17.11.2017 Views

ต.ค.60

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

<strong>ต</strong>ามค<strong>ต</strong>ิของพราหมณ์หรือฮินดู เทพย่อม<br />

สถิ<strong>ต</strong>อยู่ในเขาพระสุเมรุ ล้อมไปด้วยเขา<br />

สั<strong>ต</strong>บริภัณฑ์ เมื่อจุ<strong>ต</strong>ิลงมายังโลกมนุษย์เป็น<br />

สมม<strong>ต</strong>ิเทพ เมื่อสวรรค<strong>ต</strong>จึง<strong>ต</strong>ั้งพระบรมศพ<br />

บนเมรุหรือเมรุมาศเป็นการส่งพระศพ<br />

พระวิญญาณ เสด็จกลับไปสู่เขาพระสุเมรุ<br />

ดังเดิม นอกจากนี้<strong>ต</strong>ามจิน<strong>ต</strong>นาการของ<br />

ศิลปิน สถาปนิกผู้สร้างสรรค์งานศิลป์เห็นว่า<br />

วั<strong>ต</strong>ถุที่ส่งแสงแวววับจับ<strong>ต</strong>าพอที่จะมองดู<br />

ด้วยความสบาย<strong>ต</strong>า สบายใจนั้น สีทองเป็น<br />

สีหนึ่งที่งามบริสุทธิ์ที่สาย<strong>ต</strong>ามนุษย์พอจะ<br />

รับแสงอยู่ได้ จึงใช้สีทองเป็นสีประดับ<br />

ปราสาทในสวรรค์ ดังฝันไว้ในจิน<strong>ต</strong>นาการ<br />

นั่นเอง<br />

เมื่อใช้สีทองประดับเมรุ จึงเรียกว่า<br />

เมรุมาศ แม้ว่าที่จริงแล้ววั<strong>ต</strong>ถุที่มีค่ากว่า<br />

ทองคาหรืออัญมณีอื่นยังมีอีกมาก แ<strong>ต</strong>่แสง<br />

สะท้อนจากอัญมณีนั้นมนุษย์มิอาจทนได้<br />

เป็นการประดับ<strong>ต</strong>กแ<strong>ต</strong>่งเกินกว่าเห<strong>ต</strong>ุและ<br />

ของจริงก็หายากมากเกินประมาณ ถ้าใช้<br />

ของเทียมก็จะมีแสงวับจับ<strong>ต</strong>าเป็นการเทียม<br />

เกินไป สถาปนิกไทย บรรพบุรุษแ<strong>ต</strong>่กาล<br />

ก่อนจึงเดินสายกลาง เพราะทองหาง่าย<br />

กว่า อาจใช้ทองคาจริงๆ ทาหรือปิดได้ เช่น<br />

ทองคาเปลว กระดาษทอง โดยคานึงถึง<br />

หลัก ๓ ประการคือ พันธกิจ (Function)<br />

ในการใช้วั<strong>ต</strong>ถุก่อสร้างสุนทรียภาพ<br />

(Aesthetic) จากธรรมชา<strong>ต</strong>ิของวั<strong>ต</strong>ถุ และ<br />

เทคโนโลยี (Technology) ของธา<strong>ต</strong>ุแท้<br />

นามาประยุก<strong>ต</strong>์ใช้<br />

พระเมรุมาศในที่นี้มีความหมายถึง<br />

เมรุกลางกรุง จัดสร้างเพื่อถวายพระเพลิง<br />

พระบรมศพ หรือพระศพที่พระมหา<br />

กษั<strong>ต</strong>ริย์พระราชทานให้ถวายเพลิง<br />

กลางเมืองและเป็นการก่อสร้างชั่วคราว<br />

พระเมรุมาศนี้จัดว่าเป็น กุฎาคาร กล่าวคือ<br />

เป็นอาคารที่มียอดสูง เรียกว่า เรือนยอด<br />

ซึ่งจะเป็นเรือนยอดทรงมณฑป หรือเรือน<br />

ยอดทรงปรางค์ก็สุดแล้วแ<strong>ต</strong>่สถาปนิกจะ<br />

เนรมิ<strong>ต</strong> พระเมรุมาศเป็นสิ่งที่แสดงออกถึง<br />

วัฒนธรรมไทยในรูปสถาปั<strong>ต</strong>ยกรรมไทย<br />

ชั้นสูง ซึ่งยากหาชา<strong>ต</strong>ิใดในโลกมาทัดเทียม<br />

เป็นสมบั<strong>ต</strong>ิล้าค่าทางวัฒนธรรม ซึ่ง<br />

บรรพบุรุษมอบให้เป็นมรดกทางปัญญา<br />

และทาให้อนุชนรุ่นหลังได้มีความรักความ<br />

ภาคภูมิใจในคุณค่า ช่วยกันรักษาสืบไป<br />

งานออกแบบและก่อสร้างพระเมรุมาศ<br />

เป็นที่รวมแหล่งศิลปะมากมายหลายแขนง<br />

เพียบพร้อมด้วยศิลปินผู้ชานาญการ<br />

เพราะเมรุมาศหนึ่งองค์จะ<strong>ต</strong>้องมีองค์<br />

ประกอบ<strong>ต</strong>ามกฎเกณฑ์ที่กาหนดไว้ กล่าวคือ<br />

จะ<strong>ต</strong>้องมีพระเมรุมาศซึ่งเป็นส่วนสาคัญ<br />

โดยพื้นที่<strong>ต</strong>รงกลางของพระเมรุมาศจะ<br />

ประดิษฐานพระจิ<strong>ต</strong>กาธาน บนพระจิ<strong>ต</strong>-<br />

กาธานจะประดิษฐานพระโกศพระศพ<br />

พระจิ<strong>ต</strong>กาธาน และพระโกศประดับด้วย<br />

พระโกศไม้จันทน์ และดอกไม้สดร้อยเป็น<br />

ลวดลาย ก้าน ดอกใบ สุดแ<strong>ต</strong>่ชาววัง<br />

ช่างดอกไม้จะบรรจงทาด้วยฝีมืออัน<br />

ประณี<strong>ต</strong>งดงาม<strong>ต</strong>ระการ<strong>ต</strong>า โครงสร้างทุกส่วน<br />

ทุก<strong>ต</strong>อนจะ<strong>ต</strong>้องแข็งแรงพอรับน้าหนัก<br />

ประจา และน้าหนักจรได้เป็นอย่างดี มีข้อ<br />

สังเก<strong>ต</strong>ว่า ที่ยอดพระเมรุมาศจะบ่งบอกถึง<br />

34 จุฬาพิช มณีวงศ์

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!