17.11.2017 Views

ต.ค.60

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

นายทหารประทวน ๑๓๔ นาย การ<br />

เดินทางใช้เวลา ๒๔ วัน รวมระยะทาง<br />

ทั้งสิ้น ๓,๐๐๐ ไมล์ มาถึงฐานทัพเรือ<br />

สั<strong>ต</strong>หีบ เมื่อวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๔๘๑<br />

รวมใช้เวลาเดินทางและแวะเมืองท่า<br />

กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ รวม<br />

๒๔ วัน หลังจากมาถึงประเทศไทยก็ได้<br />

ขึ้นระวางประจาการพร้อมกัน เมื่อวันที่<br />

๑๙ กรกฎาคม ๒๔๘๑<br />

จนกระทั่งปี พ.ศ.๒๔๘๓ เมื่อ<br />

สงครามโลกครั้งที่ ๒ ได้อุบั<strong>ต</strong>ิขึ้น กองทัพเรือ<br />

ได้ส่งเรือดาน้าทั้งสี่ไปทาการลาด<br />

<strong>ต</strong>ระเวนแนวหน้าบริเวณฐานทัพเรือเรียม<br />

เกือบทุกประเทศ ส่วนในแง่ยุทธวิธี เรือดาน้า<br />

รุ่นนี้ก็มีความสามารถในการซ่อนพราง<strong>ต</strong>ัว<br />

ได้นานถึง ๒๑ วัน โดยไม่<strong>ต</strong>้องขึ้นสู่ผิวน้า<br />

ทาให้โอกาสที่จะถูกฝ่าย<strong>ต</strong>รงข้าม<strong>ต</strong>รวจจับ<br />

เป็นไปได้ยากขึ้น<br />

เรือดาน้า Yuan Class S26T<br />

กองทัพเรือไทย ได้ว่าจ้างบริษัท มิ<strong>ต</strong>ซูบิชิ ประเทศญี่ปุ่น<br />

<strong>ต</strong>่อเรือดาน้า ขนาด ๓๗๐ <strong>ต</strong>ัน จานวน ๔ ลา<br />

ในอดี<strong>ต</strong>เมื่อประมาณ ๖๖ ปี ล่วงมาแล้ว<br />

กองทัพเรือไทย เคยมีเรือดาน้าประจาการ<br />

ถึง ๔ ลา ได้แก่ เรือหลวงสินสมุทร เรือ<br />

หลวงพลายชุมพล เรือหลวงมัจฉาณุ และ<br />

เรือหลวงวิรุณและได้มีพิธีส่งมอบเรือสอง<br />

ลาแรกให้แก่กองทัพเรือ คือ<br />

เรือหลวงมัจฉาณุ และเรือหลวง<br />

วิรุณ เมื่อวันที่ ๔ กันยายน<br />

๒๔๘๐ ซึ่ง<strong>ต</strong>่อมาได้ถือว่าวันที่<br />

๔ กันยายนของทุกปี เป็น<br />

“วันที่ระลึกเรือดาน้าไทย”<br />

<strong>ต</strong>่อมาในวันที่ ๓๐ เมษายน<br />

๒๔๘๑ บริษัท มิ<strong>ต</strong>ซูบิชิ ได้ทา<br />

พิธีส่งเรือดาน้าที่เหลืออีก ๒<br />

ลา เมื่อกองทัพเรือได้รับ<br />

เรือดาน้าครบทั้ง ๔ ลา จึงได้<br />

ลงมือฝึกศึกษา<strong>ต</strong>ามหลักสู<strong>ต</strong>ร<br />

เ รื อ ด า น้ า เพิ่มเ<strong>ต</strong>ิมจน<br />

คล่องแคล่วจึงได้ถอนสมอเรือ<br />

จากเมืองท่าโกเบ กลับสู่<br />

ประเทศไทย เมื่อวันที่ ๕<br />

มิถุนายน ๒๔๘๑ โดยกาลังพล<br />

ทั้ง ๔ ลา ประกอบด้วย<br />

นายทหารสัญญาบั<strong>ต</strong>ร ๒๐ นาย<br />

เรือดาน้าของไทยทั้ง ๔ ลา เดินทาง<br />

ออกจากเมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น<br />

เมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๔๘๑<br />

ของแหลมอินโดจีน เพื่อป้องกันกองทัพ<br />

ฝรั่งเศสที่ลอบเข้ามาโจม<strong>ต</strong>ี โดยเรือทั้งสี่ลา<br />

ใช้เวลาอยู่ใ<strong>ต</strong>้น้าเพื่อสังเก<strong>ต</strong>การณ์ถึงวันละ<br />

๑๒ ชั่วโมง ซึ่งปฏิบั<strong>ต</strong>ิการในครั้งนั้น สร้าง<br />

ความน่าเกรงขาม<strong>ต</strong>่อฝรั่งเศสเป็นอย่างมาก<br />

และเป็นที่กล่าวขานถึงวีรกรรมอัน<br />

ห้าวหาญของราชนาวีไทย เมื่อเทียบกับ<br />

กาลังของมหาอานาจที่มีอยู่เหนือกว่า<br />

ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ ๒<br />

กองทัพเรือได้ส่งนายทหารสัญญาบั<strong>ต</strong>รและ<br />

ประทวน (บางท่านเคยประจาเรือดาน้า<br />

มาก่อน) และช่างของกรมอู่ทหารเรือไป<br />

ศึกษาและฝึกงานการสร้างแบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่<br />

ในญี่ปุ่น ด้วยความมุ่งหมายที่จะผลิ<strong>ต</strong><br />

แบ<strong>ต</strong>เ<strong>ต</strong>อรี่ขึ้นใช้ในราชการเอง โดยเฉพาะ<br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

51

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!