17.11.2017 Views

ต.ค.60

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

๖๔ ปี วันคล้ายวันสถาปนา<br />

กรมการพลังงานทหาร<br />

ศูนย์การอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมปองกันประเทศและพลังงานทหาร<br />

กรมการพลังงานทหาร ศูนยการอุ<strong>ต</strong>สาหกรรมปองกันประเทศและพลังงานทหาร<br />

พลโท ศิริพงษ วงศขัน<strong>ต</strong>ี<br />

เจากรมการพลังงานทหาร ศูนยการอุ<strong>ต</strong>สาหกรรม<br />

ปองกันประเทศและพลังงานทหาร<br />

ประวั<strong>ต</strong>ิความเปนมา<br />

ปความเปนมาของกิจการน้ามันฝาง<br />

ระมาณร้อยปีเศษ ชาวบ้านท้องที่<br />

อาเภอฝาง พบน้ามันลักษณะสีดา<br />

ไหลซึมขึ้นมาบนผิวดิน ความ<br />

ทราบถึงเจ้าหลวงเชียงใหม่ จึงสั่งให้ขุดบ่อ<br />

เพื่อกักน้ามันไว้ เรียกว่า “บ่อหลวง” หรือ<br />

“บ่อเจ้าหลวง” ซึ่ง<strong>ต</strong>่อมามีหน่วยราชการ<br />

หลายฝายสนใจ ทาการสารวจและดาเนิน<br />

งาน<strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>่อกันมาหลายสมัย พอสรุปได้ดังนี้<br />

การดาเนินการของกรมรถไฟ<br />

พลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรม<br />

พระกาแพงเพชรอัครโยธิน เมื่อครั้งดารง<br />

พระอิสริยยศเป็นพระเจ้าน้องยาเธอ<br />

กรมขุนกาแพงเพชรอัครโยธิน ทรงเป็น<br />

ผู้บัญชาการรถไฟ และทรงทราบถึงการ<br />

ค้นพบน้ามันที่อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่<br />

จึงทรง<strong>ต</strong>ิด<strong>ต</strong>่อว่าจ้างนักธรณีวิทยาชาวอเมริกัน<br />

ชื่อ Mr. Wallace Lee มาทาการสารวจ<br />

เมื่อปี พ.ศ.๒๔๖๔ - ๒๔๖๕ รวมเวลา ๒<br />

ปี พร้อมกันนั้นได้ทรงสั่งเครื่องเจาะ<br />

และว่าจ้างชาวอิ<strong>ต</strong>าเลียนทาการเจาะ<br />

บริเวณบ่อหลวง จานวน ๒ หลุม แ<strong>ต</strong>่เนื่องจาก<br />

ประสบปัญหาจึงระงับการเจาะไป<br />

การดาเนินการของกรมทาง<br />

กรมทางเข้ามาดาเนินงานในปี พ.ศ.<br />

๒๔๗๕ อธิบดีในขณะนั้น คือ หม่อมหลวง<br />

กรี เดชา<strong>ต</strong>ิวงศ์ มีวั<strong>ต</strong>ถุประสงค์เพื่อหา<br />

ปริมาณทรายน้ามันที่อยู่ใกล้ผิวดิน เพื่อ<br />

เป็นประโยชน์<strong>ต</strong>่อกรมทางในการใช้แทน<br />

ยางแอสฟัลท์ ผลการสารวจได้ปริมาณ<br />

ทรายน้ามันประมาณ ๓.๘ ล้านลูกบาศก์<br />

เม<strong>ต</strong>ร และมีการสร้างโรงกลั่นทดลอง<br />

เพื่อกลั่นน้ามันที่ได้มา แ<strong>ต</strong>่เนื่องจากขาด<br />

อุปกรณ์และขาดความชานาญ รวมทั้ง<br />

กิจการน้ามันมิใช่หน้าที่ของกรมทาง<br />

งานทั้งหมดจึง<strong>ต</strong>้องยุ<strong>ต</strong>ิลง<br />

การดาเนินการของกรมเชื้อเพลิงทหารบก<br />

กรมเชื้อเพลิงทหารบก เริ่มงาน<br />

สารวจเมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๐ ด้วยการว่าจ้าง<br />

นักธรณีวิทยาชาวสวิส ๒ นายคือ Dr.<br />

Arnold Geim และ Dr. Gans Hirschi<br />

ทาการสารวจพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ฝายไทย<br />

๓ นาย ด้วยการ<strong>ต</strong>รวจสอบสภาพธรณีวิทยา<br />

ผิวดินและขุดบ่อ<strong>ต</strong>ื้นๆ ด้วยแรงคน เพื่อหา<br />

ทิศทางการซึมของน้ามันขึ้นมาบนผิวดิน<br />

การสารวจดาเนินไปประมาณเดือนเศษ<br />

จึงได้เลิกล้มไป<br />

การดาเนินการของกรมโลหะกิจ<br />

(กรมทรัพยากรธรณี)<br />

กรมโลหะกิจเข้าดาเนินงานในปี<br />

พ.ศ.๒๔๙๒ - ๒๔๙๙ โดยใช้ชื่อหน่วยงาน<br />

ว่า “หน่วยสารวจน้ามันฝาง” ขั้นแรก<br />

ทาการสารวจธรณีวิทยาผิวดินและทาง<br />

อากาศ สารวจธรณีฟิสิกส์ปี พ.ศ.๒๔๙๓<br />

สั่งซื้อเครื่องเจาะชนิด Rotary จาก<br />

ประเทศเยอรมนี เรียกว่า “แหล่งน้ามัน<br />

ไชยปราการ” ในด้านการกลั่นได้สร้าง<br />

โรงกลั่นทดลองขนาดเล็กทาการกลั่น<br />

เป็นครั้งคราว ใช้น้ามันดิบประมาณ<br />

๑,๐๐๐ ลิ<strong>ต</strong>ร ดาเนินการกลั่นในระหว่างปี<br />

พ.ศ.๒๔๗๙ - ๒๔๙๙<br />

38<br />

¡ÃÁ¡ÒþÅѧ§Ò¹·ËÒà Èٹ¡ÒÃÍصÊÒË¡ÃÃÁ»‡Í§¡Ñ¹»ÃÐà·ÈáÅоÅѧ§Ò¹·ËÒÃ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!