21.01.2019 Views

Beyond Ordinary_Living Vernacular Architecture

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ว่าเป็นสาขาหนึ่งของสถาปัตยกรรมในประเทศไทย สูจิบัตรเล่มนี้ เสนอความเห็นของนัก<br />

วิชาการสองคน ได้แก่ รศ.วิวัฒน์ เตมียพันธ์ และ รศ.อนุวิทย์ เจริญศุภกุล เป็นเรื่องที่<br />

น่าสนใจว่านักวิชาการทั้งสองท่านนี้เห็นว่านิยามของสถาปัตยกรรมพื้นถิ ่นที่ได้เคยมีการ<br />

นิยามและให้ความหมายไว้ จริงๆ แล้วนิยามและความหมายนั้นยังใช้ได้อยู่อีกหรือไม่<br />

มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาอย่างไร<br />

เนื้อหาในครึ่งหลังของสูจิบัตร เป็นเรื่องเกี่ยวกับแนวคิดและวิธีการดำาเนินการจัดงาน<br />

สถาปนิก’61 ที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการจัดงานและสถาปนิกที่ได้รับเชิญมาให้ออกแบบ<br />

พื้นที่แสดงนิทรรศการงานสถาปนิก ’61 ทั้ง 18 กลุ่ม ซึ่งแบ่งได้เป็นสามส่วนย่อย ได้แก่<br />

แนวคิดของการจัดงานสถาปนิก ’61 ของคณะกรรมการจัดงานที่มอบให้สถาปนิกรับเชิญ<br />

ตีความและออกแบบพื้นที่จัดแสดงนิทรรศการ ความเห็นของสถาปนิกรับเชิญต่อนิยาม<br />

และพลวัตของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น และแนวคิดในการออกแบบพื้นที่จัดนิทรรศการใน<br />

งานสถาปนิก ’61 ของแต่ละกลุ่มสถาปนิก รวมถึงเนื้อหาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับนิทรรศการ<br />

ที่แสดงอยู่ในพื้นที่จัดนิทรรศการหลัก 5 พื้นที่<br />

อย่างที่กล่าวไปในข้างต้น งานสถาปนิก’61 วางตัวเป็นพื้นที่เป็นเวที สำาหรับนักวิชาการ<br />

และสถาปนิกรับเชิญกลุ่มหนึ่ง ให้ลองทบทวนและตั้งคำาถามถึงนิยาม พลวัต และรูปแบบ<br />

การแสดงออกของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นผ่านการออกแบบงานสถาปนิก ’61 แน่นอนยังมี<br />

ความเป็นไปได้อีกมากมายที่สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในปัจจุบันจะเป็นได้ ที่เสนอมา ณ ตรงนี้<br />

เป็นเพียงแค่ตัวอย่างกลุ่มหนึ่งเท่านั้น กองบรรณาธิการซึ่งจัดทำาหนังสือเล่มนี้ก็เพียงแต่<br />

ต้องการให้เกิดการตั้งคำ าถามปลายเปิดขึ้นแล้วให้ผู้อ่านและผู้ชมนิทรรศการงานสถาปนิก ’61<br />

เป็นผู้หาคำาตอบของตัวเองเอง สำาหรับคณะกรรมการจัดงานสถาปนิก’61 ก็มุ่งหวังว่า<br />

แนวทางการจัดงานสถาปนิก’61 จะแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของสถาปนิกไทยในการ<br />

ออกแบบผ่านโจทย์ของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น ที่น่าจะสะท้อนให้เห็นถึง ความ ‘ไม่ธรรมดา’<br />

ที่สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นจะเป็นได้ผ่านสายตาและมุมมองของสถาปนิกและนักออกแบบ<br />

ที่จะต่างไปจากการรังสรรค์สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นที่เคยมีมาในอดีต และเป็นความหวัง<br />

สำาหรับแนวทางการออกแบบสถาปัตยกรรมในประเทศไทยอีกแนวทางหนึ่งอนาคต รวมถึง<br />

สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นไปได้อีกแนวทางหนึ่งของการจัดงานสถาปนิก<br />

17 ASA 2018<br />

ASA18_Book_180419.indd 17 24/4/18 16:10

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!