21.01.2019 Views

Beyond Ordinary_Living Vernacular Architecture

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

‘สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น’ คือ ?<br />

ดูเหมือนว่าทุกคนจะเข้าใจร่วมกันประมาณหนึ่งว่า ‘สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น’ คืออะไร แต่พอ<br />

ให้อธิบายถึงความหมายที่แท้จริง กลับยากที่จะสรุปความเห็นให้ตรงกันได้ แม้สถาปัตยกรรม<br />

พื้นถิ่นเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และพัฒนาโดยตัวมันเอง ที่อาจจะไม่ได้ต้องการให้ใครมาให้นิยาม<br />

ความหมาย เรียกร้องการยอมรับ หรือศึกษาคุณค่าอันใด แต่ปรากฎการณ์ที่สถาปัตยกรรม<br />

พื้นถิ่นเข้ามาเกี่ยวข้องกับงานออกแบบ การศึกษา และการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมก็เกิดขึ้น<br />

แล้ว คำานิยามหรือความหมายของ ‘สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น’ เป็นประเด็นเริ่มต้นที่สำาคัญ<br />

ของการจัดงานสถาปนิก ’61<br />

‘สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น’ คืออะไร? หนังสือสูจิบัตรของงานสถาปนิก’61 เล่มนี้คงพอจะเป็น<br />

เวทีให้แลกเปลี่ยนถึงนิยามและความหมายของ ‘สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น’ ที่คณะกรรมการจัด<br />

งานสถาปนิกและนักวิชาการกลุ่มต่างๆ ที่ได้รับเชิญให้มาร่วมออกแบบพื้นที่จัดนิทรรศการ<br />

กำาหนดเนื้อหาและวิธีการแสดงนิทรรศการ บรรยาย หารือและสัมภาษณ์ ไปจนถึงเขียน<br />

บทความ ได้แสดงความเห็นไว้ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นและพลวัต<br />

ของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในอนาคต หากบทนำานี้มีหน้าที่ช่วยให้ผู้อ่านเข้าถึงประเด็นต่างๆ<br />

ที่มีการถกเถียงกันก่อนที่จะออกมาเป็นงานสถาปนิก’61 รวมถึงก่อนจะมาเป็นสูจิบัตรงาน<br />

เล่มนี้ด้วย<br />

ถ้า ‘สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นคืออะไร?’ นั้นมีหลากหลายคำาตอบ ‘อะไรไม่ใช่สถาปัตยกรรม<br />

พื้นถิ่น?’ น่าจะเป็นตัวช่วยที่ดีของการพยายามทำาความเข้าใจถึงความหมายในเบื้องต้น<br />

สำาหรับการจัดงานและจัดทำาหนังสือเล่มนี้ ‘สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น’ โดยเฉพาะในบริบทของ<br />

ประเทศไทย ไม่ใช่สถาปัตยกรรมไทยประเพณี แล้วก็ ไม่ใช่สถาปัตยกรรมสากล หรือกล่าวอีก<br />

อย่างหนึ่งได้ว่า สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นไม่ใช่วังแบบพระบรมมหาราชวังและก็ไม่ใช่วัดแบบ<br />

พระอารามหลวง แล้วก็ไม่เป็นสถาปัตยกรรมแบบฝรั่ง สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเกิดได้ทั้งใน<br />

ชนบทและในเมือง ครอบคลุมอาคาร พื้นที่ และวิธีการใช้งานได้หลากหลายประเภท<br />

มีประเด็นที่สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเกี่ยวข้องด้วยอยู่หลายๆ ประเด็น ทั้งประเด็นในเชิง<br />

สถาปัตยกรรม เช่น วัสดุ วิธีการก่อสร้าง ขนาดและสัดส่วน ฯลฯ หรือประเด็นในเชิง<br />

สังคมและเศรษฐกิจ เช่น ประเพณี ความเชื่อ และการทำามาหากิน ฯลฯ เป็นต้น พลวัต<br />

ของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเคลื่อนตัวจากการสะสมและเกิดขึ้นของคนในชุมชนมาสู่การ<br />

ถูกหยิบยืมมาใช้ ประดิษฐ์หรือสร้างใหม่โดยนักออกแบบ ถูกศึกษาทำาความเข้าใจโดย<br />

นักวิชาการ ถูกให้คุณค่าและกระตุ้นให้เกิดการอนุรักษ์โดยนักอนุรักษ์ สิ่งต่างๆ เหล่านี้<br />

15 ASA 2018<br />

ASA18_Book_180419.indd 15 24/4/18 16:10

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!