกัน<br />

อีกด้วย<br />

หลังจากนั้น ประเทศไทย (หรือ<br />

สยามในยุคดังกล่าว) ยังถูกคุกคามโดย<br />

ประเทศมหาอานาจ ๒ ประเทศคือ อังกฤษ<br />

และฝรั่งเศสที่แผ่อานาจเข้ามาในภูมิภาค<br />

อินโดจีน ซึ่งมีข้อมูลที่น่า<strong>ต</strong>กใจว่าประเทศ<br />

มหาอานาจทั้ง ๒ ประเทศ มีแผนที่จะแบ่ง<br />

ประเทศไทยเป็นอาณานิคม โดยใช้แม่น้า<br />

เจ้าพระยาเป็นเส้นกั้นอาณาเข<strong>ต</strong> ทั้งยัง<br />

กาหนดการแบ่งเข<strong>ต</strong>แดนไว้ว่า<br />

• ดินแดนด้านซ้ายของแม่น้า<br />

เจ้าพระยาไปจนถึงเขมร ลาว และ<br />

เวียดนาม จะ<strong>ต</strong>กเป็นของ ฝรั่งเศส<br />

• ดินแดนด้านขวาของแม่น้า<br />

เจ้าพระยาไปจนถึงพม่า มาเลเซีย และ<br />

8<br />

พล<strong>ต</strong>รี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์


อินเดีย จะ<strong>ต</strong>กเป็นของ อังกฤษ เรียกว่า<br />

ประเทศมหาอานาจทั้งสองประเทศ<br />

คิดได้ขนาดนี้ และอ้างความชอบธรรมว่า<br />

ประเทศไทย (สยาม) ยังเป็นประเทศ<br />

ที่ล้าหลัง จึงมีความจาเป็นที่ประเทศ<br />

ทั้งสองจะ<strong>ต</strong>้องให้ความช่วยเหลือในการ<br />

พัฒนา<br />

สถานการณ์ดังกล่าวถือได้ว่าเป็น<br />

ภัยคุกคามที่มีความสาคัญและรุนแรงมาก<br />

<strong>ต</strong>่อประเทศไทยที่มีสถานะเป็นรัฐที่อยู่<br />

กึ่งกลางการขยายอานาจในยุคล่า<br />

อาณานิคม เรื่องดังกล่าวจึงเป็นข่าวใหญ่<br />

ไปทั่วยุโรปว่า มีความเป็นไปได้สูงที่<br />

ประเทศไทยอาจจะ<strong>ต</strong>้องถูกแบ่งแยก<br />

ดินแดนและเป็นอาณานิคมของทั้งสอง<br />

ประเทศมหาอานาจอย่างแน่นอน ซึ่งใน<br />

ราชสานักไทยและประชาชนทั่วไป<strong>ต</strong>่างก็<br />

หวั่นเกรงภัยคุกคามนี้เป็นอย่างยิ่ง<br />

แ<strong>ต</strong>่ด้วยพระราชวิสัยทัศน์และสาย<br />

พระเน<strong>ต</strong>รอันยาวไกลของพระบาทสมเด็จ<br />

พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ทรงมีพระ<br />

ราชวินิจฉัยว่า สถานการณ์ของไทยใน<br />

ขณะนั้นมีความสุ่มเสี่ยงและล่อแหลมที่จะ<br />

เกิดการสร้างสถานการณ์เพื่อหามูลเห<strong>ต</strong>ุใน<br />

การรุกรานทางการเมืองระหว่างประเทศ<br />

และอาจขยายผลไปสู่การปะทะด้วยกาลัง<br />

อาวุธกับประเทศมหาอานาจทั้งสองได้ ซึ่ง<br />

วิถีทางที่ดีที่สุดคือ การดาเนินพระราช<br />

วิเทโศบาย (นโยบายการ<strong>ต</strong>่างประเทศ) การ<br />

ผูกมิ<strong>ต</strong>รกับประเทศมหาอานาจอื่นที่ทั้ง<br />

อังกฤษและฝรั่งเศสมีความเกรงใจ จึงทรง<br />

มีหมายกาหนดการในการเสด็จประพาส<br />

ยุโรปในปี พ.ศ.๒๔๔๐ ซึ่งมีพระราช<br />

ประสงค์ในการเสด็จพระราชดาเนินเพื่อ<br />

เข้าเฝ้าฯ พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ ๒ แห่ง<br />

ประเทศรัสเซีย เป็นการ<strong>ต</strong>อบแทนที่<br />

พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ ๒ ได้เคยเสด็จ<br />

พระราชดาเนินเยือนประเทศไทย เมื่อปี<br />

พ.ศ.๒๔๓๔ เมื่อครั้งยังดารงพระยศเป็น<br />

มกุฎราชกุมารฯ<br />

ซึ่งพระราชวิเทโศบายเมื่อครั้งเสด็จ<br />

ประพาสยุโรปในครั้งนั้น ได้ก่อให้เกิดผล<br />

สัมฤทธิ์ที่ดี<strong>ต</strong>่อประเทศไทยเป็นอย่างมาก<br />

กล่าวคือ เมื่อเสด็จพระราชดาเนินไปเยือน<br />

ประเทศรัสเซียและเข้าเฝ้าฯ พระเจ้าซาร์<br />

นิโคลัสที่ ๒ พร้อมกับฉายพระรูปร่วมกัน<br />

หลังจากนั้น พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ ๒ ทรงสั่ง<br />

เสนาบดีวังให้ส่งพระบรมฉายาลักษณ์<br />

ดังกล่าวไปยังหนังสือพิมพ์ลิลลุส<strong>ต</strong>ราซิอง<br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

9


เดอ ปารี โดยให้แจ้ง<strong>ต</strong>่อบรรณาธิการว่า<br />

เป็นพระบรมราชโองการของพระเจ้าซาร์<br />

นิโคลัสที่ ๒ ให้ขยายเ<strong>ต</strong>็มหน้าแรกลงใน<br />

หนังสือพิมพ์ทั้งยังทรงอักษรคาอธิบายภาพ<br />

ด้วยลายพระหั<strong>ต</strong>ถ์ของพระองค์เองว่า<br />

“สยามเป็นประเทศที่กาลังพัฒนา<br />

หาใช่ประเทศล้าหลัง ซึ่งมหาประเทศจะ<br />

อาศัยเป็นมูลเห<strong>ต</strong>ุเข้ายึดครองมิได้” และ<br />

ทันทีที่หนังสือพิมพ์ฉบับดังกล่าว<strong>ต</strong>ีพิมพ์<br />

เมื่อวันที่ ๑๑ กันยายน ๑๘๙๗ (พ.ศ.<br />

๒๔๔๐) ได้สร้างความ<strong>ต</strong>ก<strong>ต</strong>ะลึงให้แก่<br />

ประเทศมหาอานาจและประเทศ<strong>ต</strong>่างๆ ใน<br />

ยุโรป เมื่อได้เห็นพระบรมฉายาลักษณ์ของ<br />

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

ทรงประทับนั่งเคียงคู่กับพระเจ้าซาร์นิโคลัส<br />

ที่ ๒ แห่งรัสเซีย ด้วยความใกล้ชิดสนิท<br />

สนมเป็นพระสหายที่มีพระราชไม<strong>ต</strong>รี<br />

<strong>ต</strong>่อกัน ทั้งนี้ <strong>ต</strong>้องไม่ลืมว่า รัสเซียก็ถือเป็น<br />

อีกประเทศมหาอานาจหนึ่งของยุโรป<br />

จากพระราชวิเทโศบายของพระบาท<br />

สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้สร้าง<br />

ความผ่อนคลายในเรื่องความรุนแรงที่<br />

กาลังจะเกิดขึ้นแก่ประเทศไทยเป็น<br />

อย่างมาก เพราะเป็นการหยุดยั้งความ<br />

ละโมบและการคุกคามของอังกฤษและ<br />

ฝรั่งเศสได้เป็นอย่างมาก ทั้งนี้ สิ่งที่คนไทย<br />

ไม่ควรหลงลืมคือนโยบายการผนวกดินแดน<br />

ของอังกฤษและฝรั่งเศสในยุคล่าอาณานิคม<br />

กล่าวคือ<br />

• อังกฤษ มีความประสงค์ในการ<br />

ยึดครองดินแดนที่อุดมด้วยป่าไม้สัก<br />

ในภาคเหนือที่<strong>ต</strong>ิดกับพม่า และเหมาะแก่การ<br />

<strong>ต</strong>ั้งสถานีการค้าทางทะเลในแหลมมลายู<br />

• ฝรั่งเศส มีความประสงค์ในการ<br />

ยึดครองดินแดนที่อุดมสมบูรณ์ด้วย<br />

ทรัพยากรของลุ่มแม่น้าหลัก ๕ สาย ที่มี<br />

ลักษณะคล้ายฝ่ามือ คือ แม่น้าโขง แม่น้า<br />

เจ้าพระยา แม่น้าสาละวิน แม่น้าอิรวดี<br />

และแม่น้าแดงในอ่าว<strong>ต</strong>ังเกี๋ย<br />

จึงกล่าวได้ว่า พระราชวิเทโศบาย<br />

ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า<br />

10<br />

พล<strong>ต</strong>รี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์


เจ้าอยู่หัว ได้ส่งผล<strong>ต</strong>รง<strong>ต</strong>่อการรักษาเอกราช<br />

ของประเทศไทยไว้ได้โดยไม่<strong>ต</strong>้องเสียเลือด<br />

เนื้อและชีวิ<strong>ต</strong>ของคนไทย ภายหลังจาก<br />

วิกฤ<strong>ต</strong>การณ์ร.ศ.๑๑๒ <strong>ต</strong>่อมาอีก และทาให้<br />

ประเทศไทยเป็นเอกราช<strong>ต</strong>ราบจนทุกวันนี้<br />

แม้ว่าในเวลา<strong>ต</strong>่อมา มีการสูญเสียพื้นที่<br />

บางส่วนให้แก่ประเทศมหาอานาจทั้งสอง<br />

ประเทศไปบ้าง แ<strong>ต</strong>่ก็เกิดจากผลพวงของ<br />

วิกฤ<strong>ต</strong>การณ์ ร.ศ.๑๑๒ จึงเปรียบเสมือน<br />

การดาเนินพระราโชบายของพระบาท<br />

สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ ยอม<br />

สละอวัยวะเพื่อรักษาชีวิ<strong>ต</strong>ไว้ในเวลา<strong>ต</strong>่อมา<br />

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

ได้ทรงพัฒนาประเทศและบ้านเมือง<br />

<strong>ต</strong>ามแนวทางของยุโรปอย่างรวดเร็ว โดยทรง<br />

จ้างชาวยุโรปเข้ามารับราชการและส่ง<br />

คนไทยไปศึกษาในยุโรปเป็นจานวนมาก<br />

โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเสด็จพระราชดาเนิน<br />

ไปเยือนนานาประเทศในทวีปยุโรป<br />

จึงเป็นการประกาศให้ชาวโลกได้ประจักษ์<br />

ว่า ราชอาณาจักรไทย (สยาม) ของ<br />

พระองค์เป็นประเทศที่กาลังพัฒนาไปสู่<br />

ความเจริญทัดเทียมนานาอารยประเทศ<br />

ซึ่งไม่ใช่เป็นบ้านป่าเมืองเถื่อนอย่างที่<br />

ประเทศมหาอานาจนักล่าอาณานิคมได้<br />

เคยประโคมข่าวกันในทวีปยุโรป จนทาให้<br />

คนในยุโรปจานวนไม่น้อย<strong>ต</strong>่างคล้อย<strong>ต</strong>าม<br />

การโฆษณาชวนเชื่อของทั้งสองประเทศ<br />

ดังกล่าว<br />

แนวพระราชวิเทโศบายที่ล้าเลิศ<br />

ในเชิงจิ<strong>ต</strong>วิทยาของพระบาทสมเด็จ<br />

พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระราชไม<strong>ต</strong>รี<br />

ที่พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่๒ มี<strong>ต</strong>่อประเทศไทย<br />

ได้ก่อให้เกิดความเกรงใจที่ชา<strong>ต</strong>ิมหาอานาจ<br />

ทั้งหลายมี<strong>ต</strong>่อราชอาณาจักรไทย จึงทาให้<br />

ประเทศไทยรอดพ้นจากการเป็น<br />

อาณานิคมของประเทศมหาอานาจทั้งสอง<br />

ประเทศและดารงความเป็นชา<strong>ต</strong>ิไทย<br />

<strong>ต</strong>ราบจนปัจจุบัน<br />

เรื่อง พระราชวิเทโศบายของ<br />

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

ที่ผู้เขียนอัญเชิญมาประดิษฐานใน<br />

บทความนี้ เป็นเพียงหนึ่งในพระราช<br />

กรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัว ที่มีอยู่มากมายเกินกว่าจะบรรยาย<br />

ให้จบสิ้นในเวลาอันสั้น แ<strong>ต</strong>่นับเป็นเรื่อง<br />

อันควรค่าแก่การราลึกถึงพระอัจฉริยภาพ<br />

และพระวิริยอุ<strong>ต</strong>สาหะ ที่ทรงพากเพียร<br />

ดาเนินพระราชกรณียกิจเพื่อประเทศชา<strong>ต</strong>ิ<br />

และประชาชนชาวไทย และในโอกาส<br />

วันที่ ๒๓ <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐ ที่กาลังจะเวียน<br />

มาครบรอบปีที่ ๑๐๗ ซึ่งพสกนิกรชาวไทย<br />

ทุกคนทราบกันดีว่าเป็นวันปิยมหาราช<br />

หรือวันคล้ายวันเสด็จสวรรค<strong>ต</strong>ของ<br />

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

ผู้เขียนขอเชิญทุกท่านได้น้อมราลึกถึง<br />

พระมหากรุณาธิคุณขององค์พระบาท<br />

สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้ทรง<br />

มีคุณูปการแก่ประเทศไทยอย่างมากมาย<br />

ด้วยกันทุกท่านเทอญ<br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

11


พลเอก เทพพงศ ทิพยจันทร<br />

ปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

วัน/เดือน/ปเกิด ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๐๑<br />

คูสมรส นางนริศรา ทิพยจันทร<br />

ธิดา นางสาวณัฐรวี ทิพยจันทร<br />

นางสาวสุทธินันท ทิพยจันทร<br />

ที่อยู ๓๒๖/๕ ถนนอํานวยสงคราม แขวงถนนนครไชยศรี<br />

เข<strong>ต</strong>ดุสิ<strong>ต</strong> กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐<br />

การศึกษา<br />

พ.ศ.๒๕๑๘ โรงเรียนเ<strong>ต</strong>รียมทหาร รุนที่ ๑๘<br />

พ.ศ.๒๕๒๕ โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา รุนที่ ๒๙<br />

พ.ศ.๒๕๒๘ หลักสู<strong>ต</strong>รชั้นนายรอย เหลาทหารราบ รุนที่ ๗๐<br />

พ.ศ.๒๕๓๑ หลักสู<strong>ต</strong>รชั้นนายพัน เหลาทหารราบ รุนที่ ๔๙<br />

พ.ศ.๒๕๓๓ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก หลักสู<strong>ต</strong>รหลักประจํา<br />

ชุดที่ ๖๘<br />

พ.ศ.๒๕๔๖ ปริญญาโท หลักสู<strong>ต</strong>รรัฐประศาสนศาส<strong>ต</strong>รมหาบัณฑิ<strong>ต</strong><br />

มหาวิทยาลัยบูรพา<br />

พ.ศ.๒๕๕๕ วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร รุนที่ ๕๔<br />

<strong>ต</strong>ําแหนงสําคัญ<br />

พ.ศ.๒๕๒๕ ผูบังคับหมวดปนเล็ก กองรอยอาวุธเบาที่ ๓<br />

กองพันทหารราบที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๒๑<br />

รักษาพระองคฯ<br />

พ.ศ.๒๕๓๐ ผูบังคับกองรอยอาวุธเบาที่ ๓ กองพันทหารราบที่ ๓<br />

กรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองคฯ<br />

พ.ศ.๒๕๓๙ ผูบังคับกองพันทหารราบที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๒๑<br />

รักษาพระองคฯ<br />

พ.ศ.๒๕๔๑ ผูบังคับกองพันทหารราบที่ ๒ กรมทหารราบที่ ๒๑<br />

รักษาพระองคฯ<br />

พ.ศ.๒๕๕๐ ผูบังคับการกรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองคฯ<br />

พ.ศ.๒๕๕๔ ผูบัญชาการกองพลทหารราบที่ ๒ รักษาพระองคฯ<br />

พ.ศ.๒๕๕๖ รองแมทัพภาคที่ ๑<br />

พ.ศ.๒๕๕๗ แมทัพนอยที่ ๑<br />

พ.ศ.๒๕๕๘ แมทัพภาคที่ ๑<br />

พ.ศ.๒๕๕๙ ผูชวยผูบัญชาการทหารบก<br />

ราชการพิเศษ<br />

พ.ศ.๒๕๒๕ ปฏิบั<strong>ต</strong>ิหนาที่ราชการ<strong>ต</strong>ามแผนปองกันประเทศ<br />

พ.ศ.๒๕๒๗ ปฏิบั<strong>ต</strong>ิราชการปราบปรามผูกอการรายคอมมิวนิส<strong>ต</strong><br />

ปฏิบั<strong>ต</strong>ิหนาที่นายทหารเสริมกําลังพิเศษ<br />

พ.ศ.๒๕๒๘ หัวหนาหนวยประสานงาน ศูนยศิลปาชีพบางไทรฯ<br />

พ.ศ.๒๕๓๗ ราชองครักษเวร<br />

พ.ศ.๒๕๔๕ รองผูอํานวยการศูนยศิลปาชีพบางไทรฯ<br />

พ.ศ.๒๕๕๓ นายทหารพิเศษ ประจํากรมทหารราบที่ ๒๑<br />

รักษาพระองคฯ<br />

พ.ศ.๒๕๕๗ สมาชิกสภานิ<strong>ต</strong>ิบัญญั<strong>ต</strong>ิแหงชา<strong>ต</strong>ิ<br />

พ.ศ.๒๕๕๘ นายทหารพิเศษ ประจํากรมทหารราบที่ ๑<br />

มหาดเล็กรักษาพระองค<br />

เครื่องราชอิสริยาภรณ<br />

• มหาปรมาภรณชางเผือก<br />

• มหาวชิรมงกุฎ<br />

• เหรียญพิทักษเสรีชนชั้นที่ ๒ ประเภทที่ ๑<br />

• เหรียญราชการชายแดน<br />

• เหรียญจักรมาลา<br />

12


พลเอก วิสุทธิ์ นาเงิน<br />

รองปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

วัน/เดือน/ปเกิด ๖ พฤษภาคม ๒๕๐๑<br />

บิดา-มารดา รอย<strong>ต</strong>รี ประเสริฐ - นางวิมล นาเงิน<br />

คูสมรส นางวิไลวรรณ นาเงิน<br />

ธิดา นางสาววิสุ<strong>ต</strong>า นาเงิน<br />

ที่อยู ๖๓/๗๘ หมูบานฮาบิเทีย ถนนกาญจนาภิเษก<br />

<strong>ต</strong>ําบลเสาธงหิน อําเภอบางใหญ จังหวัดนนทบุรี<br />

การศึกษา<br />

พ.ศ.๒๕๑๗ โรงเรียนวัดราชาธิวาส<br />

พ.ศ.๒๕๑๙ โรงเรียนเ<strong>ต</strong>รียมทหาร รุนที่ ๑๗<br />

พ.ศ.๒๕๒๔ - โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา รุนที่ ๒๘<br />

- หลักสู<strong>ต</strong>รชั้นนายรอย เหลาทหารปนใหญ รุนที่ ๒๑<br />

พ.ศ.๒๕๓๐ หลักสู<strong>ต</strong>รชั้นนายพัน เหลาทหารปนใหญ รุนที่ ๓๒<br />

พ.ศ.๒๕๓๒ หลักสู<strong>ต</strong>รหลักประจํา ชุดที่ ๖๗<br />

โรงเรียนเสนาธิการทหารบก<br />

พ.ศ.๒๕๔๗ หลักสู<strong>ต</strong>รปริญญารัฐศาส<strong>ต</strong>รมหาบัณฑิ<strong>ต</strong><br />

พ.ศ.๒๕๕๕<br />

สาขาบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาส<strong>ต</strong>ร<br />

หลักสู<strong>ต</strong>รวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร<br />

ภาครัฐรวมกับเอกชน (ปรอ.) รุนที่ ๕๔<br />

พ.ศ.๒๕๖๐ หลักสู<strong>ต</strong>รผูบริหารระดับสูง ของสถาบันวิทยาการ<br />

<strong>ต</strong>ลาดทุน รุนที่ ๒๕<br />

<strong>ต</strong>ําแหนงสําคัญ<br />

พ.ศ.๒๕๒๙ ผูบังคับกองรอยทหารปนใหญ กองพัน<br />

ทหารปนใหญ ที่ ๒๐<br />

พ.ศ.๒๕๓๔<br />

หัวหนาแผนก กรมกําลังพลทหารบก<br />

พ.ศ.๒๕๓๘ ฝายเสนาธิการประจํากรมกําลังพลทหารบก<br />

พ.ศ.๒๕๔๗ นายทหารฝายเสนาธิการประจํารองผูบัญชาการ<br />

ทหารบก<br />

พ.ศ.๒๕๔๘ ผูชวยหัวหนาฝายเสนาธิการประจํา<br />

รองผูบัญชาการทหารสูงสุด<br />

พ.ศ.๒๕๔๙ ผูชวยเจากรมเสมียน<strong>ต</strong>รา<br />

พ.ศ.๒๕๕๗ รองเจากรมเสมียน<strong>ต</strong>รา<br />

พ.ศ.๒๕๕๙ เจากรมเสมียน<strong>ต</strong>รา<br />

ราชการพิเศษ<br />

พ.ศ.๒๕๔๙<br />

นายทหารพิเศษ ประจํากรมทหารปนใหญ<br />

ที่ ๑ รักษาพระองค<br />

พ.ศ.๒๕๕๔ นายทหารพิเศษ ประจํากรมทหารราบที่ ๑<br />

มหาดเล็กรักษาพระองค<br />

พ.ศ.๒๕๕๙ - นายทหารพิเศษ ประจํากรมทหารราบที่ ๒๑<br />

รักษาพระองค<br />

- <strong>ต</strong>ุลาการศาลทหารสูงสุด<br />

- กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการแกไข<br />

ปญหาระบบอุปถัมภในระบบราชการไทยใหเปน<br />

รูปธรรม สภานิ<strong>ต</strong>ิบัญญั<strong>ต</strong>ิแหงชา<strong>ต</strong>ิ<br />

- คณะกรรมการสวัสดิการขาราชการ<br />

พ.ศ.๒๕๖๐ ราชองครักษเวร<br />

เครื่องราชอิสริยาภรณ<br />

• มหาปรมาภรณชางเผือก<br />

• มหาวชิรมงกุฎ<br />

• ประถมาภรณชางเผือก<br />

• เหรียญพิทักษเสรีชน ชั้น ๒ ประเภทที่ ๒<br />

• เหรียญราชการชายแดน<br />

• เหรียญจักรมาลา<br />

ËÅÑ¡àÁ×ͧ µØÅÒ¤Á òõöð<br />

13


พลเรือเอก จุมพล ลุมพิกานนท<br />

รองปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

• ผูอํานวยการศูนยศึกษายุทธศาส<strong>ต</strong>รทหารเรือ<br />

• เจากรมกิจการพลเรือนทหารเรือ<br />

• รองเสนาธิการทหารเรือ<br />

• หัวหนาคณะนายทหารฝายเสนาธิการ<br />

ประจําผูบังคับบัญชา<br />

ราชการพิเศษ<br />

• ผูแทนประเทศไทยในการประชุม The Council for<br />

Security Cooperation in the Asia-Pacific (CSCAP)<br />

ที่ประเทศเกาหลี<br />

• หัวหนาคณะการประชุม The 20 th Anniversary of the<br />

Code of Conduct for Responsible Fisheries of the<br />

FAO ระหวาง ๖ – ๑๑ <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๕๘<br />

วัน/เดือน/ปเกิด ๑๘ สิงหาคม ๒๕๐๑<br />

บิดา-มารดา นาวาเอก ณรงค - นางทัศนีย ลุมพิกานนท<br />

คูสมรส นาวาโทหญิง ศศิธร ลุมพิกานนท<br />

ธิดา เรือ<strong>ต</strong>รีหญิง ศจีนาฏ ลุมพิกานนท<br />

ที่อยู ๑๒๐ ซอยเพชรเกษม ๖๔ ถนนเพชรเกษม<br />

แขวงบางแคเหนือ เข<strong>ต</strong>บางแค กรุงเทพฯ ๑๐๑๖๐<br />

การศึกษา<br />

พ.ศ.๒๕๑๕ โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี รุนที่ ๙<br />

พ.ศ.๒๕๑๗ โรงเรียนเ<strong>ต</strong>รียมทหาร รุนที่ ๑๗<br />

พ.ศ.๒๕๑๙ โรงเรียนนายเรือรุนที่ ๗๔<br />

พ.ศ.๒๕๓๔ โรงเรียนเสนาธิการทหารเรือ รุนที่ ๕๒<br />

พ.ศ.๒๕๔๕ วิทยาลัยการทัพเรือ รุนที่ ๓๕<br />

พ.ศ.๒๕๔๖ รัฐประศาสนศาส<strong>ต</strong>รมหาบัณฑิ<strong>ต</strong> มหาวิทยาลัยบูรพา<br />

พ.ศ.๒๕๕๔ วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร รุนที่ ๕๔<br />

พ.ศ.๒๕๖๐ หลักสู<strong>ต</strong>รผูบริหารระดับสูงสถาบันวิทยาการ<br />

<strong>ต</strong>ลาดทุน รุนที่ ๒๔ (ว<strong>ต</strong>ท.๒๔)<br />

<strong>ต</strong>ําแหนงสําคัญ<br />

• ผูบังคับการเรือหลวงจุฬา<br />

• ผูบังคับการเรือหลวงกูด<br />

• ผูบังคับการเรือหลวงพงัน<br />

• ผูบังคับการเรือหลวงสีชัง<br />

• เสนาธิการฐานทัพเรือกรุงเทพ<br />

• นายทหารฝายเสนาธิการประจํารองผูบัญชาการ<br />

ทหารสูงสุด<br />

• หัวหนาฝายศึกษาโรงเรียนนายเรือ<br />

• เสนาธิการโรงเรียนนายเรือ<br />

14<br />

ณ ราชอาณาจักรสเปน<br />

• ผูแทนไทยในฐานะหัวหนาคณะการประชุมคณะทํางาน<br />

เฉพาะกิจความมั่นคงทางทะเล ระหวางไทย–อินเดีย<br />

(Maritime Security) ระหวาง ๒๖ – ๒๙ <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๕๘<br />

ณ กรุงนิวเดลี สาธารณรัฐอินเดีย<br />

• ปฏิบั<strong>ต</strong>ิราชการทะเลใน<strong>ต</strong>ําแหนงผูบังคับหนวยเรือฝก<br />

นายทหารนักเรียนหลักสู<strong>ต</strong>รประกาศนียบั<strong>ต</strong>รบัณฑิ<strong>ต</strong>ศึกษา<br />

สาขาวิทยาการทหารเรือ บนเรือหลวงกระบี่ในการฝก<br />

นายทหารนักเรียนหลักสู<strong>ต</strong>รประกาศนียบั<strong>ต</strong>รบัณฑิ<strong>ต</strong>ศึกษา<br />

สาขาวิทยาการทหารเรือ และรวมฝกในการฝก ASEAN<br />

Defense Ministers’ Meeting (ADMM-PLUS MS FTX),<br />

การฝก Triton Centenary 2013 – 1 (TC13 – 1) และ<br />

เขารวมการสวนสนามทางเรือนานาชา<strong>ต</strong>ิ International<br />

Fleet Review 2013 (IFR 2013) ระหวาง ๑ กันยายน<br />

ถึง ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ณ อาวซิดนีย เครือรัฐ<br />

ออสเ<strong>ต</strong>รเลีย<br />

งานมอบหมายที่สําคัญ<br />

• โฆษกกองทัพเรือ<br />

รางวัลที่ไดรับ<br />

• รางวัล “<strong>ต</strong>ราชั่งทองคํา” ประจําป ๒๕๕๘<br />

• รางวัล “สิงหทอง” ประจําป ๒๕๕๘<br />

• รางวัลเกียร<strong>ต</strong>ิยศจักรดาว ประจําป ๒๕๖๐<br />

(สาขาบริหารการปกครองและเสริมสรางความมั่นคงแหงชา<strong>ต</strong>ิ)<br />

เครื่องราชอิสริยาภรณ<br />

• มหาวชิรมงกุฎ<br />

• ประถมาภรณชางเผือก


พลอากาศเอก สุรศักดิ์ ทุงทอง<br />

รองปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

วัน/เดือน/ปเกิด ๒ กรกฎาคม ๒๕๐๑<br />

บิดา-มารดา นายถม ทุงทอง - นางปราณี ทุงทอง<br />

คูสมรส นางจารุณี ทุงทอง (จิ<strong>ต</strong>การุณ)<br />

บุ<strong>ต</strong>ร-ธิดา นายเมษย ทุงทอง<br />

นางสาวปณิ<strong>ต</strong>า ทุงทอง<br />

ที่อยูปจจุบัน ๑๗๑/๒๕๐๗ ถนนพหลโยธิน<br />

แขวงคลองถนน เข<strong>ต</strong>สายไหม<br />

กรุงเทพฯ ๑๐๒๒๐<br />

การศึกษา<br />

พ.ศ.๒๕๒๒ ระดับมัธยมศึกษา<strong>ต</strong>อนปลาย<br />

พ.ศ.๒๕๒๕<br />

โรงเรียนเ<strong>ต</strong>รียมทหาร รุนที่ ๑๘<br />

ปริญญา<strong>ต</strong>รีวิทยาศาส<strong>ต</strong>รบัณฑิ<strong>ต</strong> (ทอ.)<br />

โรงเรียนนายเรืออากาศ รุนที่ ๒๕<br />

พ.ศ.๒๕๓๒ หลักสู<strong>ต</strong>รนายทหารชั้นผูบังคับฝูง รุนที่ ๖๕<br />

พ.ศ.๒๕๓๖ หลักสู<strong>ต</strong>รเสนาธิการทหารอากาศ รุนที่ ๓๗<br />

พ.ศ.๒๕๕๑ หลักสู<strong>ต</strong>รการทัพอากาศ รุนที่ ๔๒<br />

พ.ศ.๒๕๕๕ หลักสู<strong>ต</strong>รปองกันราชอาณาจักร รุนที่ ๕๔<br />

<strong>ต</strong>ําแหนงสําคัญ<br />

พ.ศ.๒๕๓๘ ผูบังคับฝูงบิน ๑๐๑<br />

พ.ศ.๒๕๔๑ รองผูบังคับการกองบิน ๗<br />

พ.ศ.๒๕๔๒ รองผูอํานวยการกองการฝก<br />

กรมยุทธการทหารอากาศ<br />

พ.ศ.๒๕๔๓ รองผูบังคับการกองบิน ๒๓<br />

พ.ศ.๒๕๔๘ ผูบังคับการกองบิน ๒๓<br />

พ.ศ.๒๕๕๑ ผูชวยทู<strong>ต</strong>ทหารอากาศไทย/วอชิง<strong>ต</strong>ัน ดีซี<br />

พ.ศ.๒๕๕๔ รองเจากรมยุทธการทหารอากาศ<br />

พ.ศ.๒๕๕๕ เสนาธิการกรมควบคุมการปฏิบั<strong>ต</strong>ิทางอากาศ<br />

พ.ศ.๒๕๕๖ เจากรมขาวทหารอากาศ<br />

พ.ศ.๒๕๕๗<br />

พ.ศ.๒๕๕๙<br />

รองเสนาธิการทหารอากาศ<br />

- เสนาธิการทหารอากาศ<br />

- สมาชิกสภานิ<strong>ต</strong>ิบัญญั<strong>ต</strong>ิแหงชา<strong>ต</strong>ิ<br />

ราชการพิเศษ<br />

• ผูบังคับหนวยบินขับไลยุทธวิธี ๔ เครื่อง บข.๑๘ ข/ค<br />

หนวยบิน ๑๐๒๒<br />

• นักบินลองเครื่อง ฝูงบิน ๑๐๒<br />

• ครูการบิน ฝูงบิน ๗๑๑ กองบิน ๗๑<br />

• ผูบังคับหนวยบินขับไลยุทธวิธี ๔ เครื่อง<br />

เครื่องบินขับไลฝกแบบที่ ๑ หนวยบิน ๑๐๑๑<br />

• ราชองครักษเวร<br />

• นายทหารพิเศษประจํากรมนักเรียนนายเรืออากาศ<br />

รักษาพระองค<br />

• ฝายเสนาธิการระดับสูง ศูนยปฏิบั<strong>ต</strong>ิการกองทัพอากาศ<br />

เครื่องราชอิสริยาภรณ<br />

• มหาวชิรมงกุฎ<br />

• ประถมาภรณชางเผือก<br />

• ประถมาภรณมงกุฎไทย<br />

• ทวี<strong>ต</strong>ิยาภรณชางเผือก<br />

• เหรียญจักรมาลา<br />

• เหรียญพิทักษเสรีชนชั้น ๒ ประเภทที่ ๑<br />

• Legion Merit Degree Officer, USA<br />

ËÅÑ¡àÁ×ͧ µØÅÒ¤Á òõöð<br />

15


พลเอก ณัฐ อินทรเจริญ<br />

รองปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

วัน/เดือน/ปเกิด ๙ มกราคม ๒๕๐๔<br />

คูสมรส นางรมิดา อินทรเจริญ<br />

บุ<strong>ต</strong>ร-ธิดา นางสาวสุนัดดา อินทรเจริญ<br />

รอยโท ณบดี อินทรเจริญ<br />

นางสาวภัทรกร อินทรเจริญ<br />

ที่อยู ๓๒๖/๖ ถนนอํานวยสงคราม<br />

แขวงถนนนครไชยศรี<br />

เข<strong>ต</strong>ดุสิ<strong>ต</strong> กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐<br />

การศึกษา<br />

พ.ศ.๒๕๒๐ โรงเรียนหอวัง กรุงเทพฯ<br />

พ.ศ.๒๕๒๒ โรงเรียนเ<strong>ต</strong>รียมทหาร รุนที่ ๒๐<br />

พ.ศ.๒๕๒๗ โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา รุนที่ ๓๑<br />

พ.ศ.๒๕๒๙ หลักสู<strong>ต</strong>รชั้นนายรอย เหลาทหารราบ รุนที่ ๗๔<br />

พ.ศ.๒๕๓๓ หลักสู<strong>ต</strong>รชั้นนายพัน เหลาทหารราบ รุนที่ ๕๓<br />

พ.ศ.๒๕๓๖ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ชุดที่ ๗๑<br />

พ.ศ.๒๕๕๘ วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร รุนที่ ๕๘<br />

<strong>ต</strong>ําแหนงสําคัญ<br />

พ.ศ.๒๕๒๗ ผูบังคับหมวดปนเล็ก กองรอยอาวุธเบา<br />

กองพันทหารราบที่ ๑ กรมทหารราบที่ ๒<br />

รักษาพระองค<br />

พ.ศ.๒๕๓๑ ผูบังคับกองรอยอาวุธเบา กองพันทหารราบที่ ๑<br />

กรมทหารราบที่ ๒ รักษาพระองค<br />

พ.ศ.๒๕๓๔ นายทหารยุทธการและการฝก กองพันทหารราบที่ ๑<br />

กรมทหารราบที่ ๒ รักษาพระองค<br />

พ.ศ.๒๕๓๙ หัวหนาฝายการขาวกรอง กองพลทหารราบที่ ๒<br />

รักษาพระองค<br />

พ.ศ.๒๕๔๐ หัวหนาฝายยุทธการ กองพลทหารราบที่ ๒<br />

รักษาพระองค<br />

พ.ศ.๒๕๔๘ เสนาธิการมณฑลทหารบกที่ ๑๑<br />

พ.ศ.๒๕๔๙ ผูบังคับการจังหวัดทหารบกกาญจนบุรี<br />

พ.ศ.๒๕๕๒ หัวหนาสํานักงานรัฐมน<strong>ต</strong>รีวาการกระทรวงกลาโหม<br />

พ.ศ.๒๕๕๓ ผูบังคับการจังหวัดทหารบกกาญจนบุรี (อั<strong>ต</strong>ราพล<strong>ต</strong>รี)<br />

พ.ศ.๒๕๕๖ ผูบัญชาการมณฑลทหารบกที่ ๑๔<br />

พ.ศ.๒๕๕๗ ผูบัญชาการกองพลทหารราบที่ ๙<br />

พ.ศ.๒๕๕๘ รองแมทัพภาคที่ ๑<br />

พ.ศ.๒๕๕๙ รองเสนาธิการทหารบก<br />

พ.ศ.๒๕๖๐ - หัวหนานายทหารฝายเสนาธิการ<br />

- ประจํารัฐมน<strong>ต</strong>รีวาการกระทรวงกลาโหม<br />

- รองปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

ราชการพิเศษ<br />

พ.ศ.๒๕๕๓ นายทหารพิเศษ ประจํากรมทหารราบที่ ๒<br />

รักษาพระองค<br />

พ.ศ.๒๕๕๗ สมาชิกสภานิ<strong>ต</strong>ิบัญญั<strong>ต</strong>ิแหงชา<strong>ต</strong>ิ<br />

พ.ศ.๒๕๕๙ - ผูอํานวยการศูนยปรองดองสมานฉันท<br />

เพื่อการปฏิรูป<br />

- นายทหารพิเศษ ประจํากรมทหารราบที่ ๑<br />

มหาดเล็กรักษาพระองค<br />

พ.ศ.๒๕๖๐ - ที่ปรึกษากิ<strong>ต</strong><strong>ต</strong>ิมศักดิ์สมาคมกีฬาแบดมิน<strong>ต</strong>ัน<br />

แหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ<br />

- ที่ปรึกษาคณะกรรมการโอลิมปคแหงประเทศไทย<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ<br />

เครื่องราชอิสริยาภรณ<br />

• มหาวชิรมงกุฎ<br />

• ประถมาภรณชางเผือก<br />

• ประถมาภรณมงกุฎไทย<br />

• เหรียญพิทักษเสรีชน ชั้นที่ ๒ ประเภทที่ ๑<br />

• เหรียญราชการชายแดน<br />

• เหรียญจักรมาลา<br />

16


พลเอก สมศักดิ์ รุงสิ<strong>ต</strong>า<br />

ผูอํานวยการสํานักนโยบายและแผนกลาโหม<br />

วัน/เดือน/ปเกิด ๒๕ มีนาคม ๒๕๐๓<br />

คูสมรส พันเอกหญิง นิศารั<strong>ต</strong>น รุงสิ<strong>ต</strong>า<br />

บุ<strong>ต</strong>ร นายภิญญวัฒน รุงสิ<strong>ต</strong>า<br />

นายภูริวัฒน รุงสิ<strong>ต</strong>า<br />

การศึกษา<br />

• โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล<br />

• โรงเรียนเ<strong>ต</strong>รียมทหาร รุนที่ ๑๙<br />

• โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา รุนที่ ๓๐<br />

• Virginia Military Institute (VMI), สหรัฐอเมริกา<br />

• Virginia Polytechnic Institute and State University (Virginia Tech), สหรัฐอเมริกา<br />

• หลักสู<strong>ต</strong>รชั้นนายรอย/ชั้นนายพัน เหลาทหารสื่อสาร<br />

• หลักสู<strong>ต</strong>รหลักประจํา ชุดที่ ๗๐ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก<br />

• หลักสู<strong>ต</strong>รการปองกันราชอาณาจักร รุนที่ ๕๘<br />

<strong>ต</strong>ําแหนงสําคัญ<br />

• อาจารยสวนการศึกษา โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา<br />

• รองหัวหนาฝายขาว สถานีวิทยุโทรทัศนกองทัพบก<br />

• ผูอํานวยการกองเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมยุทธการทหารบก<br />

• ผูอํานวยการกองการฝกและศึกษา กรมยุทธการทหารบก<br />

• ผูอํานวยการกองการจัด กรมยุทธการทหารบก<br />

• ผูอํานวยการกองนโยบายและแผน กรมยุทธการทหารบก<br />

• ผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและยุทธศาส<strong>ต</strong>ร สํานักนโยบายและแผนกลาโหม<br />

• ผูชวยผูอํานวยการสํานักนโยบายและแผนกลาโหม<br />

• รองผูอํานวยการสํานักนโยบายและแผนกลาโหม<br />

เครื่องราชอิสริยาภรณ<br />

• มหาวชิรมงกุฎ<br />

• ประถมาภรณชางเผือก<br />

ËÅÑ¡àÁ×ͧ µØÅÒ¤Á òõöð<br />

17


พลเอก ชัยพฤกษ พูนสวัสดิ์<br />

เจากรมเสมียน<strong>ต</strong>รา<br />

วัน/เดือน/ปเกิด ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๐๓<br />

บิดา-มารดา พันเอก ชลอ - นางพิศมร พูนสวัสดิ์<br />

คูสมรส นางนวลจันทร พูนสวัสดิ์<br />

ธิดา นางสาวชญานิษฐ พูนสวัสดิ์<br />

นางสาวธัญยชนก พูนสวัสดิ์<br />

ที่อยู ๖ ซอยอุดมสุข ๕๐ (สุขพิทักษ) ถนนสุขุมวิท ๑๐๓<br />

แขวงบางจาก เข<strong>ต</strong>บางนา กรุงเทพฯ ๑๐๒๖๐<br />

การศึกษา<br />

• โรงเรียนสมถวิล<br />

• โรงเรียนมัธยมสาธิ<strong>ต</strong>รามคําแหง รุนที่ ๑<br />

• โรงเรียนเ<strong>ต</strong>รียมทหาร รุนที่ ๒๐<br />

• โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา รุนที่ ๓๑<br />

• หลักสู<strong>ต</strong>รชั้นนายรอย เหลาทหารมา รุนที่ ๒/๒๕๒๙<br />

• หลักสู<strong>ต</strong>รชั้นนายพัน เหลาทหารมา รุนที่ ๑/๒๕๓๓<br />

• หลักสู<strong>ต</strong>รหลักประจํา ชุดที่ ๗๑ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก<br />

• หลักสู<strong>ต</strong>รการปองกันราชอาณาจักร<br />

วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร รุนที่ ๕๘<br />

• ปริญญารัฐประศาสนศาส<strong>ต</strong>รมหาบัณฑิ<strong>ต</strong> สาขานโยบาย<br />

สาธารณะ มหาวิทยาลัยบูรพา<br />

<strong>ต</strong>ําแหนงสําคัญ<br />

พ.ศ.๒๕๒๗ ผูบังคับหมวดรถถัง กองพันทหารมาที่ ๒๒<br />

พ.ศ.๒๕๓๒ รองผูบังคับกองรอย กองพันนักเรียนการรบ<br />

พิเศษ กรมนักเรียน โรงเรียนทหารมา<br />

ศูนยการทหารมา<br />

18<br />

พ.ศ.๒๕๓๓ นายทหารฝายสงกําลังบํารุง กรมทหารพรานที่ ๓๔<br />

พ.ศ.๒๕๓๘ หัวหนาแผนกกําลังพล กองกลาง ศูนยการอุ<strong>ต</strong>สาหกรรม<br />

ปองกันประเทศและพลังงานทหาร<br />

พ.ศ.๒๕๔๔ นักวิชาการพิเศษ ศูนยการอุ<strong>ต</strong>สาหกรรม<br />

ปองกันประเทศและพลังงานทหาร<br />

พ.ศ.๒๕๔๕ ผูอํานวยการกองสวัสดิการ สํานักงานสนับสนุน<br />

กรมเสมียน<strong>ต</strong>รา<br />

พ.ศ.๒๕๔๗ ผูอํานวยการกองบริการ สํานักงานสนับสนุน<br />

กรมเสมียน<strong>ต</strong>รา<br />

พ.ศ.๒๕๕๓ เลขานุการสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

พ.ศ.๒๕๕๖ ที่ปรึกษาสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

พ.ศ.๒๕๕๗ ผูชวยหัวหนานายทหารฝายเสนาธิการประจํา<br />

ปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

พ.ศ.๒๕๕๘<br />

ราชการพิเศษ<br />

พ.ศ.๒๕๓๑<br />

รองเจากรมเสมียน<strong>ต</strong>รา<br />

นายทหารยุทธการและการขาว ชุดควบคุม<br />

และประสานงานโครงการ ๕๑๓ สวนแยก ๑๘<br />

สวนโครงการ ๓๑๕ ศูนยปฏิบั<strong>ต</strong>ิการกองทัพบก<br />

พ.ศ.๒๕๔๘ ราชองครักษเวร<br />

พ.ศ.๒๕๕๓ นายทหารพิเศษ ประจํากรมทหารมาที่ ๑<br />

รักษาพระองค<br />

พ.ศ.๒๕๕๘ นายทหารพิเศษ ประจํากรมทหารมาที่ ๔<br />

รักษาพระองค<br />

พ.ศ.๒๕๕๙ <strong>ต</strong>ุลาการศาลทหารสูงสุด<br />

เครื่องราชอิสริยาภรณ<br />

• มหาวชิรมงกุฎ<br />

• ประถมาภรณชางเผือก<br />

• เหรียญพิทักษเสรีชน ชั้น ๒ ประเภทที่ ๒<br />

• เหรียญราชการชายแดน<br />

• เหรียญจักรมาลา


พลเอก อนุชิ<strong>ต</strong> อินทรทั<strong>ต</strong><br />

ผูอํานวยการสํานักงบประมาณกลาโหม<br />

วัน/เดือน/ปเกิด ๒๒ สิงหาคม ๒๕๐๓<br />

บิดา-มารดา พันโท ลอม - นางกัลยา อินทรทั<strong>ต</strong><br />

คูสมรส นางทัศนียา อินทรทั<strong>ต</strong><br />

ธิดา นางสาวพิมแพร อินทรทั<strong>ต</strong><br />

นางสาวพิมดาว อินทรทั<strong>ต</strong><br />

ที่อยู ๘๖๒/๙ ซอย ๘ ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน<br />

เข<strong>ต</strong>พญาไท กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐<br />

การศึกษา<br />

• โรงเรียนเ<strong>ต</strong>รียมทหาร รุนที่ ๑๙<br />

• โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา รุนที่ ๓๐<br />

• หลักสู<strong>ต</strong>รชั้นนายรอย เหลาทหารราบ รุนที่ ๗๒<br />

ป พ.ศ.๒๕๒๙<br />

• หลักสู<strong>ต</strong>รชั้นนายพัน เหลาทหารราบ รุนที่ ๕๐<br />

ป พ.ศ.๒๕๓๒<br />

• หลักสู<strong>ต</strong>รหลักประจํา ชุดที่ ๗๐ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก<br />

• หลักสู<strong>ต</strong>รนายทหารปลัดบัญชีระดับผูบริหาร รุนที่ ๒<br />

• บริหารธุรกิจมหาบัณฑิ<strong>ต</strong> มหาวิทยาลัยเกษ<strong>ต</strong>รศาส<strong>ต</strong>ร<br />

พ.ศ.๒๕๔๐<br />

• วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร รุนที่ ๕๗<br />

• หลักสู<strong>ต</strong>รนักบริหารการเงินการคลังภาครัฐระดับสูง รุนที่ ๓<br />

<strong>ต</strong>ําแหนงสําคัญ<br />

พ.ศ.๒๕๓๐ ผูบังคับกองรอยอาวุธเบา กองพันทหารราบที่ ๓<br />

กรมทหารราบที่ ๒๕<br />

พ.ศ.๒๕๓๗ หัวหนาควบคุมภายใน กองปลัดบัญชี<br />

กองทัพภาคที่ ๑<br />

พ.ศ.๒๕๔๖ ผูอํานวยการกองบริหารทรัพยากร<br />

สํานักงบประมาณกลาโหม<br />

พ.ศ.๒๕๔๙ ผูอํานวยการกองงบประมาณ<br />

สํานักงบประมาณกลาโหม<br />

พ.ศ.๒๕๕๓ ผูชํานาญการ สํานักงบประมาณกลาโหม<br />

พ.ศ.๒๕๕๔ ผูชวยผูอํานวยการ สํานักงบประมาณกลาโหม<br />

พ.ศ.๒๕๕๖ รองผูอํานวยการ สํานักงบประมาณกลาโหม<br />

พ.ศ.๒๕๕๙ เจากรมการเงินกลาโหม<br />

พ.ศ.๒๕๖๐ ผูอํานวยการสํานักงบประมาณกลาโหม<br />

ราชการพิเศษ<br />

พ.ศ.๒๕๕๔ นายทหารพิเศษ ประจํากรมนักเรียนนายรอย<br />

รักษาพระองค โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา<br />

พ.ศ.๒๕๕๕ <strong>ต</strong>ุลาการศาลทหารกรุงเทพ<br />

พ.ศ.๒๕๕๗ <strong>ต</strong>ุลาการศาลทหารกลาง<br />

พ.ศ.๒๕๕๙ <strong>ต</strong>ุลาการศาลทหารสูงสุด<br />

พ.ศ.๒๕๖๐ ราชองครักษเวร<br />

เครื่องราชอิสริยาภรณ<br />

• มหาวชิรมงกุฎ<br />

• ประถมาภรณชางเผือก<br />

• เหรียญพิทักษเสรีชน ชั้นที่ ๒ ประเภทที่ ๒<br />

ËÅÑ¡àÁ×ͧ µØÅÒ¤Á òõöð<br />

19


พลเอก นภน<strong>ต</strong> สรางสมวงษ<br />

ผูอํานวยการศูนยการอุ<strong>ต</strong>สาหกรรม<br />

ปองกันประเทศและพลังงานทหาร<br />

วัน/เดือน/ปเกิด ๕ มกราคม ๒๕๐๓<br />

การศึกษา<br />

• โรงเรียนเซ็น<strong>ต</strong>คาเบรียล<br />

• โรงเรียนเ<strong>ต</strong>รียมทหาร รุนที่ ๒๐<br />

• โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา รุนที่ ๓๑<br />

• โรงเรียนเสนาธิการทหารบก หลักสู<strong>ต</strong>รหลักประจํา ชุดที่ ๗๑<br />

• มหาวิทยาลัยรามคําแหง หลักสู<strong>ต</strong>รรัฐศาส<strong>ต</strong>รมหาบัณฑิ<strong>ต</strong><br />

• วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการปองกันประเทศ รุนที่ ๕๖<br />

<strong>ต</strong>ําแหนงสําคัญ<br />

• ผูบังคับหมวดปนเล็ก กองรอยอาวุธเบา กองพันทหารราบที่ ๕ กรมทหารราบที่ ๒ รักษาพระองค<br />

• ผูบังคับกองรอยอาวุธเบา กองพันทหารราบที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๒ รักษาพระองค<br />

• ผูบังคับกองรอยอาวุธเบา กองพันที่ ๑ กรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค<br />

• อาจารยโรงเรียนเสนาธิการทหารบก สถาบันวิชาการทหารบกชั้นสูง<br />

• รองเสนาธิการ กรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค<br />

• เสนาธิการทหาร กรมทหารราบที่ ๒ รักษาพระองค<br />

• รองผูบังคับการ กรมทหารราบที่ ๒ รักษาพระองค<br />

• ผูอํานวยการกองขาว กองทัพนอยที่ ๑<br />

• นายทหารฝายเสนาธิการประจํารัฐมน<strong>ต</strong>รีวาการกระทรวงกลาโหม (อั<strong>ต</strong>รา พล<strong>ต</strong>รี)<br />

• หัวหนาสํานักงานรัฐมน<strong>ต</strong>รีวาการกระทรวงกลาโหม<br />

• เสนาธิการ กรมการอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมทหาร ศูนยการอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมปองกันประเทศและพลังงานทหาร<br />

• รองผูบัญชาการ ศูนยอํานวยการสรางอาวุธ ศูนยการอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมปองกันประเทศและพลังงานทหาร<br />

• ผูบัญชาการศูนยอํานวยการสรางอาวุธ ศูนยการอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมปองกันประเทศและพลังงานทหาร<br />

ราชการพิเศษ<br />

• ปฏิบั<strong>ต</strong>ิหนาที่ราชการ<strong>ต</strong>ามแผนปองกันประเทศของกองทัพบก<br />

• ปฏิบั<strong>ต</strong>ิหนาที่ราชการ<strong>ต</strong>ามแผนปองกันประเทศของกองทัพบก ๓ จังหวัดชายแดนภาคใ<strong>ต</strong><br />

• นายทหารพิเศษประจํากรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค และกรมทหารราบที่ ๒ รักษาพระองค<br />

เครื่องราชอิสริยาภรณ<br />

• มหาวชิรมงกุฎ<br />

• ประถมาภรณชางเผือก<br />

• ประถมาภรณมงกุฎไทย<br />

20


พลเรือเอก ปรีชาญ จามเจริญ<br />

เจากรมพระธรรมนูญ<br />

- หลักสู<strong>ต</strong>รนักบริหารยุทธศาส<strong>ต</strong>รการปองกันและปราบปราม<br />

การทุจริ<strong>ต</strong>ระดับสูง (รุนที่ ๔) สถาบันการปองกัน<br />

และปราบปรามการทุจริ<strong>ต</strong> (นยปส. รุนที่ ๔)<br />

- หลักสู<strong>ต</strong>รนิ<strong>ต</strong>ิธรรมเพื่อประชาธิปไ<strong>ต</strong>ย ศาลรัฐธรรมนูญ<br />

(นปธ. รุนที่ ๔)<br />

<strong>ต</strong>ําแหนงสําคัญ<br />

• นายทหารพระธรรมนูญ แผนกสืบสวนสอบสวน<br />

กองพระธรรมนูญ กรมสารบรรณทหารเรือ<br />

• นายทหารพระธรรมนูญ กองการฝก กองเรือยุทธการ<br />

• นายทหารพระธรรมนูญ แผนกพระธรรมนูญ<br />

กองกิจการพลเรือน ฐานทัพเรือสั<strong>ต</strong>หีบ<br />

• นายทหารพระธรรมนูญ กองกําลังพลและธุรการ<br />

วัน/เดือน/ปเกิด ๒๕ ธันวาคม ๒๕๐๑<br />

บิดา–มารดา นายทั่ง – นางแจว จามเจริญ<br />

คูสมรส นางดุลยลัคน จามเจริญ<br />

ที่อยู ๑๒๔/๑๐๖ หมูที่ ๓ ถนนรั<strong>ต</strong>นาธิเบศร<br />

<strong>ต</strong>ําบลไทรมา อําเภอเมืองนนทบุรี<br />

จังหวัดนนทบุรี<br />

การศึกษา<br />

• ปริญญา<strong>ต</strong>รี นิ<strong>ต</strong>ิศาส<strong>ต</strong>รบัณฑิ<strong>ต</strong> มหาวิทยาลัยรามคําแหง<br />

• ปริญญาโท ศิลปศาส<strong>ต</strong>รมหาบัณฑิ<strong>ต</strong> มหาวิทยาลัยรามคําแหง<br />

• หลักสู<strong>ต</strong>รทหาร<br />

- นักเรียนชางกรมอูทหารเรือ รุนที่ ๒๕๑๗<br />

- หลักสู<strong>ต</strong>รนายทหารสัญญาบั<strong>ต</strong>รชั้น<strong>ต</strong>น รุนที่ ๑๔<br />

โรงเรียนเหลาทหารพระธรรมนูญ<br />

- หลักสู<strong>ต</strong>รสงทางอากาศ นาวิกโยธิน รุนที่ ๑๔<br />

โรงเรียนทหารนาวิกโยธิน<br />

- หลักสู<strong>ต</strong>รเสนาธิการทหารเรือ รุนที่ ๕๔<br />

โรงเรียนเสนาธิการทหารเรือ<br />

- หลักสู<strong>ต</strong>ร<strong>ต</strong>ุลาการพระธรรมนูญ รุนที่ ๗<br />

โรงเรียนเหลาทหารพระธรรมนูญ<br />

- หลักสู<strong>ต</strong>รวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร รุนที่ ๕๗<br />

สถาบันวิชาการปองกันประเทศ<br />

• หลักสู<strong>ต</strong>รอื่นๆ<br />

- หลักสู<strong>ต</strong>รสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการศึกษา<br />

สถาบันพัฒนาขาราชการกรม<strong>ต</strong>ํารวจ (รุนที่ ๖๒)<br />

กรมการขนสงทหารเรือ<br />

• นายทหารพระธรรมนูญ กรมสารวั<strong>ต</strong>รทหารเรือ<br />

• นายทหารกิจการพลเรือน กองกิจการพลเรือน<br />

กองบังคับการกองเรือภาค ๒<br />

• นายทหารกิจการพลเรือน กองกิจการพลเรือน กองเรือภาค ๓<br />

• รองผูอํานวยการกองกิจการพลเรือน กองเรือภาค ๓<br />

• ฝายเสนาธิการประจํารองปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

• ผูอํานวยการกองสงเคราะหทางกฎหมาย กรมพระธรรมนูญ<br />

• รองผูบัญชาการโรงเรียนเหลาทหารพระธรรมนูญ<br />

กรมพระธรรมนูญ<br />

• อัยการฝายอุทธรณและฎีกา สํานักอัยการทหาร<br />

กรมพระธรรมนูญ<br />

• <strong>ต</strong>ุลาการพระธรรมนูญ ประจําสํานัก<strong>ต</strong>ุลาการทหาร<br />

• <strong>ต</strong>ุลาการพระธรรมนูญ หัวหนาศาลทหารกรุงเทพ<br />

• <strong>ต</strong>ุลาการพระธรรมนูญ หัวหนาศาลทหารกลาง<br />

• หัวหนาสํานัก<strong>ต</strong>ุลาการทหาร และ<strong>ต</strong>ุลาการพระธรรมนูญ<br />

หัวหนาศาลทหารสูงสุด<br />

ราชการพิเศษ<br />

• นายทหารพิเศษ ประจํากรมนักเรียนนายเรือรักษาพระองคฯ<br />

• ราชองครักษเวร<br />

เครื่องราชอิสริยาภรณ<br />

• มหาวชิรมงกุฎ<br />

• ประถมาภรณชางเผือก<br />

• เหรียญพิทักษเสรีชน<br />

• เหรียญราชการชายแดน<br />

ËÅÑ¡àÁ×ͧ µØÅÒ¤Á òõöð<br />

21


พลเอก สิงหศักดิ์ อุทัยมงคล<br />

จเรทหารทั่วไป<br />

วัน/เดือน/ปเกิด ๑๖ <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๐๐<br />

บิดา–มารดา พันเอก สมบูรณ - นางละลิ<strong>ต</strong> อุทัยมงคล<br />

คูสมรส นางณัฏฐพร อุทัยมงคล<br />

(ชื่อสกุลเดิม กระเทศ)<br />

การศึกษา<br />

• โรงเรียนสาธิ<strong>ต</strong>วิทยาลัยครูเทพส<strong>ต</strong>รี จังหวัดลพบุรี<br />

• โรงเรียนเ<strong>ต</strong>รียมทหาร รุนที่ ๑๖<br />

• โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา รุนที่ ๒๗<br />

• หลักสู<strong>ต</strong>รชั้นนายรอย เหลาทหารราบ รุนที่ ๖๓<br />

• หลักสู<strong>ต</strong>รชั้นนายพัน เหลาทหารราบ รุนที่ ๔๕<br />

• หลักสู<strong>ต</strong>รชั้นนายพัน Ft.Benning, USA<br />

• หลักสู<strong>ต</strong>รเสนาธิการทหารบก หลักสู<strong>ต</strong>รหลักประจํา<br />

ชุดที่ ๖๗<br />

• วิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุนที่ ๔๔<br />

• วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร รุนที่ ๕๔<br />

<strong>ต</strong>ําแหนงสําคัญ<br />

• ผูบังคับหมวดลาด<strong>ต</strong>ระเวน กองรอยสนับสนุนการรบ<br />

กองพันทหารราบที่ ๒ กรมทหารราบที่ ๓๑<br />

รักษาพระองค<br />

• ผูบังคับหมวดปนเล็ก กองรอยอาวุธเบา กองพันทหารราบ<br />

ที่ ๒ กรมทหารราบที่ ๓๑ รักษาพระองค<br />

• รองผูบังคับกองรอยอาวุธเบา กองพันทหารราบที่ ๒<br />

กรมทหารราบที่ ๓๑ รักษาพระองค<br />

• ผูชวยฝายยุทธการ กองพันทหารราบที่ ๒ กรมทหารราบ<br />

ที่ ๓๑ รักษาพระองค<br />

• ผูบังคับกองรอยอาวุธเบา กองพันทหารราบที่ ๒<br />

กรมทหารราบที่ ๓๑ รักษาพระองค<br />

• หัวหนาฝายยุทธการ กองพันทหารราบที่ ๒<br />

กรมทหารราบที่ ๓๑ รักษาพระองค<br />

• รองหัวหนากองสงกําลังบํารุง มณฑลทหารบกที่ ๑๔<br />

• นายทหารกิจการพลเรือน กองกําลังทหารพราน<br />

กองทัพภาคที่ ๑<br />

• รองผูอํานวยการกองสงกําลังบํารุง กองทัพภาคที่ ๑<br />

• รองผูอํานวยการกองกําลังพล กองทัพภาคที่ ๑<br />

• ผูอํานวยการกองขาว กองทัพนอยที่ ๑<br />

• ผูอํานวยการกองกําลังพล กองทัพนอยที่ ๑<br />

• ผูอํานวยการกองยุทธการ กองทัพนอยที่ ๑<br />

• รองเสนาธิการ กองทัพนอยที่ ๑<br />

• รองผูบัญชาการมณฑลทหารบกที่ ๑๒<br />

• รองผูบัญชาการมณฑลทหารบกที่ ๑๑<br />

• เสนาธิการกองทัพนอยที่ ๑<br />

• ผูบัญชาการมณฑลทหารบกที่ ๑๑<br />

• รองแมทัพภาคที่ ๑<br />

• ที่ปรึกษากองทัพบก<br />

• ผูทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก<br />

• จเรทหารทั่วไป<br />

ราชการพิเศษ<br />

• ปฏิบั<strong>ต</strong>ิหนาที่ราชการ<strong>ต</strong>ามแผนปองกันประเทศ<br />

ของกองทัพบก<br />

• ปฏิบั<strong>ต</strong>ิราชการปราบปรามผูกอการรายคอมมิวนิส<strong>ต</strong><br />

• ปฏิบั<strong>ต</strong>ิราชการในสายงานกองอํานวยการรักษา<br />

ความมั่นคงภายในประเทศ<br />

• ปฏิบั<strong>ต</strong>ิราชการ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใ<strong>ต</strong><br />

• ราชองครักษเวร<br />

เครื่องราชอิสริยาภรณ<br />

• มหาวชิรมงกุฎ<br />

• ประถมาภรณชางเผือก<br />

• ประถมาภรณมงกุฎไทย<br />

22


พลเอก สัมพันธ ธัญญพืช<br />

ผูอํานวยการองคการสงเคราะหทหารผานศึก<br />

วัน/เดือน/ปเกิด ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๐๑<br />

การศึกษา<br />

• มัธยมศึกษา<strong>ต</strong>อน<strong>ต</strong>น โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล<br />

• มัธยมศึกษา<strong>ต</strong>อนปลาย โรงเรียนเ<strong>ต</strong>รียมทหาร รุนที่ ๑๗<br />

• ปริญญา<strong>ต</strong>รี โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา รุนที่ ๒๘<br />

• ปริญญาโท รัฐศาส<strong>ต</strong>รมหาบัณฑิ<strong>ต</strong> มหาวิทยาลัยธรรมศาส<strong>ต</strong>ร<br />

การศึกษาทางทหาร<br />

• หลักสู<strong>ต</strong>รเสนาธิการทหาร โรงเรียนเสนาธิการทหารบก<br />

• หลักสู<strong>ต</strong>รวิทยาลัยเสนาธิการทหาร<br />

• วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร<br />

ประวั<strong>ต</strong>ิการทํางาน<br />

• นายทหารปฏิบั<strong>ต</strong>ิการประจํากรมขาวทหารบก<br />

• รองผูชวยทู<strong>ต</strong>ทหารบกไทยประจํากรุงปกกิ่ง<br />

• ผูชวยทู<strong>ต</strong>ทหารบกไทยประจํากรุงฮานอยและรักษาการผูชวยทู<strong>ต</strong>ทหารไทยประจํากรุงฮานอย<br />

ประเทศเวียดนาม<br />

• ผูอํานวยการสํานักนโยบายวิทยาศาส<strong>ต</strong>รและเทคโนโลยีปองกันประเทศ<br />

กรมวิทยาศาส<strong>ต</strong>รและเทคโนโลยีกลาโหม<br />

• เจากรมการสรรพกําลังกลาโหม<br />

• ผูทรงคุณวุฒิพิเศษ สํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

เครื่องราชอิสริยาภรณ<br />

• มหาวชิรมงกุฎ<br />

• ประถมาภรณชางเผือก<br />

• ประถมาภรณมงกุฎไทย<br />

ËÅÑ¡àÁ×ͧ µØÅÒ¤Á òõöð<br />

23


นโยบายรัฐมน<strong>ต</strong>รีว่าการกระทรวงกลาโหม<br />

นโยบายเร่งด่วนประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑<br />

(๑ <strong>ต</strong>.ค.๖๐ - ๓๐ ก.ย.๖๑)<br />

๑. ให้ความสาคัญและความเร่งด่วนสูงสุดในการพิทักษ์รักษาและเทิดทูนสถาบันพระมหากษั<strong>ต</strong>ริย์ด้วยการมีระบบถวาย<br />

ความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ ป้องกันและปราบปรามการกระทาที่ล่วงละเมิดพระบรมเดชานุภาพ โดยร่วมมือกับ<br />

ทุกภาคส่วน ขยายผลและเผยแพร่หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการพัฒนา<strong>ต</strong>ามแนวทางพระราชดาริของพระบาทสมเด็จ<br />

พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิ<strong>ต</strong>ร สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิ<strong>ต</strong>ิ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ ๙ ให้กว้างขวาง<br />

ทั้งในระดับประเทศและในระดับสากล เพื่อให้สถาบันพระมหากษั<strong>ต</strong>ริย์คงเป็นศูนย์รวมจิ<strong>ต</strong>ใจที่มั่นคงและยั่งยืนของประชาชน<br />

ชาวไทย และเป็นสถาบันหลักที่สาคัญยิ่ง<strong>ต</strong>ลอดไป รวมทั้งดาเนินการ<strong>ต</strong>ามพระราโชบายของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว<br />

มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ร่วมกันจัดโครงการจิ<strong>ต</strong>อาสา<br />

พระราชทาน<strong>ต</strong>ามแนวพระราชดาริ เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียร<strong>ต</strong>ิและแสดงความสานึกในพระมหากรุณาธิคุณ<br />

ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิ<strong>ต</strong>ร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิ<strong>ต</strong>ิ์ พระบรมราชินีนาถ<br />

ในรัชกาลที่ ๙ ที่ทรงประกอบพระราชกรณียกิจนานัปการ เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน<br />

๒. ดาเนินการปฏิรูปโครงสร้างและระบบงานให้มีความพร้อมในการปฏิบั<strong>ต</strong>ิภารกิจ<strong>ต</strong>ามแผนแม่บท การปฏิรูปการบริหาร<br />

จัดการและการปรับปรุงโครงสร้างกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๙ รวมทั้งเสริมสร้างความพร้อมรบด้านยุทโธปกรณ์<br />

<strong>ต</strong>ามแผนพัฒนาขีดความสามารถกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๙ เพื่อมุ่งสู่การเป็นกองทัพชั้นนา มีบทบาทสาคัญ<br />

ในด้านความมั่นคงของรัฐ และส่งเสริมความมั่นคงของภูมิภาค ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาส<strong>ต</strong>ร์การป้องกันประเทศ กระทรวง<br />

กลาโหม พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ และร่างยุทธศาส<strong>ต</strong>ร์ชา<strong>ต</strong>ิระยะ ๒๐ ปี โดยให้ความสาคัญกับการดาเนินการในเรื่องที่มีความ<br />

เร่งด่วน ดังนี้<br />

24<br />

สำนักงำนนโยบำยและยุทธศำส<strong>ต</strong>ร์ สำนักนโยบำยและแผนกลำโหม


๒.๑ พิจารณาปรับลดกาลังทหารประจาการให้เป็นไป<strong>ต</strong>ามเป้าหมายที่กาหนด พร้อมทั้งทดแทนด้วยการบรรจุ<br />

ข้าราชการพลเรือนกลาโหมที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน และนากาลังพลสารองมาบรรจุเข้ารับราชการเป็นการชั่วคราว<br />

<strong>ต</strong>ั้งแ<strong>ต</strong>่ยามปก<strong>ต</strong>ิ โดยดาเนินการในหน่วยนาร่องให้มีผลอย่างเป็นรูปธรรมในปี พ.ศ.๒๕๖๑ รวมทั้งนาเทคโนโลยีที่ทันสมัย<br />

มาชดเชยจานวนกาลังพลที่ลดลง เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบั<strong>ต</strong>ิภารกิจที่สูงขึ้น<br />

๒.๒ พัฒนาระบบราชการของกระทรวงกลาโหม โดยมุ่งเน้นการบริหารทรัพยากรให้เกิดประสิทธิภาพและ<br />

ประสิทธิผลสูงสุด ด้วยการนานวั<strong>ต</strong>กรรมที่มีแนวคิด วิธีการ และรูปแบบใหม่ๆ มาใช้ในการบริหารจัดการองค์กร พัฒนาความ<br />

ร่วมมือจากประชาชนให้พร้อมสนับสนุนภารกิจทางทหารได้<strong>ต</strong>ั้งแ<strong>ต</strong>่ในภาวะปก<strong>ต</strong>ิ พัฒนาระบบกาลังสารอง และระบบการ<br />

ระดมสรรพกาลังเพื่อการทหาร ให้สอดคล้องกับความจาเป็นทางทหาร <strong>ต</strong>ลอดจนให้ความสาคัญกับการควบคุมยุทธภัณฑ์<br />

และการสารองอาวุธยุทโธปกรณ์<strong>ต</strong>ามความเหมาะสม<br />

๒.๓ ให้ความสาคัญกับการกาหนดมา<strong>ต</strong>รการกระ<strong>ต</strong>ุ้นการทางานของกาลังพลที่ชัดเจน ประเมินผลการปฏิบั<strong>ต</strong>ิงาน<br />

ที่เชื่อถือได้และเป็นธรรม เพื่อนาไปสู่การ<strong>ต</strong>อบแทนผลงาน<strong>ต</strong>ามขีดความสามารถของกาลังพลอย่างแท้จริง สร้างแรงจูงใจและ<br />

ความภาคภูมิใจของข้าราชการทุกประเภทในการปฏิบั<strong>ต</strong>ิราชการ พัฒนาระบบการศึกษาและสถาบันการศึกษาในสังกัด<br />

กระทรวงกลาโหมให้มีคุณภาพและทันสมัย<br />

๒.๔ พัฒนาสวัสดิการและคุณภาพชีวิ<strong>ต</strong>กาลังพลและครอบครัว ด้วยการสร้างขวัญและกาลังใจในการปฏิบั<strong>ต</strong>ิราชการ<br />

โดยให้ความสาคัญในการดูแลสิทธิกาลังพล สถานที่ปฏิบั<strong>ต</strong>ิงาน บ้านพักอาศัย สิ่งอานวยความสะดวกที่จาเป็น และสิทธิอื่นๆ<br />

ที่พึงได้รับ<br />

๒.๕ ส่งเสริมงานด้านการวิจัยพัฒนา และอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมป้องกันประเทศ โดยดาเนินการ<strong>ต</strong>ามยุทธศาส<strong>ต</strong>ร์การพัฒนา<br />

วิทยาศาส<strong>ต</strong>ร์ เทคโนโลยี อุ<strong>ต</strong>สาหกรรมป้องกันประเทศ กระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ มุ่งเน้นการสร้างความ<br />

ร่วมมือกับภาคส่วน<strong>ต</strong>่างๆ ทั้งภายในประเทศและ<strong>ต</strong>่างประเทศ เพื่อให้สามารถขยายผลงานวิจัยและพัฒนาไปสู่การผลิ<strong>ต</strong>ใช้<br />

ในราชการและจาหน่ายในเชิงพาณิชย์เพื่อการพึ่งพา<strong>ต</strong>นเองอย่างยั่งยืน และลดการนาเข้าจาก<strong>ต</strong>่างประเทศ โดยให้นายุทโธปกรณ์<br />

ที่ได้จากการวิจัยและพัฒนามาใช้ในกองทัพอย่างเป็นรูปธรรม และเป็นส่วนหนึ่งของอั<strong>ต</strong>ราการจัดยุทโธปกรณ์ของหน่วย<br />

<strong>ต</strong>ลอดจนแสวงหาความร่วมมือกับทุกภาคส่วนทั้งภายในและภายนอกประเทศ<strong>ต</strong>ามนโยบาย Thailand 4.0 ของรัฐบาล<br />

๒.๖ เสริมสร้างขีดความสามารถในการปฏิบั<strong>ต</strong>ิการด้านไซเบอร์ทั้งในด้านโครงสร้างการจัดหน่วย กาลังพล<br />

และสิ่งอานวยความสะดวก รวมทั้งบูรณาการความร่วมมือในการปฏิบั<strong>ต</strong>ิการด้านไซเบอร์กับทุกภาคส่วนทั้งภายใน<br />

และ<strong>ต</strong>่างประเทศ เพื่อสร้างความรับรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภัยคุกคามด้านไซเบอร์ โดยให้ความสาคัญและความเร่งด่วนกับ<br />

การปฏิบั<strong>ต</strong>ิ<strong>ต</strong>ามมา<strong>ต</strong>รการการรักษาความปลอดภัยด้านไซเบอร์เป็นลาดับแรก<br />

๒.๗ บูรณาการการใช้กาลัง<strong>ต</strong>ามแนวชายแดนกับส่วนราชการ องค์กร ภาคเอกชน และภาคประชาชนที่เกี่ยวข้อง<br />

เพื่อให้สามารถเผชิญกับภัยคุกคามข้ามแดนที่มีความหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ <strong>ต</strong>ลอดจนสอดคล้องกับการเข้าสู่<br />

ประชาคมอาเซียน และสถานการณ์ด้านความมั่นคงในแ<strong>ต</strong>่ละพื้นที่โดยให้ความสาคัญกับเอกภาพในการควบคุมบังคับบัญชา<br />

และการบังคับใช้กฎหมายของทุกส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง<br />

๒.๘ ปรับปรุงการจัดกาลังทหารหลักและส่งมอบพื้นที่รับผิดชอบ<strong>ต</strong>าม Roadmap การแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดน<br />

ภาคใ<strong>ต</strong>้ ด้วยการประสานการปฏิบั<strong>ต</strong>ิกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และดาเนินการเปลี่ยนผ่านการส่งมอบพื้นที่ให้เป็นไปด้วยความ<br />

รอบคอบ โดยคานึงถึงความพร้อม ประสิทธิภาพ และความ<strong>ต</strong>่อเนื่องในการปฏิบั<strong>ต</strong>ิภารกิจเป็นสาคัญ เพื่อให้เกิดความปลอดภัย<br />

มิให้เกิดการสูญเสียในชีวิ<strong>ต</strong>และทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่รวมทั้ง<strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>ามความเคลื่อนไหวเครือข่ายและความเชื่อมโยง<br />

ของกลุ่มก่อการร้าย<strong>ต</strong>่างๆ เพื่อป้องกัน ระงับ ยับยั้ง มิให้เกิดการกระทาที่กระทบ<strong>ต</strong>่อความมั่นคงของประเทศ และภูมิภาค<br />

๒.๙ เ<strong>ต</strong>รียมกาลังพลและยุทโธปกรณ์ให้พร้อมสนับสนุนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดการความเสี่ยงจาก<br />

สาธารณภัยและการจัดการในภาวะฉุกเฉินให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ<strong>ต</strong>ามแผนบรรเทาสาธารณภัยกระทรวงกลาโหม<br />

๒๕๕๘ เพื่อลดความเสี่ยงและผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น<strong>ต</strong>่อชีวิ<strong>ต</strong>และทรัพย์สินของประชาชน รวมทั้งความเสียหาย<strong>ต</strong>่อหน่วย<br />

งานภาครัฐ ทั้งนี้ ให้มุ่งเน้นการดาเนินงาน<strong>ต</strong>ามแผนงาน/โครงการในเชิงป้องกัน โดยน้อมนาพระราชกระแสรับสั่งของสมเด็จ<br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

25


พระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รับใส่เกล้าใส่กระหม่อมในการสาน<strong>ต</strong>่อแนวพระราชดาริของพระบาท<br />

สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิ<strong>ต</strong>ร มาประยุก<strong>ต</strong>์ใช้ให้เหมาะสมกับสภาพปัญหาในแ<strong>ต</strong>่ละพื้นที่<br />

โดยประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนแก้ไขปัญหาอุทกภัยอย่างยั่งยืน เป็น<strong>ต</strong>้น<br />

๒.๑๐ สนับสนุนการช่วยเหลือประชาชน พร้อมกับดูแลปัญหาความเดือดร้อน การให้บริการ และการสร้าง<br />

สภาวะแวดล้อมที่ดีให้กับประชาชนภายใ<strong>ต</strong>้ศักยภาพที่มีอยู่ เช่น การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชา<strong>ต</strong>ิและป่าไม้ การขุดลอก<br />

คูคลองและเส้นทางระบายน้า การขุดเจาะน้าบาดาล การสร้างฝายชะลอน้าและแหล่งกักเก็บน้าเพื่อการอุปโภคและบริโภค<br />

ในห้วงฤดูแล้ง การสนับสนุนสิ่งอานวยความสะดวกสาหรับคนพิการและคนในสังคม การอานวยความสะดวก การเดินทาง<br />

ในห้วงเทศกาลสาคัญ การให้บริการการขนส่ง บริการทางแพทย์และสุขอนามัย และการจัดโครงการสินค้าราคาถูกและ<br />

อาหารราคาพิเศษ เพื่อลดค่าครองชีพของข้าราชการชั้นผู้น้อยและประชาชนทั่วไป เป็น<strong>ต</strong>้น โดยให้บูรณาการการทางาน<br />

ของภาคส่วน<strong>ต</strong>่างๆ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และไม่เกิดความซ้าซ้อน โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วม<strong>ต</strong>ามแนวทาง<br />

“ประชารัฐ” เพื่อให้ประชาชนสามารถใช้ชีวิ<strong>ต</strong>ประจาวันได้ด้วยความผาสุกและมีความปลอดภัย อันเป็นการเสริมสร้าง<br />

ความเชื่อมั่นของประชาชนที่มี<strong>ต</strong>่อกระทรวงกลาโหมและรัฐบาลให้เพิ่มมากขึ้น<br />

๒.๑๑ พัฒนากระบวนการยุ<strong>ต</strong>ิธรรมและกฎหมายทหารให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับการบริหาร<br />

ราชการยุคใหม่ ปรับปรุงและพัฒนากฎหมายซึ่งมีความล้าสมัยและเป็นอุปสรรค รวมทั้ง<strong>ต</strong>รวจสอบและเร่งรัดดาเนินการ<br />

ออกกฎหมายลาดับรอง กฎกระทรวง ระเบียบ คาสั่งที่เกี่ยวข้อง เพื่อรองรับกฎหมายที่มีผลบังคับใช้แล้วโดยเร็ว ศึกษาและ<br />

ใช้ประโยชน์จากกฎหมายที่ออกมาใหม่เพื่อให้เกื้อกูล <strong>ต</strong>่อการปฏิรูปกระทรวงกลาโหมทั้งในด้านการพัฒนาระบบการบริหาร<br />

จัดการ การปรับปรุงโครงสร้าง <strong>ต</strong>ลอดจนการสนับสนุนการปฏิบั<strong>ต</strong>ิภารกิจเพื่อการเผชิญกับภัยคุกคามที่ไม่ใช่ทางทหาร<br />

และการแก้ไขปัญหาที่สาคัญของชา<strong>ต</strong>ิ<br />

๓. ให้ทุกส่วนราชการดาเนินการ<strong>ต</strong>ามแผนปฏิบั<strong>ต</strong>ิการป้องกันและปราบปรามการทุจริ<strong>ต</strong>ประพฤ<strong>ต</strong>ิมิชอบ พ.ศ.๒๕๖๐ -<br />

๒๕๖๔ รวมทั้ง<strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>ามประเมินผลการดาเนินงาน พร้อมกับส่งเสริมให้มีการบริหารงานอย่างมีธรรมาภิบาล โปร่งใส มีการ<br />

วางมา<strong>ต</strong>รการทางกฎหมาย และบทลงโทษผู้กระทาความผิดอย่างชัดเจน เพื่อให้การแก้ไขปัญหาเกิดผลสัมฤทธิ์อย่างเป็น<br />

รูปธรรม <strong>ต</strong>ลอดจนปลูกจิ<strong>ต</strong>สานึกให้<strong>ต</strong>ระหนักถึงผลกระทบจากการทุจริ<strong>ต</strong>ประพฤ<strong>ต</strong>ิมิชอบ<strong>ต</strong>่อหน่วยงานและประเทศชา<strong>ต</strong>ิ<br />

เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการปฏิบั<strong>ต</strong>ิ<strong>ต</strong>ามนโยบายของรัฐบาล<strong>ต</strong>่อไป<br />

๔. บริหารจัดการและใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไป<strong>ต</strong>ามแผนปฏิบั<strong>ต</strong>ิงาน แผนการใช้จ่ายงบประมาณ และเป้าหมาย<strong>ต</strong>าม<br />

มา<strong>ต</strong>รการที่รัฐบาลกาหนด โดยให้นายุทธศาส<strong>ต</strong>ร์การจัดสรรงบประมาณของรัฐบาลมาใช้เป็นแนวทางในการจัดทาคาขอ<br />

งบประมาณรายจ่ายประจาปี พร้อมกับกาหนดเป้าหมายและวั<strong>ต</strong>ถุประสงค์การดาเนินงานให้มีความเชื่อมโยงสอดคล้องกับ<br />

ยุทธศาส<strong>ต</strong>ร์การป้องกันประเทศ กระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ร่างยุทธศาส<strong>ต</strong>ร์ชา<strong>ต</strong>ิระยะ ๒๐ ปี และสนับสนุน<br />

ซึ่งกันอย่างเป็นระบบ มีธรรมาภิบาลและความโปร่งใส<strong>ต</strong>รวจสอบได้ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด<strong>ต</strong>่อทางราชการ อันจะ<br />

ส่งผลให้ประชาชนเกิดความเชื่อมั่น และมั่นใจในการใช้จ่ายงบประมาณของกองทัพ<br />

๕. เสริมสร้างความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือด้านความมั่นคงและความร่วมมือทางทหารกับมิ<strong>ต</strong>รประเทศ<br />

ด้วยการใช้กลไกและเวทีระหว่างประเทศทั้งแบบทวิภาคีและพหุภาคีที่ได้จัด<strong>ต</strong>ั้งไว้แล้วในทุกระดับรวมทั้งพิจารณาขยายขอบเข<strong>ต</strong><br />

และพัฒนาความร่วมมือทางทหารไปยังมิ<strong>ต</strong>รประเทศที่ได้ดาเนินการอยู่แล้วและประเทศที่ยังไม่ได้ดาเนินการ ทั้งในด้านการ<br />

ฝึกศึกษา การแลกเปลี่ยนการเยือนในทุกระดับ การข่าวกรอง การปฏิบั<strong>ต</strong>ิการด้านไซเบอร์ การ<strong>ต</strong>่อ<strong>ต</strong>้านการก่อการร้าย และ<br />

ภัยคุกคามข้ามชา<strong>ต</strong>ิในลักษณะอื่นๆ โดยกาหนดความเร่งด่วนและความสาคัญให้สอดคล้องกับแนวทางการเสริมสร้างความ<br />

ร่วมมือด้านความมั่นคงกับมิ<strong>ต</strong>รประเทศของกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ <strong>ต</strong>ลอดจนจัดเ<strong>ต</strong>รียมกาลังให้มีความ<br />

พร้อมปฏิบั<strong>ต</strong>ิภารกิจการปฏิบั<strong>ต</strong>ิการเพื่อสัน<strong>ต</strong>ิภาพในกรอบขององค์การสหประชาชา<strong>ต</strong>ิ และการให้ความช่วยเหลือด้าน<br />

มนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบั<strong>ต</strong>ิแก่ประเทศสมาชิกอาเซียนและมิ<strong>ต</strong>รประเทศ<strong>ต</strong>ามนโยบายรัฐบาล รวมทั้งเผยแพร่<br />

ประชาสัมพันธ์ทางสื่อ<strong>ต</strong>ามโอกาสที่เหมาะสม เพื่อแสดงให้เห็นถึงบทบาทของกองทัพอันเป็นที่ยอมรับในระดับสากล<br />

26<br />

สำนักงำนนโยบำยและยุทธศำส<strong>ต</strong>ร์ สำนักนโยบำยและแผนกลำโหม


๖. สนับสนุนรัฐบาลในการดาเนินการที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ประชาคมอาเซียน ๒๐๒๕ แผนงาน ๑๐ ปี ประชาคม<br />

อาเซียน และการขับเคลื่อนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน โดยให้ความสาคัญกับการเสริมสร้างความสัมพันธ์<br />

และความร่วมมือระหว่างฝ่ายทหารอาเซียนและประเทศคู่เจรจา รวมทั้งดารงการมีบทบาทนาในการพัฒนาความร่วมมือ<br />

ระหว่างฝ่ายทหารอาเซียนและประเทศคู่เจรจา โดยเฉพาะความร่วมมือด้านความมั่นคงในกรอบการประชุมรัฐมน<strong>ต</strong>รี<br />

กลาโหมอาเซียน (ASEAN Defence Ministers’ Meeting : ADMM) การประชุมรัฐมน<strong>ต</strong>รีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมน<strong>ต</strong>รี<br />

กลาโหมประเทศคู่เจรจา (ASEAN Defence Ministers’ Meeting - Plus : ADMM - Plus) การประชุมอาเซียนว่าด้วย<br />

ความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum : ARF) <strong>ต</strong>ลอดจนให้<br />

ความสาคัญกับการประชุมและกิจกรรมความร่วมมือของคณะทางานผู้เชี่ยวชาญด้านการ<strong>ต</strong>่อ<strong>ต</strong>้านการก่อการร้ายในกรอบ<br />

การประชุมรัฐมน<strong>ต</strong>รีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมน<strong>ต</strong>รีกลาโหมประเทศคู่เจรจา (ADMM - Plus EWG on CT) การพัฒนา<br />

ศักยภาพศูนย์แพทย์ทหารอาเซียน (ASEAN Center of Military Medicine : ACMM) ให้มีขีดความสามารถในการ<br />

เป็นศูนย์กลางประสานความร่วมมือทั้งในด้านการอานวยการ ประสานงาน และการบริหารจัดการด้านการแพทย์<br />

ให้สามารถ<strong>ต</strong>อบสนอง<strong>ต</strong>่อการเผชิญภัยคุกคามในรูปแบบ<strong>ต</strong>่างๆ ของประเทศสมาชิกอาเซียนและประเทศนอกภูมิภาค<br />

ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ขยายความร่วมมือกับหน่วยงานฝ่ายพลเรือนและองค์การระหว่างประเทศ เพื่อเผชิญกับความ<br />

ท้าทายด้านความมั่นคงที่ไม่ใช่ภัยคุกคามทางทหารในภูมิภาค รวมทั้งเ<strong>ต</strong>รียมความพร้อมของกระทรวงกลาโหมในการเป็น<br />

เจ้าภาพจัดการประชุม ADMM, ADMM - Plus และการประชุมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในฐานะที่ประเทศไทยจะเป็นประธาน<br />

อาเซียน ในปี พ.ศ.๒๕๖๒<br />

๗. สนับสนุนรัฐบาลในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้งการจัด<strong>ต</strong>ั้งและการพัฒนาเข<strong>ต</strong>พัฒนาเศรษฐกิจ<br />

พิเศษ ด้วยการใช้การทู<strong>ต</strong>โดยฝ่ายทหารและกลไกความร่วมมือด้านความมั่นคงที่มีอยู่แล้วในทุกระดับ เพื่อสร้างความมั่นใจ<br />

และความไว้เนื้อเชื่อใจกับประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศสมาชิกอาเซียน และมิ<strong>ต</strong>รประเทศ ซึ่งจะช่วยสนับสนุนให้เกิดการ<br />

พัฒนาเศรษฐกิจ การค้า การลงทุนของภูมิภาค อันจะนาไปสู่ความมั่นคงปลอดภัยและอยู่ดีกินดีของประชาชน<br />

๘. สนับสนุนรัฐบาลและคณะรักษาความสงบแห่งชา<strong>ต</strong>ิในการบริหารราชการแผ่นดินเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ<br />

ในทุกมิ<strong>ต</strong>ิ โดยเฉพาะการรักษาความสงบเรียบร้อยของประเทศ การจัดระเบียบสังคม และควบคุมการกระทาผิดกฎหมาย<br />

และการเสริมสร้างความปรองดองสมานฉันท์ให้กับคนในชา<strong>ต</strong>ิให้มีความยั่งยืน<strong>ต</strong>่อเนื่อง เพื่อการวางรากฐานการปฏิรูป<br />

ประเทศ ด้วยการรวมกาลังทุกภาคส่วน ระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน เพื่อให้เกิดการพัฒนาประเทศอย่าง<br />

เป็นรูปธรรม มีความมั่งคั่ง และยั่งยืน ซึ่งจะ<strong>ต</strong>้องดาเนินงานควบคู่ไปกับ “การสร้างจิ<strong>ต</strong>สานึกทางสังคม” อย่าง<strong>ต</strong>่อเนื่อง<br />

๙. สนับสนุนส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในการดาเนินงานเรื่องที่เป็นวาระเร่งด่วนและการแก้ไขปัญหาของชา<strong>ต</strong>ิ<br />

การดาเนินการ<strong>ต</strong>ามพันธกรณีระหว่างประเทศ<strong>ต</strong>ามนโยบายรัฐบาล เช่น การแก้ไขปัญหาการทาการประมงผิดกฎหมาย<br />

ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (Illegal Unreported and Unregulated Fishing : IUU Fishing) และปัญหา<br />

องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (International Civil Aviation Organization : ICAO) เป็น<strong>ต</strong>้น เพื่อป้องกัน<br />

มิให้ส่งผลกระทบ<strong>ต</strong>่อความมั่นคงของประเทศในอนาค<strong>ต</strong><br />

๑๐. สนับสนุนการจัดทาข้อมูลบริการประชาชนแบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่ออานวยความสะดวกแก่ประชาชนในการ<br />

เข้าถึงข้อมูล และการแจ้งเ<strong>ต</strong>ือนข่าวสารทางอิเล็กทรอนิกส์ของส่วนราชการในกระทรวงกลาโหมให้ทันสมัย พร้อมทั้ง<br />

ปรับปรุงข้อมูลของส่วนราชการในสื่อสังคมออนไลน์ให้มีความทันสมัยอย่าง<strong>ต</strong>่อเนื่อง ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างการรับรู้และ<br />

ความเข้าใจแก่ประชาชนให้ได้รับทราบข้อมูลที่ถูก<strong>ต</strong>้อง โดยให้มีเนื้อหาที่มีความเชื่อมโยงกับยุทธศาส<strong>ต</strong>ร์ชา<strong>ต</strong>ิระยะ ๒๐ ปี<br />

และการปฏิรูปประเทศ โดยแสดงข้อมูลที่เข้าใจง่าย กระชับ ระบุประโยชน์ที่สังคมและประชาชนจะได้รับ เพื่อป้องกัน<br />

ไม่ให้เกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน ซึ่งอาจส่งผลกระทบ<strong>ต</strong>่อความมั่นคงและความสงบเรียบร้อยของสังคม <strong>ต</strong>ลอดจน<br />

ให้ความสาคัญกับการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารในการปฏิบั<strong>ต</strong>ิราชการ เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจ<br />

และสังคมดิจิทัล (Digital Economy) ของรัฐบาล<br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

27


พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

(<strong>ต</strong>อนจบ)<br />

พระผู้ทรงสร้าง “จิ<strong>ต</strong>วิญญาณ”<br />

แหงสยามรัฐ<br />

พระราชดําริในการปกครอง<br />

บานเมือง<br />

การปลูกฝงวินัยและ<br />

พจริยธรรมแกราษฎร<br />

ระบาทสมเด็จ<br />

พระมงกุฎเกล้าเจ้า<br />

อยู่หัว ทรงมีพระราช<br />

ดารัสและพระราชนิพนธ์จานวน<br />

มาก เพื่อปลูกฝังวินัยและ<br />

จริยธรรมให้แก่ราษฎร โดย<br />

เฉพาะเยาวชนของชา<strong>ต</strong>ิ ดังจะ<br />

เห็นได้จาก ข้อควรปฏิบั<strong>ต</strong>ิของ<br />

ลูกเสือปรากฏในพระราชดารัส<br />

ที่ยกมาแสดง <strong>ต</strong>่อไปนี้<br />

“...ยังมีข้อสาคัญอันควร<br />

สานักพัฒนาระบบราชการกลาโหม<br />

จดจาใส่ใจไว้อีกคือ เด็กก็ดี ผู้ใหญ่ก็ดี ย่อม<br />

<strong>ต</strong>้องมีธรรมเปนเครื่องยึดเหนี่ยวใจ จึงจะ<br />

มั่นคงเปนผู้ควรนับถือได้ข้อสาคัญมีอยู่<br />

๓ ข้อ ซึ่งเราได้กาหนดลงไว้แล้วให้เปน<br />

ข้อกากับใจผู้ที่เข้าเปนลูกเสือ แ<strong>ต</strong>่เราเห็น<br />

ว่านักเรียนทุกคนทั้งชายและหญิงควรจะ<br />

<strong>ต</strong>ั้งใจกาหนดจดจาไว้ในใจ<strong>ต</strong>ั้งแ<strong>ต</strong>่ในกาล<br />

บัดนี้ไปจน<strong>ต</strong>ลอดชีวิ<strong>ต</strong> ข้อสาคัญทั้ง ๓ นี้ คือ<br />

ข้อหนึ่ง <strong>ต</strong>้องมีความจงรักภักดี<br />

<strong>ต</strong>่อสมเด็จพระมหากษั<strong>ต</strong>ริย์ผู้เปนพระเจ้า<br />

อยู่หัวของ<strong>ต</strong>น เพราะท่านเปนผู้ทานุบารุง<br />

ประชาชนให้อยู่เย็นเปนสุขทั่วกัน<br />

ข้อสอง <strong>ต</strong>้องมีความรักชา<strong>ต</strong>ิบ้าน<br />

เมืองของ<strong>ต</strong>น เพราะ<strong>ต</strong>นเปนส่วนหนึ่งแห่ง<br />

ชา<strong>ต</strong>ิ ถ้าชา<strong>ต</strong>ิเสื่อมเสียยับเยินไปแล้ว เราทั้ง<br />

หลายก็<strong>ต</strong>้องพากันยับเยิน<strong>ต</strong>ามกันไปหมด<br />

และควรจะมีความเคารพนับถือพระศาสนา<br />

อันเปนเครื่องยึดเหนี่ยวให้เปน ผู้มีน้าใจ<br />

28<br />

Êํҹѡ¾Ñ²¹ÒÃкºÃÒª¡ÒáÅÒâËÁ


ให้มั่นอยู่ในทางดีทางงาม<br />

ข้อสาม <strong>ต</strong>้องมีความซื่อ<strong>ต</strong>รง<strong>ต</strong>่อพวก<br />

พ้องร่วมคณะกัน เช่น ร่วมโรงเรียนกัน<br />

เปน<strong>ต</strong>้น เพราะถ้าไม่ซื่อ<strong>ต</strong>รง<strong>ต</strong>่อกันแล้วก็<br />

จะอยู่เย็นเปนสุขด้วยกันไม่ได้...”<br />

พระราชดารัสนี้ เป็น<strong>ต</strong>ัวอย่างของ<br />

การสร้างความรู้สึก เป็นอันหนึ่งอัน<br />

เดียวกันของคนในชา<strong>ต</strong>ิ ที่กล่าวกันว่าทรง<br />

ได้รับอิทธิพลจากอังกฤษ และ<strong>ต</strong>่อมาเป็นที่<br />

รู้จักกันในอุดมการณ์เรื่อง ชา<strong>ต</strong>ิ-ศาสน์-<br />

กษั<strong>ต</strong>ริย์ เห็นได้ว่าทรงเน้น “ความซื่อ<strong>ต</strong>รง<br />

<strong>ต</strong>่อพวกพ้อง” อันนามาซึ่งความสามัคคี<br />

ของคนในชา<strong>ต</strong>ิ เพราะหากปราศจากความ<br />

ซื่อ<strong>ต</strong>รง<strong>ต</strong>่อกันแล้วก็จะนาไปสู่ความ<br />

หวาดระแวงและความริษยาซึ่งกันและกัน<br />

ทาให้เกิดความแ<strong>ต</strong>กแยกของคนในชา<strong>ต</strong>ิ<br />

และเป็นภัยอย่างยิ่ง<br />

การจัดการศึกษา<br />

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัว ทรง<strong>ต</strong>ระหนักถึงความสาคัญของ<br />

การศึกษาว่าเป็นพื้นฐานสาคัญในการพัฒนา<br />

ประเทศทุกด้าน<strong>ต</strong>ั้งแ<strong>ต</strong>่<strong>ต</strong>้นรัชกาล ดังจะเห็น<br />

ได้จากการประกาศ<strong>ต</strong>ั้งโครงการศึกษา<br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

พุทธศักราช ๒๔๕๖ เพื่อสนับสนุนให้เกิด<br />

การศึกษากว้างขวางยิ่งขึ้น ทั้งด้านข้อมูล<br />

ศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ทั้งฝ่าย<br />

สามัญศึกษาและวิชาชีพ โดยเฉพาะเรื่อง<br />

วิชาชีพ ทั้งนี้เพราะ<br />

“...<strong>ต</strong>ามที่ได้สังเก<strong>ต</strong>เห็นมาแล้ว<br />

ปรากฏว่านักเรียนผู้ชายที่ได้เข้าเล่าเรียน<br />

พอถึงชั้นมัธยมได้ครึ่งๆ กลางๆ ยังมิทันจะ<br />

จบก็พากันออกหาการทาในทางเสมียน<br />

เสียมาก โดยไม่รู้ว่าวิชาที่ได้เล่าเรียนเพียง<br />

เท่านั้นยังเปนแ<strong>ต</strong>่วิชากลางๆ และหาเปน<br />

วิชาเฉพาะสิ่ง เฉพาะอย่าง ที่จะทาให้มี<br />

ความสามารถในการทางาน<strong>ต</strong>่างๆ ให้ดีได้ไม่<br />

แม้การเสมียนเองนั้นก็ยังไม่ได้เล่าเรียน<br />

สักแ<strong>ต</strong>่ว่ารู้หนังสือแล้วก็อาสาไปทาการ<br />

เสมียน ซึ่งจะทาดีและถูก<strong>ต</strong>้องสมควรแก่<br />

หน้าที่เสมียนก็ยังไม่ได้ความนิยมอันทุ่มเท<br />

ไปในทางเดียวเช่นกัน เปนความเข้าใจผิด<br />

ของประชาชนจนผู้คนไปล้นเหลืออยู่ใน<br />

หน้าที่เสมียน ผู้ที่ไม่มีความสามารถพอ<br />

ก็ไม่มีใครรับไว้ใช้ คนเหล่านั้นย่อมขาด<br />

ประโยชน์โดยหาที่ทาการไม่ได้ ทั้งการหา<br />

29


เลี้ยงชีพของ<strong>ต</strong>ระกูลของ<strong>ต</strong>นเคยทามาแ<strong>ต</strong>่<br />

เก่าก่อนก็ละทิ้งเสีย จะกลับไปทา<strong>ต</strong>่อก็<strong>ต</strong>่อ<br />

ไม่<strong>ต</strong>ิด ...ความเข้าใจผิดอันนี้ย่อมเปน<br />

เครื่องพาไปในทางอันเสื่อมเสียประโยชน์<br />

แก่<strong>ต</strong>นเองอันหารู้สึกไม่ แท้จริงการทางาน<br />

ในบ้านเมืองที่จะพึงทาหาเลี้ยงชีพอันยัง<br />

ไม่มีผู้ทาเพียงพอนั้น ยังมีอย่างอื่นอยู่เปน<br />

อันมาก ใช่จะมีแ<strong>ต</strong>่งานเสมียนอย่างเดียว<br />

ยก<strong>ต</strong>ัวอย่างมาชี้ง่ายๆ ว่า เช่น การเพาะ<br />

ปลูกนั้นที่ดินก็ยังมีล้นเหลือกว่าที่คนจะท า<br />

ถ้าจะว่าข้างวิชา<strong>ต</strong>่างๆ ซึ่งเปนการพิเศษ<br />

เช่นวิชาการก่อสร้างเหย้าเรือนนั้น ก็ยัง<br />

<strong>ต</strong>้องการผู้รู้ที่จะทาอีกมาก การหั<strong>ต</strong>ถกรรม<br />

และพณิชยการ<strong>ต</strong>่างๆ ก็ยังมีเปนอเนก<br />

ประการ วิชา<strong>ต</strong>่างๆ อย่างที่ว่านี้ ถ้าใครรู้<br />

จริงทาจริงแล้วก็อาจมีลาภผล และให้<br />

เกิดสุขประโยชน์แก่<strong>ต</strong>นได้ทั้งนั้น...”<br />

การจัดการศึกษาในรัชสมัยดาเนิน<br />

ไปอย่างเป็นขั้น<strong>ต</strong>อน เริ่มจากการ<strong>ต</strong>ั้ง<br />

โรงเรียนโดยการ<strong>ต</strong>ั้งโรงเรียนวิชาชีพ<strong>ต</strong>่างๆ ขึ้น<br />

เช่น โรงเรียนเพาะช่าง โรงเรียน<br />

มหาดเล็กหลวง (โรงเรียนวชิราวุธ<br />

วิทยาลัย) โรงเรียนข้าราชการพลเรือน<br />

ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัว (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) สภานิ<strong>ต</strong>ิ<br />

ศึกษา (เน<strong>ต</strong>ิบัณฑิ<strong>ต</strong>ยสภา) <strong>ต</strong>ามเวลาอันควร<br />

เพื่อให้ผู้ที่มีพื้นฐานความรู้หนังสือมาแ<strong>ต</strong>่<br />

รัชกาลก่อน ได้พัฒนาความรู้ของ<strong>ต</strong>นเพื่อ<br />

ประโยชน์ในการประกอบอาชีพแขนง<br />

<strong>ต</strong>่างๆ <strong>ต</strong>่อไป<br />

<strong>ต</strong>่อจากนั้น ทรงวางพื้นฐานการ<br />

ศึกษาให้แก่เยาวชนไทยทั้งชายและหญิง<br />

โดยการประกาศพระราชบัญญั<strong>ต</strong>ิการ<br />

ประถมศึกษา เพื่อจัดให้มีการจัดการศึกษา<br />

ภาคบังคับทั่วประเทศ ได้มีการประกาศใช้<br />

พระราชบัญญั<strong>ต</strong>ินั ้นในเข<strong>ต</strong>การศึกษา<strong>ต</strong>่างๆ<br />

ทีละเข<strong>ต</strong><strong>ต</strong>ามความพร้อมของแ<strong>ต</strong>่ละพื้นที่<br />

อีกด้วย<br />

การอนุรักษ์และพัฒนาศิลป<br />

วัฒนธรรม<br />

นอกจากพระบาทสมเด็จ<br />

พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจะทรงนาศิลป<br />

วัฒนธรรม<strong>ต</strong>่างประเทศมาประยุก<strong>ต</strong>์ให้เป็น<br />

ไทยๆ เพื่อปลูกฝังแนวคิดเรื่องความรัก<br />

ชา<strong>ต</strong>ิ การเสียสละเพื่อชา<strong>ต</strong>ิ และการให้<br />

ความรู้เกี่ยวกับ<strong>ต</strong>านานชา<strong>ต</strong>ิแล้ว ยังคง<br />

ปลูกฝังความเป็น “ชา<strong>ต</strong>ิ” ผ่านการใช้<br />

สถาปั<strong>ต</strong>ยกรรมแบบไทยในสมัย<strong>ต</strong>่างๆ ดังจะ<br />

เห็นได้จากอาคารเรียนและหอประชุมของ<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงเรียน<br />

วชิราวุธวิทยาลัยในปัจจุบัน ที่ประยุก<strong>ต</strong>์<br />

การ<strong>ต</strong>กแ<strong>ต</strong>่งสถาปั<strong>ต</strong>ยกรรมไทยเข้ากับ<br />

โครงสร้างการก่อสร้างอาคารแบบ<strong>ต</strong>ะวัน<strong>ต</strong>ก<br />

การอนุรักษ์งานช่างไทยที่สาคัญ คือ การ<br />

เปิดโรงเรียนเพาะช่างเพื่อฟื้นฟูและ<br />

อนุรักษ์งานช่างไทย โปรดเกล้าฯ ให้<strong>ต</strong>ั้ง<br />

กรมศิลปากรขึ้นในกระทรวงและการฟื้นฟู<br />

“โขน” อันเป็นศิลปะการแสดงชั้นสูง<br />

ของไทยที่กาลังจะสูญ โดยเริ่มฝึกหัด<br />

นักเรียนมหาดเล็กหลวงก่อน<br />

การอนุรักษ์และพัฒนาศิลป<br />

วัฒนธรรมของชา<strong>ต</strong>ินี้ เป็นพระราช<br />

กรณียกิจที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัวทรงทานุบารุงด้วยพระราช<br />

ทรัพย์ส่วนพระองค์ได้ที่จัดสรรจากเงิน<br />

พระคลังข้างที่ มิได้ใช้เงินงบประมาณ<br />

30<br />

สำนักพัฒนำระบบรำชกำรกลำโหม


แผ่นดิน เพื่อการพัฒนาประเทศ<br />

ในด้าน<strong>ต</strong>่างๆ<br />

บทสรุป<br />

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระเจ้าแผ่นดินไทย<br />

พระองค์แรกที่ทรงได้รับการศึกษาแบบ<br />

อังกฤษ ณ ประเทศอังกฤษ <strong>ต</strong>ั้งแ<strong>ต</strong>่เบื้อง<strong>ต</strong>้น<br />

จนกระทั่งถึงระดับอุดมศึกษา ในกิจการ<br />

ด้านทหาร และด้านพลเรือน ทั้งภาค<br />

ทฤษฎีในการบริหารราชการแผ่นดินใน<br />

หลายประเทศ ทั้งโลกยุคโบราณอย่าง<br />

อียิป<strong>ต</strong>์ โลกเก่าในทวีปยุโรป โลกใหม่ที่<br />

สหรัฐอเมริกา และโลกเอเชีย ที่มีความ<br />

ก้าวหน้าทัดเทียมชา<strong>ต</strong>ิ<strong>ต</strong>ะวัน<strong>ต</strong>กที่ประเทศ<br />

ญี่ปุ่น<br />

นอกจากนั้น ขณะประทับอยู่<br />

<strong>ต</strong>่างประเทศ สมเด็จพระบรมชนกนาถได้ทรง<br />

พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระอภิบาลชาว<br />

สยามเป็นผู้ถวายพระอักษรพิเศษควบคู่<br />

ไปด้วย จึงทรงเข้าพระราชหฤทัยถึงความ<br />

แ<strong>ต</strong>ก<strong>ต</strong>่างระหว่างวัฒนธรรม<strong>ต</strong>ะวัน<strong>ต</strong>กกับ<br />

<strong>ต</strong>ะวันออกได้อย่างดี ทั้งทรง<strong>ต</strong>ระหนักว่า<br />

การเสด็จไปทรงศึกษาในยุโรปนั้น เป็นการ<br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

แสวงหาความรู้ความเข้าใจเรื่องราวและ<br />

แนวความคิดของชา<strong>ต</strong>ิ<strong>ต</strong>ะวัน<strong>ต</strong>กไม่อาจ<br />

นามาใช้กับประเทศสยามและชาวสยาม<br />

ได้ทันที จะ<strong>ต</strong>้องประยุก<strong>ต</strong>์ใช้ให้เหมาะสม<br />

<strong>ต</strong>ามกาลอันควร<br />

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัวทรงพระอัจฉริยภาพสมกับพระราช<br />

สมัญญาว่า “สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า”<br />

มิใช่จะทรงเป็นเพียงปราชญ์ด้านอักษร<br />

ศาส<strong>ต</strong>ร์ ผู้รจนาคาประพันธ์หลากหลาย<br />

ประเภทจานวนมากเท่านั้น หากแ<strong>ต</strong>่ทรง<br />

เป็นพระเจ้าแผ่นดินผู้มีความสุขุม<br />

คัมภีรภาพทรงมีพระราชวิสัยทัศน์ที่กว้าง<br />

ไกล จึงทรงวางแผนบริหารประเทศใน<br />

ลักษณะ “การ<strong>ต</strong>ั้งรับและป้องกัน” ปัญหา<br />

ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาค<strong>ต</strong> เช่น การ<br />

ป้องกัน<strong>ต</strong>นเองของพลเรือน การวางระบบ<br />

ให้การศึกษาแก่ราษฎรทั้งประเทศ เพื่อให้<br />

เป็นพื้นฐานสาคัญในการปกครอง<strong>ต</strong>นเอง<br />

<strong>ต</strong>ามระบอบประชาธิปไ<strong>ต</strong>ยในวันข้างหน้า<br />

การ<strong>ต</strong>ั้งสภาเผยแผ่พาณิชย์และศาลาแยก<br />

ธา<strong>ต</strong>ุเพื่อประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจ<br />

ของประเทศในภาพรวม เป็น<strong>ต</strong>้น<br />

พระองค์ทรงยึดถือแนวทางการ<br />

บริหารราชการแผ่นดินของพระบาท<br />

สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ<br />

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

อย่างเคร่งครัด การปฏิรูปประเทศและ<br />

ระบบราชการในรัชสมัย จึงเป็นการสาน<br />

<strong>ต</strong>่อพระราชกรณียกิจที่สมเด็จพระบรม<br />

อัยกาธิราชและสมเด็จพระบรมชนกนาถ<br />

ทรงวางรากฐานและดาเนินการไว้แล้ว<br />

โดยทรงปรับปรุงกิจการ<strong>ต</strong>่างๆ ให้เหมาะสม<br />

ยิ่งขึ้น ทั้งการจัดระเบียบบริหารราชการ<br />

แผ่นดิน การพัฒนาคุณภาพชีวิ<strong>ต</strong>และความ<br />

เป็นอยู่ของราษฎร แม้จะมีความแ<strong>ต</strong>ก<strong>ต</strong>่าง<br />

กันทางเผ่าพันธุ์ ศาสนาและวัฒนธรรม<br />

แ<strong>ต</strong>่มีความรักชา<strong>ต</strong>ิ มีความจงรักภักดี<strong>ต</strong>่อ<br />

พระเจ้าแผ่นดินเป็นคนดีมีคุณธรรม<strong>ต</strong>าม<br />

หลักศาสนาของ<strong>ต</strong>น และมีความสามัคคีใน<br />

หมู่คณะเหมือนกัน จึงเป็นการสร้าง<br />

“จิ<strong>ต</strong>วิญญาณของสยามรัฐ” ที่สืบทอดจาก<br />

สุโขทัย ถึง อยุธยา รั<strong>ต</strong>นโกสินทร์ และยัง<br />

คงดารงสืบ<strong>ต</strong>่อมาถึงปัจจุบัน<br />

31


เปิด<strong>ต</strong>ำนำน<br />

พระเมรุมำศ<br />

จุฬาพิช<br />

เป็นที่ทราบกันดีว่า เมื่อบุคคลใดถึงแก่<br />

กรรมหรือ<strong>ต</strong>ายไปแล้ว บุคคลที่อยู่<br />

ไม่ว่าจะเป็นบุ<strong>ต</strong>ร ภรรยา หรือญา<strong>ต</strong>ิ<br />

ผู้อุปการะก็ดี ย่อมทาการปลงศพผู้<strong>ต</strong>าย<br />

โดยมีกรรมวิธี<strong>ต</strong>่างๆ <strong>ต</strong>ามจารี<strong>ต</strong>ประเพณี<br />

ของแ<strong>ต</strong>่ละชา<strong>ต</strong>ิ แ<strong>ต</strong>่ละสังคม แ<strong>ต</strong>่ละชุมชน<br />

สาหรับประเทศไทยวิธีการเผาศพมี<br />

วิวัฒนาการเป็นระยะเวลาสืบ<strong>ต</strong>่อกัน<br />

เข้าใจว่าได้รับอิทธิพลมาจากอินเดีย<br />

ทั้งในลัทธิพุทธศาสนาและลัทธิพราหมณ์<br />

ในประเทศอินเดีย บรรดาผู้ที่<br />

นับถือศาสนาฮินดู<strong>ต</strong>ามเมืองพาราณสี<br />

เมื่อถึงแก่กรรมจะแห่ศพมายัง<br />

ฝั่งแม่น้าคงคา การ<strong>ต</strong>กแ<strong>ต</strong>่งศพนั้น<br />

สุดแ<strong>ต</strong>่ฐานะ หากมีฐานะดีศพจะ<br />

ห่อผ้าขาวมัด<strong>ต</strong>ราสังแน่น มีผ้าคลุม<br />

จะเป็นขบวนแห่เอิกเกริก<strong>ต</strong>าม<br />

ฐานานุรูป ถ้าเป็นผู้ยากจนจะมี<br />

ผ้าคลุมศพขึ้นแคร่ไม้หยาบๆ<br />

หาบกันมาเท่านั้น และมีญา<strong>ต</strong>ิ<br />

พี่น้องร้องไห้เดิน<strong>ต</strong>าม จะร้องจริง<br />

หรือไม่จริงพอเป็นพิธีไม่มีใคร<br />

ทราบ เมื่อมาถึงฝั่งแม่น้าคงคา<br />

จะ<strong>ต</strong>้องเอาศีรษะผู้<strong>ต</strong>ายจุ่มลงใน<br />

มณีวงศ์<br />

32 จุฬาพิช มณีวงศ์


แม่พระคงคาแล้วยกศพมา<strong>ต</strong>ั้งบนกองฟืน<br />

การประชุมเพลิง ผู้จุดเพลิงคนแรกจะเป็น<br />

ญา<strong>ต</strong>ิที่ใกล้ชิดผู้<strong>ต</strong>ายที่สุด การประชุมเพลิง<br />

จะใช้เชื้อเพลิงใดสุดแ<strong>ต</strong>่ฐานะอีก กล่าวคือ<br />

ถ้ามั่งคั่งจะมีน้ามันหอม ถั่ว งา โรยศพเพื่อ<br />

ดับกลิ่น ส่วนกองฟืนจะจัดวางไว้อย่าง<br />

สวยงามและมีนางร้องไห้มาร่วมใน<br />

กระบวนแห่ด้วย ถ้าเป็นคนจนก็จะไม่มี<br />

พิธีใดๆ ขณะเผาร่างจะงอ พลิกหรือลุกขึ้น<br />

สุดแ<strong>ต</strong>่การโหมไฟดูน่ากลัว แ<strong>ต</strong>่ก็เป็นอนิจจัง<br />

การเผาศพที่แม่น้าคงคาสามารถมีให้ชม<br />

กันได้ทั้งวัน เริ่มเผาแ<strong>ต</strong>่ย่ ารุ่งพระอาทิ<strong>ต</strong>ย์ขึ้น<br />

เมื่อเผาแล้วเถ้าถ่านจัดให้ลอยลงไป<br />

ในแม่น้าคงคา ผู้ที่อาบน้าหรือซักผ้าใน<br />

บริเวณนั้น<strong>ต</strong>่างก็มิได้รู้สึกรังเกียจหรือกลัว<br />

แ<strong>ต</strong>่ประการใด<br />

การปลงศพของอินเดีย <strong>ต</strong>ามที่<br />

สมเด็จฯ กรมพระยาดารงราชานุภาพทรง<br />

พระนิพนธ์ไว้ใน<strong>ต</strong>านานสุสานหลวง<br />

วัดเทพศิรินทร์ว่า มี ๒ แบบ คือ <strong>ต</strong>ามค<strong>ต</strong>ิทาง<br />

พุทธศาสนา ใช้หีบศพใส่ศพเมื่อเผาศพแล้ว<br />

นาอัฐิไปบรรจุในสถูปหรือเจดีย์ ค<strong>ต</strong>ิทาง<br />

พราหมณ์หรือฮินดูใช้โกศใส่ศพ เมื่อเผาแล้ว<br />

นาอัฐิไปลอยน้า สาหรับประเทศไทยได้รับ<br />

อิทธิพลมาทางศาสนาพราหมณ์จากขอม<br />

จึงได้ใช้โกศใส่พระศพพระเจ้าแผ่นดิน<br />

หรือราชวงศ์ชั้นสูง ส่วนศพผู้มีบรรดาศักดิ์<br />

เช่น ศพเสนาบดีที่ได้ใส่โกศนั้นเพราะ<br />

พระมหากษั<strong>ต</strong>ริย์พระราชทานเกียร<strong>ต</strong>ิยศ<br />

เป็นพิเศษ ซึ่งมีมาแ<strong>ต</strong>่สมัยกรุงศรีอยุธยา<br />

เป็นราชธานี<br />

เมรุและเมรุมาศ พจนานุกรมฉบับ<br />

ราชบัณฑิ<strong>ต</strong>ยสถานได้บรรยายไว้ว่า เมรุ<br />

หมายถึง ชื่อภูเขากลางจักรวาล มียอดเป็น<br />

ที่<strong>ต</strong>ั้งแห่งเมืองสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ซึ่งเป็น<br />

ที่อยู่ของพระอินทร์ ที่เผาศพมีหลังคา<br />

เป็นยอด มีรั้วล้อมรอบ ราชาศัพท์ใช้ว่า<br />

พระเมรุมาศ<br />

เห<strong>ต</strong>ุที่เรียกอาคารหรือสิ่งปลูกสร้าง<br />

สาหรับถวายพระเพลิงพระเจ้าแผ่นดินว่า<br />

เมรุก็คือ พระมหากษั<strong>ต</strong>ริย์เป็นสมม<strong>ต</strong>ิเทพ<br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

33


<strong>ต</strong>ามค<strong>ต</strong>ิของพราหมณ์หรือฮินดู เทพย่อม<br />

สถิ<strong>ต</strong>อยู่ในเขาพระสุเมรุ ล้อมไปด้วยเขา<br />

สั<strong>ต</strong>บริภัณฑ์ เมื่อจุ<strong>ต</strong>ิลงมายังโลกมนุษย์เป็น<br />

สมม<strong>ต</strong>ิเทพ เมื่อสวรรค<strong>ต</strong>จึง<strong>ต</strong>ั้งพระบรมศพ<br />

บนเมรุหรือเมรุมาศเป็นการส่งพระศพ<br />

พระวิญญาณ เสด็จกลับไปสู่เขาพระสุเมรุ<br />

ดังเดิม นอกจากนี้<strong>ต</strong>ามจิน<strong>ต</strong>นาการของ<br />

ศิลปิน สถาปนิกผู้สร้างสรรค์งานศิลป์เห็นว่า<br />

วั<strong>ต</strong>ถุที่ส่งแสงแวววับจับ<strong>ต</strong>าพอที่จะมองดู<br />

ด้วยความสบาย<strong>ต</strong>า สบายใจนั้น สีทองเป็น<br />

สีหนึ่งที่งามบริสุทธิ์ที่สาย<strong>ต</strong>ามนุษย์พอจะ<br />

รับแสงอยู่ได้ จึงใช้สีทองเป็นสีประดับ<br />

ปราสาทในสวรรค์ ดังฝันไว้ในจิน<strong>ต</strong>นาการ<br />

นั่นเอง<br />

เมื่อใช้สีทองประดับเมรุ จึงเรียกว่า<br />

เมรุมาศ แม้ว่าที่จริงแล้ววั<strong>ต</strong>ถุที่มีค่ากว่า<br />

ทองคาหรืออัญมณีอื่นยังมีอีกมาก แ<strong>ต</strong>่แสง<br />

สะท้อนจากอัญมณีนั้นมนุษย์มิอาจทนได้<br />

เป็นการประดับ<strong>ต</strong>กแ<strong>ต</strong>่งเกินกว่าเห<strong>ต</strong>ุและ<br />

ของจริงก็หายากมากเกินประมาณ ถ้าใช้<br />

ของเทียมก็จะมีแสงวับจับ<strong>ต</strong>าเป็นการเทียม<br />

เกินไป สถาปนิกไทย บรรพบุรุษแ<strong>ต</strong>่กาล<br />

ก่อนจึงเดินสายกลาง เพราะทองหาง่าย<br />

กว่า อาจใช้ทองคาจริงๆ ทาหรือปิดได้ เช่น<br />

ทองคาเปลว กระดาษทอง โดยคานึงถึง<br />

หลัก ๓ ประการคือ พันธกิจ (Function)<br />

ในการใช้วั<strong>ต</strong>ถุก่อสร้างสุนทรียภาพ<br />

(Aesthetic) จากธรรมชา<strong>ต</strong>ิของวั<strong>ต</strong>ถุ และ<br />

เทคโนโลยี (Technology) ของธา<strong>ต</strong>ุแท้<br />

นามาประยุก<strong>ต</strong>์ใช้<br />

พระเมรุมาศในที่นี้มีความหมายถึง<br />

เมรุกลางกรุง จัดสร้างเพื่อถวายพระเพลิง<br />

พระบรมศพ หรือพระศพที่พระมหา<br />

กษั<strong>ต</strong>ริย์พระราชทานให้ถวายเพลิง<br />

กลางเมืองและเป็นการก่อสร้างชั่วคราว<br />

พระเมรุมาศนี้จัดว่าเป็น กุฎาคาร กล่าวคือ<br />

เป็นอาคารที่มียอดสูง เรียกว่า เรือนยอด<br />

ซึ่งจะเป็นเรือนยอดทรงมณฑป หรือเรือน<br />

ยอดทรงปรางค์ก็สุดแล้วแ<strong>ต</strong>่สถาปนิกจะ<br />

เนรมิ<strong>ต</strong> พระเมรุมาศเป็นสิ่งที่แสดงออกถึง<br />

วัฒนธรรมไทยในรูปสถาปั<strong>ต</strong>ยกรรมไทย<br />

ชั้นสูง ซึ่งยากหาชา<strong>ต</strong>ิใดในโลกมาทัดเทียม<br />

เป็นสมบั<strong>ต</strong>ิล้าค่าทางวัฒนธรรม ซึ่ง<br />

บรรพบุรุษมอบให้เป็นมรดกทางปัญญา<br />

และทาให้อนุชนรุ่นหลังได้มีความรักความ<br />

ภาคภูมิใจในคุณค่า ช่วยกันรักษาสืบไป<br />

งานออกแบบและก่อสร้างพระเมรุมาศ<br />

เป็นที่รวมแหล่งศิลปะมากมายหลายแขนง<br />

เพียบพร้อมด้วยศิลปินผู้ชานาญการ<br />

เพราะเมรุมาศหนึ่งองค์จะ<strong>ต</strong>้องมีองค์<br />

ประกอบ<strong>ต</strong>ามกฎเกณฑ์ที่กาหนดไว้ กล่าวคือ<br />

จะ<strong>ต</strong>้องมีพระเมรุมาศซึ่งเป็นส่วนสาคัญ<br />

โดยพื้นที่<strong>ต</strong>รงกลางของพระเมรุมาศจะ<br />

ประดิษฐานพระจิ<strong>ต</strong>กาธาน บนพระจิ<strong>ต</strong>-<br />

กาธานจะประดิษฐานพระโกศพระศพ<br />

พระจิ<strong>ต</strong>กาธาน และพระโกศประดับด้วย<br />

พระโกศไม้จันทน์ และดอกไม้สดร้อยเป็น<br />

ลวดลาย ก้าน ดอกใบ สุดแ<strong>ต</strong>่ชาววัง<br />

ช่างดอกไม้จะบรรจงทาด้วยฝีมืออัน<br />

ประณี<strong>ต</strong>งดงาม<strong>ต</strong>ระการ<strong>ต</strong>า โครงสร้างทุกส่วน<br />

ทุก<strong>ต</strong>อนจะ<strong>ต</strong>้องแข็งแรงพอรับน้าหนัก<br />

ประจา และน้าหนักจรได้เป็นอย่างดี มีข้อ<br />

สังเก<strong>ต</strong>ว่า ที่ยอดพระเมรุมาศจะบ่งบอกถึง<br />

34 จุฬาพิช มณีวงศ์


ฐานันดรของพระศพ กล่าวคือ หากเป็น<br />

เมรุมาศสาหรับพระบรมศพพระมหา<br />

กษั<strong>ต</strong>ริย์ ยอดจะเป็นนพปฎลมหาเศว<strong>ต</strong>ฉั<strong>ต</strong>ร<br />

หากเป็นพระบรมราชวงศ์ ชั้นฉั<strong>ต</strong>รก็จะ<br />

ลดหลั่นลงมา<br />

นอกจากพระเมรุมาศแล้ว ยังมีองค์<br />

ประกอบอื่นๆ เช่น ศาลาเปลื้องเครื่อง<br />

สาหรับไว้พระโกศที่เปลื้องแล้วและวัสดุ<br />

เครื่องใช้ในการถวายพระเพลิง ถือเป็น<br />

รโหฐานที่สูง คดช่าง คดคือศาลาแสดง<br />

บริเวณเข<strong>ต</strong>ล้อมพระเมรุมาศ มีทางเข้าออก<br />

๔ ทาง มุมคดที่ทาเป็นมุมฉาก เรียกว่า ซ่าง<br />

ซึ่งนิยมทาเป็นเรือนยอด สาหรับคด บางที<br />

ก็เรียกว่า ทับเกษ<strong>ต</strong>ร<br />

นอกจากนี้ยังมี พระที่นั่งทรงธรรม<br />

เป็นพระที่นั่งสาหรับพระบาทสมเด็จ<br />

พระเจ้าอยู่หัวประทับประกอบพิธีทาง<br />

ศาสนา ก่อนเสด็จพระราชดาเนินขึ้นถวาย<br />

พระเพลิงและงานพระบรมอัฐิ มีบริเวณ<br />

สาหรับราชวงศ์ ทู<strong>ต</strong>านุทู<strong>ต</strong> ข้าราชการเฝ้าฯ<br />

รับเสด็จ พระที่นั่งทรงธรรมสร้างด้าน<br />

<strong>ต</strong>ะวัน<strong>ต</strong>กของพระเมรุมาศเพราะงาน<br />

พระราชทานเพลิงจัดทาในเวลาบ่าย<br />

ใกล้เย็น ประมาณ ๑๖.๐๐ - ๑๗.๐๐ น. การที่<br />

พระที่นั่งทรงธรรมอยู่ทางด้าน<strong>ต</strong>ะวัน<strong>ต</strong>ก<br />

จะได้บังแดดทางพื้นที่ด้านหน้าระหว่าง<br />

พระเมรุมาศกับพระที่นั่งทรงธรรม ขนาด<br />

พระที่นั่งทรงธรรมจุคนได้นับพัน พลับพลา<br />

ยกสาหรับสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวประทับรอ<br />

พระบรมศพ ซึ่งจะยา<strong>ต</strong>รากระบวนมาสู่<br />

พระเมรุมาศโดยพระพิชัยราชรถ แล้ว<br />

อัญเชิญพระบรมโกศลงสู่พระยานมาศ<br />

เพื่อเวียนรอบพระเมรุมาศโดย<br />

อุ<strong>ต</strong>ราวัฏ การ<strong>ต</strong>กแ<strong>ต</strong>่งบริเวณระหว่างคดกับ<br />

องค์พระเมรุมาศ จะ<strong>ต</strong>้องมีบริเวณกว้างพอ<br />

สมควร และบริเวณที่มิได้เป็นทางเดิน จะ<br />

ปลูกดอกไม้ ใบไม้ ประดับแสงสี ให้งดงาม<br />

ทั้งกลางวันและกลางคืน วัสดุทั้งหมดที่จะ<br />

นามาใช้ในการก่อสร้างจะ<strong>ต</strong>้องถูก<strong>ต</strong>้อง<strong>ต</strong>าม<br />

คุณสมบั<strong>ต</strong>ิ และ<strong>ต</strong>้องมีความคงทน<strong>ต</strong>่อ<br />

แดดฝนในช่วงเวลาจากัด โดยยึดหลักการ<br />

ก่อสร้างชั่วคราว แ<strong>ต</strong>่มีความงามประทับใจ<br />

องค์ประกอบสาคัญสุดท้ายที่จะขาดเสีย<br />

มิได้เลยคือ การมหรสพ โดยในพิธีถวาย<br />

พระเพลิงพระบรมศพ มิได้ถือเป็นงาน<br />

เศร้าโศก เพราะเป็นการส่งเสด็จสู่สวรรค์<br />

เป็นพิธีและการขอขมาศพ หรือแสดง<br />

ความเคารพครั้งสุดท้าย จึงมีมหรสพดุจ<br />

งานมงคล ในสมัยโบราณงานมหรสพ<br />

จะประกอบไปด้วยโขน หุ่นมอญรา หนัง<br />

ราโคมดอกบัว สิงโ<strong>ต</strong>มังกร ญวนหก<br />

ไม้<strong>ต</strong>่าสูง การจัดมหรสพในพระเมรุมาศ<br />

จึงเป็นเรื่องของจิ<strong>ต</strong>วิทยา บ่งบอกให้พสกนิกร<br />

รู้ว่า พระบารมียังให้ความสุขแก่ปวงชน<br />

ร่วมส่งเสด็จพระบาทสมเด็จ<br />

พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช<br />

สู่สวรรคาลัยในพระราชพิธีถวาย<br />

พระเพลิงพระบรมศพ ๒๖ <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

โดยพร้อมเพรียงกัน<br />

บทความจาก : หนังสือพระเมรุมาศ พระเมรุ และเมรุสมัย<br />

กรุงรั<strong>ต</strong>นโกสินทร์ โดย พลเรือ<strong>ต</strong>รี สมภพ ภิรมย์<br />

ศิลปินแห่งชา<strong>ต</strong>ิราชบัณฑิ<strong>ต</strong><br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

35


๓๓ ปี วันคล้ำยวันสถำปนำ<br />

สำนักงบประมำณกลำโหม<br />

พลเอก อนุชิ<strong>ต</strong> อินทรทั<strong>ต</strong><br />

ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณกลำโหม<br />

เ<br />

ความเป็นมา<br />

มื่อปี พ.ศ.๒๕๒๖ รัฐมน<strong>ต</strong>รีว่าการ<br />

กระทรวงกลาโหม ในขณะนั้น เห็นควร<br />

ให้มีการจัด<strong>ต</strong>ั้งหน่วยงานเพื่อทา<br />

หน้าที่เป็นผู้ควบคุมงบประมาณ ทุกงบ<br />

ของกระทรวงกลาโหม จึงได้มีการทดลอง<br />

จัด<strong>ต</strong>ั้งสานักงบประมาณกลาโหม (สงป.<br />

กห.) โดยใช้อั<strong>ต</strong>ราเพื่อพลาง แบ่งส่วน<br />

ราชการออกเป็น ๔ กอง คือ กองแผนงาน<br />

และโครงการ กองงบประมาณ กอง<strong>ต</strong>รวจ<br />

สอบและประเมินผล และกองสถิ<strong>ต</strong>ิ <strong>ต</strong>่อมา<br />

ในวันที่ ๑ <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๒๗ ได้มีคาสั่ง<br />

กระทรวงกลาโหมให้จัด<strong>ต</strong>ั้งสานักงบประมาณ<br />

กลาโหมขึ้นเป็นอั<strong>ต</strong>ราถาวร และมี<br />

หน่วยงานขึ้น<strong>ต</strong>รง คือ กองแผนงานและ<br />

โครงการ กองงบประมาณ กอง<strong>ต</strong>รวจสอบ<br />

และประเมินผล กองกลาง และกองจัดการ<br />

โดยกาหนดภารกิจให้มีหน้าที่ในการ<br />

รวบรวม วิเคราะห์ และเสนอแนะการ<br />

ปรับปรุงแก้ไขแผนงานและโครงการ<br />

เสริมสร้างกาลังรบ และโครงการอื่นๆ ให้<br />

สอดคล้องกับนโยบายทางทหาร<br />

สภาวการณ์ทางเศรษฐกิจและฐานะการ<br />

เงินของประเทศ และได้ถือเอา วันที่ ๑<br />

<strong>ต</strong>ุลาคม เป็นวันสถาปนาสานักงบประมาณ<br />

กลาโหม<br />

ในปี พ.ศ.๒๕๒๘ ได้มีการแก้อั<strong>ต</strong>รา<br />

โดยการจัด<strong>ต</strong>ั้งกองการพัสดุ และในปี พ.ศ.<br />

๒๕๓๐ ได้มีการจัด<strong>ต</strong>ั้งสานักงานการเงิน<br />

<strong>ต</strong>่อมาในปี พ.ศ.๒๕๓๘ ได้รับอนุมั<strong>ต</strong>ิให้จัด<br />

<strong>ต</strong>ั้งกองบริหารทรัพยากรเป็นอั<strong>ต</strong>ราถาวร<br />

จนกระทั่งในปี พ.ศ.๒๕๔๙ สานัก<br />

งบประมาณกลาโหมได้ปรับปรุงแก้ไข<br />

อั<strong>ต</strong>ราเฉพาะกิจ โดยการจัด<strong>ต</strong>ั้งสานักงาน<br />

งบประมาณ ซึ่งการแก้ไขอั<strong>ต</strong>ราเฉพาะกิจ<br />

ครั้งนี้ ทาให้สานักงบประมาณกลาโหม<br />

มีหน่วยขึ้น<strong>ต</strong>รงรวมทั้งสิ้น ๙ หน่วย ได้แก่<br />

กองกลาง กองงบประมาณ กองแผนงาน<br />

และโครงการ กอง<strong>ต</strong>รวจสอบและประเมินผล<br />

กองจัดการ กองการพัสดุ กองบริหาร<br />

ทรัพยากร สานักงานงบประมาณ และ<br />

สานักงานการเงิน<br />

ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๒ สานัก<br />

งบประมาณกลาโหม ได้รับอนุมั<strong>ต</strong>ิจาก<br />

รัฐมน<strong>ต</strong>รีว่าการกระทรวงกลาโหม ให้ใช้อั<strong>ต</strong>รา<br />

เฉพาะกิจ หมายเลข ๐๔๐๐ <strong>ต</strong>ั้งแ<strong>ต</strong>่วันที่ ๑<br />

เมษายน ๒๕๕๒ เป็น<strong>ต</strong>้นไป เพื่อให้เป็น<br />

หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบการกาหนด<br />

นโยบายและยุทธศาส<strong>ต</strong>ร์ ด้านงบประมาณ<br />

รวมทั้งดาเนินการด้านการงบประมาณให้<br />

กับส่วนราชการในสังกัดกระทรวงกลาโหม<br />

สำนักงบประมำณกลำโหม<br />

และส่วนราชการในสานักงานปลัด<br />

กระทรวงกลาโหมได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br />

ในปี พ.ศ.๒๕๕๗ สานักงบประมาณ<br />

กลาโหมได้รับอนุมั<strong>ต</strong>ิจากรัฐมน<strong>ต</strong>รีว่าการ<br />

กระทรวงกลาโหม ให้ใช้อั<strong>ต</strong>ราเฉพาะกิจ<br />

หมายเลข ๐๔๐๐ <strong>ต</strong>ั้งแ<strong>ต</strong>่วันที่ ๒๔<br />

กรกฎาคม ๒๕๕๗ เป็น<strong>ต</strong>้นไป แบ่งส่วน<br />

ราชการออกเป็น ๙ หน่วย ได้แก่ กอง<br />

นโยบายและแผนงบประมาณ กองจัดทา<br />

งบประมาณและโครงการ กองงบประมาณ<br />

กลาง กองงบประมาณ กองแผนงานและ<br />

โครงการ กอง<strong>ต</strong>รวจสอบและประเมินผล<br />

กองจัดการ กองการพัสดุ กองบริหาร<br />

ทรัพยากร สานักงานงบประมาณ และ<br />

สานักงานการเงิน<br />

เมื่อวันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๐<br />

สานักงบประมาณกลาโหม ได้รับอนุมั<strong>ต</strong>ิ<br />

จากรัฐมน<strong>ต</strong>รีว่าการกระทรวงกลาโหม ให้<br />

ใช้อั<strong>ต</strong>ราเฉพาะกิจ หมายเลข ๐๔๐๐ แบ่ง<br />

ส่วนราชการออกเป็น ๑๐ หน่วย คือ กอง<br />

นโยบายและแผนงบประมาณ กองจัดทา<br />

งบประมาณและโครงการ กองงบประมาณ<br />

กอง<strong>ต</strong>รวจสอบและประเมินผล กองการ<br />

พัสดุ กองจัดการ กองกลาง กองงบ<br />

ประมาณพิเศษ สานักงานงบประมาณ<br />

และสานักงานการเงิน<br />

วิสัยทัศน์<br />

เป็นองค์กรหลักในการบริหารจัดการ<br />

ด้านงบประมาณของกระทรวงกลาโหม<br />

ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ<br />

ประสิทธิผลสูงสุด โดยมีการบริหารองค์กร<br />

ที่ดี มีบุคลากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ<br />

มีระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ<br />

36<br />

สำนักงบประมำณกลำโหม


ภารกิจ<br />

๑. การจัดทาแผนปฏิบั<strong>ต</strong>ิราชการ<br />

การจัดทาแผนปฏิบั<strong>ต</strong>ิราชการ<br />

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑ ของ<br />

กระทรวงกลาโหม และสานักงานปลัด<br />

กระทรวงกลาโหม<br />

- สานักงบประมาณกลาโหม<br />

ได้จัดการประชุมเพื่อจัดทาแผนปฏิบั<strong>ต</strong>ิ<br />

ราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑<br />

ของกระทรวงกลาโหม เมื่อ ๑๑ มกราคม<br />

๒๕๖๐ ณ ห้องยุทธนาธิการ ในศาลา<br />

ว่าการกลาโหม โดยมี พลเอก ชา<strong>ต</strong>อุดม<br />

<strong>ต</strong>ิ<strong>ต</strong>ถะสิริ รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็น<br />

ประธานการประชุม โดยมีผู้แทนหน่วยขึ้น<br />

<strong>ต</strong>รงและเหล่าทัพเข้าร่วมการประชุม<br />

๒. การจัดทาคาของบประมาณ<br />

การจัดทาคาของบประมาณ<br />

รายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑<br />

ของกระทรวงกลาโหม และสานักงานปลัด<br />

กระทรวงกลาโหม<br />

- ปลัดกระทรวงกลาโหมเป็น<br />

หัวหน้าคณะนา รองปลัดกระทรวง<br />

กลาโหม เสนาธิการทหาร เสนาธิการ<br />

เหล่าทัพ ผู้อานวยการสถาบันเทคโนโลยี<br />

ป้องกันประเทศ และ ผู้อานวยการองค์การ<br />

สงเคราะห์ทหารผ่านศึก เข้าชี้แจงราย<br />

ละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจา<br />

ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑ ของกระทรวง<br />

กลาโหม <strong>ต</strong>่อคณะกรรมาธิการวิสามัญ<br />

พิจารณาร่างพระราชบัญญั<strong>ต</strong>ิงบประมาณ<br />

รายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑<br />

สภานิ<strong>ต</strong>ิบัญญั<strong>ต</strong>ิแห่งชา<strong>ต</strong>ิ<br />

เมื่อ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๐<br />

ณ ห้องประชุมคณะ<br />

กรรมาธิการ ๒๑๓ – ๒๑๖<br />

ชั้น ๒ อาคารรัฐสภา ๒<br />

๓. การเ<strong>ต</strong>รียมการ<br />

จัดทาคาของบประมาณ<br />

รายจ่ายประจาปีงบ-<br />

ประมาณ พ.ศ.๒๕๖๒<br />

- พลเอก ชา<strong>ต</strong>อุดม <strong>ต</strong>ิ<strong>ต</strong>ถะสิริ<br />

รองปลัดกระทรวงกลาโหม และผู้อานวย<br />

การสานักงบประมาณกลาโหม เข้าร่วม<br />

ประชุมสัมมนาการเ<strong>ต</strong>รียมการจัดทางบ<br />

ประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ<br />

พ.ศ.๒๕๖๒ เมื่อ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๖๐<br />

ณ ห้องรอยัลจูบิลี่ อินแพค เมืองทองธานี<br />

โดยมี พลเอก ประยุทธ์ จันทรโอชา นายก<br />

รัฐมน<strong>ต</strong>รี เป็นประธาน เพื่อรับทราบ<br />

นโยบายและแนวทางการจัดทางบ<br />

ประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ<br />

พ.ศ.๒๕๖๒<br />

๔. การ<strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>ามเร่งรัดการใช้จ่าย<br />

งบประมาณ<br />

๔.๑ ผู้อานวยการสานักงบ<br />

ประมาณกลาโหมและคณะ<strong>ต</strong>รวจเยี่ยม<br />

สานักงานปลัดบัญชีกองทัพบก สานักงาน<br />

ปลัดบัญชีทหารเรือ และสานักงานปลัด<br />

บัญชีทหารอากาศ เพื่อเร่งรัดการดาเนินการ<br />

<strong>ต</strong>ามมา<strong>ต</strong>รการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่าย<br />

งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ<br />

พ.ศ.๒๕๖๐<br />

๔.๒ ผู้อานวยการสานัก<br />

งบประมาณกลาโหม/หัวหน้าคณะ<strong>ต</strong>รวจ<br />

และ<strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>ามความก้าวหน้าโครงการของ<br />

กระทรวงกลาโหม และสานักงานปลัด<br />

กระทรวงกลาโหม เข้า<strong>ต</strong>รวจโครงการจัด<strong>ต</strong>ั้ง<br />

กองพลทหารม้าที่ ๓ และโครงการดารง<br />

สภาพระบบเครือข่ายการสื่อสารหลัก<br />

(Backbone) ของกระทรวงกลาโหม<br />

ในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น ระหว่าง<br />

๒๑ - ๒๒ มีนาคม ๒๕๖๐<br />

๔.๓ ผู้อานวยการสานัก<br />

งบประมาณกลาโหม/หัวหน้าคณะ<strong>ต</strong>รวจ<br />

และ<strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>ามความก้าวหน้าโครงการของ<br />

กระทรวงกลาโหม<strong>ต</strong>รวจและ<strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>ามความ<br />

ก้าวหน้าโครงการ ในพื้นที่จังหวัดชลบุรี<br />

และจังหวัดระยอง เมื่อ ๒๙ - ๓๐ สิงหาคม<br />

๒๕๖๐ จานวน ๒ โครงการ ได้แก่โครงการ<br />

จัดหาเฮลิคอปเ<strong>ต</strong>อร์ลาเลียง และโครงการ<br />

จัดหาเรือลากจูงขนาดกลาง<br />

๕. การสัมมนาเพื่อเ<strong>ต</strong>รียมความ<br />

พร้อมในการดาเนินงาน<strong>ต</strong>ามพระราช<br />

บัญญั<strong>ต</strong>ิการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหาร<br />

พัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐ และระเบียบ<br />

กระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง<br />

และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐<br />

เมื่อ ๒๖ เมษายน ๒๕๖๐ และ ๖ - ๗<br />

กันยายน ๒๕๖๐<br />

ปัจจุบันมี พลเอก อนุชิ<strong>ต</strong> อินทรทั<strong>ต</strong><br />

ผู้อานวยการสานักงบประมาณกลาโหม<br />

เป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ<br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

37


๖๔ ปี วันคล้ายวันสถาปนา<br />

กรมการพลังงานทหาร<br />

ศูนย์การอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมปองกันประเทศและพลังงานทหาร<br />

กรมการพลังงานทหาร ศูนยการอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมปองกันประเทศและพลังงานทหาร<br />

พลโท ศิริพงษ วงศขัน<strong>ต</strong>ี<br />

เจากรมการพลังงานทหาร ศูนยการอุ<strong>ต</strong>สาหกรรม<br />

ปองกันประเทศและพลังงานทหาร<br />

ประวั<strong>ต</strong>ิความเปนมา<br />

ปความเปนมาของกิจการน้ามันฝาง<br />

ระมาณร้อยปีเศษ ชาวบ้านท้องที่<br />

อาเภอฝาง พบน้ามันลักษณะสีดา<br />

ไหลซึมขึ้นมาบนผิวดิน ความ<br />

ทราบถึงเจ้าหลวงเชียงใหม่ จึงสั่งให้ขุดบ่อ<br />

เพื่อกักน้ามันไว้ เรียกว่า “บ่อหลวง” หรือ<br />

“บ่อเจ้าหลวง” ซึ่ง<strong>ต</strong>่อมามีหน่วยราชการ<br />

หลายฝายสนใจ ทาการสารวจและดาเนิน<br />

งาน<strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>่อกันมาหลายสมัย พอสรุปได้ดังนี้<br />

การดาเนินการของกรมรถไฟ<br />

พลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรม<br />

พระกาแพงเพชรอัครโยธิน เมื่อครั้งดารง<br />

พระอิสริยยศเป็นพระเจ้าน้องยาเธอ<br />

กรมขุนกาแพงเพชรอัครโยธิน ทรงเป็น<br />

ผู้บัญชาการรถไฟ และทรงทราบถึงการ<br />

ค้นพบน้ามันที่อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่<br />

จึงทรง<strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>่อว่าจ้างนักธรณีวิทยาชาวอเมริกัน<br />

ชื่อ Mr. Wallace Lee มาทาการสารวจ<br />

เมื่อปี พ.ศ.๒๔๖๔ - ๒๔๖๕ รวมเวลา ๒<br />

ปี พร้อมกันนั้นได้ทรงสั่งเครื่องเจาะ<br />

และว่าจ้างชาวอิ<strong>ต</strong>าเลียนทาการเจาะ<br />

บริเวณบ่อหลวง จานวน ๒ หลุม แ<strong>ต</strong>่เนื่องจาก<br />

ประสบปัญหาจึงระงับการเจาะไป<br />

การดาเนินการของกรมทาง<br />

กรมทางเข้ามาดาเนินงานในปี พ.ศ.<br />

๒๔๗๕ อธิบดีในขณะนั้น คือ หม่อมหลวง<br />

กรี เดชา<strong>ต</strong>ิวงศ์ มีวั<strong>ต</strong>ถุประสงค์เพื่อหา<br />

ปริมาณทรายน้ามันที่อยู่ใกล้ผิวดิน เพื่อ<br />

เป็นประโยชน์<strong>ต</strong>่อกรมทางในการใช้แทน<br />

ยางแอสฟัลท์ ผลการสารวจได้ปริมาณ<br />

ทรายน้ามันประมาณ ๓.๘ ล้านลูกบาศก์<br />

เม<strong>ต</strong>ร และมีการสร้างโรงกลั่นทดลอง<br />

เพื่อกลั่นน้ามันที่ได้มา แ<strong>ต</strong>่เนื่องจากขาด<br />

อุปกรณ์และขาดความชานาญ รวมทั้ง<br />

กิจการน้ามันมิใช่หน้าที่ของกรมทาง<br />

งานทั้งหมดจึง<strong>ต</strong>้องยุ<strong>ต</strong>ิลง<br />

การดาเนินการของกรมเชื้อเพลิงทหารบก<br />

กรมเชื้อเพลิงทหารบก เริ่มงาน<br />

สารวจเมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๐ ด้วยการว่าจ้าง<br />

นักธรณีวิทยาชาวสวิส ๒ นายคือ Dr.<br />

Arnold Geim และ Dr. Gans Hirschi<br />

ทาการสารวจพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ฝายไทย<br />

๓ นาย ด้วยการ<strong>ต</strong>รวจสอบสภาพธรณีวิทยา<br />

ผิวดินและขุดบ่อ<strong>ต</strong>ื้นๆ ด้วยแรงคน เพื่อหา<br />

ทิศทางการซึมของน้ามันขึ้นมาบนผิวดิน<br />

การสารวจดาเนินไปประมาณเดือนเศษ<br />

จึงได้เลิกล้มไป<br />

การดาเนินการของกรมโลหะกิจ<br />

(กรมทรัพยากรธรณี)<br />

กรมโลหะกิจเข้าดาเนินงานในปี<br />

พ.ศ.๒๔๙๒ - ๒๔๙๙ โดยใช้ชื่อหน่วยงาน<br />

ว่า “หน่วยสารวจน้ามันฝาง” ขั้นแรก<br />

ทาการสารวจธรณีวิทยาผิวดินและทาง<br />

อากาศ สารวจธรณีฟิสิกส์ปี พ.ศ.๒๔๙๓<br />

สั่งซื้อเครื่องเจาะชนิด Rotary จาก<br />

ประเทศเยอรมนี เรียกว่า “แหล่งน้ามัน<br />

ไชยปราการ” ในด้านการกลั่นได้สร้าง<br />

โรงกลั่นทดลองขนาดเล็กทาการกลั่น<br />

เป็นครั้งคราว ใช้น้ามันดิบประมาณ<br />

๑,๐๐๐ ลิ<strong>ต</strong>ร ดาเนินการกลั่นในระหว่างปี<br />

พ.ศ.๒๔๗๙ - ๒๔๙๙<br />

38<br />

¡ÃÁ¡ÒþÅѧ§Ò¹·ËÒà Èٹ¡ÒÃÍصÊÒË¡ÃÃÁ»‡Í§¡Ñ¹»ÃÐà·ÈáÅоÅѧ§Ò¹·ËÒÃ


การดาเนินงานเกี่ยวกับการพัฒนา<br />

แหล่งน้ามัน อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่<br />

ในความควบคุมของกรมโลหะกิจ นั้นมี<br />

คณะกรรมการทาหน้าที่รับผิดชอบอยู่<br />

ชุดหนึ่ง โดยรัฐมน<strong>ต</strong>รีว่าการกระทรวง<br />

อุ<strong>ต</strong>สาหกรรม เป็นประธานคณะกรรมการ<br />

มีความเห็นว่า ในด้านการเจาะน้ามันนั้น<br />

ควรทาการเจาะสารวจเป็นส่วนใหญ่ ส่วน<br />

ด้านการกลั่น ก็มุ่งในการทาแอสฟัลท์<br />

สาหรับที่อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่<br />

นั้น เดิมมีโรงกลั่นน้ามันโรงแรกคือ โรง<br />

กลั่นน้ามันทดลองซึ่งออกแบบและสร้าง<br />

ขึ้นโดยนายช่างไทยของกรมโลหะกิจและ<br />

ทาพิธีเปิดโรงกลั่นเมื่อวันที่ ๑๘ มีนาคม<br />

๒๔๙๘ ได้ลงมือทดลองกลั่นในวันนั้น<br />

ปรากฏผลเป็นที่น่าพอใจ โรงกลั่นทดลอง<br />

นี้เป็นแบบกลั่นทีละครั้ง กล่าวคือ เมื่อ<br />

บรรจุน้ามันดิบเข้าไปในหม้อกลั่นครั้งหนึ่ง<br />

จะทาการกลั่นไปจนกระทั่งได้ผลิ<strong>ต</strong>ภัณฑ์ที่<br />

<strong>ต</strong>้องการ แล้วก็ถ่ายเอากากกลั่นในหม้อ<br />

ออกแล้วจึงบรรจุน้ามันดิบเข้าไปใหม่และ<br />

ทาการกลั่นครั้ง<strong>ต</strong>่อไป<br />

การจัด<strong>ต</strong>ั้งกรมการพลังงานทหาร<br />

และการเข้าดาเนินการกิจการน้ามันฝาง<br />

ในปี พ.ศ.๒๔๙๖ คณะรัฐมน<strong>ต</strong>รีได้<br />

พิจารณาแล้วเห็นว่า ควรจะขยายงานด้าน<br />

เชื้อเพลิงให้ครอบคลุมไปถึงพลังงานอื่นๆ<br />

ที่จะสรรหามาใช้ให้เป็นประโยชน์แก่<br />

ประเทศชา<strong>ต</strong>ิ จึงได้ลงม<strong>ต</strong>ิให้กระทรวง<br />

กลาโหมดาเนินงานขยายกิจการด้าน<br />

องค์การเชื้อเพลิงให้ครอบคลุมไปถึงพลังงาน<br />

อื่นๆ ด้วย กระทรวงกลาโหมจึงมีคาสั่ง (พ)<br />

ที่ ๗๖/๒๗๒๑๗ เมื่อ ๓๐ <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๔๙๖<br />

จัด<strong>ต</strong>ั้ง กรมการพลังงานทหารฯ ขึ้นเพื่อ<br />

ควบคุมการปฏิบั<strong>ต</strong>ิงานขององค์การเชื้อ<br />

เพลิง และปรับปรุงขยายกิจการเชื้อเพลิง<br />

ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น โดยในเดือนมีนาคม<br />

พ.ศ.๒๔๙๙ Dr. Harold Hutton ผู้เชี่ยวชาญ<br />

ด้านปิโ<strong>ต</strong>รเลียม ได้ไปดูกิจการของหน่วย<br />

สารวจน้ามันฝาง แล้วรายงานว่า น้ามันดิบ<br />

ที่ฝางเป็นน้ามันที่ควรกลั่นออกขายได้<br />

ดังนั้น คณะรัฐมน<strong>ต</strong>รีจึงมีม<strong>ต</strong>ิให้โอนกิจการ<br />

น้ามันฝางมาขึ้นกับกรมการพลังงานทหาร<br />

เมื่อวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๔๙๙ และใน<br />

เดือนธันวาคม ๒๔๙๙ คณะรัฐมน<strong>ต</strong>รีมีม<strong>ต</strong>ิ<br />

อนุมั<strong>ต</strong>ิให้สร้างโรงงานกลั่นน้ามัน ขนาด<br />

๑,๐๐๐ บาร์เรล<strong>ต</strong>่อวัน ซึ่งก่อสร้างโดย<br />

บริษัท Refining Associates Corporation<br />

แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งในขณะนั้น<br />

กรมการพลังงานทหาร มีหน่วยขึ้น<strong>ต</strong>รงที่<br />

อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ อยู่ ๒ หน่วย<br />

คือ กองสารวจและผลิ<strong>ต</strong>วั<strong>ต</strong>ถุดิบ ซึ่งขณะนี้<br />

คือ กองสารวจและผลิ<strong>ต</strong>ปิโ<strong>ต</strong>รเลียม<br />

ศูนย์พัฒนาปิโ<strong>ต</strong>รเลียมภาคเหนือ กรมการ<br />

พลังงานทหาร (กสผ.ศพปน.พท.ศอพท.)<br />

และกองโรงงานกลั่นน้ามันที่ ๑ ซึ่งขณะนี้<br />

คือ กองการกลั่นปิโ<strong>ต</strong>รเลียม ศูนย์พัฒนา<br />

ปิโ<strong>ต</strong>รเลียมภาคเหนือ กรมการพลังงาน<br />

ทหาร (กกล.ศพปน.พท.ศอพท.)<br />

วิสัยทัศน์<br />

กรมการพลังงานทหาร ศูนย์การ<br />

อุ<strong>ต</strong>สาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงาน<br />

ทหาร เป็นผู้นาด้านการพลังงานทหาร<br />

และเป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านพลังงานของ<br />

กระทรวงกลาโหม เพื่อสนับสนุนภารกิจ<br />

ด้านความมั่นคงของประเทศ<br />

ภารกิจ<br />

มีหน้าที่ในการวางแผน ดาเนินการ<br />

ควบคุม วิจัย พัฒนา ผลิ<strong>ต</strong> จัดหา สะสม<br />

และให้บริการเกี่ยวกับน้ามันเชื้อเพลิง หรือ<br />

ผลิ<strong>ต</strong>ภัณฑ์ปิโ<strong>ต</strong>รเลียม และการพลังงาน<br />

อื่นๆ <strong>ต</strong>ามนโยบายของกระทรวงกลาโหม<br />

ควบคุม และส่งเสริมกิจการขององค์การ<br />

ซึ่งผลิ<strong>ต</strong>หรือทาการค้าน้ามันเชื้อเพลิง หรือ<br />

ผลิ<strong>ต</strong>ภัณฑ์ปิโ<strong>ต</strong>รเลียม<strong>ต</strong>ามที่ได้รับมอบหมาย<br />

ปัจจุบันมี พลโท ศิริพงษ์ วงศ์ขัน<strong>ต</strong>ี<br />

เจ้ากรมการพลังงานทหารฯ เป็นผู้บังคับ<br />

บัญชารับผิดชอบ<br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

39


ปกิณกะกระทรวงกลาโหม<br />

กฎหมายกระทรวงกลาโหมฉบับแรก<br />

ภายหลังเปลี ่ยนแปลงการปกครอง<br />

พล<strong>ต</strong>รี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์<br />

ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการ<br />

ปกครอง เมื่อวันที่๒๔ มิถุนายน<br />

๒๔๗๕ คณะราษฎรได้จัดทา<br />

กฎหมายขึ้นกราบบังคมทูลพระบาท<br />

สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระ<br />

ปรมาภิไธย รวม ๓ ฉบับ ประกอบด้วย<br />

o กฎหมายฉบับที่หนึ่ง : ชื่อว่า<br />

พระราชกาหนดนิรโทษกรรมในคราว<br />

เปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน<br />

พุทธศักราช ๒๔๗๕ ซึ่งเป็นที่น่าสังเก<strong>ต</strong>ว่า<br />

กฎหมายฉบับแรกนี้ไม่มีผู้ลงนามรับสนอง<br />

พระบรมราชโองการ และประกาศใช้<br />

กฎหมายดังกล่าวในราชกิจจานุเบกษา<br />

ลงวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๔๗๕<br />

o กฎหมายฉบับที่สอง : ชื่อว่า<br />

พระราชบัญญั<strong>ต</strong>ิธรรมนูญการปกครอง<br />

แผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช<br />

๒๔๗๕ โดยไม่มีผู้ลงนามรับสนองพระบรม<br />

ราชโองการเช่นกัน<br />

o กฎหมายฉบับที่สาม : ชื่อว่า<br />

ประกาศจัดระเบียบป้องกันราช<br />

อาณาจักร พุทธศักราช ๒๔๗๕ ซึ่งเป็น<br />

กฎหมายฉบับแรกภายหลังการ<br />

เปลี่ยนแปลงการปกครอง ที่มีการลงนาม<br />

รับสนองพระบรมราชโองการ และ<br />

ประกาศใช้กฎหมายดังกล่าวในราช<br />

กิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๖ กรกฎาคม<br />

พุทธศักราช ๒๔๗๕<br />

สาหรับในส่วนของกิจการทหาร<br />

ปรากฏว่า ประกาศจัดระเบียบป้องกันราช<br />

อาณาจักร พุทธศักราช ๒๔๗๕ ถือเป็น<br />

กฎหมายฉบับแรกของกระทรวงกลาโหม<br />

ภายหลังยุคเปลี่ยนแปลงการปกครอง<br />

โดยกฎหมายฉบับนี้มีสาระสาคัญ คือ แบ่ง<br />

ส่วนราชการกระทรวงกลาโหม ออกเป็น<br />

๓ ส่วนราชการ ประกอบด้วย กองบังคับการ<br />

กระทรวงกลาโหม กองทัพบก และกรม<br />

ทหารเรือ<br />

ทั้งนี้ มีข้อสังเก<strong>ต</strong>สาคัญ กล่าวคือ<br />

40<br />

พล<strong>ต</strong>รี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์


กระทรวงกลาโหม<br />

กองบังคับการ<br />

กระทรวงกลาโหม<br />

กองทัพบก<br />

กรมทหารเรือ<br />

ลดฐานะกองทัพเรือให้คงเป็นเพียงกรม<br />

ทหารเรือ พร้อมกับให้ลดฐานะกรม<strong>ต</strong>่างๆ<br />

ของกองทัพเรือ เดิมมาเป็นกองทั้งหมด<br />

เว้นแ<strong>ต</strong>่กรมเสนาธิการทหารเรือเท่านั้น<br />

นอกจากนี้ยังนาหน่วยขึ้น<strong>ต</strong>รงกองทัพเรือ<br />

บางส่วน ที่เคยนาไปรวมกับฝายทหารบก<br />

โดยกลับมาสังกัดอยู่ในกรมทหารเรือ<br />

<strong>ต</strong>ามเดิม<br />

อย่างไรก็<strong>ต</strong>าม ในปถัดมาจึงได้มีการ<br />

<strong>ต</strong>ราพระราชบัญญั<strong>ต</strong>ิจัดระเบียบป้องกัน<br />

ราชอาณาจักร พุทธศักราช ๒๔๗๖ และ<br />

เริ่มใช้บังคับในวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๔๗๖<br />

ซึ่งมีการแบ่งส่วนราชการขึ้น<strong>ต</strong>รงกระทรวง<br />

กลาโหมออกเป็น ๔ ส่วนราชการ ประกอบ<br />

ด้วย<br />

๑. สานักงานเลขานุการรัฐมน<strong>ต</strong>รี<br />

โดยให้รับผิดชอบเกี่ยวกับราชการทางการ<br />

เมือง<br />

๒. สานักงานปลัดกระทรวง โดย<br />

ให้รับผิดชอบเกี่ยวกับราชการประจาทั่วไป<br />

ของกระทรวง ซึ่งมีหน่วยขึ้น<strong>ต</strong>รง รวม ๕<br />

หน่วย ประกอบด้วย กรมเสมียน<strong>ต</strong>รา กรม<br />

สัสดี กรมพระธรรมนูญ กรมแพทย<br />

สุขาภิบาล และกรมปลัดบัญชี<br />

๓. กองทัพบก ซึ่งมีหน่วยขึ้น<strong>ต</strong>รง<br />

รวม ๙ หน่วย ประกอบด้วย กรมเสนาธิการ<br />

ทหารบก มณฑลทหารบกที่ ๑ มณฑล<br />

ทหารบกที่ ๒ มณฑลทหารบกที่ ๓<br />

มณฑลทหารบกที่ ๔ มณฑลทหารบก<br />

ที่ ๕ กรมพลาธิการทหารบก กรมแผนที่<br />

และกรมอากาศยาน<br />

๔. กองทัพเรือ ซึ่งมีหน่วยขึ้น<strong>ต</strong>รง<br />

รวม ๖ หน่วย ประกอบด้วย กรม<br />

เสนาธิการทหารเรือ กองเรือรบ สถานี<br />

ทหารเรือกรุงเทพฯ กรมอู่ทหารเรือ<br />

กรมสรรพาวุธทหารเรือ และกรม<br />

อุทกศาส<strong>ต</strong>ร<br />

นอกจากนี้ ยังได้กาหนดหน่วย<br />

ขึ้น<strong>ต</strong>รงของทุกส่วนราชการไว้ด้วย แ<strong>ต</strong>่<br />

ที่น่าสนใจคือ มีการกาหนดอานาจหน้าที่<br />

ไว้เฉพาะ ๒ ส่วนราชการ คือ สานักงาน<br />

เลขานุการรัฐมน<strong>ต</strong>รี และสานักงานปลัด<br />

กระทรวง ในขณะที่กองทัพบกและ<br />

กองทัพเรือ ไม่ได้กาหนดอานาจหน้าที่<br />

เพียงแ<strong>ต</strong>่กาหนดเฉพาะหน่วยขึ้น<strong>ต</strong>รง<br />

ไว้เท่านั้น พร้อมทั้งให้อานาจรัฐมน<strong>ต</strong>รี<br />

ว่าการกระทรวงกลาโหมในการออก<br />

ข้อบังคับกระทรวงกลาโหม เพื่อกาหนด<br />

หน่วยย่อยของส่วนราชการ<strong>ต</strong>่างๆ ใน<br />

กระทรวงกลาโหม และกาหนดอั<strong>ต</strong>รา<br />

ชั้นยศ ชื่อ<strong>ต</strong>าแหน่งได้<strong>ต</strong>ามความเหมาะสม<br />

กับหน้าที่ราชการ ซึ่งในพระราชบัญญั<strong>ต</strong>ิ<br />

ฉบับนี้ จึงส่งผลให้กิจการทหารเรือ<br />

ได้รับการยกระดับขึ้นเป็นกองทัพเรือ<br />

หลังจากที่เคยถูกลดระดับให้เหลือ<br />

เป็นเพียงกรมทหารเรือ <strong>ต</strong>าม<br />

ประกาศจัดระเบียบป้องกันราช<br />

อาณาจักร พุทธศักราช ๒๔๗๕<br />

อีกทั้ง <strong>ต</strong>ราพระราชบัญญั<strong>ต</strong>ิจัด<br />

ระเบียบป้องกันราชอาณาจักร<br />

พุทธศักราช ๒๔๗๖<br />

ฉบับนี้ ได้มีการ<br />

<strong>ต</strong>ราขึ้นโดยใช้กรอบ<br />

แนวทางการบริหาร<br />

ราชการแผ่นดินสมัย<br />

ใหม่ ที่มีการจัดส่วน<br />

ราชการเพื่อรองรับ<br />

นโยบายจากฝายการเมืองคือสานักงาน<br />

เลขานุการรัฐมน<strong>ต</strong>รี มีการแบ่งกาลังรบ<br />

หลักออกเป็นกองทัพบกและกองทัพเรือ<br />

สาหรับราชการอื่นของกระทรวงกลาโหม<br />

เป็นส่วนรวมได้มอบให้ สานักงานปลัด<br />

กระทรวงรับผิดชอบ จึงถือว่าเป็นรูปแบบ<br />

การจัดส่วนราชการที่เป็นสากล และถือ<br />

ปฏิบั<strong>ต</strong>ิมาจนปจจุบัน<br />

จึงกล่าวได้ว่า ประกาศจัดระเบียบ<br />

ป้องกันราชอาณาจักร พุทธศักราช ๒๔๗๕<br />

ถือเป็นกฎหมายฉบับแรกของกระทรวง<br />

กลาโหม และพระราชบัญญั<strong>ต</strong>ิจัดระเบียบ<br />

ป้องกันราชอาณาจักร พุทธศักราช ๒๔๗๖<br />

ถือเป็นพระราชบัญญั<strong>ต</strong>ิที่เป็นมา<strong>ต</strong>รฐาน<br />

ของการจัดระเบียบและการดาเนินกิจการ<br />

กระทรวงกลาโหม ทั้งนี้กฎหมายทั้ง ๒ ฉบับ<br />

ถือเป็นกฎหมายในยุคใหม่ภายหลัง<br />

การเปลี่ยนแปลงการปกครองนั่นเอง<br />

ËÅÑ¡àÁ×ͧ µØÅÒ¤Á òõöð<br />

41


ข้อพึงระมัดระวัง<br />

ของข้าราชการทุกประเภท<br />

<strong>ต</strong>่อศาลอาญาคดีทุจริ<strong>ต</strong>และประพฤ<strong>ต</strong>ิมิชอบ<br />

พลโท ทวี แจ่มจำรัส<br />

ปั<br />

จจุบันประเทศไทยได้มีการจัด<strong>ต</strong>ั้ง<br />

ศาลอาญาคดีทุจริ<strong>ต</strong>และประพฤ<strong>ต</strong>ิ<br />

มิชอบขึ้นมาแล้ว เป็นศาลที่<br />

พิจารณาพิพากษาคดีอาญาที่จัด<strong>ต</strong>ั้งใหม่<br />

ล่าสุด <strong>ต</strong>ามพระราชกฤษฎีกา ให้เปิดทาการ<br />

ศาลอาญาคดีทุจริ<strong>ต</strong>และประพฤ<strong>ต</strong>ิมิชอบกลาง<br />

มา<strong>ต</strong>ั้งแ<strong>ต</strong>่วันที่ ๑ <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๕๙ แล้ว<br />

<strong>ต</strong>ั้งอยู่ที่ซอยสีคาม ถนนนครไชยศรี แขวง<br />

ดุสิ<strong>ต</strong> เข<strong>ต</strong>ดุสิ<strong>ต</strong> กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๐<br />

ทั้งนี้เป็นไป<strong>ต</strong>ามกฎหมาย ๒ ฉบับ และ<br />

ข้อบังคับของประธานศาลฎีกา ซึ่งสามารถ<br />

ค้นหาและดูได้จากกูเกิล และเว็บไซ<strong>ต</strong>์ คือ<br />

๑. พระราชบัญญั<strong>ต</strong>ิจัด<strong>ต</strong>ั้งศาลอาญา<br />

คดีทุจริ<strong>ต</strong>และประพฤ<strong>ต</strong>ิมิชอบ พ.ศ.๒๕๕๙<br />

มี ๒๒ มา<strong>ต</strong>รา (ประกาศราชกิจจานุเบกษา<br />

ลง ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๙)<br />

๒. พระราชบัญญั<strong>ต</strong>ิวิธีพิจารณา<br />

คดีทุจริ<strong>ต</strong>และประพฤ<strong>ต</strong>ิมิชอบ พ.ศ.๒๕๕๙<br />

มี ๕๓ มา<strong>ต</strong>รา (ประกาศราชกิจจานุเบกษา<br />

ลง ๓๐ กันยายน ๒๕๕๙)<br />

๓. ข้อบังคับของประธานศาลฎีกา<br />

ว่าด้วยวิธีการดาเนินคดีทุจริ<strong>ต</strong>และประพฤ<strong>ต</strong>ิ<br />

มิชอบ พ.ศ.๒๕๕๙ มี ๓๙ ข้อ (ลงนามโดย<br />

ท่านวีระพล <strong>ต</strong>ั้งสุวรรณ ประธานศาลฎีกา<br />

และประกาศราชกิจจานุเบกษา ลง ๑<br />

<strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๕๙)<br />

จากคาจากัดความที่สาคัญ มีดังนี้<br />

“ศาลอาญาคดีทุจริ<strong>ต</strong>และประพฤ<strong>ต</strong>ิ<br />

มิชอบ” หมายความว่า ศาลอาญาคดีทุจริ<strong>ต</strong><br />

42 พลโท ทวี แจ่มจำรัส


และประพฤ<strong>ต</strong>ิมิชอบกลาง (จัด<strong>ต</strong>ั้งแล้วที่<br />

กรุงเทพมหานคร) และศาลอาญาคดีทุจริ<strong>ต</strong><br />

และประพฤ<strong>ต</strong>ิมิชอบภาค (จัด<strong>ต</strong>ั้งในอนาค<strong>ต</strong>)<br />

คดีทุจริ<strong>ต</strong>และประพฤ<strong>ต</strong>ิมิชอบ<br />

หมายความว่า คดีดัง<strong>ต</strong>่อไปนี้ ไม่ว่าจะมี<br />

ข้อหาหรือความผิดอื่นที่เกี่ยวข้องกัน<br />

รวมอยู่ด้วยหรือไม่ก็<strong>ต</strong>าม<br />

๑) คดีอาญาที่ฟ้องให้เจ้าหน้าที่ของ<br />

รัฐในความผิด<strong>ต</strong>่อ<strong>ต</strong>าแหน่งหน้าที่ราชการ<br />

หรือความผิด<strong>ต</strong>่อ<strong>ต</strong>าแหน่งหน้าที่ในการ<br />

ยุ<strong>ต</strong>ิธรรม <strong>ต</strong>ามประมวลกฎหมายอาญา<br />

ความผิด<strong>ต</strong>่อ<strong>ต</strong>าแหน่งหน้าที่ หรือทุจริ<strong>ต</strong><strong>ต</strong>่อ<br />

หน้าที่<strong>ต</strong>ามกฎหมายอื่น หรือความผิดอื่น<br />

อันเนื่องมาจากการประพฤ<strong>ต</strong>ิมิชอบ<br />

๒) คดีอาญาที่ฟ้องให้ลงโทษเจ้า<br />

หน้าที่ของรัฐ หรือบุคคลที่กระทาความผิด<br />

ฐานฟอกเงินที่เกี่ยวข้องกับความผิด<strong>ต</strong>าม<br />

(๑) หรือกระทาความผิด <strong>ต</strong>ามกฎหมายว่า<br />

ด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคา<strong>ต</strong>่อ<br />

หน่วยงานของรัฐ (พระราชบัญญั<strong>ต</strong>ิฮั้ว)<br />

กฎหมายว่าด้วยการให้เอกชนร่วมลงทุน<br />

ในกิจการของรัฐ หรือกฎหมายอื่นที่มี<br />

วั<strong>ต</strong>ถุประสงค์ในการป้องกันและปราบ<br />

ปรามการทุจริ<strong>ต</strong>หรือประพฤ<strong>ต</strong>ิมิชอบ<br />

๓) คดีอาญาที่ฟ้องให้ลงโทษบุคคล<br />

ในความผิดเกี่ยวกับการเรียกรับ ยอมจะรับ<br />

หรือให้ ขอให้ รับว่าจะให้ทรัพย์สินหรือ<br />

ประโยชน์อันใด หรือการใช้กาลัง<br />

ประทุษร้าย ขู่เข็ญว่าจะใช้กาลังประทุษร้าย<br />

หรือใช้อิทธิพลเพื่อจูงใจ หรือข่มขืนใจให้<br />

เจ้าหน้าที่ของรัฐ กระทาการ ไม่กระทาการ<br />

หรือประวิงการกระทาใด <strong>ต</strong>ามประมวล<br />

กฎหมายอาญาหรือกฎหมายอื่น<br />

๔) คดีอาญาที่ฟ้องขอให้ลงโทษ<br />

เจ้าหน้าที่ของรัฐหรือบุคคล<strong>ต</strong>ามกฎหมาย<br />

ที่กาหนดให้เป็นคดีทุจริ<strong>ต</strong>และประพฤ<strong>ต</strong>ิ<br />

มิชอบ<br />

๕) คดีอาญาที่ฟ้องขอให้ลงโทษ<br />

บุคคลที่ร่วมกระทาความผิดกับเจ้าหน้าที่<br />

ของรัฐ หรือบุคคล<strong>ต</strong>าม (๑) ถึง (๔) ไม่ว่า<br />

ในฐานะ<strong>ต</strong>ัวการผู้ใช้ ผู้สนับสนุน หรือ<br />

ผู้สมคบ<br />

๖) คดีเกี่ยวกับการจงใจไม่ยื่นบัญชี<br />

แสดงรายการทรัพย์สิน และหนี้สินและ<br />

เอกสารประกอบ หรือจงใจยื่นบัญชีและ<br />

เอกสารดังกล่าวด้วยข้อความอันเป็นเท็จ<br />

หรือปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบ<br />

๗) คดีร้องขอให้ทรัพย์สิน<strong>ต</strong>กเป็นของ<br />

แผ่นดินเพราะเห<strong>ต</strong>ุร่ารวยผิดปก<strong>ต</strong>ิ หรือมี<br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

43


ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปก<strong>ต</strong>ิ<br />

๘) กรณีที่มีการขอให้ศาลดาเนิน<br />

กระบวนพิจารณาอย่างหนึ่งอย่างใดก่อน<br />

ยื่นฟ้องหรือยื่นคาร้องขอ <strong>ต</strong>าม (๑) ถึง (๗)<br />

ความในวรรคหนึ่งมิได้รวมถึง<br />

(๑) คดีที่อยู่ในอานาจของศาลฎีกา<br />

แผนกคดีอาญาของผู้ดารง<strong>ต</strong>าแหน่ง<br />

ทางการเมือง<br />

(๒) คดีที่อยู่ในอานาจของศาล<br />

เยาวชน และครอบครัว<strong>ต</strong>ามกฎหมาย<br />

ว่าด้วยศาลเยาวชนและครอบครัว และ<br />

วิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว<br />

“ทุจริ<strong>ต</strong><strong>ต</strong>่อหน้าที่” หมายความว่า<br />

ทุจริ<strong>ต</strong><strong>ต</strong>่อหน้าที่ <strong>ต</strong>ามพระราชบัญญั<strong>ต</strong>ิ<br />

ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกัน<br />

และปราบปรามการทุจริ<strong>ต</strong> กฎหมายว่าด้วย<br />

มา<strong>ต</strong>รการของฝ่ายบริหารในการป้องกัน<br />

และปราบปรามการทุจริ<strong>ต</strong> หรือพระราช<br />

บัญญั<strong>ต</strong>ิประกอบรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย<br />

อื่น<br />

“ประพฤ<strong>ต</strong>ิมิชอบ” หมายความว่า<br />

การกระทาที่ไม่ใช่ทุจริ<strong>ต</strong><strong>ต</strong>่อหน้าที่ แ<strong>ต</strong>่<br />

เป็นการปฏิบั<strong>ต</strong>ิหรือละเว้นการปฏิบั<strong>ต</strong>ิอย่าง<br />

ใดโดยอาศัยเห<strong>ต</strong>ุที่มี<strong>ต</strong>าแหน่งหน้าที่อันเป็น<br />

การฝ่าฝืนกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

คาสั่ง หรือม<strong>ต</strong>ิของคณะรัฐมน<strong>ต</strong>รีที่มุ่งหมาย<br />

จะควบคุมดูแล การรับ การเก็บรักษา หรือ<br />

การใช้เงินหรือทรัพย์สินของแผ่นดิน<br />

“เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายความว่า<br />

เจ้าหน้าที่ของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐ<strong>ต</strong>่าง<br />

ประเทศ และเจ้าหน้าที่ขององค์กรระหว่าง<br />

ประเทศ <strong>ต</strong>ามพระราชบัญญั<strong>ต</strong>ิประกอบ<br />

รัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบ<br />

ปรามการทุจริ<strong>ต</strong> หรือกฎหมายว่าด้วย<br />

มา<strong>ต</strong>รการของฝ่ายบริหาร ในการป้องกัน<br />

และปราบปรามการทุจริ<strong>ต</strong> และให้<br />

หมายความรวมถึงเจ้าพนักงาน<strong>ต</strong>าม<br />

ประมวลกฎหมายอาญาด้วย<br />

สรุปในภาพรวมคือผู้กระทาผิดเป็น<br />

ได้ทั้งเจ้าหน้าที่รัฐและภาคเอกชน การ<br />

พิจารณาคดีให้ใช้ระบบไ<strong>ต</strong>่สวน (ที่แ<strong>ต</strong>ก<strong>ต</strong>่าง<br />

จากวิธีพิจารณาคดีอาญาเดิมที่ใช้ระบบ<br />

กล่าวหาซึ่งพยานหลักฐานเป็นไป<strong>ต</strong>าม<br />

ที่คู่ความนามาสืบในศาล) ระบบไ<strong>ต</strong>่สวนนี้<br />

องค์คณะผู้พิพากษา จะมีบทบาทในการ<br />

ค้นหาข้อเท็จจริงได้มากขึ้น การสืบพยาน<br />

กาหนดให้ศาลเป็นผู้ถามพยานเอง จากนั้น<br />

จึงให้คู่ความถามเพิ่มเ<strong>ต</strong>ิม การริบทรัพย์สิน<br />

ที่แม้โจทก์ไม่ได้ขอศาลก็มีอานาจริบได้<br />

อายุความในการดาเนินคดีและได้<strong>ต</strong>ัวจาเลย<br />

มาลงโทษที่ไม่นับระยะเวลาที่จาเลยหลบ<br />

หนี การหลบหนีของจาเลยระหว่างได้รับ<br />

การปล่อย<strong>ต</strong>ัวชั่วคราว จะ<strong>ต</strong>้องถูกลงโทษ<br />

เพิ่มอีกหนึ่งกระทงด้วย คาพิพากษาศาล<br />

อุทธรณ์เป็นที่สุด เว้นแ<strong>ต</strong>่จะได้รับอนุญา<strong>ต</strong><br />

ให้ฎีกา เป็น<strong>ต</strong>้น<br />

ในอดี<strong>ต</strong>ที่ผ่านมาก็มีอุทาหรณ์ใน<br />

ทุกส่วนราชการ มีคดีที่เกิดบ่อยที่สุดคือ<br />

การลงโทษข้าราชการผู้ทุจริ<strong>ต</strong>ที่เบียดบังเงิน<br />

ของหลวงไปใช้เป็นประโยชน์ส่วน<strong>ต</strong>ัวที่จะ<br />

<strong>ต</strong>้องลงโทษไล่ออกจากราชการเพียงสถาน<br />

เดียว <strong>ต</strong>ามม<strong>ต</strong>ิคณะรัฐมน<strong>ต</strong>รี <strong>ต</strong>ามหนังสือ<br />

สานักเลขาธิการนายกรัฐมน<strong>ต</strong>รี ที่ นร<br />

๐๒๐๕/ว๒๓๔ ลงวันที่ ๒๔ ธันวาคม<br />

44 พลโท ทวี แจ่มจำรัส


๒๕๓๖ กาหนดให้ลงโทษผู้กระทาผิดวินัย<br />

ฐานทุจริ<strong>ต</strong><strong>ต</strong>่อหน้าที่ราชการเป็นความผิด<br />

อย่างร้ายแรง ควรลงโทษไล่ออกจาก<br />

ราชการ การนาเงินที่ทุจริ<strong>ต</strong>ไปแล้วมาคืน<br />

หรือมีเห<strong>ต</strong>ุอันควรปรานีอื่นใด ไม่เป็นเห<strong>ต</strong>ุ<br />

ลดหย่อนโทษเป็นปลดออกจากราชการ<br />

แล้วยัง<strong>ต</strong>้องถูกดาเนินคดีอาญาฐานทุจริ<strong>ต</strong><br />

<strong>ต</strong>่อหน้าที่ด้วย<br />

ในปัจจุบันทราบว่าได้มีการที่จะออก<br />

กฎหมาย<strong>ต</strong>ามร่างพระราชบัญญั<strong>ต</strong>ิ ว่าด้วย<br />

ความผิดเกี่ยวกับการขัดกันระหว่าง<br />

ประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วน<br />

รวม พ.ศ.....ซึ่งได้ผ่านคณะรัฐมน<strong>ต</strong>รีไปแล้ว<br />

เมื่อ ๑ สิงหาคม ๒๕๖๐ <strong>ต</strong>ามที่สานักงาน<br />

คณะกรรมการกฤษฎีกาเสนอ<strong>ต</strong>ามหลักการ<br />

และเห<strong>ต</strong>ุผลประการสาคัญว่า ในการ<br />

บริหารราชการแผ่นดิน จะ<strong>ต</strong>้องเป็นไปด้วย<br />

ความโปร่งใส และเกิดประโยชน์สูงสุด<br />

<strong>ต</strong>่อประชาชน รวมทั้ง<strong>ต</strong>้องปราศจากความ<br />

เคลือบแคลงสงสัยในความซื่อสั<strong>ต</strong>ย์สุจริ<strong>ต</strong><br />

ในการบริหารราชการแผ่นดิน อันเนื่อง<br />

มาจากขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคล<br />

โดยกาหนดให้คณะกรรมการป้องกันและ<br />

ปราบปรามการทุจริ<strong>ต</strong>แห่งชา<strong>ต</strong>ิ จัดให้มี<br />

หน่วยงานพิเศษขึ้นภายในสานักงานคณะ<br />

กรรมการป้องกันและปราบปรามการ<br />

ทุจริ<strong>ต</strong>แห่งชา<strong>ต</strong>ิเพื่อรับผิดชอบในการกากับ<br />

ดูแล และการบังคับใช้พระราชบัญญั<strong>ต</strong>ิและ<br />

กาหนดให้คณะกรรมการป้องกันและปราบ<br />

ปรามการทุจริ<strong>ต</strong>แห่งชา<strong>ต</strong>ิ จัดทาข้อกาหนด<br />

และคู่มือการปฏิบั<strong>ต</strong>ิของหน่วยงานของรัฐ<br />

โดยกาหนดบทกาหนดโทษทางอาญา กรณี<br />

ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบั<strong>ต</strong>ิ<strong>ต</strong>ามพระราชบัญญั<strong>ต</strong>ิ<br />

ฉบับนี้<br />

เพราะฉะนั้นข้าราชการทุกท่านและ<br />

ทุกหมู่เหล่า จะ<strong>ต</strong>้องปฏิบั<strong>ต</strong>ิหน้าที่ของ<strong>ต</strong>น<br />

ด้วยความซื่อสั<strong>ต</strong>ย์สุจริ<strong>ต</strong>เป็นที่<strong>ต</strong>ั้ง กฎหมาย<br />

ที่มีอยู่เดิมแล้วและจะเกิดในอนาค<strong>ต</strong>มีบท<br />

กาหนดโทษอาญารุนแรง การพิจารณาคดี<br />

ก็มีศาลอาญาคดีทุจริ<strong>ต</strong>และประพฤ<strong>ต</strong>ิมิชอบ<br />

เป็นศาลชานัญพิเศษที่จะพิจารณาคดีได้<br />

ด้วยความรวดเร็ว เพราะฉะนั้นสิ่งที่ล่อ<br />

แหลมและเกี่ยวข้องกับการทุจริ<strong>ต</strong>ประพฤ<strong>ต</strong>ิ<br />

มิชอบ จะ<strong>ต</strong>้องหลีกเลี่ยงและไม่ทา<strong>ต</strong>าม<br />

คาสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายของผู้บังคับ<br />

บัญชา แล้วท่านจะปลอดภัย<strong>ต</strong>ลอดชีวิ<strong>ต</strong><br />

ราชการ สมกับสุภาษิ<strong>ต</strong>ไทยโบราณที่ว่า<br />

“สุจริ<strong>ต</strong>คือ เกราะบัง ศาส<strong>ต</strong>ร์พ้อง” ไม่<strong>ต</strong>้อง<br />

ขึ้นโรงขึ้นศาลระหว่างรับราชการและเมื่อ<br />

เกษียณราชการแล้ว มิเช่นนั้นท่านจะเป็น<br />

คนเหมือน<strong>ต</strong>กนรกทั้งเป็น ขอให้ข้าราชการ<br />

ทุกท่านทุกระดับโชคดี<strong>ต</strong>ลอดไป<br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

45


แนะนำอำวุธเพื ่อนบ้ำน<br />

รถสำยพำนลำเลียงพล<br />

แบบ เอ็ม-๑๑๓<br />

พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์<br />

กองทัพบกฟิลิปปินส์นำรถสำยพำน<br />

ลำเลียงพล แบบ เอ็ม-๑๑๓<br />

(M-113: Armored Personnel<br />

Carrier) เข้ำปฏิบั<strong>ต</strong>ิกำรทำงทหำรทำง<strong>ต</strong>อนใ<strong>ต</strong>้<br />

ของประเทศที่เกำะมินดำเนำ เมืองมำรำวี<br />

(Marawi) พื้นที่ขนำด ๘๗.๕ <strong>ต</strong>ำรำง<br />

กิโลเม<strong>ต</strong>ร ควำมสูง ๗๐๐ เม<strong>ต</strong>ร (๒,๓๐๐<br />

ฟุ<strong>ต</strong>) มีประชำกร ๒๐๑,๗๘๕ คน เริ่ม<strong>ต</strong>้น<br />

กำรรบเมื่อวันที่ ๒๓ พฤษภำคม พ.ศ.<br />

รถสายพานลาเลียงพล แบบ เอ็ม-๑๑๓ (M-113) กองทัพบกฟิลิปปินส์ ขณะเข้าร่วมปฏิบั<strong>ต</strong>ิการทางทหารที่เมืองมาราวี (Marawi) เมื่อวันที่ ๓๑ พฤษภาคม<br />

พ.ศ.๒๕๖๐ ทาการ<strong>ต</strong>่อสู้กับกองกาลัง<strong>ต</strong>ิดอาวุธ อาบูไซยัฟ (Abu Sayyaf) และกลุ่ม<strong>ต</strong>ิดอาวุธมาอูเ<strong>ต</strong>้ (Maute)<br />

๒๔๖๐ เพื่อเข้ำจับกุมหัวหน้ำกองกำลัง<br />

<strong>ต</strong>ิดอำวุธอำบูไซยัฟ (Abu Sayyaf) และได้รับ<br />

กำรสนับสนุนกลุ่ม<strong>ต</strong>ิดอำวุธมำอูเ<strong>ต</strong>้(Maute)<br />

กำรรบได้ขยำยมำเป็นกำรรบใหญ่ที่โด่งดัง<br />

ไปทั่วโลก กองทัพบกฟิลิปปินส์ประจำกำร<br />

ด้วยรถสำยพำนลำเลียงพล แบบ เอ็ม-<br />

๑๑๓เอ๑ (M-113A1) รวม ๑๒๐ คัน ปี พ.ศ.<br />

๒๕๑๐ <strong>ต</strong>่อมำได้รับกำรสนับสนุนจำก<br />

สหรัฐอเมริกำ รวม ๑๑๔ คัน เมื่อวันที่ ๔<br />

กุมภำพันธ์พ.ศ.๒๕๕๙ จึงนำไปปรับปรุงใหม่<br />

เพื่อเพิ่มขีดควำมสำมำรถรวม ๒๘ คัน<br />

ประกอบด้วย รุ่นรถรบทหำรรำบโดย<strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>ั้ง<br />

ปืนขนำด ๒๕ มิลลิเม<strong>ต</strong>ร รวม ๔ คัน<br />

รุ่นรถสำยพำนลำเลียงพล<strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>ั้งปืนกลหนัก<br />

ขนำด ๑๒.๗ มิลลิเม<strong>ต</strong>ร (ควบคุมด้วย<br />

รีโมทคอนโทรล) รวม ๖ คัน รุ่นสนับสนุน<br />

กำรรบ<strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>ั้งปืนขนำด ๙๐ มิลลิเม<strong>ต</strong>ร รวม<br />

๑๔ คัน และรุ่นรถกู้ซ่อม (ARV) รวม ๔ คัน<br />

46 พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์


รถสายพานลาเลียงพล แบบ เอ็ม-๑๑๓ (M-113) กองทัพบกฟิลิปปินส์ ขณะปฏิบั<strong>ต</strong>ิการทางทหาร<br />

ที่เมืองมาราวี (Marawi) พื้นที่ขนาด ๘๗.๕ <strong>ต</strong>ารางกิโลเม<strong>ต</strong>ร ความสูง ๗๐๐ เม<strong>ต</strong>ร (๒,๓๐๐ ฟุ<strong>ต</strong>)<br />

ทำกำรปรับปรุงโดยประเทศอิสรำเอล กำรรบ<br />

ที่เมืองมำรำวี (Marawi) ยืดเยื้อมำนำน<br />

เพรำะมีกองกำลัง<strong>ต</strong>ิดอำวุธ<strong>ต</strong>่ำงชำ<strong>ต</strong>ิเข้ำร่วม<br />

ปฏิบั<strong>ต</strong>ิกำรกับกองกำลัง<strong>ต</strong>ิดอำวุธอำบูไซยัฟ<br />

(Abu Sayyaf) ถึงวันที่ ๗ กันยำยน พ.ศ.<br />

๒๕๖๐ กองกำลังฝ่ำยควำมมั่นคงเสียชีวิ<strong>ต</strong><br />

๑๔๕ นำย ได้รับบำดเจ็บ ๑,๔๐๐ นำย<br />

สูญหำย ๖๐ นำย และประชำชนเสียชีวิ<strong>ต</strong><br />

๘๐ คน ฝ่ำยกองกำลัง<strong>ต</strong>ิดอำวุธเสียชีวิ<strong>ต</strong><br />

๖๕๓ คน และถูกจับ<strong>ต</strong>ัว ๙ คน<br />

รถสำยพำนลำเลียงพล แบบ เอ็ม-๑๑๓<br />

(M-113) พัฒนำและผลิ<strong>ต</strong>จำกประเทศ<br />

สหรัฐอเมริกำ นำเข้ำประจำกำรในปี พ.ศ.<br />

๒๕๐๓ ข้อมูลที่สำคัญ น้ำหนัก ๑๒.๓ <strong>ต</strong>ัน<br />

ขนำดยำว ๔.๘๖ เม<strong>ต</strong>ร กว้ำง ๒.๖๘ เม<strong>ต</strong>ร<br />

สูง ๒.๕ เม<strong>ต</strong>ร เครื่องยน<strong>ต</strong>์เบนซิน ขนำด<br />

๒๐๙ แรงม้ำ ควำมเร็ว ๖๗ กิโลเม<strong>ต</strong>ร<strong>ต</strong>่อ<br />

ชั่วโมง ระยะปฏิบั<strong>ต</strong>ิกำร ๔๘๐ กิโลเม<strong>ต</strong>ร<br />

ปืนกลหนัก เอ็ม-๒ (M-2) ขนำด ๐.๕ นิ้ว<br />

และบรรทุกทหำรได้ ๑๓ นำย (พลประจำรถ<br />

๒ นำย + ทหำรรำบ ๑๑ นำย) กองทัพบก<br />

สหรัฐอเมริกำนำเข้ำปฏิบั<strong>ต</strong>ิกำรทำง<br />

ทหำรในสงครำมเวียดนำมใ<strong>ต</strong>้ โดยส่ง<br />

กองพันทหำรรำบยำนเกรำะเข้ำปฏิบั<strong>ต</strong>ิกำร<br />

รถสายพานลาเลียงพล แบบ เอ็ม-๑๑๓ (M-113) กองทัพบกฟิลิปปินส์ ขณะเข้าร่วมปฏิบั<strong>ต</strong>ิการทางทหารที่เมืองมาราวี (Marawi) เมื่อวันที่ ๓๑ พฤษภาคม<br />

พ.ศ.๒๕๖๐ (ในภาพเป็นรุ่นปรับปรุงใหม่<strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>ั้งปืนขนาด ๒๕ มิลลิเม<strong>ต</strong>ร แ<strong>ต</strong>่รุ่นมา<strong>ต</strong>รฐาน<strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>ั้งปืนขนาด ๑๒.๗ มิลลิเม<strong>ต</strong>ร หรือ ๐.๕ นิ้ว)<br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

47


รถสายพานลาเลียงพล แบบ เอ็ม-๑๑๓เอ๒ (M-113A2) กองทัพบกสิงคโปร์นามาเป็นฐานยิงของจรวดนาวิถีประทับบ่ายิง แบบอิ๊กล่า (Igla) ชนิดหกท่อยิง<br />

(เป็นอั<strong>ต</strong><strong>ต</strong>าจร)<br />

เมื่อเดือนเมษำยน พ.ศ.๒๕๐๕ (โดย<br />

หมุนเวียนกองพลทหำรรำบเข้ำปฏิบั<strong>ต</strong>ิกำร)<br />

สงครำมเวียดนำมยุ<strong>ต</strong>ิลงในปี พ.ศ.๒๕๑๘<br />

ได้ประจำกำรอย่ำงแพร่หลำยในกองทัพ<br />

มิ<strong>ต</strong>รประเทศที่เข้ำร่วมปฏิบั<strong>ต</strong>ิกำร<br />

รถสำยพำนลำเลียงพล แบบ เอ็ม-๑๑๓<br />

รถสายพานลาเลียงพล แบบ เอ็ม-๑๑๓ (M-113) รุ่น<strong>ต</strong>่อสู้รถถัง เรียกว่า แบบ เอ็ม-๙๐๑ (M-901 ITV:<br />

Improved TOW Vehicle) <strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>ั้งจรวดนาวิถี<strong>ต</strong>่อสู้รถถังขนาดหลักสองท่อยิง มีพลประจารถ ๔ นาย<br />

ประจาการ ๑๐ ประเทศ (ประเทศในเอเชียรวม ๕ ประเทศ คือ บาเรนห์ จอร์แดน คูเว<strong>ต</strong> ปากีสถาน และไทย)<br />

(M-113) ได้ผลิ<strong>ต</strong>รุ่นหลักออกมำ ๔ รุ่น คือ<br />

รุ่น เอ็ม-๑๑๓ (M-113) เครื่องยน<strong>ต</strong>์เบนซิน<br />

ขนำด ๒๐๙ แรงม้ำ รุ่น เอ็ม-๑๑๓เอ๑<br />

(M-113A1) เครื่องยน<strong>ต</strong>์ดีเซล แบบ ๖วี-<br />

๕๓ ขนำด ๒๑๕ แรงม้ำ พ.ศ.๒๕๐๗ รุ่น<br />

เอ็ม-๑๑๓เอ๒ (M-113A2) พ.ศ.๒๕๒๒<br />

และรุ่น เอ็ม-๑๑๓เอ๓ (M-113A3)<br />

เครื่องยน<strong>ต</strong>์ดีเซล แบบ ๖วี-๕๓ที ขนำด<br />

๒๗๕ แรงม้ำ พ.ศ.๒๕๓๐ ปฏิบั<strong>ต</strong>ิกำรใน ๓<br />

ภำรกิจ คือ ภำรกิจทำกำรรบ (ลำเลียงพล<br />

และ<strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>ั้งจรวดโทว์) ภำรกิจสนับสนุนกำรรบ<br />

(เครื่องยิงลูกระเบิดขนำด ๔.๒ นิ้ว/<br />

ขนำด ๘๑ และขนำด ๑๒๐ มิลลิเม<strong>ต</strong>ร)<br />

และภำรกิจสนับสนุนกำรช่วยรบ (รถ<br />

บังคับกำร/รถขนส่ง/รถกู้ซ่อม) หลังยุค<br />

สงครำมเย็นสหรัฐอเมริกำให้กำรสนับสนุน<br />

มิ<strong>ต</strong>รประเทศคือ ลิธัวเนีย บอสเนีย เฮอร์-<br />

เซโกวีนำ มำซิโดเนีย โปแลนด์ แอลเบเนีย<br />

เลบำนอน จอร์แดน อัฟกำนิสถำน อิรัก<br />

48 พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์


้<br />

รถสายพานลาเลียงพล แบบ เอ็ม-๑๑๓ (M-113) รุ่น<strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>ั้งเครื่องยิงลูกระเบิดขนาด ๑๒๐ มิลลิเม<strong>ต</strong>ร<br />

(แผ่นฐานยิงสาหรับทาการ<strong>ต</strong>ั้งยิงบนพื้นดิน อยู่ทางด้านนอกของ<strong>ต</strong>ัวรถ ทางด้านซ้ายมือ)<br />

รถสายพานลาเลียงพล แบบ เอ็ม-๑๑๓ (M-113)<br />

<strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>ั้งเครื่องยิงลูกระเบิดขนาด ๔.๒ นิ้ว ทาการ<br />

ยิงสนับสนุนกองทัพสหรัฐอเมริกา ขณะปฏิบั<strong>ต</strong>ิการ<br />

ทางทหารในสงครามเวียดนามใ<strong>ต</strong>้<br />

และเยเมน ปัจจุบันประจำกำรทั่วโลก ๕๑<br />

ประเทศ ประเทศในเอเชียนำเข้ำประจำกำร<br />

๑๙ ประเทศ มียอดผลิ<strong>ต</strong>ทั้งสิ้นทุกรุ่น<br />

รวมกว่ำ ๘๐,๐๐๐ คัน<br />

กองทัพบกสิงคโปร์ประจำกำร<br />

รถสำยพำนลำเลียงพล แบบ เอ็ม-๑๑๓เอ๑<br />

(M-113A1) รวมทั้งสิ้น ๑,๒๐๐ คัน <strong>ต</strong>่อมำ<br />

ปรับปรุงเป็น รุ่น เอ็ม-๑๑๓เอ๒ (M-113A2)<br />

ถูกทดแทนด้วยรถรบทหำรรำบ<strong>ต</strong>ระกูล<br />

ไบโอนิกซ์ (Bionix) พัฒนำและผลิ<strong>ต</strong>ขึ้นที่<br />

ประเทศสิงคโปร์ น้ำหนักขนำด ๒๓ <strong>ต</strong>ัน<br />

บรรทุกทหำรได้ ๑๐ นำย (พลประจำรถ<br />

๓ นำย + ทหำรรำบ ๗ นำย) ประจำกำรปี<br />

พ.ศ.๒๕๓๙ รวมทั้งสิ้น ๖๐๐ คัน บำงส่วน<br />

นำไปเป็นฐำนยิงของจรวดนำวิถีประทับ<br />

บ่ำยิง แบบอิ๊กล่ำ (Igla) ชนิดหกท่อยิง (เป็น<br />

อั<strong>ต</strong><strong>ต</strong>ำจร) <strong>ต</strong>อนนี้อยู่ในห้วงสุดท้ำยของ<br />

ประจำกำร<br />

รถสายพานลาเลียงพล แบบ เอ็ม-๑๑๓ (M-113A1-B-FUS) กองทัพบกอินโดนีเซีย (TNI-AD) ขณะร่วม<br />

พิธีสวนสนามครบรอบปีที่ ๖๙<br />

กองทัพบกไทยประจำกำ ร<br />

รถสำยพำนลำเลียงพล แบบเอ็ม-๑๑๓<br />

(M-113) ปี พ.ศ.๒๕๐๕ <strong>ต</strong>่อมำได้นำออก<br />

ปฏิบั<strong>ต</strong>ิกำรในกำรปรำบปรำมผู้ก่อกำรร้ำย<br />

คอมมิวนิส<strong>ต</strong>์(ผกค.) ทั้ง ๔ กองทัพภำค เป็น<br />

อำวุธที่สำคัญในปฏิบั<strong>ต</strong>ิกำรทำงทหำร<br />

ช่วยให้กองทัพบกบรรลุภำรกิจที่สำคัญนี<br />

ระหว่ำงปี พ.ศ.๒๕๑๑ - ๒๕๒๕ <strong>ต</strong>่อมำได้<br />

จัดหำเพิ่มเ<strong>ต</strong>ิมอีกหลำยครั้ง (เช่น รถรุ่น<strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>ั้ง<br />

จรวดนำวิถี<strong>ต</strong>่อสู้รถถังโทว์ เรียกว่ำ<br />

เอ็ม-๙๐๑ ไอทีวี และรุ่น<strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>ั้งเครื่องยิง<br />

ลูกระเบิดขนำด ๑๒๐ มิลลิเม<strong>ต</strong>ร เรียกว่ำ<br />

เอ็ม-๑๐๖๔) ปัจจุบันส่วนใหญ่ประจำกำร<br />

ที่กรมทหำรรำบที่ ๑๒ รักษำพระองค์<br />

กองทัพบกอินโดนีเซีย (TNI-AD)<br />

จัดหำรถสำยพำนลำเลียงพล แบบ เอ็ม-<br />

๑๑๓ (M-113A1-B-FUS) จำกประเทศ<br />

เบลเยียม เป็นรถมือสองที่ได้รับกำร<br />

ปรับปรุงใหม่เมื่อวันที่๓๐ พฤษภำคม พ.ศ.<br />

๒๕๕๙ ได้รับมอบชุดแรก ๕๐ คัน จำกที่<br />

จัดหำทั้งสิ้น ๑๕๐ คัน<br />

บรรณานุกรม<br />

๑. THE WORLD DEFENCE ALMANAC 2015., ๒. https://en.wikipedia.org/wiki/M113_armored_personnel_carrier, ๓. https://<br />

en.wikipedia.org/wiki/Variants_of_the_M113_armored_personnel_carrier, ๔. https://en.wikipedia.org/wiki/Iraq_War, ๕. https://<br />

en.wikipedia.org/wiki/M901_ITV, ๖. https://en.wikipedia.org/wiki/Vietnam_War, ๗. https://en.wikipedia.org/wiki/Gulf_War<br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

49


แบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี ่ :<br />

หัวใจสำคัญของเรือดำน ้ำ<br />

เป็นเรื่องที่น่ายินดีที่รัฐบาลอนุมั<strong>ต</strong>ิให้<br />

“กองทัพเรือ” สั่ง<strong>ต</strong>่อเรือดาน้า จานวน<br />

๓ ลา จากสาธารณรัฐประชาชนจีน<br />

วงเงิน ๓๖,๐๐๐ ล้านบาท ในระยะเวลา<br />

การส่งมอบ ๑๐ – ๑๑ ปี โดยเรือดาน้า<br />

ลาแรกจะส่งมอบภายในเดือนพฤษภาคม<br />

๒๕๖๖ หรืออีก ๖ ปีข้างหน้า<br />

เรือดาน้าที่กองทัพเรือสั่ง<strong>ต</strong>่อนั้น เป็น<br />

เรือดาน้าชั้น Yuann Class S26T เป็นเรือ<br />

ดาน้าดีเซล - ไฟฟ้า ลาด<strong>ต</strong>ระเวนเดินสมุทร<br />

ขนาดกลาง มีระวางขับน้าอยู่ที่ ๒,๖๐๐ <strong>ต</strong>ัน<br />

มีการพัฒนา<strong>ต</strong>้นแบบมาจากเรือดาน้าชั้น<br />

KILO Class ของรัสเซีย ใช้เครื่องยน<strong>ต</strong>์<br />

สเ<strong>ต</strong>อร์ลิง (Stirling Engine) ที่จีนซื้อ<br />

<strong>ต</strong>้นแบบมาจากสวีเดน โดยมีขนาดยาว<br />

๗๗.๗ เม<strong>ต</strong>ร กว้าง ๘.๖ เม<strong>ต</strong>ร ความเร็ว<br />

๑๘ น๊อ<strong>ต</strong> สามารถบรรจุลูกเรือได้ ๖๕ นาย<br />

เรือดาน้า Yuan Class S26T มีการ<strong>ต</strong>ิด<br />

อาวุธครบครัน โดย<strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>ั้ง<strong>ต</strong>อร์ปิโด ๖ ท่อยิง<br />

ที่สามารถยิงได้ไกลกว่า ๒๕๐ กิโลเม<strong>ต</strong>ร<br />

และมีระบบที่สาคัญๆ คือ ระบบ Air–<br />

Independent Propulsion system:<br />

AIP คือ ระบบเครื่องยน<strong>ต</strong>์ที่ไม่<strong>ต</strong>้องพึ่ง<br />

อากาศจากผิวน้า มีการสันดาปภายในโดยใช้<br />

อากาศหมุนเวียน ทาให้อยู่ใ<strong>ต</strong>้น้า<strong>ต</strong>่อเนื่อง<br />

ได้นานกว่าเรือดาน้าปก<strong>ต</strong>ิถึง ๒ - ๓ เท่า<br />

ซึ่งเรือดาน้าปก<strong>ต</strong>ิจะดาน้าได้นานเพียง<br />

แผนกวิจัยและพัฒนาการอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมกองนโยบายและแผน กรมการอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมทหาร<br />

ศูนย์การอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร<br />

๗ – ๑๐ วันเท่านั้น และระบบ Anti - Ship<br />

Missiles: ASM ซึ่งในปัจจุบันขีปนาวุธ<br />

ดังกล่าวสามารถ<strong>ต</strong>่อ<strong>ต</strong>้านได้ทั้งเรือผิวน้า<br />

เครื่องบินเฮลิคอปเ<strong>ต</strong>อร์ หรือแม้กระทั่ง<br />

ทหารราบบนชายฝั่ง โดยเรือดาน้าดังกล่าว<br />

เป็นเรือรุ่นพิเศษที่จีน<strong>ต</strong>่อขึ้นสาหรับ<br />

ประเทศไทยเท่านั้น ซึ่งมีการพัฒนาจาก<br />

เรือดาน้ารุ่น Yuan Class S26 ธรรมดา<br />

คุณสมบั<strong>ต</strong>ิของเรือดาน้าจีนรุ่นนี้มี<br />

ความเหมาะสมทั้งในด้านยุทธศาส<strong>ต</strong>ร์และ<br />

ยุทธวิธี กล่าวคือ ในแง่ยุทธศาส<strong>ต</strong>ร์ การมี<br />

เรือดาน้าเพื่อคุ้มครองเส้นทางการ<br />

คมนาคมทางทะเล และถ่วงดุลอานาจการ<br />

รบกับประเทศเพื่อนบ้านที่มีเรือดาน้า<br />

50 แผนกวิจัยและพัฒนาการอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมกองนโยบายและแผน กรมการอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมทหาร ศูนย์การอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร


นายทหารประทวน ๑๓๔ นาย การ<br />

เดินทางใช้เวลา ๒๔ วัน รวมระยะทาง<br />

ทั้งสิ้น ๓,๐๐๐ ไมล์ มาถึงฐานทัพเรือ<br />

สั<strong>ต</strong>หีบ เมื่อวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๔๘๑<br />

รวมใช้เวลาเดินทางและแวะเมืองท่า<br />

กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ รวม<br />

๒๔ วัน หลังจากมาถึงประเทศไทยก็ได้<br />

ขึ้นระวางประจาการพร้อมกัน เมื่อวันที่<br />

๑๙ กรกฎาคม ๒๔๘๑<br />

จนกระทั่งปี พ.ศ.๒๔๘๓ เมื่อ<br />

สงครามโลกครั้งที่ ๒ ได้อุบั<strong>ต</strong>ิขึ้น กองทัพเรือ<br />

ได้ส่งเรือดาน้าทั้งสี่ไปทาการลาด<br />

<strong>ต</strong>ระเวนแนวหน้าบริเวณฐานทัพเรือเรียม<br />

เกือบทุกประเทศ ส่วนในแง่ยุทธวิธี เรือดาน้า<br />

รุ่นนี้ก็มีความสามารถในการซ่อนพราง<strong>ต</strong>ัว<br />

ได้นานถึง ๒๑ วัน โดยไม่<strong>ต</strong>้องขึ้นสู่ผิวน้า<br />

ทาให้โอกาสที่จะถูกฝ่าย<strong>ต</strong>รงข้าม<strong>ต</strong>รวจจับ<br />

เป็นไปได้ยากขึ้น<br />

เรือดาน้า Yuan Class S26T<br />

กองทัพเรือไทย ได้ว่าจ้างบริษัท มิ<strong>ต</strong>ซูบิชิ ประเทศญี่ปุ่น<br />

<strong>ต</strong>่อเรือดาน้า ขนาด ๓๗๐ <strong>ต</strong>ัน จานวน ๔ ลา<br />

ในอดี<strong>ต</strong>เมื่อประมาณ ๖๖ ปี ล่วงมาแล้ว<br />

กองทัพเรือไทย เคยมีเรือดาน้าประจาการ<br />

ถึง ๔ ลา ได้แก่ เรือหลวงสินสมุทร เรือ<br />

หลวงพลายชุมพล เรือหลวงมัจฉาณุ และ<br />

เรือหลวงวิรุณและได้มีพิธีส่งมอบเรือสอง<br />

ลาแรกให้แก่กองทัพเรือ คือ<br />

เรือหลวงมัจฉาณุ และเรือหลวง<br />

วิรุณ เมื่อวันที่ ๔ กันยายน<br />

๒๔๘๐ ซึ่ง<strong>ต</strong>่อมาได้ถือว่าวันที่<br />

๔ กันยายนของทุกปี เป็น<br />

“วันที่ระลึกเรือดาน้าไทย”<br />

<strong>ต</strong>่อมาในวันที่ ๓๐ เมษายน<br />

๒๔๘๑ บริษัท มิ<strong>ต</strong>ซูบิชิ ได้ทา<br />

พิธีส่งเรือดาน้าที่เหลืออีก ๒<br />

ลา เมื่อกองทัพเรือได้รับ<br />

เรือดาน้าครบทั้ง ๔ ลา จึงได้<br />

ลงมือฝึกศึกษา<strong>ต</strong>ามหลักสู<strong>ต</strong>ร<br />

เ รื อ ด า น้ า เพิ่มเ<strong>ต</strong>ิมจน<br />

คล่องแคล่วจึงได้ถอนสมอเรือ<br />

จากเมืองท่าโกเบ กลับสู่<br />

ประเทศไทย เมื่อวันที่ ๕<br />

มิถุนายน ๒๔๘๑ โดยกาลังพล<br />

ทั้ง ๔ ลา ประกอบด้วย<br />

นายทหารสัญญาบั<strong>ต</strong>ร ๒๐ นาย<br />

เรือดาน้าของไทยทั้ง ๔ ลา เดินทาง<br />

ออกจากเมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น<br />

เมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๔๘๑<br />

ของแหลมอินโดจีน เพื่อป้องกันกองทัพ<br />

ฝรั่งเศสที่ลอบเข้ามาโจม<strong>ต</strong>ี โดยเรือทั้งสี่ลา<br />

ใช้เวลาอยู่ใ<strong>ต</strong>้น้าเพื่อสังเก<strong>ต</strong>การณ์ถึงวันละ<br />

๑๒ ชั่วโมง ซึ่งปฏิบั<strong>ต</strong>ิการในครั้งนั้น สร้าง<br />

ความน่าเกรงขาม<strong>ต</strong>่อฝรั่งเศสเป็นอย่างมาก<br />

และเป็นที่กล่าวขานถึงวีรกรรมอัน<br />

ห้าวหาญของราชนาวีไทย เมื่อเทียบกับ<br />

กาลังของมหาอานาจที่มีอยู่เหนือกว่า<br />

ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ ๒<br />

กองทัพเรือได้ส่งนายทหารสัญญาบั<strong>ต</strong>รและ<br />

ประทวน (บางท่านเคยประจาเรือดาน้า<br />

มาก่อน) และช่างของกรมอู่ทหารเรือไป<br />

ศึกษาและฝึกงานการสร้างแบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่<br />

ในญี่ปุ่น ด้วยความมุ่งหมายที่จะผลิ<strong>ต</strong><br />

แบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่ขึ้นใช้ในราชการเอง โดยเฉพาะ<br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

51


ปี พ.ศ.๒๔๘๓ เมื่อสงครามโลกครั้งที่ ๒ ได้อุบั<strong>ต</strong>ิขึ้น กองทัพเรือได้ส่งเรือดาน้า<br />

ทั้งสี่ไปทาการลาด<strong>ต</strong>ระเวนแนวหน้า บริเวณฐานทัพเรือเรียมของแหลมอินโดจีน<br />

แบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่ที่ใช้กับเรือดาน้า เมื่อคณะนาย<br />

ทหารและช่างชุดนี้กลับมาถึงกรุงเทพฯ<br />

แล้ว ก็ได้จัด<strong>ต</strong>ั้งโรงงานแบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่และสีขึ้น<br />

ทดลองและพัฒนาการใช้งานจนเป็น<br />

โรงงานที่ใกล้เสร็จสมบูรณ์พร้อมใช้งาน<br />

แ<strong>ต</strong>่เมื่อวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๔๙๔ เกิด<br />

เห<strong>ต</strong>ุการณ์แมนฮั<strong>ต</strong><strong>ต</strong>ัน หน่วยงานนี้ก็<strong>ต</strong>้องย้าย<br />

ไปสังกัดกระทรวงกลาโหม และแปรสภาพ<br />

เป็นองค์การแบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่ในเวลา<strong>ต</strong>่อมา เมื่อ<br />

สงครามโลกครั้งที่ ๒ สิ้นสุดลง ญี่ปุ่นเป็น<br />

แบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่ที่ใช้ในเรือดาน้า<br />

ฝ่ายแพ้สงคราม และไม่ได้รับอนุญา<strong>ต</strong>ให้<br />

ผลิ<strong>ต</strong>อาวุธยุทโธปกรณ์ขายอีก กองทัพเรือ<br />

จึงเริ่มขาดแคลนชิ้นส่วนอะไหล่เรือดาน้า<br />

โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่ประจาเรือ<br />

ซึ่งใช้งานมาถึง ๙ ปี โรงงานแบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่และสี<br />

ที่<strong>ต</strong>ั้งขึ้นก็ยังไม่สามารถดาเนินการได้<br />

กองทัพเรือจึงจาเป็น<strong>ต</strong>้องปลดเรือดาน้า<br />

ทั้ง ๔ ลา ออกจากประจาการ ในวันที่ ๓๐<br />

พฤศจิกายน ๒๔๙๔ รวมระยะเวลารับใช้<br />

ชา<strong>ต</strong>ิ ๑๓ ปีเศษ<br />

แบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่เรือดาน้า อาจกล่าวได้ว่า<br />

เป็นหัวใจสาคัญของเรือดาน้า นอกจาก<br />

เป็นแหล่งจ่ายพลังงานภายใน<strong>ต</strong>ัวเรือ เพื่อ<br />

ใช้ในการดารงชีพใ<strong>ต</strong>้น้า ทั้งการนาทางใ<strong>ต</strong>้น้า<br />

การให้แสงสว่าง การใช้ในการ<strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>่อ<br />

สื่อสาร และใช้ในการฟอกอากาศภายใน<br />

<strong>ต</strong>ัวเรือแล้ว ยังมีความสาคัญ<strong>ต</strong>่อเรืออีก ๒<br />

ประการ<br />

ประการแรก พลังงานจากแบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่<br />

ใช้ในการดาน้าของเรือ หรือลอยอยู่บน<br />

ผิวน้า โดยใช้กระแสไฟฟ้าจากแบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่<br />

ไปขับเคลื่อนอุปกรณ์ในการลด หรือเพิ่ม<br />

ปริมาณน้าและอากาศที่อยู่ในถังอับเฉาให้<br />

เหมาะสม หาก<strong>ต</strong>้องการให้เรือดาใ<strong>ต</strong>้น้า<br />

ก็<strong>ต</strong>้องสูบน้าเข้าไปในถังอับเฉาให้มีปริมาณ<br />

พอเพียงที่<strong>ต</strong>้องการดาอยู่ใ<strong>ต</strong>้น้า หาก<br />

<strong>ต</strong>้องการลอยขึ้นมาก็ปล่อยอากาศที่ถูกอัด<br />

เข้ามาในถังอับเฉาเพื่อดันน้าออกจาก<br />

ถังอับเฉา เรือก็จะลอยขึ้น<br />

ประการ<strong>ต</strong>่อมา ชุดแบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่<strong>ต</strong>้องทา<br />

หน้าที่จ่ายพลังงานไฟฟ้าให้กับมอเ<strong>ต</strong>อร์<br />

ไฟฟ้า เพื่อขับเคลื่อนเรือดาน้าที่ระดับ<br />

ความลึก หรือใช้ทางานร่วมกับระบบ AIP<br />

ในการขับเคลื่อนเรือดาน้า ทาให้สามารถ<br />

ปฏิบั<strong>ต</strong>ิงานอยู่ใ<strong>ต</strong>้น้าเป็นระยะเวลายาวนาน<br />

เรือดาน้าโดยทั่วไปมีแบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่ ๒<br />

ส่วน คือ แบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่ส่วนหน้า (Forward<br />

Battery) และแบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่ส่วนหลัง (After<br />

Battery) โดยแ<strong>ต</strong>่ละส่วนประกอบด้วย<br />

แบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่ จานวน ๑๒๖ - ๒๐๐ หม้อ โดย<br />

แบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่ส่วนหน้า จะ<strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>ั้งอยู่ใ<strong>ต</strong>้ห้อง<br />

ที่พักอาศัยของลูกเรือ และแบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่ส่วนหลัง<br />

<strong>ต</strong>ั้งอยู่ใกล้กับห้องเครื่อง แบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่ที่ใช้กัน<br />

โดยทั่วไป คือ แบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่แบบ<strong>ต</strong>ะกั่วกรด<br />

(lead - acid battery) หรือเรียกอีกอย่าง<br />

ว่าแบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่แบบเซลล์เปียก และ<br />

แบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่ลิเทียม - ไอออน (Lithium – ion<br />

battery) แบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่แบบ<strong>ต</strong>ะกั่วกรด<br />

52 แผนกวิจัยและพัฒนาการอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมกองนโยบายและแผน กรมการอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมทหาร ศูนย์การอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร


มีราคาถูก และมีความปลอดภัยสูงกว่า<br />

แบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่แบบลิเทียม–ไอออน มีความ<br />

อึดทนในการใช้งาน จึงเป็นที่นิยมใช้ในเรือ<br />

ดาน้าประเภท<strong>ต</strong>่างๆ มากกว่า ซึ่งเรือดาน้า<br />

Yuan Class S26T ก็ใช้แบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่แบบ<br />

<strong>ต</strong>ะกั่วกรดด้วยเช่นกัน<br />

สาหรับเรือดาน้าที่เราจัดซื้อมาเป็น<br />

ยุทโธปกรณ์ราคาสูง ถือได้ว่าเป็นอาวุธทาง<br />

ด้านยุทธศาส<strong>ต</strong>ร์ที่สาคัญของประเทศวันนี้<br />

เรามีความภาคภูมิใจในการมีเรือดาน้า<br />

ผ่าลา ...เรือดาน้า รุ่น Yuan Class S26T<br />

แ<strong>ต</strong>่อีกไม่กี่ปีเราอาจ<strong>ต</strong>้องประสบปัญหากับ<br />

การซ่อมบารุงที่จะ<strong>ต</strong>ามมา กองทัพคง<strong>ต</strong>้อง<br />

มีการเ<strong>ต</strong>รียมการ <strong>ต</strong>รวจสอบ และพัฒนา<br />

ศักยภาพของหน่วยให้มีความพร้อมในการ<br />

แก้ปัญหาในเชิงรุกที่จะเกิดขึ้นในอนาค<strong>ต</strong><br />

เพื่อที่จะดูแล ดารงสภาพยุทโธปกรณ์<br />

ดังกล่าวให้มีความคงทนอยู่นาน<br />

แบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่ของเรือดาน้า S26T อาจ<br />

มีการใช้งานที่หนักมาก หากปฏิบั<strong>ต</strong>ิการ<br />

ใ<strong>ต</strong>้น้าเป็นเวลานาน ดังนั้นการปรนนิบั<strong>ต</strong>ิบารุง<br />

ลักษณะทางกายภาพของแบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่เรือดาน้า ดีเซล – ไฟฟ้า<br />

<strong>ต</strong>่อแบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่รวมถึงการเปลี่ยนแบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่<br />

จึงมีความจาเป็นและมีความผูกพันกับ<br />

งบประมาณ อาจ<strong>ต</strong>้องใช้จ่ายเงินจานวน<br />

มาก “โรงงานแบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่ทหาร กรมการ<br />

อุ<strong>ต</strong>สาหกรรมทหาร” มีวั<strong>ต</strong>ถุประสงค์เริ่มแรก<br />

ในการจัด<strong>ต</strong>ั้งเพื่อผลิ<strong>ต</strong>แบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่สาหรับ<br />

เรือดาน้า และมีที่<strong>ต</strong>ั้ง<strong>ต</strong>ิดกับแม่น้า<br />

เจ้าพระยา เพื่อง่าย<strong>ต</strong>่อการส่งกาลังบารุง<br />

ปัจจุบันมีภารกิจในการผลิ<strong>ต</strong>แบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่ชนิด<br />

<strong>ต</strong>ะกั่วกรดเป็นหลัก หากในอนาค<strong>ต</strong>กองทัพ<br />

เล็งเห็นถึงความจาเป็นในการพึ่งพา<strong>ต</strong>นเอง<br />

ในเรื่องแบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่เรือดาน้า สามารถใช้<br />

ศักยภาพของ “โรงงานแบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่ทหาร”<br />

ในการ<strong>ต</strong>่อยอดเทคโนโลยีการผลิ<strong>ต</strong><br />

โดยรับการถ่ายทอดเทคโนโลยี (Know How)<br />

ที่ทันสมัยมาดาเนินการ เพื่อเป็นหลัก<br />

ประกันของการอยู่รอด และสามารถพึ่งพา<br />

<strong>ต</strong>นเองได้ หากเกิดสถานการณ์ที่ไม่คาดคิด<br />

“โรงงานแบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่ทหาร” พร้อมที่ให้<br />

การสนับสนุนในภารกิจดังกล่าว<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

๑. https://hilight.kapook.com/view/152490 สืบค้นเมื่อ ๕ ส.ค.๖๐, ๒. https://pantip.com/topic/34284105 สืบค้นเมื่อ ๕ ส.ค.๖๐,<br />

๓. http://www.nationmultimedia.com/news/national/30314763 สืบค้นเมื่อ ๕ ส.ค.๖๐, ๔. https://writer.dek-d.com/kc_shai/story/<br />

viewlongc.php?id=1359015&chapter=29 สืบค้นเมื่อ ๕ ส.ค.๖๐, ๕. http://www.tnews.co.th/contents/313611 สืบค้นเมื่อ ๕ ส.ค.๖๐,<br />

๖. https://maritime.org/doc/fleetsub/elect/chap5.htm สืบค้นเมื่อ ๕ ส.ค.๖๐, ๗. https://electronics.stackexchange.com/<br />

questions/23621/why-are-lead-acid-batteries-preferable-for-submarines สืบค้นเมื่อ ๕ ส.ค.๖๐<br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

53


เปิดประ<strong>ต</strong>ูสู่เทคโนโลยี<br />

ปองกันประเทศ ปองกันประเทศ ปองกันประเทศ ๕๘<br />

งานสัมมนาเชิงปฏิบั<strong>ต</strong>ิการ<br />

สํารวจความ<strong>ต</strong>้องการของหน่วยผู้ใชและการสาธิ<strong>ต</strong>ขีดความสามารถ<br />

ผลงานวิจัยและพัฒนาของ สถาบันเทคโนโลยีปองกันประเทศ<br />

สถาบันเทคโนโลยีปองกันประเทศ (องคการมหาชน)<br />

สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ<br />

(องค์การมหาชน) งานสัมมนา<br />

เชิงปฏิบั<strong>ต</strong>ิการสารวจความ<br />

<strong>ต</strong>้องการของหน่วยผู้ใช้และการสาธิ<strong>ต</strong><br />

ขีดความสามารถผลงานวิจัยและพัฒนา<br />

ของสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ เมื่อ<br />

วันที่ ๑๙ - ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ณ ดี วารี<br />

ชาญวีร์ รีสอร์ท เขาใหญ่ จ.นครราชสีมา<br />

โดยมีวั<strong>ต</strong>ถุประสงค์ เพื่อให้ทุกภาคส่วนได้<br />

ทราบถึงศักยภาพในผลงานการวิจัยและ<br />

พัฒนาด้าน<strong>ต</strong>่าง ๆ ของสถาบันเทคโนโลยี<br />

ป้องกันประเทศ ที่สอดคล้องกับความ<br />

<strong>ต</strong>้องการของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน<br />

และภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งในปัจจุบันและ<br />

อนาค<strong>ต</strong> รวมทั้งเป็นการส่งเสริมการนาผล<br />

งานวิจัยไปสู่สายการผลิ<strong>ต</strong>และการนาไปใช้<br />

งานจริง เพื่อให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยี<br />

ป้องกันประเทศ และอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมป้องกัน<br />

ประเทศเพื่อความมั่นคง โดยมี พลเอก<br />

สมพงศ์ มุกดาสกุล ผู้อานวยการสถาบัน<br />

54 ÊҺѹ෤â¹âÅÂÕ»‡Í§¡Ñ¹»ÃÐà·È (ͧ¤¡ÒÃÁËÒª¹)


เทคโนโลยีป้องกันประเทศ กล่าวเปิดงาน<br />

เมื่อวันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๐<br />

การสัมมนาฯ เพื่อทราบความ<strong>ต</strong>้องการผลงาน<br />

วิจัยและพัฒนาภายในกระทรวงกลาโหม<br />

และเยี่ยมชมผลงานวิจัยและพัฒนาของ<br />

สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ<br />

เมื่อวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๐<br />

ช่วงเช้าเป็นพิธีเปิดการสัมมนาฯ และจัดแสดง<br />

การสาธิ<strong>ต</strong>ศักยภาพงานวิจัยและพัฒนาของ<br />

สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ ได้แก่<br />

เทคโนโลยีอากาศยานไร้คนขับขนาดเล็ก<br />

(Mini UAV) และแบบขึ้นลงทางดิ่ง (Multi<br />

Rotors) เทคโนโลยีจาลองยุทธ์และการฝึก<br />

เสมือนจริง (ระบบสนามฝึกยิงปืนเสมือน<br />

จริงชุดเล็ก) เทคโนโลยีสารสนเทศและการ<br />

สื่อสารทางทหาร (สนับสนุนการแก้ปัญหา<br />

๓ จังหวัดชายแดนภาคใ<strong>ต</strong>้) และหุ่นยน<strong>ต</strong>์<br />

เก็บกู้วั<strong>ต</strong>ถุระเบิด (EOD Robot) ในช่วง<br />

บ่าย เป็นการสัมมนา หัวข้อ “การนาเสนอ<br />

ผลงานวิจัยสู่สายการผลิ<strong>ต</strong>และการจับคู่<br />

เจรจา” และจัดเสวนาโดยเปิดโอกาสให้<br />

ท่านผู้เข้าร่วมงาน ได้ร่วมแลกเปลี่ยน<br />

และแสดงความคิดเห็น เสวนาหัวข้อ<br />

“เทคโนโลยีอากาศยานไร้คนขับกับการจัด<br />

ทาแผนที่จาลองภูมิศาส<strong>ต</strong>ร์” และพิธีลงนาม<br />

บันทึกข้อ<strong>ต</strong>กลงความร่วมมือโครงการร่วม<br />

ให้ทุนพัฒนาบุคลากรระดับปริญญาเอก<br />

ระหว่างสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ<br />

และโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก<br />

(คปก.) สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย<br />

(สกว.) และพิธีลงนามบันทึกความร่วมมือ<br />

โครงการวิจัยและพัฒนาอากาศยานไร้คนขับ<br />

กับ บริษัท เอ็มเอชดี เอวิเอชั่น จากัด<br />

สาธารณรัฐประชาชนจีน<br />

ซึ่งการจัดงานสัมมนาเชิงปฏิบั<strong>ต</strong>ิการ<br />

สารวจความ<strong>ต</strong>้องการของหน่วยผู้ใช้และการ<br />

สาธิ<strong>ต</strong>ขีดความสามารถผลงานวิจัยและ<br />

พัฒนาของ สถาบันเทคโนโลยีป้องกัน<br />

ประเทศ ในครั้งนี้ จะสอดคล้องกับทิศทาง<br />

และแนวนโยบายความมั่นคงของโลกใน<br />

อนาค<strong>ต</strong> เนื่องจากการวิจัยและพัฒนามีส่วน<br />

สาคัญอย่างยิ่ง<strong>ต</strong>่อการพัฒนาประเทศชา<strong>ต</strong>ิ<br />

และการวิจัยและพัฒนาจะนาไปสู่การ<br />

พึ่งพาเทคโนโลยีของ<strong>ต</strong>นเอง จะส่งผลดี<strong>ต</strong>่อ<br />

ความมั่นคงของประเทศอย่างยั่งยืนและนา<br />

ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ได้<br />

เพื่อให้เป็นไป<strong>ต</strong>ามนโยบายของรัฐบาล<br />

และแผนยุทธศาส<strong>ต</strong>ร์ และเป็นประโยชน์<br />

กับอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมป้องกันประเทศโดย<strong>ต</strong>รง<br />

<strong>ต</strong>่อไป<br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

55


คงปฏิเสธไม่ได้ว่าสังคมโลกหรือ<br />

แม้แ<strong>ต</strong>่ประเทศไทยเราเอง<strong>ต</strong>ลอด<br />

ช่วงเวลาที่ก้าวเข้าสู่ยุคดิจิทัล<br />

รัฐบาลดาเนินนโยบายกระ<strong>ต</strong>ุ้นให้เกิดสังคม<br />

ไร้เงินสด (Cashless Society) ทาธุรกรรม<br />

การเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ภายใ<strong>ต</strong>้<br />

นโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ ระบบการชาระ<br />

เงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) ได้<br />

เข้ามามีบทบาทสาคัญในระบบเศรษฐกิจ<br />

ทาให้เกิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ โดยมี<br />

ความก้าวหน้าได้มา<strong>ต</strong>รฐาน สอดคล้องกับ<br />

การใช้งานเทคโนโลยี โดยเฉพาะ<br />

อินเทอร์เน็<strong>ต</strong>และโทรศัพท์มือถือเพื่อ<br />

ประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยรวม<br />

โครงการ National e-Payment<br />

เริ่มเป็นรูปเป็นร่างใช้อย่างชัดเจนเมื่อวันที่<br />

๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๘ ซึ่งคณะรัฐมน<strong>ต</strong>รี<br />

มีม<strong>ต</strong>ิเห็นชอบในหลักการแผนยุทธศาส<strong>ต</strong>ร์<br />

การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบการ<br />

ชาระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชา<strong>ต</strong>ิและ<br />

มอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่ง<br />

ดาเนินการ<strong>ต</strong>ามแผนยุทธศาส<strong>ต</strong>ร์ฯ ซึ่ง<br />

กาหนดให้มีการดาเนินการ ๕ โครงการ<br />

สาคัญคู่ขนานกันไปในห้วงเวลาเดียวกัน<br />

ได้แก่<br />

๑. โครงการพร้อมเพย์ (PromtPay<br />

หรือ Any ID) คือ การชาระเงินผ่าน<br />

โทรศัพท์มือถือหรือระบบอินเทอร์เน็<strong>ต</strong><br />

การโอนเงินระหว่างบุคคล หรือการโอน<br />

National e-Payment<br />

พลิกโฉมระบบการชาระเงินของไทย<br />

สู่ยุคเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

กองนโยบายและแผน กรมการอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมทหาร<br />

ศูนย์การอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร<br />

ชาระค่าสินค้าและบริการให้กับร้านค้า<br />

เพียงใช้เลขประจา<strong>ต</strong>ัวประชาชนหรือ<br />

หมายเลขโทรศัพท์มือถือ ซึ่งทาได้สะดวก<br />

และลดค่าธรรมเนียมลง เช่น โอนไม่เกิน<br />

๕,๐๐๐ บาท จะไม่เสียค่าธรรมเนียม การ<br />

ได้รับเงินคืนภาษีที่รวดเร็วขึ้น ล่าสุดมีจานวน<br />

ผู้ลงทะเบียนแล้วถึง ๓๒ ล้านเลขหมาย<br />

และมีการโอนสะสมถึง ๑ แสนล้านบาท<br />

แล้ว<br />

๒. การใช้เครดิ<strong>ต</strong>การ์ดหรือเดบิ<strong>ต</strong><br />

การ์ด โครงการนี้เน้นส่งเสริมการขยาย<br />

ฐานบั<strong>ต</strong>รอิเล็กทรอนิกส์ เช่น บั<strong>ต</strong>รเดบิ<strong>ต</strong><br />

รวมทั้งการเพิ่มและกระจายอุปกรณ์รับ<br />

ชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยธนาคาร<br />

แห่งประเทศไทยได้ผลักดันให้ปรับเปลี่ยน<br />

บั<strong>ต</strong>ร ATM และบั<strong>ต</strong>รเดบิ<strong>ต</strong> มาเป็นแบบ<br />

chip card ทั้งหมดภายในปี ๒๕๖๒ เพื่อ<br />

เพิ่มระบบความปลอดภัยในการใช้บั<strong>ต</strong>ร<br />

ซึ่งสอดรับกับนโยบายการใช้บั<strong>ต</strong>รสวัสดิการ<br />

ของภาครัฐ เพื่อให้กลุ่มประชาชนที่มี<br />

รายได้น้อยสามารถนามาใช้ซื้อสินค้าและ<br />

บริการได้และระยะ<strong>ต</strong>่อไปจะสามารถเชื่อม<br />

<strong>ต</strong>่อกับระบบ<strong>ต</strong>ั๋วร่วม<br />

๓. ระบบภาษีและเอกสารธุรกรรม<br />

อิเล็กทรอนิกส์ เป็นการพัฒนาการจัดทา<br />

และนาส่งข้อมูลใบกากับภาษีอิเล็กทรอนิกส์<br />

56 กองนโยบายและแผน กรมการอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมทหาร ศูนย์การอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร


(e-Tax Invoice) และใบรับอิเล็กทรอนิกส์<br />

(e-Receipt) เพื่ออานวยความสะดวกและ<br />

ลดขั้น<strong>ต</strong>อนในการจัดทา รวมทั้งการนาส่ง<br />

รายงานการทาธุรกรรมทางการเงินและ<br />

การนาส่งภาษีเมื่อมีการชาระเงิน ผ่าน<br />

ระบบ e-Payment เป็นการช่วยลด<strong>ต</strong>้นทุน<br />

ระยะเวลา และขั้น<strong>ต</strong>อนของภาคเอกชน<br />

ในการจัดทาเอกสารและการชาระภาษี<br />

๔. โครงการ e-Payment ภาครัฐ<br />

เป็นการบูรณาการฐานข้อมูลสวัสดิการ<br />

สังคม และพัฒนาระบบการรับจ่ายเงิน<br />

ภาครัฐทางอิเล็กทรอนิกส์โดยส่งเสริมการ<br />

รับจ่ายเงินของหน่วยงานภาครัฐผ่านทาง<br />

อิเล็กทรอนิกส์ ส่งเสริมให้มีฐานข้อมูล<br />

กลางเกี่ยวกับสวัสดิการของภาครัฐ ควบคู่<br />

กับการจ่ายเงินให้แก่ประชาชนโดย<strong>ต</strong>รง<br />

ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะช่วยให้<br />

สามารถจ่ายเงินช่วยเหลือและเงิน<br />

สวัสดิการให้แก่ประชาชนได้<strong>ต</strong>รงกลุ่ม<br />

เป้าหมาย ลดความผิดพลาด ความซ้าซ้อน<br />

และโอกาสการทุจริ<strong>ต</strong>จากการจ่ายด้วย<br />

เงินสดหรือเช็ค<br />

๕. ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้และ<br />

มา<strong>ต</strong>รการจูงใจ ส่งเสริมการเข้าสู่ e-<br />

Payment เป็นการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้<br />

ประชาชน เพื่อส่งเสริมให้ใช้ e-Payment<br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

และภาครัฐออกมา<strong>ต</strong>รการจูงใจ เพื่อ<br />

กระ<strong>ต</strong>ุ้นการใช้ e-Payment แทนเงินสด<br />

และเช็ค<br />

โครงการ National e-Payment<br />

ดังกล่าว นายอภิศักดิ์ <strong>ต</strong>ัน<strong>ต</strong>ิวรวงศ์รัฐมน<strong>ต</strong>รี<br />

ว่าการกระทรวงการคลัง ได้กล่าวไว้ว่า<br />

โครงการดังกล่าวจะช่วยประหยัด<strong>ต</strong>้นทุน<br />

ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย ประมาณ<br />

๗.๕ หมื่นล้านบาท<strong>ต</strong>่อปี คือ ภาคธนาคาร<br />

ประหยัดประมาณ ๓ หมื่นล้านบาท และ<br />

ภาคธุรกิจหรือร้านค้าอีกประมาณ ๔.๕<br />

หมื่นล้านบาท จากประชาชนที่จะลด<br />

<strong>ต</strong>้นทุนการบริหารจัดการพกพาเงินสดหัน<br />

มาใช้การชาระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์โดย<br />

ภาพรวมระบบ e-Payment เอื้อประโยชน์<br />

<strong>ต</strong>่อประชาชนและภาคธุรกิจ อาทิ<br />

• เพิ่มช่องทางในการ<strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>่อชาระ<br />

เงินกับส่วนราชการได้รวดเร็วขึ้น<br />

• เพิ่มประสิทธิภาพและโอกาสใน<br />

การทาธุรกิจ กรณีอยู่ห่างไกลกันสามารถ<br />

ชาระเงินระหว่างกันได้โดยง่าย<br />

• เพิ่มความโปร่งใสในการ รับ–จ่าย<br />

เงิน สามารถ<strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>ามสถานะและ<strong>ต</strong>รวจสอบ<br />

ได้ง่าย<br />

กรมการอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมทหาร ศูนย์<br />

การอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมป้องกันประเทศและ<br />

พลังงานทหาร (อท.ศอพท.)<br />

เป็นหน่วยงานเดียวใน<br />

กระทรวงกลาโหมที่<br />

เกี่ยวข้องกับการควบคุม<br />

ยุทธภัณฑ์ โดยพิจารณาออก<br />

ใบอนุญา<strong>ต</strong>สั่งเข้ามา นาเข้ามา<br />

ผลิ<strong>ต</strong>และมียุทธภัณฑ์<br />

ให้กับหน่วยงานราชการ<br />

นิ<strong>ต</strong>ิบุคคล หรือบุคคลธรรมดา<br />

และมีค่าธรรมเนียมคาขอ<br />

และใบอนุญา<strong>ต</strong> ซึ่งผู้ได้รับใบ<br />

อนุญา<strong>ต</strong>จะ<strong>ต</strong>้องจ่ายด้วย<br />

เงินสดที่กรมการอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมทหารฯ<br />

ซึ่ง<strong>ต</strong>ั้งอยู่ที่แยกเกียกกาย เข<strong>ต</strong>ดุสิ<strong>ต</strong> กรุงเทพฯ<br />

เพียงแห่งเดียวเท่านั้น ทาให้เกิดความ<br />

ไม่สะดวก เสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการ<br />

เดินทางมากพอสมควร ทางผู้บริหารหน่วย<br />

จึงได้ริเริ่มพัฒนาระบบอานวยความสะดวก<br />

และเพิ่มประสิทธิภาพของระบบที่มีอยู่ให้<br />

สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลในเรื่อง<br />

e-Payment ทาให้ในปี ๒๕๖๑ จะมีการ<br />

ดาเนินการพัฒนาระบบรับชาระเงินค่า<br />

ธรรมเนียมทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment)<br />

โดยผู้รับใบอนุญา<strong>ต</strong>สามารถชาระ<br />

ค่าธรรมเนียมผ่านทางธนาคารได้ในหลาย<br />

รูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการหักผ่านบัญชีการ<br />

จ่ายเงินด้วย Bill payment ที่สามารถจ่าย<br />

เงินสดที่เคาน์เ<strong>ต</strong>อร์ธนาคาร <strong>ต</strong>ู้ ATM<br />

โทรศัพท์มือถือ หรือ e-Banking เคาน์เ<strong>ต</strong>อร์<br />

เซอร์วิส โดยมีค่าธรรมเนียมการบริการ<br />

<strong>ต</strong>ั้งแ<strong>ต</strong>่ ๑๕ – ๒๕ บาท ขึ้นอยู่กับแ<strong>ต</strong>่ละ<br />

ช่องทาง ซึ่งถือเป็นทางเลือกใหม่ในการจ่าย<br />

เงินและยังเป็นการอานวยความสะดวก<br />

ให้กับผู้รับบริการ ลดการใช้เงินสด รวมทั้ง<br />

ส่งเสริมภาพลักษณ์ของส่วนราชการ<br />

โปร่งใส เป็นมิ<strong>ต</strong>ิใหม่ของกระทรวงกลาโหม<br />

ในการพัฒนาองค์กรไปสู่ยุคดิจิทัล<br />

สู่รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ <strong>ต</strong>ามนโยบาย<br />

ไทยแลนด์ ๔.๐<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

http://www.bangkokbiznews.com/<br />

advertorial/detail/167<br />

http://www.epayment.go.th<br />

57


พระเจ้าโบดอว์พญา<br />

ทรงขยายดินแดน<br />

พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์<br />

พม่าในยุคที่สาม จากราชวงศ์อลองพญา (Alaungpaya Dynasty) ได้ปกครองอาณาจักรพม่า พ.ศ.๒๒๙๕ เมื่ออาณาจักรมี<br />

ความมั่นคงเริ่ม<strong>ต</strong>้นการขยายอาณาจักร เมือง<strong>ต</strong>่างๆ <strong>ต</strong>ลอดแนวลุ่มน้าอิรวดีอยู่ภายใ<strong>ต</strong>้การปกครองของอาณาจักรพม่าในยุคที่สาม<br />

ได้ขยายอาณาจักรไปยังเพื่อนบ้าน กษั<strong>ต</strong>ริย์<strong>ต</strong>่อมาอีกหลายพระองค์ก็ทรงโปรดการทาสงคราม และมีการแย่งชิงราชสมบั<strong>ต</strong>ิภายใน<br />

ราชวงศ์อลองพญา ด้วยกันเอง ซึ่ง<strong>ต</strong>่างก็อ้างว่ามีสิทธิ์ พระเจ้าโบดอว์พญา (Bodowpaya) เป็นกษั<strong>ต</strong>ริย์ลาดับที่หก ทรงปราบดาภิเษก<br />

ขึ้นเป็นกษั<strong>ต</strong>ริย์เมื่อวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๓๒๕ หรือราชวงศ์อลองพญา ได้ปกครองพม่ามา ๓๐ ปี.........บทความนี้ กล่าวถึง<br />

พระเจ้าโบดอว์พญา (Bodowpaya) ทรงขยายอาณาจักรให้มีขนาดใหญ่เทียบได้กับในยุคที่สอง ก้าวขึ้นสู่อานาจสูงสุด<br />

ค<br />

๑. กล่าวทั ่วไป<br />

วามวุ่นวายเกิดจากขบถมอญ<br />

เข้ายึดเมืองย่างกุ้งได้สาเร็จ<br />

เป็นผลให้กองทัพพม่าเข้าปราบ<br />

ปรามขบถมอญอย่างรุนแรงและเด็ดขาด<br />

พระเจ้าโบดอว์พญา (Bodowpaya) แห่ง<br />

อาณาจักรพม่าเริ่มมีความมั่นคงมากขึ้น<br />

เป็นลาดับ <strong>ต</strong>่อมาปี พ.ศ.๒๓๒๗ พระองค์<br />

ทรงยกกองทัพใหญ่เข้า<strong>ต</strong>ีเมืองยะไข่<br />

(Arakanese) เป็นดินแดนทางด้านทิศ<strong>ต</strong>ะวัน<strong>ต</strong>ก<br />

ของพม่า จัดกองทัพประกอบด้วยกาลัง<br />

ทางบกและกาลังทางเรือเข้า<strong>ต</strong>ีได้สาเร็จเมื่อ<br />

ปลายปี พ.ศ.๒๓๒๗ กวาด<strong>ต</strong>้อนพระบรม<br />

วงศานุวงศ์และชาวเมืองยะไข่ประมาณ<br />

๒๐,๐๐๐ คน กลับมายังอาณาจักรพม่า<br />

ชาวเมืองยะไข่ส่วนหนึ่งหนีเข้าไปในเข<strong>ต</strong><br />

ปกครองของอังกฤษในอินเดีย (ขณะนั้น<br />

อังกฤษได้ปกครองอินเดีย) ระยะเวลา<br />

ประมาณ ๒ ปี อาณาจักรพม่ามีจานวน<br />

ประชากรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เป็นผลให้<br />

อาณาจักรมีกาลังทหารและอาวุธพร้อม<br />

ด้วยเสบียงอาหารเพิ่มมากขึ้นเช่นกัน<br />

นอกจากนี้พระองค์ทรงนาพระพุทธรูป<br />

มหามุนี (Mahamuni Buddha) สร้างขึ้น<br />

โดยพระเจ้าจันทสุริยะ กษั<strong>ต</strong>ริย์แห่งเมือง<br />

พระเจ้าโบดอว์พญา (Bodowpaya) ทรงสร้างเมืองอมรปุระ (Amarapura) ปัจจุบันอยู่ทาง<br />

<strong>ต</strong>อนใ<strong>ต</strong>้ของเมืองมัณฑะเลย์ประมาณ ๑๒ กิโลเม<strong>ต</strong>ร<br />

58 พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์


พระพุทธรูปมหามุนี (Mahamuni Buddha) ปัจจุบันประดิษฐานที่เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศเมียนมา<br />

สร้างขึ้นโดยกษั<strong>ต</strong>ริย์แห่งเมืองยะไข่ จากทองสัมฤทธิ์ มีความสูง ๑๒ ฟุ<strong>ต</strong> ๗ นิ้ว และมีน้าหนัก<br />

ขนาด ๖.๕ <strong>ต</strong>ัน<br />

ยะไข่ ในปี พ.ศ.๖๘๘ สร้างจากทอง<br />

สัมฤทธิ์มีความสูงขนาด ๑๒ ฟุ<strong>ต</strong> ๗ นิ้ว<br />

น้าหนัก ๖.๕ <strong>ต</strong>ัน (เป็นพระพุทธรูปทรงเครื่อง<br />

กษั<strong>ต</strong>ริย์ มีขนาดใหญ่มาก) ของชาวเมือง<br />

ยะไข่กลับมายังอาณาจักรพม่า เคลื่อนย้าย<br />

พระพุทธรูปมหามุนี มาทางแม่น้าอิรวดี<br />

มายังเมืองมัณฑะเลย์ (ปัจจุบันอยู่ที่<br />

วัดพระมหามุนี เมืองมัณฑะเลย์)<br />

๒. รัชกาลพระเจ้าโบดอว์พญา (Bodowpaya/Badon<br />

Min พระเจ้าปดุง)<br />

พระเจ้าโบดอว์พญา ขึ้นครอง<br />

ราชสมบั<strong>ต</strong>ิเป็นกษั<strong>ต</strong>ริย์พม่าราชวงศ์<br />

อลองพญา เมื่อวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ.<br />

๒๓๒๕ ขณะมีพระชนมายุ ๓๗ พรรษา เป็น<br />

พระราชโอรสองค์ที่ ๓ ของพระเจ้าอลองพญา<br />

กับพระนางยูนชาน (Yun San) ประสู<strong>ต</strong>ิ<br />

เมื่อวันที่ ๑๑ มีนาคม พ.ศ.๒๒๘๘ ที่<br />

หมู่บ้านมุ<strong>ต</strong>โซโบ (Moksobo) เมื่อพระเจ้า<br />

โบดอว์พญา (Bodowpaya) ปราบดาภิเษก<br />

ขึ้นครองราชสมบั<strong>ต</strong>ิแล้ว แ<strong>ต</strong>่อาณาจักรก็<br />

ไม่สงบโดยที่มีราชวงศ์และขุนนางที่ยัง<br />

สนับสนุนอดี<strong>ต</strong>พระมหากษั<strong>ต</strong>ริย์ (หรือ<br />

รัชทายาท) พระองค์ทรงปราบปรามอย่าง<br />

รุนแรงและเด็ดขาด เป็นผลให้อาณาจักร<br />

เป็นปึกแผ่น พระเจ้าโบดอว์พญา เป็น<br />

กษั<strong>ต</strong>ริย์ที่มีความเข้มแข็งในการรบมาก<br />

ที่สุดพระองค์หนึ่งแห่งราชวงศ์อลองพญา<br />

พระองค์ทรงสร้างเมืองอมรปุระ (Amarapura)<br />

เมื่อพระองค์ทรงครองราชย์มาได้<br />

๓ ปี ทรงรวบรวมเมือง<strong>ต</strong>่างๆ เป็นของพม่า<br />

ในอดี<strong>ต</strong><strong>ต</strong>ลอดแนวลุ่มน้าอิรวดี อาณาจักร<br />

พม่ามีความเข้มแข็ง พระองค์ทรงเ<strong>ต</strong>รียม<br />

กองทัพที่จะเข้า<strong>ต</strong>ีอาณาจักรสยามแห่งกรุง<br />

รั<strong>ต</strong>นโกสินทร์ มีกาลังทหาร ๑๔๔,๐๐๐ นาย<br />

(ใช้กาลังทหารทั้งอาณาจักร) จัดกาลัง<br />

ออกเป็น ๙ กองทัพ แยกเป็นการเข้า<strong>ต</strong>ี<br />

หลัก ๕ กองทัพ และการเข้า<strong>ต</strong>ีรอง ๔<br />

กองทัพ เป็นการเข้า<strong>ต</strong>ี<strong>ต</strong>ลอดแนวชายแดน<br />

ของสองอาณาจักรเพื่อไม่ให้อาณาจักร<br />

สยามมีโอกาสที่จะทาการ<strong>ต</strong>ั้งรับได้ทัน<br />

(ประวั<strong>ต</strong>ิศาส<strong>ต</strong>ร์ไทยจะเรียกว่า สงคราม<br />

ครั้งที่ ๑ คราวพม่ายกกองทัพมา ๙ ทาง<br />

แ<strong>ต</strong>่จะเป็นการรบของสองอาณาจักรเป็น<br />

ครั้งที่ ๓๕ แยกเป็นการรบของอาณาจักร<br />

กรุงศรีอยุธยา ๒๔ ครั้ง และอาณาจักร<br />

กรุงธนบุรี ๑๐ ครั้ง)<br />

๓. บทสรุป<br />

พระเจ้าโบดอว์พญา แห่งราชวงศ์อลอง<br />

พญา พระองค์ทรงดารงความ<strong>ต</strong>ั้งใจของ<br />

พระราชบิดาที่จะเข้า<strong>ต</strong>ีอาณาจักรสยาม<br />

แม้ว่าในอดี<strong>ต</strong>จะสามารถเข้า<strong>ต</strong>ีอาณาจักร<br />

สยามได้สาเร็จในยุคสมัยของพระเจ้า<br />

เซงพยูเซง (Hsinbyushin) ในปี พ.ศ.๒๓๑๐<br />

หรือเมื่อ ๑๘ ปี ที่ผ่านมา พระองค์ทรง<br />

<strong>ต</strong>้องการให้อาณาจักรพม่าก้าวขึ้นสู่อานาจ<br />

สูงสุดอีกครั้งหนึ่งเหมือนกับอาณาจักรพม่า<br />

ในยุคที่สอง หรือเมื่อ ๒๑๖ ปีที่ผ่านมา<br />

จึงเป็นการรบครั้งที่มีความสาคัญยิ่ง<br />

ของทั้งสองอาณาจักร<br />

ภาพวาดเมืองสาคัญ<strong>ต</strong>ามลุ่มแม่น้าอิรวดี ในสมัยราชวงศ์อลองพญา อาณาจักรพม่าในยุคที่สาม(เมือง<br />

อังวะ เมืองอมรปุระ และเมืองมัณฑะเลย์)<br />

บรรณานุกรม<br />

๑. en.wikipedia.org/wiki/Kongbaung_Dynasty<br />

๒. en.wikipedia.org/wiki/Bodawpaya<br />

๓. en.wikipedia.org/wiki/Mahamuni_Buddha_<br />

Temple<br />

๔. en.wikipedia.org/wiki/Singu_Min<br />

๕. en.wikipedia.org/wiki/Bayinnaung<br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

59


ดีเฟนส์และซิคิวริ<strong>ต</strong>ี้๒๐๑๗<br />

“The Power of Partnership”<br />

งานนิทรรศการแสดงยุทโธปกรณ์<br />

เทคโนโลยีด้านการทหารและความ<br />

ปลอดภัยระดับเอเชีย หรืองาน<br />

ดีเฟนส์และซิคิวริ<strong>ต</strong>ี้ ๒๐๑๗ (Defense &<br />

Security 2017) ในครั้งนี้จัดขึ้นระหว่าง<br />

วันที่ ๖ - ๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๐<br />

ณ อาคาร ๖ - ๘ อิมแพค เมืองทองธานี<br />

จังหวัดนนทบุรี โดยคาดว่าจะมีผู้เข้าชม<br />

งานมากกว่า ๑๕,๐๐๐ คน จาก ๖๐<br />

ประเทศทั่วโลก ซึ่งประกอบไปด้วย<br />

ผู้บริหารระดับสูง และผู้บัญชาการ<br />

จากกระทรวงกลาโหม หน่วยงานทหาร<br />

สามเหล่าทัพ <strong>ต</strong>ารวจและพลเรือนที่เกี่ยวข้อง<br />

ได้แก่ รัฐมน<strong>ต</strong>รีว่าการกระทรวงกลาโหม<br />

ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก<br />

ผู้บัญชาการทหารเรือ ผู้บัญชาการทหาร<br />

อากาศ และผู้แทนระดับสูงอื่นๆ จานวน<br />

กว่า ๒๐๐ คน จาก ๓๕ ประเทศทั่วโลก<br />

เข้าร่วมชมนิทรรศการในครั้งนี้<br />

แนวคิด “ The Power of Partnership”<br />

หรือ “พลังแห่งความร่วมมือ” ถือเป็น<br />

แนวคิดหลักในการจัดงานดีเฟนส์และ<br />

ซิคิวริ<strong>ต</strong>ี้ ๒๐๑๗ โดยเน้นให้เห็นถึงพลัง<br />

ความร่วมมือของภาคอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมป้องกัน<br />

ประเทศระหว่างประเทศ<strong>ต</strong>่างๆ ทั่วโลกและ<br />

เปิดโอกาสให้ผู้ผลิ<strong>ต</strong> ผู้ประกอบการจาก<br />

ทั่วทุกมุมโลก ได้พบปะและสร้างเครือข่าย<br />

ความร่วมมือทั้งทางภาคการพัฒนา<br />

ยุทโธปกรณ์ที่ทันสมัยในการป้องกัน<br />

ประเทศและยุทธศาส<strong>ต</strong>ร์ในการดาเนินงาน<br />

ทางด้านธุรกิจร่วมกับผู้แทนระดับสูงจาก<br />

ภาครัฐ ทั้งในประเทศและ<strong>ต</strong>่างประเทศโดย<br />

ได้รับการสนับสนุนอย่างเป็นทางการ<br />

จากกระทรวงกลาโหมราชอาณาจักรไทย<br />

เป็นเจ้าภาพอย่างเป็นทางการ และมีผู้<br />

ประกอบการและผู้ผลิ<strong>ต</strong>อาวุธยุทโธปกรณ์<br />

ชั้นนา นาอุปกรณ์และเทคโนโลยีมาแสดง<br />

และสาธิ<strong>ต</strong>กว่า ๔๐๐ ราย จาก ๕๐<br />

ประเทศ เช่น Lockheed Martin, Nexter,<br />

Leonardo, Baretta, Thales, Aselsan,<br />

ST Kinetics, RAFAEL, IMI,<br />

UKRSPECEXPORT, FN Herstal, Arsenal<br />

2000, NORINCO, MBDA, DIEHL, Trijicon,<br />

FNSS, YUGOIMPORT, SAAB,<br />

Rheinmettal และบริษัทชั้นนาอื่นๆ<br />

อีกมากมาย เป็น<strong>ต</strong>้น รวมทั้งยังมีการจัด<br />

พาวิลเลี่ยนนานาชา<strong>ต</strong>ิกว่า ๒๕ ประเทศ<br />

ได้แก่ เบลารุส จีน สาธารณรัฐเช็ก ฝรั่งเศส<br />

เยอรมนี อินเดีย อินโดนีเซีย อิสราเอล<br />

อิ<strong>ต</strong>าลี ญี่ปุ่น มาเลเซีย ปากีสถาน รัสเซีย<br />

สิงคโปร์ แอฟริกาใ<strong>ต</strong>้ เกาหลีใ<strong>ต</strong>้ เซอร์เบีย<br />

สวีเดน สวิ<strong>ต</strong>เซอร์แลนด์ <strong>ต</strong>ุรกี ยูเครน<br />

สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกาและ<br />

ประเทศไทย เป็น<strong>ต</strong>้น<br />

ดังนั้น ขอเชิญชวนข้าราชการทหาร<br />

<strong>ต</strong>ารวจ พลเรือน รวมถึงหน่วยงานที่ปฏิบั<strong>ต</strong>ิ<br />

หน้าที่ทางด้านการป้องกันประเทศได้มา<br />

พันเอกหญิง ดร.วันดี โ<strong>ต</strong>สุวรรณ<br />

เยี่ยมชมนิทรรศการที่ได้ชื่อว่ายิ่งใหญ่ที่สุด<br />

ในเอเชีย รวมทั้งได้เพิ่มพูนความรู้เกี่ยวกับ<br />

ยุทโธปกรณ์และยุทธภัณฑ์ที่หลากหลาย<br />

เช่น ระบบอาวุธ ขีปนาวุธ รถถัง อาวุธนา<br />

วิถี ยานพาหนะ เรือ ดาวเทียม อุปกรณ์<br />

การสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ในการ<br />

ป้องกันประเทศ ระบบควบคุมการยิงและ<br />

เครื่องยิง นอกจากนี้ ยังมีเทคโนโลยีและ<br />

อุปกรณ์รักษาความปลอดภัยเพื่อกิจการ<br />

ความมั่นคงภายใน เช่น ปืน เสื้อเกราะ<br />

กันกระสุน เครื่องรบกวนและ<strong>ต</strong>ัดสัญญาณ<br />

โทรศัพท์ กล้องวงจรปิด สัญญาณกันขโมย<br />

ระบบควบคุมและระบบรักษาความ<br />

ปลอดภัย<strong>ต</strong>่างๆ อีกด้วย ที่สาคัญยังได้มี<br />

โอกาสได้ศึกษาหาความรู้และแลกเปลี่ยน<br />

ประสบการณ์ ทัศนค<strong>ต</strong>ิกับผู้แทนทางด้าน<br />

อุ<strong>ต</strong>สาหกรรมป้องกันประเทศจาก<strong>ต</strong>่าง<br />

ประเทศ เป็นการเปิดมุมมองที่มีคุณค่า<br />

และมีประโยชน์<strong>ต</strong>่องานทางด้านวิจัยและ<br />

พัฒนา<strong>ต</strong>่อไป<br />

จากสารของ พลเอก ชัยชาญ<br />

ช้างมงคล ปลัดกระทรวงกลาโหมได้กล่าวไว้<br />

ดังนี้ (Message from Permanent<br />

Secretary for Defence, Thailand)<br />

60 พันเอกหญิง ดร.วันดี โ<strong>ต</strong>สุวรรณ


Changes in the security environment<br />

of traditional threats have<br />

not only played a key factor in<br />

determining policies and modernization<br />

plans for the Armed Forces<br />

of every nation in its quest to confront<br />

all possible challenges, but<br />

the impact of non-traditional<br />

threats, for example, natural disasters,<br />

environmental degradations,<br />

transnational crimes, terrorism and<br />

cyber security have also influenced<br />

Armed Forces to revise concepts<br />

and plans in preparing their readiness<br />

to assist those affected and<br />

provide support to the concerned<br />

agencies.<br />

(การเปลี่ยนแปลงสถานการณทาง<br />

ดานความมั่นคงที่เคยเปนภัยคุกคามแบบ<br />

ดั้งเดิมนั้นไมไดเปนปจจัยหลัก<strong>ต</strong>อการวาง<br />

นโยบายและการเสริมสรางความทันสมัย<br />

ใหกับกองทัพของทุกชา<strong>ต</strong>ิที่ทาทายอีก<strong>ต</strong>อ<br />

ไปแลว แ<strong>ต</strong>กลับกลายเปนภัยคุกคามแบบ<br />

ใหม อาทิ ภัยพิบั<strong>ต</strong>ิทางธรรมชา<strong>ต</strong>ิ การ<br />

เสื่อมโทรมของคุณภาพสิ่งแวดลอม<br />

อาชญากรรมขามชา<strong>ต</strong>ิ การกอการราย<br />

และความมั่นคงปลอดภัยทางดานไซเบอร<br />

ที่กลายเปนภัยคุกคามแบบใหมที่มีอิทธิพล<br />

<strong>ต</strong>อกองทัพในการทบทวนแผนและ<br />

แนวทางปฏิบั<strong>ต</strong>ิเพื่อเ<strong>ต</strong>รียมความพรอมใน<br />

การใหความชวยเหลือผลกระทบที่เกิดขึ้น<br />

และสนับสนุนหนวยงานที่เกี่ยวของ<br />

ดังกลาว)<br />

Acquiring new technologies<br />

and continuously upgrading existing<br />

equipment and software are an<br />

essential part of maintaining the<br />

readiness of every Armed Forces in<br />

confronting the various forms of<br />

traditional and non-traditional<br />

threats.<br />

(การเขาสูเทคโนโลยีใหมและการ<br />

ปรับปรุงพัฒนาอาวุธยุทโธปกรณและ<br />

ซอฟ<strong>ต</strong>แวรที่มีอยูถือเปนสวนที่สําคัญใน<br />

การดํารงสภาพความพรอมของทุกกองทัพ<br />

เพื่อรองรับ<strong>ต</strong>อการเผชิญหนากับภัยคุกคาม<br />

หลากหลายรูปแบบ)<br />

The Office of the Permanent<br />

Secretary for Defence, the Organising<br />

Committee and those involved,<br />

look forward to your participation<br />

in this biennial event.<br />

(สํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

คณะกรรมการผูจัดและหนวยงาน<br />

ที่เกี่ยวของ ขอเรียนเชิญทุกทานมาชมงาน<br />

นิทรรศการที่จัดทุกสองปในครั้งนี้)<br />

นอกจากนี้ อย่าลืมแวะมาชมบูธการ<br />

แสดงผลงานวิจัยและพัฒนาการทหาร<br />

โครงการวิจัยทางทหารของกระทรวง<br />

กลาโหม ที่จัดโดยกรมวิทยาศาส<strong>ต</strong>ร์<br />

และเทคโนโลยีกลาโหม ด้วยนะคะ<br />

See you there.<br />

คําศัพทที่นาสนใจเกี่ยวกับการจัดนิทรรศการ Defence & Security 2017 มีดังนี้<br />

ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย<br />

1. security ความมั่นคง 2. environment สิ่งแวดล้อม<br />

3. concern เกี่ยวข้อง 4. determine <strong>ต</strong>ัดสินใจ/มุ่งมั่น<br />

5. terrorism การก่อการร้าย 6. Armed Forces กองทัพ<br />

7. disasters ภัยพิบั<strong>ต</strong>ิ 8. transnational crimes อาชญากรรมข้ามชา<strong>ต</strong>ิ<br />

9. confront เผชิญหน้า 10. degradations การเสื่อมโทรม<br />

11. Acquire เข้าถึง 12. various หลากหลาย<br />

13. readiness ความพร้อม 14. essential สาคัญ/จาเป็น<br />

15. traditional threats ภัยคุกคามแบบดั้งเดิม 16. non-traditional threats ภัยคุกคามแบบใหม่<br />

17. equipment ยุทโธปกรณ์/อุปกรณ์ 18. Committee คณะกรรมการ<br />

19. participation การมีส่วนร่วม 20. biennial event งานทุกๆ สองป<br />

ËÅÑ¡àÁ×ͧ µØÅÒ¤Á òõöð<br />

61


สาระน่ารู้ทางการแพทย์<br />

“เวียนศีรษะบ้านหมุน<br />

รีบรักษา แก้ไขได้”<br />

อ<br />

สำนักงนแพทย์ สำนักงนสนับสนุนสำนักงนปลัดกระทรวงกลโหม<br />

าการเวียนศีรษะเป็นอาการที่<br />

คนส่วนใหญ่คงเคยประสบพบเจอ<br />

แ<strong>ต</strong>่บางรายอาจมีอาการเวียน<br />

ศีรษะแบบรู้สึกหมุน คือ รู้สึกว่า<br />

สิ่งแวดล้อมรอบ<strong>ต</strong>ัวหรือสิ่งของที่มองเห็น<br />

หมุนไป หรือรู้สึกว่า<strong>ต</strong>ัวเองหมุนไป ทั้งๆ ที่<br />

<strong>ต</strong>นเองอยู่กับที่ ซึ่งอาการเวียนศีรษะ<br />

บ้านหมุนอาจส่งผล<strong>ต</strong>่อการทรง<strong>ต</strong>ัวและทาให้<br />

ผู้ที่มีอาการเสี่ยง<strong>ต</strong>่อการเกิดอุบั<strong>ต</strong>ิเห<strong>ต</strong>ุได้<br />

อย่างไรก็ดี อาการนี้มีสาเห<strong>ต</strong>ุจากหลายโรค<br />

ที่ซับซ้อน การ<strong>ต</strong>รวจวินิจฉัยอย่างถูก<strong>ต</strong>้อง<br />

จึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะนาไปสู่การรักษาได้<br />

อย่างมีประสิทธิภาพ<br />

อาการเวียนศีรษะ เป็นคาที่มีความ<br />

หมายค่อนข้างกว้าง อาจหมายรวมถึง<br />

อาการมึนศีรษะ วิงเวียน งง รู้สึกโคลงเคลง<br />

ทรง<strong>ต</strong>ัวไม่ค่อยได้ มีความรู้สึกลอยๆ หวิวๆ<br />

มีอาการ<strong>ต</strong>ื้อในศีรษะ ซึ่งในทางการแพทย์<br />

จะแบ่งอาการนี้ออกเป็น ๒ ลักษณะ คือ<br />

• อาการมึนเวียนศีรษะ (dizziness)<br />

มีความหมายรวม<strong>ต</strong>ั้งแ<strong>ต</strong>่อาการมึน<br />

ศีรษะไปจนถึงอาการวิงเวียนศีรษะ ซึ่งเป็น<br />

อาการไม่เฉพาะเจาะจง เกิดได้จากโรค<br />

<strong>ต</strong>่างๆ เช่น โรคทางระบบไหลเวียนเลือด<br />

โรคทางระบบประสาท ภาวะโลหิ<strong>ต</strong>จาง<br />

เป็น<strong>ต</strong>้น<br />

• อาการเวียนศีรษะบ้านหมุน<br />

(vertigo) จะหมายถึงเฉพาะอาการเวียน<br />

ศีรษะแบบรู้สึกหมุนหรือโคลงเคลงเท่านั้น<br />

อาการเวียนศีรษะบ้านหมุน (vertigo)<br />

เป็นอาการที่มีสาเห<strong>ต</strong>ุมาจากความผิดปก<strong>ต</strong>ิ<br />

ของอวัยวะการทรง<strong>ต</strong>ัวในหูชั้นใน ซึ่งเป็น<br />

ส่วนที่ทาหน้าที่คอยรับการทรง<strong>ต</strong>ัวสมดุล<br />

ของร่างกายในท่าทาง<strong>ต</strong>่างๆ เมื่อเกิดความ<br />

ผิดปก<strong>ต</strong>ิขึ้น จึงทาให้มีอาการเวียนศีรษะ<br />

แบบรู้สึกหมุน ผู้ป่วยจะรู้สึกว่าสิ่งแวดล้อม<br />

หมุนรอบ<strong>ต</strong>ัวเองหรือ<strong>ต</strong>ัวเองหมุน รู้สึก<br />

โคลงเคลง ทั้งๆ ที่<strong>ต</strong>ัวเองอยู่กับที่ หรือไม่มี<br />

การเคลื่อนไหว ในรายที่มีอาการรุนแรงมาก<br />

อาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน มีความรู้สึก<br />

เหมือนจะเป็นลม หูอื้อ การได้ยินลดลง<br />

หรือมีเสียงในหูร่วมด้วยได้ ทั้งนี้ มีหลาย<br />

โรคที่เป็นสาเห<strong>ต</strong>ุให้เกิดอาการเวียนศีรษะ<br />

บ้านหมุนได้ อาทิ<br />

• โรคหินปูนในหูชั้นในเคลื่อน<br />

หรือโรคเวียนศีรษะขณะเปลี่ยนท่า<br />

(benign paroxysmal positioning<br />

vertigo: BPPV) เป็นโรคที่ทาให้เกิดอาการ<br />

เวียนศีรษะบ้านหมุนที่พบได้บ่อยที่สุด<br />

โรคนี้เป็นโรคที่เกิดจากความเสื่อมของหู<br />

ชั้นใน จึงพบมากในผู้สูงอายุอาการเฉพาะ<br />

ของโรคนี้คือ อาการเวียนศีรษะบ้านหมุน<br />

ที่เกิดขึ้นทันทีทันใดในขณะเปลี่ยนท่าทาง<br />

ของศีรษะ เช่น ระหว่างกาลังล้ม<strong>ต</strong>ัวลงนอน<br />

หรือลุกจากที่นอน เงยหน้า ก้มหยิบของ<br />

เป็น<strong>ต</strong>้น อาการมักจะเป็นระยะเวลาสั้นๆ<br />

เป็นแค่ช่วงวินาทีที่ขยับศีรษะ แล้วอาการ<br />

จะค่อยๆ หายไป ผู้ป่วยโรคนี้จะไม่มีอาการ<br />

หูอื้อ ไม่พบการสูญเสียการได้ยินหรือเสียง<br />

ผิดปก<strong>ต</strong>ิในหู (ยกเว้นในรายที่เป็นโรคหูอยู่<br />

ก่อนแล้ว) รวมถึงไม่มีอาการทางระบบ<br />

ประสาท เช่น แขนขาชาหรืออ่อนแรง<br />

• โรคน้าในหูชั้นในผิดปก<strong>ต</strong>ิหรือ<br />

โรคน้าในหูไม่เท่ากัน (Meniere’s disease)<br />

เป็นโรคที่เกิดจากความผิดปก<strong>ต</strong>ิของหู<br />

ชั้นใน โดยยังไม่ทราบสาเห<strong>ต</strong>ุที่แน่ชัด แ<strong>ต</strong>่พบ<br />

ว่าอาการของโรคเป็นผลจากความผิดปก<strong>ต</strong>ิ<br />

62<br />

สำนักงนแพทย์ สำนักงนสนับสนุนสำนักงนปลัดกระทรวงกลโหม


ของน้าที่อยู่ภายในหูชั้นใน ซึ่งทาให้ผู้ป่วย<br />

เกิดอาการเวียนศีรษะแบบรู้สึกหมุนอย่าง<br />

รุนแรง ร่วมกับมีอาการคลื่นไส้อาเจียน<br />

และสูญเสียสมดุลของร่างกาย ทาให้เซ<br />

หรือล้มได้ง่าย อาการเวียนศีรษะที่เกิดจาก<br />

โรคนี้อาจนานเป็นนาทีจนถึงหลายชั่วโมง<br />

ซึ่งในระหว่างที่เกิดอาการ ผู้ป่วยควรอยู่<br />

นิ่งๆ ไม่ขยับศีรษะ เพราะอาจทาให้มี<br />

อาการเวียนศีรษะเพิ่มขึ้นได้ นอกจากนี้<br />

ผู้ป่วยยังอาจมีการได้ยินลดลงและมีเสียงดัง<br />

ในหู บางครั้งอาจพบอาการหูอื้อได้ด้วย<br />

• โรคอื่นๆ เช่น<br />

การอักเสบของหูชั้นใน<br />

(labyrinthitis) พบการอักเสบจากเชื้อ<br />

ไวรัสได้บ่อย ซึ่งมักมีประวั<strong>ต</strong>ิการเป็นหวัด<br />

หรือระบบทางเดินหายใจอักเสบนา<br />

มาก่อน ถ้าเชื้อไวรัสลามเข้าสู่หูชั้นในและ<br />

เส้นประสาท จะทาให้เกิดการอักเสบ<br />

ซึ่งทาให้ผู้ป่วยมีอาการเวียนศีรษะรุนแรงและ<br />

เป็นอยู่หลายวัน แ<strong>ต</strong>่ผู้ป่วยมักมีการได้ยิน<br />

ที่ปก<strong>ต</strong>ิแ<strong>ต</strong>่หากเป็นการอักเสบที่เกิดจากเชื้อ<br />

แบคทีเรีย ซึ่งมักพบในผู้ป่วยที่มีประวั<strong>ต</strong>ิโรค<br />

การอักเสบของหูชั้นกลาง โรคหูน้าหนวก<br />

แล้วลุกลามเข้าสู่หูชั้นใน<br />

อาการมักรุนแรงมาก<br />

ผู้ป่วยมักมีอาการสูญเสีย<br />

การได้ยินร่วมด้วย<br />

โรคเนื้องอกของ<br />

ประสาทการทรง<strong>ต</strong>ัว<br />

หรือเส้นประสาทการได้ยิน<br />

(acoustic neuroma)<br />

ผู้ป่วยจะมีอาการเวียน<br />

ศีรษะร่วมกับการได้ยิน<br />

ลดลง บางรายอาจมี<br />

เสียงรบกวนในหู สาหรับรายที่มีเนื้องอก<br />

ขนาดใหญ่และไม่ได้รับการรักษา ผู้ป่วย<br />

อาจมีอาการชาที่ใบหน้าซีกนั้น อัมพา<strong>ต</strong><br />

ของใบหน้า เดินโซเซ หรืออาการทาง<br />

สมองอื่นๆ เนื่องจากก้อนเนื้องอกไปกดทับ<br />

เนื้อสมอง<br />

โรคเส้นประสาทการทรง<strong>ต</strong>ัวในหู<br />

อักเสบ (vestibular neuronitis) ทาให้<br />

เกิดอาการเวียนศีรษะรุนแรงนานหลายวัน<br />

จนถึงสัปดาห์ แ<strong>ต</strong>่ไม่ส่งผล<strong>ต</strong>่อการได้ยิน<br />

ผู้ป่วยยังคงได้ยินเป็นปก<strong>ต</strong>ิ<br />

กระดูกกะโหลกแ<strong>ต</strong>กหัก (temporal<br />

bone fracture)<br />

เลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ<br />

(vertebra-basilar insufficiency)<br />

จะเห็นได้ว่า อาการเวียนศีรษะ<br />

บ้านหมุนมีสาเห<strong>ต</strong>ุที่ซับซ้อน การวินิจฉัย<br />

โรคอย่างถูก<strong>ต</strong>้อง จึงมีความสาคัญ การ<br />

รักษาในระยะแรกจะได้ผลดีกว่าในระยะ<br />

หลัง ดังนั้น หากมีอาการเวียนศีรษะ<br />

ผิดปก<strong>ต</strong>ิ ควรรีบพบแพทย์เพื่อหาสาเห<strong>ต</strong>ุ<br />

ของอาการและเข้ารับการรักษา โดยแพทย์<br />

จะทาการวินิจฉัยด้วยการซักประวั<strong>ต</strong>ิและ<br />

<strong>ต</strong>รวจร่างกายอย่างละเอียด ทั้งการ<strong>ต</strong>รวจ<br />

หู <strong>ต</strong>รวจระบบประสาทและการทรง<strong>ต</strong>ัว<br />

<strong>ต</strong>รวจการทางานของอวัยวะการทรง<strong>ต</strong>ัว<br />

ในหูชั้นใน <strong>ต</strong>รวจดูการกลอกของลูก<strong>ต</strong>าและ<br />

การเคลื่อนไหวของลูก<strong>ต</strong>าในท่าทาง<strong>ต</strong>่างๆ<br />

ในผู้ป่วยบางรายที่แพทย์สงสัยว่ามีความ<br />

ผิดปก<strong>ต</strong>ิของการทางานในหูชั้นในอาจ<br />

ได้รับการ<strong>ต</strong>รวจพิเศษเพิ่มเ<strong>ต</strong>ิม เช่น<br />

• <strong>ต</strong>รวจการได้ยิน (audiogram)<br />

• <strong>ต</strong>รวจการทางานของอวัยวะ<br />

ทรง<strong>ต</strong>ัวของหูชั้นใน (video electronystagmography:<br />

VNG)<br />

• <strong>ต</strong>รวจวัดแรงดันของน้าในหูชั้นใน<br />

(electrocochleography: ECOG)<br />

• <strong>ต</strong>รวจการทรง<strong>ต</strong>ัว (posturography)<br />

• <strong>ต</strong>รวจการทางานของเส้นประสาท<br />

การได้ยิน (evoke response audiometry)<br />

เป็น<strong>ต</strong>้น<br />

สาหรับการรักษา แพทย์จะพิจารณา<br />

รักษา<strong>ต</strong>ามสาเห<strong>ต</strong>ุที่ก่อให้เกิดอาการเวียน<br />

ศีรษะบ้านหมุน ซึ่งแนวทางการรักษาจะ<br />

แ<strong>ต</strong>ก<strong>ต</strong>่างกันไป โดยแพทย์จะพิจารณา<br />

แนวทางการรักษาที่เหมาะสมสาหรับ<br />

ผู้ป่วยแ<strong>ต</strong>่ละราย อย่างไรก็ดีการดูแล<strong>ต</strong>นเอง<br />

และพยายามหลีกเลี่ยงปัจจัยกระ<strong>ต</strong>ุ้นก็ยัง<br />

คงมีความสาคัญ<strong>ต</strong>่อการรักษาและการ<br />

ป้องกันการเกิดโรคในผู้ที่มีอาการเวียน<br />

ศีรษะบ้านหมุน ควรปฏิบั<strong>ต</strong>ิ<strong>ต</strong>ัวดังนี้<br />

• หลีกเลี่ยงท่าทางที่ทาให้เกิด<br />

อาการเวียนศีรษะในระหว่างเกิดอาการ<br />

เช่น การหมุนหันศีรษะเร็วๆ การ<br />

เปลี่ยนแปลงท่าทางอิริยาบถอย่างรวดเร็ว<br />

การก้มเงยคอ หรือหันอย่างเ<strong>ต</strong>็มที่<br />

• ลดปริมาณหรืองดการสูบบุหรี่/<br />

ดื่มกาแฟ<br />

• หลีกเลี่ยงปัจจัยกระ<strong>ต</strong>ุ้นที่ทาให้<br />

เกิดอาการเวียนศีรษะ เช่น ความเครียด<br />

ความวิ<strong>ต</strong>กกังวล สารก่อภูมิแพ้<strong>ต</strong>่างๆ และ<br />

การพักผ่อนไม่เพียงพอ<br />

• ไม่ควรอยู่ในสถานการณ์ที่เสี่ยง<br />

<strong>ต</strong>่อการเกิดอุบั<strong>ต</strong>ิเห<strong>ต</strong>ุ เช่น การขับขี่<br />

ยานพาหนะในขณะยังมีอาการ การ<br />

ปีนป่ายที่สูง<br />

ที่มข้อมูลเพิ่มเ<strong>ต</strong>ิม https://www.bumrungrad.<br />

com/healthspot/March-2015/vertigotreatment<br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

63


พลเอก ประวิ<strong>ต</strong>ร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมน<strong>ต</strong>รีและรัฐมน<strong>ต</strong>รีว่าการกระทรวงกลาโหม เปนประธานในพิธีอัญเชิญพระบรมสารีริกธา<strong>ต</strong>ุ ๓ แผ่นดิน<br />

ขึ้นประดิษฐานในพระมหาธา<strong>ต</strong>ุเจดีย์ เหนืออาคารปญญานันทานุสรณ์โดยมี พลเอก เทพพงศ์ ทิพยจันทร์ ปลัดกระทรวงกลาโหม และนายทหารชั้นผู้ใหญ่<br />

ของสานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมพิธี ณ อาคารปญญานันทานุสรณ์ วัดชลประทานรังสฤษดิ์ พระอารามหลวง เมื่อ ๑๐ <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

พลเอก ประวิ<strong>ต</strong>ร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมน<strong>ต</strong>รีและรัฐมน<strong>ต</strong>รีว่าการกระทรวงกลาโหม เปนประธานในพิธีและเปนผู้มอบพระบรมฉายาลักษณ์<br />

“พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิ<strong>ต</strong>ร” และ พระบรมฉายาลักษณ์ “สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทร<br />

เทพยวรางกูร” ให้กับศาลทหารทั่วราชอาณาจักร จานวน ๓๗ แห่ง ณ ห้องสุรศักดิ์มน<strong>ต</strong>รี ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๖ <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

64


พลเอก ประวิ<strong>ต</strong>ร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมน<strong>ต</strong>รีและรัฐมน<strong>ต</strong>รีว่าการกระทรวงกลาโหม เปนประธานในการประชุมกองอานวยการร่วมพระราช<br />

พิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิ<strong>ต</strong>ร ครั้งที่ ๒/๒๕๖๐ โดยมี พลเอก อุดมเดช สี<strong>ต</strong>บุ<strong>ต</strong>ร<br />

รัฐมน<strong>ต</strong>รีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม พลเอก เทพพงศ์ ทิพยจันทร์ ปลัดกระทรวงกลาโหม และนายทหารชั้นผู้ใหญ่ของสานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

ร่วมประชุม ณ ห้องยุทธนาธิการ ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๒ <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

พลเอก อุดมเดช สี<strong>ต</strong>บุ<strong>ต</strong>ร รัฐมน<strong>ต</strong>รีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม เปนประธานในพิธีมอบรางวัลนวั<strong>ต</strong>กรรมของกระทรวงกลาโหม<br />

ประจาป ๒๕๖๐ ให้กับหน่วยงานภายในเพื่อผลักดันให้เกิดการวิจัยและพัฒนายุทโธปกรณ์ให้<strong>ต</strong>รงความ<strong>ต</strong>้องการของกองทัพและสามารถใช้งาน<br />

ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีนายทหารชั้นผู้ใหญ่ของสานักงานปลัดกระทรวงกลาโหมร่วมพิธี ณ ห้องพินิ<strong>ต</strong>ประชานาถ ภายในศาลาว่าการกลาโหม<br />

เมื่อ ๒๕ กันยายน ๒๕๖๐<br />

ËÅÑ¡àÁ×ͧ µØÅÒ¤Á òõöð<br />

65


66


พลเอก เทพพงศ์ ทิพยจันทร์ และ พลเอก ชัยชาญ ช้างมงคล สักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในศาลาว่าการกลาโหม และกระทาพิธีรับ-ส่งหน้าที่<br />

และมอบการบังคับบัญชาปลัดกระทรวงกลาโหม ณ ลานอเนกประสงค์ ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๒๙ กันยายน ๒๕๖๐<br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

67


พลเอก เทพพงศ์ ทิพยจันทร์ ปลัดกระทรวงกลาโหม เปนประธานในพิธีแสดงความยินดี แก่นายทหารสัญญาบั<strong>ต</strong>รที่ได้รับพระราชทานยศทหาร<br />

ชั้นนายพลประจาปงบประมาณ ๒๕๖๑ ครั้งที่ ๑ (<strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐) และพิธีรายงาน<strong>ต</strong>ัวของนายทหารสัญญาบั<strong>ต</strong>ร ที่ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ<br />

ย้ายเข้ามารับราชการในสานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ณ ห้องพินิ<strong>ต</strong>ประชานาถ ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๙ <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

พลเอก เทพพงศ์ ทิพยจันทร์ ปลัดกระทรวงกลาโหม <strong>ต</strong>รวจเยี่ยมหน่วยขึ้น<strong>ต</strong>รงสานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม โดยมีรองปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

และนายทหารชั้นผู้ใหญ่ของสานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมคณะ ณ บริเวณอาคารศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๑๐ <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

68


พลเอก วิสุทธิ์ นาเงิน รองปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมแสดงความยินดีกับ พลเอก เทพพงศ์ ทิพยจันทร์ ที่ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ<br />

ให้ดารง<strong>ต</strong>าแหน่งปลัดกระทรวงกลาโหม โดยมี รองปลัดกระทรวงกลาโหม และหัวหน้าหน่วยขึ้น<strong>ต</strong>รงสานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมแสดง<br />

ความยินดี ณ ห้องสนามไชย เมื่อ ๙ <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

พลเอก วิสุทธิ์ นาเงิน รองปลัดกระทรวงกลาโหม เปนประธานในพิธีทาบุญ<strong>ต</strong>ักบา<strong>ต</strong>รพระสงฆ์ สามเณร จานวน ๘๙ รูป และเจริญพระพุทธมน<strong>ต</strong>์<br />

เพื่อถวายเปนพระราชกุศล ครบรอบ ๑ ป วันสวรรค<strong>ต</strong>พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิ<strong>ต</strong>ร โดยมีนายทหาร<br />

ชั้นผู้ใหญ่ของสานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ร่วมพิธี ณ ลานอเนกประสงค์ ภายในศาลาว่าการกลาโหม เมื่อ ๑๓ <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

ËÅÑ¡àÁ×ͧ µØÅÒ¤Á òõöð<br />

69


70<br />

กิจกรรมสมาคมภริยาข้าราชการสานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม


สมาคมภริยาข้าราชการสานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม จัดพิธี รับ-ส่งหน้าที่ นายกสมาคมภริยาข้าราชการสานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

ระหว่าง นางวิภาพร ช้างมงคล และ นางนริศรา ทิพยจันทร์ โดยมีอุปนายกสมาคมฯ พร้อมด้วยคณะกรรมการสมาคมฯ เข้าร่วมพิธี ณ ห้องไชยปราการ<br />

กรมการพลังงานทหาร ศูนย์การอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร เมื่อ ๒๙ กันยายน ๒๕๖๐<br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

71


นางนริศรา ทิพยจันทร์ นายกสมาคมภริยาข้าราชการสานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม นาอุปนายกสมาคมฯ พร้อมด้วยคณะกรรมการ<br />

สมาคมฯ บวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ฯ ณ ที่ทาการสมาคมภริยาข้าราชการสานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม (<strong>ต</strong>ึกโดม) และสักการะศาลหลักเมือง<br />

และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในศาลาว่าการกลาโหม ในโอกาสเข้ารับ<strong>ต</strong>าแหน่งใหม่ เมื่อ ๓ <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

72


BY<br />

สัญญาประชาคม<br />

สัญญาใจ<br />

ไทยทั้งชา<strong>ต</strong>ิ<br />

ขจัดการทุจริ<strong>ต</strong><br />

ดําเนินชีวิ<strong>ต</strong> ดวยหลักคุณธรรม<br />

จริยธรรม และศีลธรรม มีความ<br />

ซื่อสั<strong>ต</strong>ย รวมกัน<strong>ต</strong>อ<strong>ต</strong>านการทุจริ<strong>ต</strong><br />

ทุกรูปแบบ<br />

อนุรักษ์ทรัพยากร<br />

ธรรมชา<strong>ต</strong>ิ<br />

รวมแบงปน ใชทรัพยากร<br />

ธรรมชา<strong>ต</strong>ิอยางทั่วถึงและเปนธรรม<br />

คํานึงถึงความสมดุลและยั่งยืน<br />

ของสิ่งแวดลอม<br />

รู้เท่าทันข่าวสาร<br />

รับรูขาวสารอยาง<br />

รอบคอบ ไมเสนอขอมูล<br />

ที่บิดเบือน ยั่วยุ กอให<br />

เกิดความขัดแยง<br />

ยึดมั ่นศาส<strong>ต</strong>ร์พระราชา<br />

พัฒนาและปฏิรูปประเทศ<br />

รับรู รวมคิด รวมทํา ดวยพลัง<br />

ประชารัฐ สูการเปลี่ยนแปลง<br />

ประเทศอยางเปนระบบ<br />

และครบวงจร<br />

พัฒนา<strong>ต</strong>นเอง นําปรัชญาของเศรษฐกิจ<br />

พอเพียงมาปรับใช ประกอบอาชีพสุจริ<strong>ต</strong><br />

มีไม<strong>ต</strong>รีจิ<strong>ต</strong><strong>ต</strong>อกัน<br />

7<br />

4<br />

9<br />

3<br />

6<br />

Thailand<br />

2<br />

8<br />

10<br />

1<br />

ดูแลคุณภาพชีวิ<strong>ต</strong><br />

5<br />

รู้รักสามัคคี<br />

รวมกันสรางสามัคคีปรองดอง<br />

ใชสิทธิ เสรีภาพ <strong>ต</strong>ามกรอบของ<br />

กฎหมาย ยอมรับความคิด<strong>ต</strong>าง<br />

เขาใจประชาธิปไ<strong>ต</strong>ย แกไขปญหา<br />

ดวยระบบรัฐสภา<br />

รวมมือกันสนับสนุน<br />

ดูแลคุณภาพชีวิ<strong>ต</strong>ดาน<br />

สาธารณสุขและการศึกษา<br />

อยางเทาเทียม<br />

เคารพกฎหมาย<br />

เชื่อมั่น และ<strong>ต</strong>องปฏิบั<strong>ต</strong>ิ<strong>ต</strong>ามกฎหมาย<br />

โดยกระบวนการยุ<strong>ต</strong>ิธรรม<strong>ต</strong>องทํางาน<br />

อยางอิสระ เปนกลาง ไมเลือกปฏิบั<strong>ต</strong>ิ<br />

ยึดมั ่นก<strong>ต</strong>ิกาสากล<br />

ปฏิบั<strong>ต</strong>ิ<strong>ต</strong>ามกฎก<strong>ต</strong>ิกาสากลระหวาง<br />

ประเทศ โดยยึดถือผลประโยชน<br />

ของชา<strong>ต</strong>ิเปนสําคัญ<br />

เดินหน้า<br />

ยุทธศาส<strong>ต</strong>ร์ชา<strong>ต</strong>ิ<br />

เรียนรู รวมมือ และสนับสนุน<br />

ขับเคลื่อนประเทศ<strong>ต</strong>าม<br />

ยุทธศาส<strong>ต</strong>รชา<strong>ต</strong>ิใหเปน<br />

รูปธรรมอยางยั่งยืน


กระทรวงกลาโหม กําหนดนําผาพระกฐินพระราชทานไปถวายแดพระสงฆที่จําพรรษา ณ วัดอาวุธวิกสิ<strong>ต</strong>าราม<br />

เข<strong>ต</strong>บางพลัด กรุงเทพฯ ในวันพฤหัสบดีที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ เวลา ๑๔.๐๐ น. โดยมี พลเอก ประวิ<strong>ต</strong>ร วงษสุวรรณ<br />

รองนายกรัฐมน<strong>ต</strong>รีและรัฐมน<strong>ต</strong>รีวาการกระทรวงกลาโหม เปนประธานในพิธี<br />

ในการนี้ จึงขอเชิญชวนขาราชการ พนักงานราชการพรอมดวยครอบครัว และประชาชนทั่วไป รวมทําบุญ<br />

ไดที่ ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) สาขากระทรวงกลาโหม บัญชีออมทรัพย เลขที่ ๐๓๙-๒-๗๗๘๒๑-๓<br />

ชื่อบัญชี “การถวายผาพระกฐินพระราชทานของ กห. ประจําป ๒๕๖๐”<br />

ISSN 0858 - 3803<br />

9 770858 380005

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!