19.01.2018 Views

127 ปี กระทรวงกลาโหม

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

๕) ริมถนนใหญ่รอบโรงทหารได้ปลูกกอไม้ไผ่สีสุก<br />

ทั้ง ๓ ด้าน เพื่อป้องกันแสงแดดที่จะส่องเข้ามาถึงเฉลียงรอบ<br />

โรงทหารชั้นใน กับบริเวณโรงทหารนั้น มีสระอาบน้ำสำหรับทหาร<br />

อาบน้ำและหัดว่ายน้ำหนึ่งสระ<br />

๖) ต่อจากสระมีฉางสำหรับเก็บข้าวสาร (ด้านทิศ<br />

ตะวันออก) ทำไว้เป็นห้อง ๆ เพื่อข้าวสารเก่าแล้วก็ใช้ไปเสียก่อน<br />

เอาข้าวสารใหม่เพิ่มเติมเข้ามาเก็บไว้ ผลัดเปลี่ยนเวียนกันไป<br />

เช่นนี้เสมอ ฉางข้าวนี้คิดทำขึ้นก็เพื่อที่จะทำไว้แทนฉางข้าวเก่า<br />

ในพระนครซึ่งได้รื้อออกเสียนั้น<br />

๗) ต่อจากห้องเก็บเข้าไปอีกหลังหนึ่ง ก็เป็นครัวใหญ่<br />

สำหรับทำอาหารเลี้ยงทหารทั่วไป<br />

๘) ใต้ครัวลงไปอีกขุดเป็นบ่อลึกก่อเป็นสามห้อง ชั้น<br />

ล่างเป็นโพรงเพื่อเก็บน้ำที่กรองใสแล้ว สำหรับสูบขึ้นสู่ถังดังกล่าว<br />

มาแล้ว ส่วนที่แบ่งเป็นสามห้องนั้นชั้นล่างที่สุดใช้อิฐย่อยก้อนเล็ก ๆ<br />

โรยรองเป็นพื้นเสียชั้นหนึ่งก่อนแล้วเอาเศษผงถ่านย่อย ๆ โรยทับ<br />

เป็นชั้นที่ ๒ ชั้นที่ ๓ ใช้เม็ดทรายหยาบโรยทับถ่าน ชั้นที่ ๔ ทราย<br />

บางพูดอย่างเม็ดละเอียดโรยทับไว้ข้างบนหนามาก เมื่อสูบน้ำขึ้น<br />

ที่ท่าช้าง (ริมสะพานช้างโรงสี) แล้วน้ำก็ไหลผ่านมาในห้องกรองนี้<br />

ก่อนจนเป็นน้ำใส แล้วก็สูบขึ้นสู่ถังสูงนั้น<br />

๙) ชั้นที่ ๔ (อาคารด้านทิศใต้) เป็นหอนาฬิกา<br />

มีหน้าปัดนาฬิกาสองทาง การที่ทำนาฬิกาขึ้นนี้ เพราะมีความ<br />

ประสงค์จะให้เป็นทานแก่มหาชนซึ่งสัญจรไปมาให้รู้เวลาได้ทั่ว<br />

ถึงกัน<br />

๑๐) ชั้นที่ ๕ (อาคารด้านทิศใต้) เป็นที่ทหารยาม<br />

รักษาเหตุการณ์ กับมีเครื่องโทรศัพท์พร้อมเครื่องฉายไฟฟ้าอยู ่บน<br />

นั้นด้วย<br />

ภาพหอนาฬิกาและหอคอยของโรงทหารหน้า<br />

39

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!