17.11.2017 Views

ต.ค.60

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

เลี้ยงชีพของ<strong>ต</strong>ระกูลของ<strong>ต</strong>นเคยทามาแ<strong>ต</strong>่<br />

เก่าก่อนก็ละทิ้งเสีย จะกลับไปทา<strong>ต</strong>่อก็<strong>ต</strong>่อ<br />

ไม่<strong>ต</strong>ิด ...ความเข้าใจผิดอันนี้ย่อมเปน<br />

เครื่องพาไปในทางอันเสื่อมเสียประโยชน์<br />

แก่<strong>ต</strong>นเองอันหารู้สึกไม่ แท้จริงการทางาน<br />

ในบ้านเมืองที่จะพึงทาหาเลี้ยงชีพอันยัง<br />

ไม่มีผู้ทาเพียงพอนั้น ยังมีอย่างอื่นอยู่เปน<br />

อันมาก ใช่จะมีแ<strong>ต</strong>่งานเสมียนอย่างเดียว<br />

ยก<strong>ต</strong>ัวอย่างมาชี้ง่ายๆ ว่า เช่น การเพาะ<br />

ปลูกนั้นที่ดินก็ยังมีล้นเหลือกว่าที่คนจะท า<br />

ถ้าจะว่าข้างวิชา<strong>ต</strong>่างๆ ซึ่งเปนการพิเศษ<br />

เช่นวิชาการก่อสร้างเหย้าเรือนนั้น ก็ยัง<br />

<strong>ต</strong>้องการผู้รู้ที่จะทาอีกมาก การหั<strong>ต</strong>ถกรรม<br />

และพณิชยการ<strong>ต</strong>่างๆ ก็ยังมีเปนอเนก<br />

ประการ วิชา<strong>ต</strong>่างๆ อย่างที่ว่านี้ ถ้าใครรู้<br />

จริงทาจริงแล้วก็อาจมีลาภผล และให้<br />

เกิดสุขประโยชน์แก่<strong>ต</strong>นได้ทั้งนั้น...”<br />

การจัดการศึกษาในรัชสมัยดาเนิน<br />

ไปอย่างเป็นขั้น<strong>ต</strong>อน เริ่มจากการ<strong>ต</strong>ั้ง<br />

โรงเรียนโดยการ<strong>ต</strong>ั้งโรงเรียนวิชาชีพ<strong>ต</strong>่างๆ ขึ้น<br />

เช่น โรงเรียนเพาะช่าง โรงเรียน<br />

มหาดเล็กหลวง (โรงเรียนวชิราวุธ<br />

วิทยาลัย) โรงเรียนข้าราชการพลเรือน<br />

ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัว (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) สภานิ<strong>ต</strong>ิ<br />

ศึกษา (เน<strong>ต</strong>ิบัณฑิ<strong>ต</strong>ยสภา) <strong>ต</strong>ามเวลาอันควร<br />

เพื่อให้ผู้ที่มีพื้นฐานความรู้หนังสือมาแ<strong>ต</strong>่<br />

รัชกาลก่อน ได้พัฒนาความรู้ของ<strong>ต</strong>นเพื่อ<br />

ประโยชน์ในการประกอบอาชีพแขนง<br />

<strong>ต</strong>่างๆ <strong>ต</strong>่อไป<br />

<strong>ต</strong>่อจากนั้น ทรงวางพื้นฐานการ<br />

ศึกษาให้แก่เยาวชนไทยทั้งชายและหญิง<br />

โดยการประกาศพระราชบัญญั<strong>ต</strong>ิการ<br />

ประถมศึกษา เพื่อจัดให้มีการจัดการศึกษา<br />

ภาคบังคับทั่วประเทศ ได้มีการประกาศใช้<br />

พระราชบัญญั<strong>ต</strong>ินั ้นในเข<strong>ต</strong>การศึกษา<strong>ต</strong>่างๆ<br />

ทีละเข<strong>ต</strong><strong>ต</strong>ามความพร้อมของแ<strong>ต</strong>่ละพื้นที่<br />

อีกด้วย<br />

การอนุรักษ์และพัฒนาศิลป<br />

วัฒนธรรม<br />

นอกจากพระบาทสมเด็จ<br />

พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจะทรงนาศิลป<br />

วัฒนธรรม<strong>ต</strong>่างประเทศมาประยุก<strong>ต</strong>์ให้เป็น<br />

ไทยๆ เพื่อปลูกฝังแนวคิดเรื่องความรัก<br />

ชา<strong>ต</strong>ิ การเสียสละเพื่อชา<strong>ต</strong>ิ และการให้<br />

ความรู้เกี่ยวกับ<strong>ต</strong>านานชา<strong>ต</strong>ิแล้ว ยังคง<br />

ปลูกฝังความเป็น “ชา<strong>ต</strong>ิ” ผ่านการใช้<br />

สถาปั<strong>ต</strong>ยกรรมแบบไทยในสมัย<strong>ต</strong>่างๆ ดังจะ<br />

เห็นได้จากอาคารเรียนและหอประชุมของ<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงเรียน<br />

วชิราวุธวิทยาลัยในปัจจุบัน ที่ประยุก<strong>ต</strong>์<br />

การ<strong>ต</strong>กแ<strong>ต</strong>่งสถาปั<strong>ต</strong>ยกรรมไทยเข้ากับ<br />

โครงสร้างการก่อสร้างอาคารแบบ<strong>ต</strong>ะวัน<strong>ต</strong>ก<br />

การอนุรักษ์งานช่างไทยที่สาคัญ คือ การ<br />

เปิดโรงเรียนเพาะช่างเพื่อฟื้นฟูและ<br />

อนุรักษ์งานช่างไทย โปรดเกล้าฯ ให้<strong>ต</strong>ั้ง<br />

กรมศิลปากรขึ้นในกระทรวงและการฟื้นฟู<br />

“โขน” อันเป็นศิลปะการแสดงชั้นสูง<br />

ของไทยที่กาลังจะสูญ โดยเริ่มฝึกหัด<br />

นักเรียนมหาดเล็กหลวงก่อน<br />

การอนุรักษ์และพัฒนาศิลป<br />

วัฒนธรรมของชา<strong>ต</strong>ินี้ เป็นพระราช<br />

กรณียกิจที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัวทรงทานุบารุงด้วยพระราช<br />

ทรัพย์ส่วนพระองค์ได้ที่จัดสรรจากเงิน<br />

พระคลังข้างที่ มิได้ใช้เงินงบประมาณ<br />

30<br />

สำนักพัฒนำระบบรำชกำรกลำโหม

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!