17.11.2017 Views

ต.ค.60

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ของน้าที่อยู่ภายในหูชั้นใน ซึ่งทาให้ผู้ป่วย<br />

เกิดอาการเวียนศีรษะแบบรู้สึกหมุนอย่าง<br />

รุนแรง ร่วมกับมีอาการคลื่นไส้อาเจียน<br />

และสูญเสียสมดุลของร่างกาย ทาให้เซ<br />

หรือล้มได้ง่าย อาการเวียนศีรษะที่เกิดจาก<br />

โรคนี้อาจนานเป็นนาทีจนถึงหลายชั่วโมง<br />

ซึ่งในระหว่างที่เกิดอาการ ผู้ป่วยควรอยู่<br />

นิ่งๆ ไม่ขยับศีรษะ เพราะอาจทาให้มี<br />

อาการเวียนศีรษะเพิ่มขึ้นได้ นอกจากนี้<br />

ผู้ป่วยยังอาจมีการได้ยินลดลงและมีเสียงดัง<br />

ในหู บางครั้งอาจพบอาการหูอื้อได้ด้วย<br />

• โรคอื่นๆ เช่น<br />

การอักเสบของหูชั้นใน<br />

(labyrinthitis) พบการอักเสบจากเชื้อ<br />

ไวรัสได้บ่อย ซึ่งมักมีประวั<strong>ต</strong>ิการเป็นหวัด<br />

หรือระบบทางเดินหายใจอักเสบนา<br />

มาก่อน ถ้าเชื้อไวรัสลามเข้าสู่หูชั้นในและ<br />

เส้นประสาท จะทาให้เกิดการอักเสบ<br />

ซึ่งทาให้ผู้ป่วยมีอาการเวียนศีรษะรุนแรงและ<br />

เป็นอยู่หลายวัน แ<strong>ต</strong>่ผู้ป่วยมักมีการได้ยิน<br />

ที่ปก<strong>ต</strong>ิแ<strong>ต</strong>่หากเป็นการอักเสบที่เกิดจากเชื้อ<br />

แบคทีเรีย ซึ่งมักพบในผู้ป่วยที่มีประวั<strong>ต</strong>ิโรค<br />

การอักเสบของหูชั้นกลาง โรคหูน้าหนวก<br />

แล้วลุกลามเข้าสู่หูชั้นใน<br />

อาการมักรุนแรงมาก<br />

ผู้ป่วยมักมีอาการสูญเสีย<br />

การได้ยินร่วมด้วย<br />

โรคเนื้องอกของ<br />

ประสาทการทรง<strong>ต</strong>ัว<br />

หรือเส้นประสาทการได้ยิน<br />

(acoustic neuroma)<br />

ผู้ป่วยจะมีอาการเวียน<br />

ศีรษะร่วมกับการได้ยิน<br />

ลดลง บางรายอาจมี<br />

เสียงรบกวนในหู สาหรับรายที่มีเนื้องอก<br />

ขนาดใหญ่และไม่ได้รับการรักษา ผู้ป่วย<br />

อาจมีอาการชาที่ใบหน้าซีกนั้น อัมพา<strong>ต</strong><br />

ของใบหน้า เดินโซเซ หรืออาการทาง<br />

สมองอื่นๆ เนื่องจากก้อนเนื้องอกไปกดทับ<br />

เนื้อสมอง<br />

โรคเส้นประสาทการทรง<strong>ต</strong>ัวในหู<br />

อักเสบ (vestibular neuronitis) ทาให้<br />

เกิดอาการเวียนศีรษะรุนแรงนานหลายวัน<br />

จนถึงสัปดาห์ แ<strong>ต</strong>่ไม่ส่งผล<strong>ต</strong>่อการได้ยิน<br />

ผู้ป่วยยังคงได้ยินเป็นปก<strong>ต</strong>ิ<br />

กระดูกกะโหลกแ<strong>ต</strong>กหัก (temporal<br />

bone fracture)<br />

เลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ<br />

(vertebra-basilar insufficiency)<br />

จะเห็นได้ว่า อาการเวียนศีรษะ<br />

บ้านหมุนมีสาเห<strong>ต</strong>ุที่ซับซ้อน การวินิจฉัย<br />

โรคอย่างถูก<strong>ต</strong>้อง จึงมีความสาคัญ การ<br />

รักษาในระยะแรกจะได้ผลดีกว่าในระยะ<br />

หลัง ดังนั้น หากมีอาการเวียนศีรษะ<br />

ผิดปก<strong>ต</strong>ิ ควรรีบพบแพทย์เพื่อหาสาเห<strong>ต</strong>ุ<br />

ของอาการและเข้ารับการรักษา โดยแพทย์<br />

จะทาการวินิจฉัยด้วยการซักประวั<strong>ต</strong>ิและ<br />

<strong>ต</strong>รวจร่างกายอย่างละเอียด ทั้งการ<strong>ต</strong>รวจ<br />

หู <strong>ต</strong>รวจระบบประสาทและการทรง<strong>ต</strong>ัว<br />

<strong>ต</strong>รวจการทางานของอวัยวะการทรง<strong>ต</strong>ัว<br />

ในหูชั้นใน <strong>ต</strong>รวจดูการกลอกของลูก<strong>ต</strong>าและ<br />

การเคลื่อนไหวของลูก<strong>ต</strong>าในท่าทาง<strong>ต</strong>่างๆ<br />

ในผู้ป่วยบางรายที่แพทย์สงสัยว่ามีความ<br />

ผิดปก<strong>ต</strong>ิของการทางานในหูชั้นในอาจ<br />

ได้รับการ<strong>ต</strong>รวจพิเศษเพิ่มเ<strong>ต</strong>ิม เช่น<br />

• <strong>ต</strong>รวจการได้ยิน (audiogram)<br />

• <strong>ต</strong>รวจการทางานของอวัยวะ<br />

ทรง<strong>ต</strong>ัวของหูชั้นใน (video electronystagmography:<br />

VNG)<br />

• <strong>ต</strong>รวจวัดแรงดันของน้าในหูชั้นใน<br />

(electrocochleography: ECOG)<br />

• <strong>ต</strong>รวจการทรง<strong>ต</strong>ัว (posturography)<br />

• <strong>ต</strong>รวจการทางานของเส้นประสาท<br />

การได้ยิน (evoke response audiometry)<br />

เป็น<strong>ต</strong>้น<br />

สาหรับการรักษา แพทย์จะพิจารณา<br />

รักษา<strong>ต</strong>ามสาเห<strong>ต</strong>ุที่ก่อให้เกิดอาการเวียน<br />

ศีรษะบ้านหมุน ซึ่งแนวทางการรักษาจะ<br />

แ<strong>ต</strong>ก<strong>ต</strong>่างกันไป โดยแพทย์จะพิจารณา<br />

แนวทางการรักษาที่เหมาะสมสาหรับ<br />

ผู้ป่วยแ<strong>ต</strong>่ละราย อย่างไรก็ดีการดูแล<strong>ต</strong>นเอง<br />

และพยายามหลีกเลี่ยงปัจจัยกระ<strong>ต</strong>ุ้นก็ยัง<br />

คงมีความสาคัญ<strong>ต</strong>่อการรักษาและการ<br />

ป้องกันการเกิดโรคในผู้ที่มีอาการเวียน<br />

ศีรษะบ้านหมุน ควรปฏิบั<strong>ต</strong>ิ<strong>ต</strong>ัวดังนี้<br />

• หลีกเลี่ยงท่าทางที่ทาให้เกิด<br />

อาการเวียนศีรษะในระหว่างเกิดอาการ<br />

เช่น การหมุนหันศีรษะเร็วๆ การ<br />

เปลี่ยนแปลงท่าทางอิริยาบถอย่างรวดเร็ว<br />

การก้มเงยคอ หรือหันอย่างเ<strong>ต</strong>็มที่<br />

• ลดปริมาณหรืองดการสูบบุหรี่/<br />

ดื่มกาแฟ<br />

• หลีกเลี่ยงปัจจัยกระ<strong>ต</strong>ุ้นที่ทาให้<br />

เกิดอาการเวียนศีรษะ เช่น ความเครียด<br />

ความวิ<strong>ต</strong>กกังวล สารก่อภูมิแพ้<strong>ต</strong>่างๆ และ<br />

การพักผ่อนไม่เพียงพอ<br />

• ไม่ควรอยู่ในสถานการณ์ที่เสี่ยง<br />

<strong>ต</strong>่อการเกิดอุบั<strong>ต</strong>ิเห<strong>ต</strong>ุ เช่น การขับขี่<br />

ยานพาหนะในขณะยังมีอาการ การ<br />

ปีนป่ายที่สูง<br />

ที่มข้อมูลเพิ่มเ<strong>ต</strong>ิม https://www.bumrungrad.<br />

com/healthspot/March-2015/vertigotreatment<br />

หลักเมือง <strong>ต</strong>ุลาคม ๒๕๖๐<br />

63

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!