17.11.2017 Views

ต.ค.60

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

กระทรวงกลาโหม<br />

กองบังคับการ<br />

กระทรวงกลาโหม<br />

กองทัพบก<br />

กรมทหารเรือ<br />

ลดฐานะกองทัพเรือให้คงเป็นเพียงกรม<br />

ทหารเรือ พร้อมกับให้ลดฐานะกรม<strong>ต</strong>่างๆ<br />

ของกองทัพเรือ เดิมมาเป็นกองทั้งหมด<br />

เว้นแ<strong>ต</strong>่กรมเสนาธิการทหารเรือเท่านั้น<br />

นอกจากนี้ยังนาหน่วยขึ้น<strong>ต</strong>รงกองทัพเรือ<br />

บางส่วน ที่เคยนาไปรวมกับฝายทหารบก<br />

โดยกลับมาสังกัดอยู่ในกรมทหารเรือ<br />

<strong>ต</strong>ามเดิม<br />

อย่างไรก็<strong>ต</strong>าม ในปถัดมาจึงได้มีการ<br />

<strong>ต</strong>ราพระราชบัญญั<strong>ต</strong>ิจัดระเบียบป้องกัน<br />

ราชอาณาจักร พุทธศักราช ๒๔๗๖ และ<br />

เริ่มใช้บังคับในวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๔๗๖<br />

ซึ่งมีการแบ่งส่วนราชการขึ้น<strong>ต</strong>รงกระทรวง<br />

กลาโหมออกเป็น ๔ ส่วนราชการ ประกอบ<br />

ด้วย<br />

๑. สานักงานเลขานุการรัฐมน<strong>ต</strong>รี<br />

โดยให้รับผิดชอบเกี่ยวกับราชการทางการ<br />

เมือง<br />

๒. สานักงานปลัดกระทรวง โดย<br />

ให้รับผิดชอบเกี่ยวกับราชการประจาทั่วไป<br />

ของกระทรวง ซึ่งมีหน่วยขึ้น<strong>ต</strong>รง รวม ๕<br />

หน่วย ประกอบด้วย กรมเสมียน<strong>ต</strong>รา กรม<br />

สัสดี กรมพระธรรมนูญ กรมแพทย<br />

สุขาภิบาล และกรมปลัดบัญชี<br />

๓. กองทัพบก ซึ่งมีหน่วยขึ้น<strong>ต</strong>รง<br />

รวม ๙ หน่วย ประกอบด้วย กรมเสนาธิการ<br />

ทหารบก มณฑลทหารบกที่ ๑ มณฑล<br />

ทหารบกที่ ๒ มณฑลทหารบกที่ ๓<br />

มณฑลทหารบกที่ ๔ มณฑลทหารบก<br />

ที่ ๕ กรมพลาธิการทหารบก กรมแผนที่<br />

และกรมอากาศยาน<br />

๔. กองทัพเรือ ซึ่งมีหน่วยขึ้น<strong>ต</strong>รง<br />

รวม ๖ หน่วย ประกอบด้วย กรม<br />

เสนาธิการทหารเรือ กองเรือรบ สถานี<br />

ทหารเรือกรุงเทพฯ กรมอู่ทหารเรือ<br />

กรมสรรพาวุธทหารเรือ และกรม<br />

อุทกศาส<strong>ต</strong>ร<br />

นอกจากนี้ ยังได้กาหนดหน่วย<br />

ขึ้น<strong>ต</strong>รงของทุกส่วนราชการไว้ด้วย แ<strong>ต</strong>่<br />

ที่น่าสนใจคือ มีการกาหนดอานาจหน้าที่<br />

ไว้เฉพาะ ๒ ส่วนราชการ คือ สานักงาน<br />

เลขานุการรัฐมน<strong>ต</strong>รี และสานักงานปลัด<br />

กระทรวง ในขณะที่กองทัพบกและ<br />

กองทัพเรือ ไม่ได้กาหนดอานาจหน้าที่<br />

เพียงแ<strong>ต</strong>่กาหนดเฉพาะหน่วยขึ้น<strong>ต</strong>รง<br />

ไว้เท่านั้น พร้อมทั้งให้อานาจรัฐมน<strong>ต</strong>รี<br />

ว่าการกระทรวงกลาโหมในการออก<br />

ข้อบังคับกระทรวงกลาโหม เพื่อกาหนด<br />

หน่วยย่อยของส่วนราชการ<strong>ต</strong>่างๆ ใน<br />

กระทรวงกลาโหม และกาหนดอั<strong>ต</strong>รา<br />

ชั้นยศ ชื่อ<strong>ต</strong>าแหน่งได้<strong>ต</strong>ามความเหมาะสม<br />

กับหน้าที่ราชการ ซึ่งในพระราชบัญญั<strong>ต</strong>ิ<br />

ฉบับนี้ จึงส่งผลให้กิจการทหารเรือ<br />

ได้รับการยกระดับขึ้นเป็นกองทัพเรือ<br />

หลังจากที่เคยถูกลดระดับให้เหลือ<br />

เป็นเพียงกรมทหารเรือ <strong>ต</strong>าม<br />

ประกาศจัดระเบียบป้องกันราช<br />

อาณาจักร พุทธศักราช ๒๔๗๕<br />

อีกทั้ง <strong>ต</strong>ราพระราชบัญญั<strong>ต</strong>ิจัด<br />

ระเบียบป้องกันราชอาณาจักร<br />

พุทธศักราช ๒๔๗๖<br />

ฉบับนี้ ได้มีการ<br />

<strong>ต</strong>ราขึ้นโดยใช้กรอบ<br />

แนวทางการบริหาร<br />

ราชการแผ่นดินสมัย<br />

ใหม่ ที่มีการจัดส่วน<br />

ราชการเพื่อรองรับ<br />

นโยบายจากฝายการเมืองคือสานักงาน<br />

เลขานุการรัฐมน<strong>ต</strong>รี มีการแบ่งกาลังรบ<br />

หลักออกเป็นกองทัพบกและกองทัพเรือ<br />

สาหรับราชการอื่นของกระทรวงกลาโหม<br />

เป็นส่วนรวมได้มอบให้ สานักงานปลัด<br />

กระทรวงรับผิดชอบ จึงถือว่าเป็นรูปแบบ<br />

การจัดส่วนราชการที่เป็นสากล และถือ<br />

ปฏิบั<strong>ต</strong>ิมาจนปจจุบัน<br />

จึงกล่าวได้ว่า ประกาศจัดระเบียบ<br />

ป้องกันราชอาณาจักร พุทธศักราช ๒๔๗๕<br />

ถือเป็นกฎหมายฉบับแรกของกระทรวง<br />

กลาโหม และพระราชบัญญั<strong>ต</strong>ิจัดระเบียบ<br />

ป้องกันราชอาณาจักร พุทธศักราช ๒๔๗๖<br />

ถือเป็นพระราชบัญญั<strong>ต</strong>ิที่เป็นมา<strong>ต</strong>รฐาน<br />

ของการจัดระเบียบและการดาเนินกิจการ<br />

กระทรวงกลาโหม ทั้งนี้กฎหมายทั้ง ๒ ฉบับ<br />

ถือเป็นกฎหมายในยุคใหม่ภายหลัง<br />

การเปลี่ยนแปลงการปกครองนั่นเอง<br />

ËÅÑ¡àÁ×ͧ µØÅÒ¤Á òõöð<br />

41

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!