23.07.2020 Views

ASA Journal 05/58

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

THEMES<br />

44<br />

36<br />

36 SCG 100th Year Building<br />

44 King Power Srivaree<br />

Complex<br />

52 Mk-Ck5 Production<br />

Office<br />

60 Zonic Vision Office<br />

68 QTC Energy<br />

52<br />

60<br />

68<br />

4 <strong>ASA</strong> CONTENTS วารสารอาษา


SECTIONS<br />

NEWS<br />

14 <strong>ASA</strong>-CAN Workshop:<br />

Reborn - Chatchai Market<br />

18 The Vann Molyvann Project:<br />

Summer School 2015<br />

WORK IN PROGRESS<br />

22 Ramkhamhaeng 30 Office<br />

26 Sukhumvit 91 House<br />

30 Speed Office<br />

ASEAN<br />

76 ASEAN ARCHITEC TS. 01<br />

Singapore – Formwerkz<br />

22<br />

Chisagarn Rojanasoonthon<br />

SPECIAL REPORT<br />

84 Milan Expo 2015<br />

PROFESSIONAL<br />

94 Tokyo Green Offices<br />

102 DETAILS<br />

104 <strong>ASA</strong> CARTOON<br />

84<br />

6 <strong>ASA</strong> CONTENTS วารสารอาษา


FOREWORD<br />

ADVISORS<br />

PICHAI WONGWAISAYAWAN<br />

SMITH OBAYAWAT<br />

PONGKWAN LASSUS<br />

ASSOC. PROF. TONKAO PANIN, PH.D.<br />

ANEK THONGPIYAPOOM<br />

ASSOC. PROF. M.L. PIYALADA<br />

THAVEEPRUNGSRIPORN, PH.D.<br />

WIRAT PANTAPATKUL<br />

MAADDI THUNGPANICH<br />

MONGKON PONGANUTREE<br />

EDITOR IN CHIEF<br />

SUPITCHA TOVIVICH<br />

CONTRIBUTORS<br />

CHISAGARN ROJANASOONTHON<br />

DARREN YIO<br />

JAKSIN NOIRAIPHOOM<br />

JIRAWIT YAMKLEEB<br />

MEK SAYASEVI<br />

PAPHOP KERDSUP<br />

PATTARANAN TAKKANON<br />

SORAVIS NA NAGARA<br />

SUPITCHA TOVIVICH<br />

WARUT DUANGKAEWKART<br />

WORARAT PATUMNAKUL<br />

XAROJ PHRAWONG<br />

SPECIAL THANKS TO<br />

AGALIGO STUDIO<br />

ARCHIMONTAGE DESIGN FIELDS<br />

SOPHISTICATED<br />

ARCHITECTS 49<br />

DESIGN 103 INTERNATIONAL<br />

HYPOTHESIS<br />

MAINCOURSE ARCHITECT<br />

PLAN ASSOCIATES<br />

STU/D/O ARCHITECTS<br />

THE OFFICE OF BANGKOK ARCHITECTS<br />

ENGLISH TRANSLATOR<br />

TANAKANYA CHANGCHAITUM<br />

GRAPHIC DESIGNERS<br />

WILAPA KASVISET<br />

MANUSSANIT SRIRAJONGDEE<br />

VANICHA SRATHONGOIL<br />

CO-ORDINATOR<br />

KETSIREE WONGWAN<br />

THE ASSOCIATION OF SIAMESE<br />

ARCHITECTS UNDER ROYAL<br />

PATRONAGE ORGANIZES<br />

248/1 SOI SOONVIJAI 4 (SOI 17)<br />

RAMA IX RD., BANGKAPI,<br />

HUAYKWANG, BANGKOK 10310<br />

T : +66 2319 6555<br />

F : +66 2319 6419<br />

W : asa.or.th<br />

E : asaisaoffice@gmail.com<br />

PRINT<br />

FOCAL IMAGE<br />

248/1 SOI SANTINARUEMAN RD.<br />

SUKHUMVIT RD. BANGKOK 10230<br />

T : +66 2259 1523<br />

E : <strong>ASA</strong>JOURNAL@GMAIL.COM<br />

ADVERTISING DEPARTMENT<br />

T : +66 2397 <strong>05</strong>82-3<br />

F : +66 2747 6627<br />

SUBSCRIBE TO <strong>ASA</strong> JOURNAL<br />

T : +66 2319 6555<br />

อาคารที่ต้องแสดงออกทางสัญลักษณ์ของการเป็นองค์กรหรือบริษัทต่างๆ มีความน่าสนใจ<br />

เพราะบริษัททางธุรกิจต่างๆ ย่อมมีภาพลักษณ์องค์กรและแนวคิดของการทำาการค้าที่ต้องการ<br />

แสดงออกเพื่อสื่อสารกับลูกค้าของตนให้ชัดเจน วารสารอาษาฉบับนี้เป็นการนำาเสนอตัวอย่าง<br />

ของสถาปัตยกรรมที่ออกแบบมาเพื่อสื่อถึงแนวคิด หลักการบริหาร หรือกลุ่มลูกค้าหลักของ<br />

บริษัทนั้นๆ ที่น่าสนใจ ได้แก่ อาคาร SCG 100 ปี ออกแบบโดย Design 103 International<br />

โครงการคิง เพาเวอร์ ศรีวารี คอมเพล็กซ์ ออกแบบโดย Architects 49 อาคาร Mk-Ck5 Production<br />

Office ออกแบบโดย Agaligo Studio อาคาร Zonic Vision Office ออกแบบโดย<br />

Stu/D/O Architects และอาคาร QTC Energy ออกแบบโดย Plan Associates นอกจากนี้<br />

ภายในเล่มยังมีรายงานพิเศษงานมิลานเอ็กซ์โป 2015 ซึ่งในปีนี้มีผู้เข้าร่วมงานจาก 145 ประเทศ<br />

20 องค์กรสากล และ 6 กลุ่มบริษัท ภายใต้หัวข้องาน ‘Feeding the Planet, Energy for Life’<br />

สำาหรับ Pavilion ของไทยนั้นออกแบบโดย บริษัท สำานักงานสถาปนิกกรุงเทพ จำากัด (OBA)<br />

Architectures which contain the capacity to represent a company’s image are<br />

very attractive, as each company always has their own identity or business concept<br />

that they wish to present to customers. Inside this issue of <strong>ASA</strong>, we present works<br />

of architecture designed to represent a company ‘s concept, management principle<br />

or even their main target customer group such as the SCG 100 th Year Building designed<br />

by Design 103 International, the King Power Srivaree Complex by Architects 49,<br />

Mk-Ck5 Production Office by Agaligo Studio, Zonic Vision Office by Stu/D/O<br />

Architects and QTC Energy by Plan Associates. Moreover, this edition also features<br />

a special report from the Milan Expo 2015 where 145 countries, 20 international<br />

organizations and 6 companies participated under the topic ‘Feeding the Planet,<br />

Energy for Life’ with the Thai Pavilion being designed by The Office of Bangkok<br />

Architects (OBA).<br />

8 <strong>ASA</strong> EDITORIAL วารสารอาษา


สารจากนายกสมาคม<br />

คณะกรรมการบริหารสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ปี 2557 - 2559<br />

ที่ปรึกษา<br />

ศ.กิตติคุณ ดร.สุรพล วิรุฬห์รักษ์<br />

นาย สิน พงษ์หาญยุทธ<br />

นาย สถิรัตร์ ตัณฑนันทน์<br />

นาย ประภากร วทานยกุล<br />

นายกสมาคม<br />

นาย พิชัย วงศ์ไวศยวรรณ<br />

อุปนายก<br />

พันตำารวจโท ดร.บัณฑิต ประดับสุข<br />

นาย อนุชา ยูสานนท์<br />

นาย ประดิชญา สิงหราช<br />

ดร. วสุ โปษยะนันทน์<br />

รศ.ดร. ต้นข้าว ปาณินท์<br />

นาย นิธิศ สถาปิตานนท์<br />

เลขาธิการ<br />

นาย ประกิต พนานุรัตน์<br />

นายทะเบียน<br />

นาวาเอกหญิง อรอุสาห์ เชียงกูล<br />

เหรัญญิก<br />

นาย ครรชิต ปุณยกนก<br />

ปฏิคม<br />

นาย ปรีชา นวประภากุล<br />

ประชาสัมพันธ์<br />

นางสาว สุรัสดา นิปริยาย<br />

กรรมการกลาง<br />

นาย ชวลิต ต้ังมิตรเจริญ<br />

นาย สุนันทพัฒน์ เฉลิมพันธ์<br />

นาวาอากาศเอก อดิสร บุญขจาย<br />

นาง วินีตา กัลยาณมิตร<br />

รศ.ดร.ม.ล. ปิยลดา ทวีปรังษีพร<br />

ดร.พร วิรุฬห์รักษ์<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกล้านนา<br />

นาย อดุลย์ เหรัญญะ<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกอีสาน<br />

ผศ. สุรศักดิ์ โล่ห์วนิชชัย<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

นาย วิวัฒน์ จิตนวล<br />

ในวันที่10 -16 พฤศจิกายนที่จะถึงนี้สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์จะเป็นเจ้าภาพ<br />

งานประชุม ARCASIA Council Meeting 36 & ARCASIA Forum18 ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา<br />

ถ้าจำากันได้สมาคมฯ เคยเป็นเจ้าภาพเมื่อ 10 ปีที่แล้ว โดยจัดที่จังหวัดเชียงใหม่ กิจกรรมในงานจะ<br />

มีการประกวด Student Competition และการประกวด ARCASIA Awards for Architecture<br />

ซึ่งมีการส่งผลงานมากมาย การประชุม Council Meeting ของนายกสมาคมและผู้แทนของ 19<br />

ประเทศสมาชิก การจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ(Professional Workshop, Technical Workshop)<br />

การสัมมนา Design Analysis Forum และ Design Research Lecture Series และ ACSR<br />

Symposium ซึ่งได้เปิดให้ลงทะเบียนเข้าร่วมสัมมนาได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายสำาหรับสมาชิกประเภท<br />

บุคคลและนักศึกษา สมาชิกประเภทนิติบุคคลสามารถลงทะเบียนส่งผู้เข้าร่วมสัมมนาได้ 2 ท่าน<br />

โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย โปรดติดตามรายละเอียดได้ในสื่อประชาสัมพันธ์และเว็บไซต์ http://www.<br />

arcasiaayutthaya2015.com<br />

ตอนนี้สมาคมฯ ได้ตั้งกรรมการเพื่อเตรียมการเข้าร่วมแสดงนิทรรศการ Venice Biennale<br />

2016 ที่จะจัดขึ้นวันที่28 พฤษภาคม ถึง 27 พฤศจิกายน 2559 ‘Reporting From The Front’<br />

โดย Alejandro Aravena สถาปนิกชาวชิลีเป็นผู้กำาหนดแนวคิดในการจัดนิทรรศการนี้ คณะ-<br />

กรรมการได้พิจารณาเลือก ‘โรงเรียนพอดีพอดี’ ที่จังหวัดเชียงรายซึ่งมีลักษณะโครงการสอดคล้อง<br />

กับแนวคิดของงานโดยสถาปนิกทั้ง 9 บริษัทเข้าร่วมจัดและออกแบบนิทรรศการครั้งนี้<br />

ประเด็นโครงการพัฒนาริมฝั่งแม่นำ้าเจ้าพระยา 14 กิโลเมตร หรือทางจักรยานเลียบแม่นำ้าของรัฐบาล<br />

ที่ได้มีการลงบทสัมภาษณ์ในฉบับที่แล้ว ตอนนี้มาถึงจุดที่ทางกทม. ได้ประกาศหาที่ปรึกษาผู้สนใจ<br />

เข้าร่วมเสนองานและมีผู้ร่วมเสนอชื่อ 3 กลุ่ม ทั้งนี้เงื่อนไขและขอบเขตของงานที่ทางกทม. ประกาศ<br />

ออกไปไม่ได้มีการปรับตามแนวทางที่ภาคี วิชาชีพวิชาการได้เสนอเพื่อให้กระบวนการเป็นไปอย่าง<br />

เหมาะสมและมีส่วนร่วม กลุ่มภาคีจึงได้เข้าพบประธานคณะอนุกรรมการออกแบบและภูมิสถาปัตย์<br />

เพื่อชี้แจงถึงประเด็นปัญหาหากปล่อยให้ดำาเนินการไปตามที่เป็นอยู่ ท่านประธานฯ รับปากที่จะนัด<br />

ให้กลุ่มเข้าพบกับรองนายกประวิตร วงษ์สุวรรณ ประธานโครงการเพื่อนำาเสนอประเด็นปัญหาเพื่อให้<br />

มีการปรับเปลี่ยนแนวทางการดำาเนินโครงการ หากไม่สำาเร็จคงจำาเป็นจะต้องออกมาต่อต้านโครงการ<br />

อย่างเต็มรูปแบบเช่นที่ทางกลุ่ม Friends of the River และ Change.org ตลอดจนที่กลุ่มประชา-<br />

สังคมอื่นๆ ได้ดำาเนินการอยู่<br />

ในวารสารอาษาฉบับนี้ได้เน้นนำางานที่เกี่ยวกับ Corporate มาเสนอให้เห็นงานที่หลากหลาย<br />

ตามลักษณะของแต่ละโครงการ มีข้อน่าสังเกตว่างานอาคารสำานักงานหรือพื้นที่ทำางานได้มีการ<br />

เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม อาจจะเนื่องจากการให้ความสำาคัญกับลักษณะเฉพาะตัวของแต่ละองค์กร<br />

ที่มีผลต่อเนื่องจาก Branding หรือแม้กระทั่งความต้องการพื้นที่ทำางานที่มีบรรยากาศสร้างสรรค์<br />

ตอบสนองกับการใช้ชีวิตและการทำางานของคนรุ่นใหม่ที่เปลี่ยนแปลงไป<br />

นาย พิชัย วงศ์ไวศยวรรณ<br />

นายกสมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

ปี 2557-2559<br />

10 <strong>ASA</strong> EDITORIAL วารสารอาษา


Retractable Pergola System<br />

Rain or shine... Day or night...<br />

Enjoy your lives with no limit...<br />

Complete your outdoor activities with pleasure and style !<br />

Kesini Ville Size 13.0 X 8.0 M.


MESSAGE<br />

FROM<br />

THE PRESIDENT<br />

EXECUTIVE COMMITTEE<br />

THE ASSOCIATION OF<br />

SIAMESE ARCHITECTS<br />

UNDER ROYAL PATRONAGE<br />

2014—2016<br />

CONSULTANTS<br />

PROFESSOR SURAPON VIRULRAK, PH.D.<br />

SINN PHONGHANYUDH<br />

SATHIRUT TANDANAND<br />

PRABHAKORN VADANYAKUL<br />

PRESIDENT<br />

PICHAI WONGWAISAYAWAN<br />

VICE PRESIDENT<br />

POL.LT.COL. BUNDIT PRADUBSUK, PH.D.<br />

ANUCHAR YUSANANDA<br />

PRADITCHYA SINGHARAJ<br />

VASU POSHYANANDANA, PH.D.<br />

ASSOC. PROF. TONKAO PANIN, PH.D.<br />

NITIS STHAPITANONDA<br />

SECRETARY GENERAL<br />

PRAKIT PHANANURATANA<br />

HONORARY REGISTRAR<br />

CAPT.ON-USAH CHIENGKUL<br />

HONORARY TREASURER<br />

KARNCHIT PUNYAKANOK<br />

SOCIAL EVENT DIRECTOR<br />

PREECHA NAVAPRAPAKUL<br />

PUBLIC RELATIONS DIRECTOR<br />

SURASSADA NIPARIYAI<br />

EXECUTIVE COMMITTEE<br />

CHAVALIT TANGMITJAROEN<br />

SUNANTAPAT CHALERMPANTH<br />

GP. CAPT. ADISORN BUNKHACHAI<br />

VINEETA KALYANAMITRA<br />

ASSOC. PROF. M.L. PIYALADA<br />

THAVEEPRUNGSRIPORN, PH.D.<br />

PONN VIRULRAK, PH.D.<br />

CHAIRMAN OF NORTHERN REGION (LANNA)<br />

ADUL HERANYA<br />

CHAIRMAN OF NORTHEASTERN REGION<br />

(ESAN)<br />

ASST. PROF. SUR<strong>ASA</strong>K LOHWANICHAI<br />

CHAIRMAN OF SOUTHERN REGION (TAKSIN)<br />

WIWAT JITNUAN<br />

From the 10 th to the 16 th of November 2015, the Association of Siamese Architects<br />

under Royal Patronage will be hosting the ARCASIA Council Meeting 36 & ARCASIA<br />

Forum 18 in Ayutthaya province. As some of you might remember, the association<br />

had taken on this role once before some ten years ago when the event was held in<br />

Chiang Mai. The featured activities for this year’s programming will include the Student<br />

Competition and ARCASIA Awards for Architecture and have so far welcomed the<br />

submission of a great number of works. We will also be holding the Council Meeting,<br />

which will be participated in by presidents and representatives from the 19 member<br />

countries. The Design Analysis Forum, Design Research Lecture Series and ACSR<br />

Symposium are also open for registration and students and individual members are<br />

exempt from all charges. As for each juristic member, two persons can register for<br />

the seminars for free as well. Further information about the event is available from<br />

the media and website: http://www.arcasiaayutthaya2015.com<br />

The next exciting news is our participation in the Venice Biennale 2016, which<br />

will take place from the 28 th of May to the 27 th of November 2016 under the theme<br />

‘Reporting From The Front,’ proposed by Alejandro Aravena, the eminent architect<br />

appointed as this year’s artistic director. The association has already formed a committee<br />

to oversee the selection of the works that will be featured in the event and ultimately,<br />

the ‘Por Dee Por Dee Schools’ project in Chiang Rai has been chosen due mainly to<br />

the fact that the concept and execution of the works answer rightly to the essence<br />

of the event’s vision. The 9 architecture firms who are behind the success of the<br />

project will take part in the design and organization of the exhibition as well.<br />

As for the 14-kilometer promenade project or the Government’s riverside bicycle<br />

lane that I discussed in the previous issue of <strong>ASA</strong>, the Bangkok Metropolitan Administration<br />

has now called for interested parties who will be contributing as the project’s<br />

consultants and 3 groups have currently been nominated. Nevertheless, the announced<br />

conditions and scope show that the BMA has neglected to follow the approach proposed<br />

by the professional and academic network, which calls for a more appropriate<br />

and participatory process. The network has met with the Chairman of the Design<br />

and Landscape Architecture Subcommittee to discuss the issue and prospective<br />

dilemmas if this were to be the trajectory where the process would be undertaken.<br />

The Chairman promised to organize a meeting between the network and Deputy<br />

Prime Minister Prawit Wongsuwan, the project’s Chairman, in which the network’s<br />

representatives can address and explain the issues in order for substantial changes<br />

to be made. If the attempt fell through, the next step for us would be to participate<br />

in the proactive opposition, which is the measure currently taken by Friends of the<br />

River, Change.org and other civic groups.<br />

Many interesting corporate projects are featured in this issue of <strong>ASA</strong> as we notice<br />

certain changes in the design of our office building and space. Such transformation<br />

happens, possibly, as a result of an organization’s branding strategy and formation<br />

of corporate identity. In the meantime, there are growing trends and preferences for<br />

the creative working space designed to better suit the changing lifestyle and work<br />

habits of the new generation workforce.<br />

PICHAI WONGWAISAYAWAN<br />

<strong>ASA</strong> PRESIDENT 2014-2016<br />

12 <strong>ASA</strong> EDITORIAL วารสารอาษา


Detail<br />

ทางเข้าหลัก<br />

ของบ้านใช้<br />

ชายคายื่นเลย<br />

ออกมากว่า<br />

4 เมตร ด้วย<br />

โครงสร้างเหล็ก<br />

จึงทำาให้ดูบาง<br />

ไม่ใหญ่เทอะทะ<br />

Tin Home Toy<br />

Owner : คุณสุรัฐชัย และคุณนุตร์ เชนยะวณิช<br />

Designer : คุณนุตร์ เชนยะวณิช และ คุณจิรายุทธ ชัยจำารูญผล<br />

ที่มำ และแนวคิดในกำรออกแบบ<br />

คุณนุตร์ เชนยะวณิช เจ้าของผลิตภัณฑ์ตกแต่งบ้านทำาจากสังกะสี แบรนด์ Tin<br />

Home Toy ที่มีรูปแบบเป็นเอกลักษณ์ คือ สวย ดิบ เท่ ต้องการทำ าบ้านหลังใหม่<br />

ติดกับสำานักงานหลังเดิมให้แสดงออกถึงตัวตน และสอดคล้องกับสไตล์ของ<br />

ผลิตภัณฑ์ที่ตัวเองได้ออกแบบ จึงได้เกิดบ้านสวยที่ผสมผสานวัสดุได้อย่างลงตัว<br />

หลังนี้<br />

กำรใช้โครงสร้ำงเหล็กรูปพรรณรีดร้อน<br />

บ้านโมเดิร์นหลังนี้นอกจากต้องการให้มีการผสมผสานวัสดุได้อย่างน่าสนใจแล้ว<br />

เจ้าของยังตั้งใจให้มีกลิ่นอายของสถาปัตยกรรมทรอปิคอลด้วย เพื่อให้บ้านไม่<br />

แข็งเกร็งและน่าเบื่อ ซึ่งจะเห็นได้จากหลังคาทรงจั่วสูง ชายคาที่ยื่นยาว และพื้นที่<br />

โปร่งสบายแบบไทยๆ การเลือกใช้โครงสร้างเหล็กในส่วนการยื่นยาวของชายคา<br />

และโครงสร้างเสาลอย ช่วยส่งเสริมให้บ้านสอดคล้องกับแนวคิดทรอปิคอลยิ่งขึ้น<br />

นอกจากนี้การใช้โครงสร้างเหล็กรูปพรรณรีดร้อนยังช่วยให้การก่อสร้างสะอาด<br />

รวดเร็ว ไม่รบกวนอาคารสำานักงานเดิมที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงด้วย<br />

Tip : กำรใช้เหล็กโครงสร้ำงรูปพรรณรีดร้อนที่เจือสำรอัลลอย<br />

เช่น โบรอน อำจส่งผลต่อคุณสมบัติของเหล็กในขณะที่<br />

ทำกำรเชื่อมเหล็ก<br />

ทำาให้รอบๆรอยเชื่อมมีโอกาสแตกและร้าวได้ง่าย ซึ่งก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัย<br />

ในโครงสร้างอาคาร หรือที่อยู่อาศัย ดังนั้นการเลือกใช้เหล็กโครงสร้างรูปพรรณ<br />

รีดร้อน ควรเลือกเหล็กที่ไม่เจือสำรอัลลอย เช่น โบรอน เพื่อความปลอดภัย<br />

ในงานเชื่อม เเละเหล็กทุกท่อนมีเครื่องหมายที่สามารถตรวจสอบและติดตาม<br />

ได้อย่างชัดเจน<br />

ร่วมสนุกกับ SYS เพียงตอบคำถำมว่ำ<br />

เหล็กที่เหมาะกับงานเชื่อม ไม่ทำาให้ชิ้นงานแตกร้าวได้ง่าย คือเหล็กประเภทใด<br />

กด AS31 ไม่เจือสารอัลลอย เช่น โบรอน<br />

กด AS32 เจือสารอัลลอย เช่น โบรอน<br />

ส่ง SMS โดยพิมพ์ AS31 หรือ AS32 แล้วส่งมาที่ 4535300<br />

( ผู้ร่วมสนุกเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายในการส่ง ครั้งละ 3 บาท ) หมดเขต 30 พฤศจิกายน 25<strong>58</strong><br />

ประกาศรายชื่อผู้โชคดีทาง www.syssteel.com ในวันอังคารที่ 8 ธันวาคม 25<strong>58</strong><br />

บริษัทขอสงวนสิทธิ์สำาหรับท่านที่ยังไม่เคยร่วมกิจกรรม campaign นี้ ในนิตยสารใดๆ มาก่อน<br />

ผู้ที่ส่งคำาตอบที่ถูกต้องเข้ามา 10 ท่านแรก รับไปเลย บัตรเติมนมัน ปตท. PTT GIFT CARD<br />

มูลค่า 500 บาท ( ผู้ร่วมสนุกทุกท่านรับฟรี เสื้อยืด SYS )


NEWS<br />

<strong>ASA</strong>-CAN<br />

01<br />

WORKSHOP<br />

REBORN<br />

01<br />

นับเป็นปีที่สองแล้วสำหรับ <strong>ASA</strong>-CAN เวิร์คชอป จัด<br />

โดยกรรมำธิกำรฝ่ำยสถำปนิกชุมชน (<strong>ASA</strong> Community<br />

Architect Network Committee) จำกปีที่แล้วที่ได้มีกำร<br />

ออกแบบศูนย์ชุมชนและสนำมเด็กเล่นที่ชุมชนคลองตำก๊ก<br />

จังหวัดสมุทรปรำกำร มำในปีนี้พื้นที่สำหรับกำรจัดเวิร์คชอป<br />

คือ ตลำดฉัตรไชย อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์<br />

ภำยใต้ธีม ‘Reborn’ โดยตลำดฉัตรไชยหรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่ ำ<br />

‘ตลำดเจ็ดโค้ง’ (เนื่องจำกมีหลังคำโค้ง ติดกันเจ็ดชุด) ถูก<br />

สร้ำงขึ้นในสมัยรัชกำลที่ 7 และถูกใช้สอยมำจนถึงปัจจุบัน<br />

บริเวณด้ำนล่ำงของอำคำรเป็นพื้นที่ขำยของสด เครื่องแกง<br />

ผัก ผลไม้ ในขณะที่พื้นที่เช่ำชั้นสองของตลำดฉัตรไชยถูก<br />

ทิ้งร้ำง เหลือผู้ใช้งำนจริงน้อยรำย โจทย์สำคัญที่ได้รับจำก<br />

เทศบำลหัวหินคือกำรออกแบบพื้นที่ชั้นสองเพื่อฟื้นฟูตลำด<br />

ฉัตรไชยและอำเภอหัวหินพร้อมๆ กัน โดยใช้ยุทธวิธีกำร<br />

ออกแบบ วิธีเก็บข้อมูล วิธีพูดคุยกับผู้คน และกำรสร้ำง<br />

เครื่องมือทำงำนร่วมกับชุมชน ซึ่งครั้งนี้มีอำสำสมัครนักศึกษำ<br />

สถำปัตยกรรม 12 คนจำก 8 สถำบันกำรศึกษำ เข้ำร่วม<br />

ฝังตัวในพื้นที่ทั้งสิ้น 10 วัน ตั้งแต่วันที่ 6-15 พฤษภำคม<br />

ที่ผ่ำนมำ โดยในปีนี้มีทีมสถำปนิกจำก Openspace,<br />

OpenBox และ Apostrophy’S เป็นพี่เลี้ยงคอยให้คำแนะนำ<br />

14 <strong>ASA</strong> NEWS วารสารอาษา


ในช่วงแรกนักศึกษำผู้เข้ำร่วมเวิร์คชอปได้ทัศนศึกษำ<br />

สถำนที่สำคัญในบริเวณเทศบำลหัวหิน ได้แก่ สถำนีรถไฟ<br />

โครงกำรเพลินวำน และสะพำนปลำ เพื่อให้เกิดควำมเข้ำใจ<br />

บริบทในเบื้องต้น จำกนั้นทีมนักศึกษำมีเวลำทำงำน 3 วัน<br />

เพื่อเตรียมนำเสนอข้อมูล ประเด็นสำคัญ และทิศทำงของ<br />

โครงกำรต่อกรรมกำรตลำด โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม<br />

ทีมแรกลงพื้นที่พูดคุยกับพ่อค้ ำแม่ค้ำในตลำด สำรวจพื้นที่<br />

โดยรอบรังวัดพื้นที่ชั้น 2 เพิ่มเติม และสำรวจเส้นทำง<br />

กำรจรำจรซึ่งมีผลต่อกำรเข้ำถึงพื้นที่ตลำดฉัตรไชย ส่วนทีม<br />

ที่สองรวบรวมข้อมูลพื้นฐำนอำเภอหัวหินจำกแหล่งข้อมูล<br />

ต่ำงๆ ในช่วงนี้ยุทธวิธีกำรออกแบบเครื่องมือสร้ำงกำรมี<br />

ส่วนร่วมเป็นสิ่งสำคัญซึ่งกษมำ แย้มตรีจำก Openspace<br />

ได้ช่วยบรรยำย ยกตัวอย่ำงกรณีศึกษำต่ำงๆ ที่น่ำสนใจให้<br />

ทีมนักศึกษำสำมำรถนำไปประยุกต์และปรับใช้เพื่อนำ<br />

เสนองำนต่อพ่อค้ำแม่ค้ำ กำรนำเสนอครั้งแรกจัดขึ้นบน<br />

พื้นที่ชั้น 2 ของตลำด โดยมีกรรมกำรตลำด ตัวแทน<br />

เทศบำล และตัวแทนพ่อค้ำแม่ค้ำเข้ำร่วมรับฟังทีมนักศึกษำ<br />

เน้นกำรเสนอข้อมูลภำพรวมและให้ควำมสำคัญกับผังที่<br />

จอดรถ โดยให้ผู้เข้ำร่วมสำมำรถเขียนควำมเห็นลงในผังได้<br />

กำรเริ่มเรียนรู้กำรจัดกำรเครื่องมือกำรนำเสนอคือหัวใจ<br />

สำคัญ โดยมีทีม Openspace, OpenBox และ Apostrophy’S<br />

คอยให้คำแนะนำ กำรนำเสนอรูปแบบศูนย์เรียนรู้ตลำด<br />

ฉัตรไชยต่อนำยกเทศบำลหัวหินจัดขึ้นที่ห้องประชุมใหญ่<br />

ของเทศบำลโดยมีกรรมกำรตลำดและตัวแทนพ่อค้ำแม่ค้ำ<br />

เข้ำมำร่วมรับฟัง ซึ่งทำงเทศบำลกล่ำวว่ำจะนำข้อเสนอ<br />

ของทีมนักศึกษำไปหำรือกับผู้เช่ำในรำยละเอียดต่อไป<br />

ติดตำมกำรทำงำนของอำสำสมัครสถำปนิกรุ่นใหม่กับ<br />

โครงกำรฟื้นฟูตลำดเจ็ดโค้งได้ที่ www.facebook.com/<br />

CommunityActNetwork<br />

01 หุ่นจำลองรูปแบบกรปรับปรุง<br />

ตลดฉัตรไชยเสนอโดยผู้เข้ร่วม<br />

เวิร์คชอป<br />

02 บรรยกศของกระบวนกร<br />

ออกแบบอย่งมีส่วนร่วม<br />

TEXT AND PHOTOS<br />

Mek Sayasevi<br />

02<br />

Held for the second consecutive year, <strong>ASA</strong>-CAN,<br />

the workshop organized by <strong>ASA</strong> Community Architect<br />

Network Committee continues its journey from the<br />

previous year that featured the design of a community<br />

center and playground for the Klong Takok Community<br />

in Samutprakarn province to this year’s event where<br />

the Chatchai Market in Hua Hin, Prachuap Khiri Khan<br />

was designated as a space for a workshop held under<br />

the theme ‘Reborn.’ Chatchai Market, known by the locals<br />

as ‘Jed Kong Market’ (or the seven curves market, a<br />

name which is derived from its structure of a series of 7<br />

consecutive curved roofs) was built during the reign of<br />

King Rama VII and has remained open up until today.<br />

The ground floor is occupied with stalls selling fresh<br />

produce including chili pastes, vegetables and fruits,<br />

etc. whereas the space on the second floor is mostly<br />

left unused with only a few merchants opening their<br />

shops. To revive both the market and the Hua Hin<br />

district at the same time, the team employed a design<br />

strategy that included data collection, interviews and<br />

the creation of tools to facilitate the community’s<br />

participation in the process. The workshop was joined<br />

in force by 12 architecture students from 8 institutions<br />

who worked in the area for 10 days (6-15 May 2015)<br />

with teams of architects from Openspace, OpenBox<br />

and Apostrophy’S as their mentors.<br />

In the beginning, the students went on a fieldtrip to<br />

see all of Hua Hin’s landmarks such as the Hua Hin Train<br />

Station, Plern Wan Market and Hua Hin Jetty in order to<br />

have a better understanding of the basic context of the<br />

site. The students then had 3 days to work before the<br />

presentation of important data and issues as well as<br />

direction of the project were made in front of the Market’s<br />

committee. Divided into two teams of six, the first team<br />

interviewed the merchants, explored the market and the<br />

surrounding area and made additional measurements<br />

of the second floor space including studying the traffic<br />

that affects the market’s accessibility. The second team<br />

collected basic information about Hua Hin from different<br />

sources. For this stage, design strategies and tools that<br />

could enhance the public’s participation were the key to<br />

success. Kasama Yamtree of Openspace gave a lecture<br />

regarding interesting case studies for students to learn<br />

from, apply and use when they had to present their ideas<br />

to the merchants. The first presentation was organized<br />

on the second floor of the market in front of the market<br />

committee, representatives from the municipal office<br />

and merchants. The students presented general information<br />

highlighting the importance of the parking lot’s<br />

plan while participants were encouraged to write down<br />

their opinions regarding the plan. Learning to work with<br />

presentational tools was a key element of this process<br />

and the folks of Openspace, OpenBox and Apostrophy’S<br />

offered their guidance.<br />

The second presentation of Chatchai Market Learning<br />

Center was held at the conference room of the municipal<br />

office and was participated in by the market’s committee<br />

and representatives of the merchants. The municipal<br />

office has confirmed that the students’ proposal<br />

will be discussed further and in more detail with the<br />

tenants in the future.<br />

For more stories and updates regarding these new<br />

generation architects and their volunteering spirits in the<br />

Chatchai Market project, please visit www.facebook.<br />

com/CommunityActNetwork<br />

16 <strong>ASA</strong> NEWS วารสารอาษา


THE VANN 02<br />

MOLYVANN<br />

PROJECT<br />

01<br />

02<br />

เมื่อวันที่13 มิถุนายน ที่ผ่านมา ได้มีการจัดงานเปิดตัว<br />

โครงการ The Vann Molyvann Project: Summer School<br />

2015 ขึ้นที่ SA SA BASSAC Gallery กรุงพนมเปญ<br />

ประเทศกัมพูชา ซึ่งเป็นโปรแกรมการศึกษาที่เกิดขึ้นเพื่อ<br />

ต่อยอดการวิจัยทางสถาปัตยกรรมภายใต้ชื่อ The Vann<br />

Molyvann Project นาโดยสถาปนิกชาวแคนาดา Bill Greaves<br />

และสถาปนิกและนักผังเมืองชาวกัมพูชา Pen SereyPagna<br />

The Vann Molyvann Project เป็นโครงการที่เกิดขึ้น<br />

จากการรวมตัวกันของสถาปนิกชาวกัมพูชาและนานาชาติ<br />

โดยมีจุดประสงค์เพื่อสารวจและบันทึกข้อมูลผลงานการ<br />

ออกแบบของสถาปนิกคนสาคัญของประเทศกัมพูชาอย่าง<br />

Vann Molyvann ที่นับวันยิ่งค่อยๆ เลือนหายไปจากหน้า<br />

ประวัติศาสตร์มากขึ้นทุกที โครงการนี้เริ่มดาเนินการมา<br />

ตั้งแต่ปี 2009 หรือหนึ่งปีให้หลังจากการรื้อถอนโรงละคร<br />

แห่งชาติพระสุรมฤต ซึ่งนับเป็นผลงานการออกแบบที่ส าคัญ<br />

ที่สุดชิ้นหนึ่งของสถาปนิกคนดังกล่าว รวมทั้งยังถือเป็น<br />

เครื่องหมายที่ส าคัญของสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในประเทศ<br />

กัมพูชาที่ถูกสร้างขึ้นในช่วงปี 1950 ถึง 1960 ก่อนหน้า<br />

การยึดครองอานาจของกลุ่มกองกาลังลัทธิคอมมิวนิสต์<br />

เขมรแดงอีกด้วย<br />

18 <strong>ASA</strong> NEWS วารสารอาษา


ภำยใต้กำรสนับสนุนของสถำนเอกอัครรำชทูตสหัรฐฯ<br />

ประจำประเทศกัมพูชำ และ Parsons the New School<br />

for Design จำกนครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐฯ โครงกำร<br />

Summer School ในปี 2015 นี้ จึงถือกำเนิดขึ้น เพื่อเป็น<br />

อีกหนึ่งควำมพยำยำมในกำรต่อยอดจุดประสงค์ของโครงกำร<br />

The Vann Molyvann Project ให้เข้ำถึงกลุ่มผู้สนใจที่หลำก-<br />

หลำยมำกขึ้น ผ่ำนกำรจัดเวิร์กชอปทำงสถำปัตยกรรมร่วมกัน<br />

ระหว่ำงนักศึกษำกัมพูชำจำกมหำวิทยำลัยภูมินทร์วิจิตรศิลป์<br />

(Royal University of Fine Arts) และมหำวิทยำลัยนอร์ตัน<br />

(Norton University) และนักศึกษำอเมริกันจำก Parsons<br />

The New School for Design โดยมีนำย Pen SereyPagna<br />

มำรับหน้ำที่เป็นผู้อำนวยกำรวิจัยประจำโครงกำร ในเวิร์กชอป<br />

นี้ นักศึกษำจะได้ลงพื้นที่สำรวจรังวัด และเก็บบันทึกข้อมูล<br />

ผลงำนกำรออกแบบของ Vann Molyvann ถึง 4 ผลงำนด้วย<br />

กัน อันได้แก่ 1.) สถำบันปำสเตอร์ประจำกรุงพนมเปญ<br />

2.) พระรำชวังสีหนุวิลล์ 3.) ธนำคำรแห่งชำติประจำกรุง<br />

สีหนุวิลล์และ 4.) มหำวิทยำลัยภูมินทร์พนมเปญ วิทยำเขต<br />

พนมเปญ พร้อมกันนี้ผลสัมฤทธิ์ที่ได้จำกเวิร์กชอป ทั้งใน<br />

รูปของแบบรังวัดและแบบจำลอง ยังถูกนำมำจัดแสดงผ่ำน<br />

นิทรรศกำรและเว็บไซต์ เพื่อให้ผู้ที่สนใจสำมำรถเข้ำชมได้<br />

ตลอดโดยไม่ต้องเสียค่ำใช้จ่ำยใดๆ นอกจำกนี้ The Vann<br />

Molyvann Project: Summer School 2015 ยังเปิดให้บุคคล<br />

ทั่วไปที่สัญจรผ่ำนไปผ่ำนมำ ได้เข้ำไปสังเกตกำรณ์และมี<br />

ส่วนร่วมกับกิจกรรม กำรเสวนำ และเวิร์กชอปต่ำงๆ ของ<br />

นักศึกษำที่เกิดขึ้นตลอด 3 เดือนอีกด้วย โครงกำรเปิดให้<br />

เข้ำชมถึงวันที่ 5 กันยำยน ที่ SA SA BASSAC Gallery<br />

กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชำ รำยละเอียดเพิ่มเติมดูได้ที่<br />

เว็บไซต์vannmolyvannproject.org หรือที่sasabassac.com/<br />

exhibition.htm<br />

TEXT<br />

Paphop Kerdsup<br />

PHOTOS<br />

Courtesy of The Vann<br />

Molyvann Project<br />

03<br />

04<br />

01-02 แบบจำลองสถบันภษ<br />

ต่งประเทศ<br />

03 แบบศูนย์ประชุมจตุมุข<br />

(Chatomuk Conference<br />

Hall)<br />

04 ภพสถบันภษต่งประเทศ<br />

<strong>05</strong> ภพบรรยกศของเวิร์กชอป<br />

ที่จัดร่วมกันระหว่งมหวิทยลัย<br />

ในกัมพูชและ Parsons the<br />

New School for Design<br />

On the 13 th of June, the Vann Molyvann Summer<br />

School Project 2015 was launched at the SA SA BASSAC<br />

Gallery in Phnom Penh, Cambodia. This is an educational<br />

program intending to develop architectural research under<br />

the name of The Vann Molyvann Project. The project is<br />

led by Canadian architect, Bill Greaves and Cambodian<br />

architect and city planner, Pen SereyPagna.<br />

The Vann Molyvann Project was formed jointly by<br />

Cambodian and international architects with an aim to<br />

explore and record information on the design work of an<br />

important architect working in Cambodia, Vann Molyvann<br />

whose works have been gradually disappearing from<br />

history. This project began in 2009, one year after the<br />

demolition of the Preah Suramarit National Theatre, the<br />

major and most important work designed by the<br />

architect. This building was also a hallmark of modern<br />

architecture in Cambodia built from 1950-1960, and<br />

before the occupation of the Communist Khmer<br />

Rouge Forces.<br />

With the support of the American Embassy in Cambodia<br />

and Parsons The New School for Design, New York, the<br />

2015 Summer School Project was held as an attempt<br />

to expand the purpose of The Vann Molyvann Project.<br />

In essence, the efforts aim to engage a wider audience<br />

of interested persons including students from the Royal<br />

University of Fine Arts, Norton University and Parsons The<br />

New School for Design. Pen SereyPagna is the director<br />

of research for this project. In this workshop, students<br />

will survey and record information of works designed<br />

by Vann Molyvann including four sites: 1) the Pasteur<br />

Institute, Phnom Penh, 2) the Royal Residence Sihanoukville,<br />

3) The National Bank of Cambodia, Sihanoukville, and<br />

4) Phumin Phnom Penh University, Phnom Penh Campus.<br />

Furthermore, the findings from the workshop gained<br />

through the surveying and modeling will be presented<br />

in an exhibition and a website to enable those interested<br />

to visit and access the information free of fee. Moreover,<br />

The Vann Molyvann Summer School 2015 Project is also<br />

open for passersby to observe and participate in other<br />

activities, talks and student workshops taking place over<br />

a 3-month period. The project is on view until the 5 th of<br />

September at SA SA BASSAC Gallery, Phnom Penh,<br />

Cambodia. For more information, please visit their websites:<br />

www.vannmolyvannproject.org or at www.<br />

sasabassac.com/exhibition.htm<br />

<strong>05</strong><br />

20 <strong>ASA</strong> NEWS วารสารอาษา


WORK IN PROGRESS<br />

RAMKHAMHAENG 30<br />

OFFICE<br />

HYPOTHESIS<br />

02<br />

จากอาคารสูง 7 ชั้น ภายในซอยรามคาแหง 30 ซึ่ง<br />

เดิมถูกใช้เป็นโรงเรียนสอนพิเศษและเป็นโบสถ์ขนาดเล็ก<br />

ถูกปรับเปลี่ยนใหม่ให้กลายเป็นอาคารส านักงานสาหรับเช่า<br />

และมีบริเวณดาดฟ้าที่ประกอบด้วยสวนหย่อม รวมถึง<br />

พื้นที่สาหรับจัดงานปาร์ตี้ สถาปนิกได้ออกแบบอาคาร<br />

ให้มีลักษณะเปิดเผยด้วยการแสดงผิวของวัสดุทั้งภายนอก<br />

และภายในอาคารอย่างตรงไปตรงมา เช่น การแสดงให้<br />

เห็นถึงท่อน้าที่อยู่บริเวณด้านหน้าอาคารที่มีรูปแบบหลาก<br />

สีสันผสมผสานกับท่อเดิม อาคารมีความโดดเด่นหากแต่<br />

ยังคงความกลมกลืนกับบริบทโดยรอบ เนื่องจากอาคาร<br />

ตั้งอยู่ภายในซอยรามค าแหง 30 ที่มีเสาไฟฟ้าสูง 6 เมตร<br />

และหม้อแปลงขนาดใหญ่ ซึ่งมีผลต่อการมองเห็นจาก<br />

มุมมองของผู้คนที่เดินผ่านไปมา สถาปนิกตั้งใจออกแบบ<br />

ให้ตัวอาคารมีความสอดคล้องกับลักษณะของเสาไฟ<br />

นอกจากนี้ยังมีกลไกต่างๆ เพิ่มเติมภายในอาคาร เช่น<br />

หน้าต่างที่ถูกออกแบบให้เป็นระบบรอกมือหมุนในการเปิด<br />

คล้ายคลึงกับกลไกการหมุนของเครื่องจักร ซึ่งสอดคล้อง<br />

กับการใช้งานภายในโครงการที่ส่วนใหญ่เป็นสานักงาน<br />

เกี่ยวกับงานด้าน IT (Information Technology)<br />

01-02 อาคารแสดงผิววัสดุตาม<br />

จริงและแสดงท่อน้ำาที่อยู่บริเวณ<br />

ด้านหน้าอาคารอย่างหลากสีสัน<br />

ผสมผสานกับท่อเดิม<br />

01<br />

22 <strong>ASA</strong> WORK IN PROGRESS วารสารอาษา


This 7 storey building located on Soi Ramkhamhaeng<br />

30 previously served as a school for tutoring<br />

and a church prior to the owner’s recent decision to<br />

renovate the space into a rental office. The architect<br />

purposefully revealed materials of both the interior<br />

and exterior, such as the now memorable piping, and<br />

emphasized their presence by painting them in bright<br />

and surprising colors different from the original design.<br />

The architect took the context of the site into account,<br />

in which electrical posts and other elements affect the<br />

perspective of the building, and designed the structure<br />

to fit harmoniously within the surroundings. Moreover,<br />

the windows were designed with mechanisms fit to the<br />

function of the building, an IT (Information Technology)<br />

office.<br />

03 ลักษณะอาคารภายนอก<br />

03<br />

LOCATION<br />

Soi Ramkhamhaeng 30<br />

ARCHITECT<br />

Hypothesis<br />

MEMBER ID<br />

12573<br />

INTERIOR DESIGNER<br />

Hypothesis<br />

LANDSCAPE DESIGNER<br />

Hypothesis<br />

STRUCTURAL ENGINEER<br />

PowerPlus<br />

SYSTEM ENGINEER<br />

PowerPlus<br />

BUILDING AREA<br />

2,500 sq.m.<br />

CONSTRUCTION COST<br />

40 Million Baht<br />

1.3 M<br />

2.4 M<br />

24 <strong>ASA</strong> WORK IN PROGRESS วารสารอาษา<br />

1.3 M


SUKHUMVIT 91 HOUSE<br />

ARCHIMONTAGE DESIGN FIELDS SOPHISTICATED<br />

01<br />

01 ลักษณะอาคารภายนอก<br />

02 มุมมองจากภายในอาคาร<br />

02<br />

โครงการบ้านพักอาศัยขนาด 2 ชั้น ที่เจ้าของโครงการ<br />

ต้องการความเป็นส่วนตัวท่ามกลางบริบทอันแออัด ด้วย<br />

พื้นที่รอบข้างทั้งด้านข้างและด้านหลังซึ่งติดกับอาคาร<br />

พักอาศัยสูง 8 ชั้น ทาให้บดบังมุมมองและลมจากทาง<br />

ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ สถาปนิกจึงแก้ปัญหาโดยการ<br />

ออกแบบผังพื้นที่ภายในอาคารให้เป็นรูปตัวU ที่มีลักษณะ<br />

เกือบเป็นตัว O เพื่อให้เกิดพื้นที่ว่างตรงกลางและกลาย-<br />

เป็นใจกลางของบ้าน โดยออกแบบให้พื้นที่บริเวณดังกล่าว<br />

เป็นสระว่ายน้าและสวนดาดฟ้าที่อยู่ตาแหน่งด้านบนของ<br />

โรงจอดรถ นอกจากนี้สวนดาดฟ้ายังเชื่อมต่อกับผนัง<br />

น้าตกที่ทาหน้าที่เป็นผนังกันตกด้วย ซึ่งน้าตกจะไหลลง<br />

สู่สระว่ายน้ าซึ่งอยู่ในระดับที่ต่ ากว่า ช่วยสร้างบรรยากาศ<br />

ของเสียงน้าและแสงธรรมชาติที่ลอดเข้าสู่ภายในตัวอาคาร<br />

อย่างไรก็ตามบ้านยังคงความเป็นส่วนตัวด้วยระแนงไม้-<br />

เทียมตีตามนอนบริเวณด้านหน้าอาคาร ซึ่งช่วยพราง<br />

สายตาจากผู้คนที่พลุกพล่านภายนอก และคนที่อยู่ชั้น<br />

บนของอาคารพักอาศัยสูง 8 ชั้น ในเวลากลางวัน และ<br />

เผยความมีชีวิตชีวาในเวลากลางคืน เมื่อแสงสว่างจาก<br />

การใช้งานภายใน ลอดผ่านผนังระแนงบังตา ให้คน<br />

ภายนอกได้เห็นอย่างสลัว<br />

26 <strong>ASA</strong> WORK IN PROGRESS วารสารอาษา


03<br />

1ST FLOOR<br />

1 Parking<br />

2 Entrance<br />

3 Swimming pool<br />

4 Terrace pool<br />

5 Bedroom<br />

6 Working area<br />

7 Drawing room<br />

8 Dining room<br />

9 Toilet<br />

10 Kichen<br />

11 Maid room<br />

12 Storage<br />

13 Garden<br />

9<br />

6 7 8<br />

4<br />

5<br />

3<br />

10<br />

03 มุมมองจากภายในอาคาร<br />

2<br />

13<br />

1<br />

11<br />

12<br />

An intense context and an adjacent 8-storey high<br />

building surround the site of this 2-storey residential<br />

project. The height of the neighboring building hides the<br />

perspective of the house as well as restricts ventilation;<br />

therefore, the architect decided to create a ‘U’ shaped<br />

circulation plan for the house allowing for an open space<br />

to emerge in the middle of the house. Furthermore, this<br />

core space was designed to support a swimming pool<br />

and a deck while the lower floor of the same position<br />

hosts the garage. A partition on the deck connects the<br />

swimming pool to a waterfall wall, allowing for the sound<br />

of water and natural light to pass into the house. The<br />

horizontal lath facade further aids in making the house<br />

feel private and camouflaged from the chaotic outside.<br />

OWNER<br />

Mr.Dumrong Tintamusik<br />

LOCATION<br />

Sukhumvit 91 Bangkok<br />

ARCHITECT<br />

archimontage design<br />

fields sophisticated<br />

MEMBER ID<br />

07415<br />

INTERIOR DESIGNER<br />

archimontage design<br />

fields sophisticated<br />

LANDSCAPE DESIGNER<br />

archimontage design<br />

fields sophisticated<br />

STRUCTURAL ENGINEER<br />

SMCL Construction<br />

SYSTEM ENGINEER<br />

SMCL Construction<br />

BUILDING AREA<br />

750 sq.m.<br />

CONSTRUCTION COST<br />

20 Million Baht<br />

1.5 M<br />

28 <strong>ASA</strong> WORK IN PROGRESS วารสารอาษา


Hunter Douglas<br />

“The world leading supplier of<br />

architectural product solutions”<br />

“อย่าปิดกั้นไอเดียดีๆของคุณด้วยเงื่อนไขของวัสดุแบบเดิมๆ<br />

Hunter Douglas ดีไซน์ได้มากกว่าที่คุณคิด”<br />

Hunter Douglas บริษัทชั้นนำจกประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึ่งเป็นผู้คิดค้นและผลิต<br />

อลูมิเนียมแผ่นรยแรกของโลก ทำให้ Hunter Douglas เป็นผู้นำทงด้นผลิตภัณฑ์<br />

Architectural Products ระดับโลก ภยใต้แบรนด์ LUXALON ® ที่มุ่งมั่นในกร<br />

สร้งสรรค์นวัตกรรมในกรตอบสนองควมต้องกรของผู้ออกแบบเพื่อนำมสู่<br />

กรสร้งสรรค์งนด้นสถปัตยกรรมกรตกแต่งทั้งภยในและภยนอกอคร<br />

ไม่ว่จะเป็น Ceilings, Claddings, FaÇade หรือ Sun Louvers ล้วนผลิตจก<br />

Aluminum Alloy เกรดสูงตมมตรฐนยุโรปและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยมี<br />

กรพัฒนรูปแบบกรใช้งนที่หลกหลย และมุ่งเน้นเทคโนโลยีที่ทันสมัยสำหรับกร<br />

ตกแต่งอครในรูปแบบต่งๆ LUXALON ® จึงเป็นที่ยอมรับแพร่หลยจกโครงกร<br />

ชั้นนำทั้งในและต่งประเทศ<br />

ทั่วโลกต่งให้ควมเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์คุณภพพร้อมด้วยทีมงนที่มีประสิทธิภพ<br />

ภยใต้ชื่อ Hunter Douglas ที่มีประสบกรณ์ยวนนกว่ 90 ปี<br />

วันนี้ Hunter Douglas Thailand กลับมยืนยันควมสำเร็จอีกครั้ง เพื่อร่วมสร้ง<br />

นวัตกรรมใหม่ๆ ในทุกรูปแบบให้กับคุณ “เพียงแค่คุณคิด เรสรรสร้งให้”<br />

Hunter Douglas Thailand<br />

124 Krungthep Kreetha Road,<br />

Saphansung, Bangkok 10250<br />

T : 66.2.368.4141 F : 66.2.368.4144<br />

E : info@hunterdouglas.asia<br />

w : www.hunterdouglas.asia


SPEED OFFICE<br />

MAINCOURSE ARCHITECT<br />

01<br />

โครงการ Speed Office ถูกสร้างขึ้นจากความต้องการ<br />

ของบริษัท Speed Computer Co., Ltd. ที่ต้องการรองรับ<br />

การขยายตัวของบริษัทในอนาคต โดยให้การใช้สอยใน<br />

อาคารครอบคลุมทั้ง สานักงาน ห้องประชุม พื้นที่เก็บ<br />

สินค้า ที่พักอาศัย และทาหน้าที่เป็นสานักงานใหญ่ของ<br />

บริษัทที่ตั้งอยู่ริมถนนบางนา-ตราด ซึ่งง่ายต่อการเข้าถึง<br />

ด้วยความต้องการใช้สอยพื้นที่จานวนมากแต่พื้นที่สาหรับ<br />

ก่อสร้างมีอยู่อย่างจากัด ผู้ออกแบบจึงต้องสร้างอาคาร<br />

ค่อนข้างเต็มพื้นที่ การออกแบบหน้าต่างมีขนาดใหญ่ มี<br />

ความสูงถึงสองชั้น โดยสถาปนิกเลือกวางตาแหน่งหน้าต่าง<br />

นี้เพียงเฉพาะบางจุดที่สาคัญอย่างสอดคล้องกับการใช้<br />

งานภายในอาคารแทนการเจาะช่องหน้าต่างขนาดเล็ก<br />

จานวนมาก นอกจากนี้ยังใช้จุดเด่นของหน้าต่างบานใหญ่<br />

ให้กลายเป็นพื้นที่ด้านบนของอาคารอย่างเป็นประโยชน์<br />

โดยออกแบบผนังเอียงรับกับหน้าต่างและแนวฝ้าเพดาน<br />

ทาให้ผนังเอียงของพื้นที่ภายในอาคาร สามารถทาหน้าที่<br />

เป็นอัฒจรรย์บนดาดฟ้า ใช้จัดประชุมพนักงาน และสังสรรค์<br />

ในโอกาสต่างๆ ได้อีกด้วย อีกมุมหนึ่งของอาคารนั้นมี<br />

ผนังเอียงในลักษณะเดียวกันซึ่งทาหน้าที่บดบังการมอง<br />

เห็นทางด่วนของผู้ใช้อาคาร สาหรับการเลือกใช้วัสดุ<br />

สถาปนิกเลือกคอนกรีตสแตมป์ลายเป็นหลัก เพื่อเน้น<br />

รูปทรงของอาคารและช่องแสงให้มีความชัดเจน<br />

01 สถาปนิกเลือกวางตำาแหน่ง<br />

หน้าต่างขนาดใหญ่เฉพาะบาง<br />

จุดอย่างสอดคล้องกับการใช้<br />

งานภายใน<br />

02 บรรยากาศภายในอาคาร<br />

02<br />

30 <strong>ASA</strong> WORK IN PROGRESS วารสารอาษา


The Speed Office was constructed following the<br />

needs of the owner of Speed Computer Co., Ltd. to<br />

extend the office building located next to Bangna-Trad<br />

Road to accommodate more functions. The Speed<br />

Office was designed to house offices, meeting rooms,<br />

a stock space and the dwelling and main office of the<br />

company. Although many functions required support<br />

within the Speed Office building, the overall area was<br />

limited. This factor contributed to the design where<br />

all functions were fit within the building area. The<br />

architect constructed the building with high windows<br />

instead of many small windows, some of which were<br />

set into the leaned ceiling allowing for the opposite<br />

side of the ceiling to function as a grandstand on the<br />

rooftop. These elements further created an exterior<br />

meeting space fit to host various functions.<br />

1 M.<br />

3RD FLOOR PLAN<br />

1 Offices<br />

2 Meeting Room<br />

3 Reception Counter<br />

4 Toilet<br />

5 Residential Area<br />

5<br />

4<br />

03<br />

3<br />

3<br />

2<br />

04<br />

03 บรรยากาศภายในอาคาร<br />

04 มุมมองจากถนนภายนอก<br />

OWNER<br />

Speed Computer<br />

LOCATION<br />

Bangna-Trad Rd.<br />

ARCHITECT<br />

Maincourse Architect<br />

INTERIOR DESIGNER<br />

Maincourse Architect<br />

STRUCTURAL ENGINEER<br />

Chittinat<br />

Wongmaneeprateep<br />

SYSTEM ENGINEER<br />

Chittinat<br />

Wongmaneeprateep<br />

THIRD FLOOR PLAN<br />

BUILDING AREA<br />

900 sq.m.<br />

CONSTRUCTION COST<br />

20 Million Baht<br />

1<br />

1<br />

1 M<br />

1 Offices<br />

2 Meeting ro<br />

3 Reception<br />

4 Toilet<br />

5 Residentia<br />

32 <strong>ASA</strong> WORK IN PROGRESS วารสารอาษา


SCG 100TH YEAR<br />

BUILDING<br />

TEXT<br />

Jaksin Noiraiphoom<br />

PHOTOS<br />

Tiranar Srihabua<br />

except as noted<br />

BANGKOK<br />

DESIGN 103 INTERNATIONAL<br />

36 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


เพราะองค์กรคือหน่วยทางสังคมรูปแบบหนึ่งซึ่ง<br />

เกิดจากการรวมตัวกันของกลุ่มคนจากหลากหลายที่มา<br />

แต่ละคนจึงย่อมมีความต้องการที่แตกต่างกันไป ดังนั้น<br />

ในการออกแบบสถาปัตยกรรมเพื่อเป็นตัวแทนขององค์กร<br />

ใดก็ตาม ผู้ออกแบบจะต้องเผชิญกับเงื่อนไขต่างๆ ที่มี<br />

ความสลับซับซ้อนมากกว่าการออกแบบสถาปัตยกรรม<br />

เพื่อคนเพียงคนเดียวหรือคนจานวนน้อย ความท้าทาย<br />

ประการสาคัญยังอยู่ที่การพยายามค้นหา ‘อัตลักษณ์’ ที่<br />

เป็นตัวแทนร่วมกันของทุกคนในองค์กรและนามาถ่ายทอด<br />

สู่ตัวสถาปัตยกรรมที่สะท้อนถึงตัวตนและบุคลิกของ<br />

องค์กรนั้นๆ ซึ่งอาคาร SCG 100 ปี ถือเป็นตัวอย่างที่ดี<br />

ของสถาปัตยกรรมที่ได้รับการออกแบบมาเพื่อตอบสนอง<br />

ต่อวัตถุประสงค์ดังกล่าว<br />

เดิมทีนั้นเครือซิเมนต์ไทยหรือSCG ได้มีความต้องการ<br />

ที่จะก่อสร้างอาคารสานักงานใหญ่หลังที่ 3 ต่อจากอาคาร<br />

สานักงานใหญ่ 1 และอาคารสานักงานใหญ่ 2 เพื่อรองรับ<br />

บุคลากรที่เพิ่มขึ้นจากการขยายตัวของธุรกิจตั้งแต่ปี 2538<br />

โดยได้มอบหมายให้ บริษัท Design 103 International<br />

ซึ่งเป็นผู้ออกแบบอาคารสานักงานใหญ่สองหลังก่อนหน้า<br />

มาเป็นผู้ออกแบบอาคารสานักงานหลังใหม่ และหลังจาก<br />

ที่ออกแบบเป็นที่เรียบร้อยจึงได้เริ่มทาการก่อสร้าง หาก<br />

แต่ในระหว่างที่ทาการก่อสร้างอยู่นั้น ประเทศไทยต้อง<br />

ประสบกับวิกฤติเศรษฐกิจในปี 2540 โครงการนี้จึงต้อง<br />

หยุดชะงักลง ทาได้เพียงก่อสร้างเสาเข็มเจาะไว้ หลังจาก<br />

ผ่านไป 13 ปี ในปี 2553 ทางผู้บริหารจึงมีนโยบายที่<br />

จะนาโครงการนี้กลับมารื้อฟื้นอีกครั้ง โดยตั้งเป้าว่าจะ<br />

ต้องเสร็จสมบูรณ์ในปี 2556 ซึ่งเป็นปีที่องค์กรแห่งนี้จะมี<br />

อายุครบ 100 ปี โดยมี บริษัท Design 103 International<br />

เป็นผู้รับหน้าที่น าโครงการที่ออกแบบไว้เดิมขึ้นมาปรับปรุง<br />

‘ยกเครื่อง’ ครั้งใหม่<br />

ในการรื้อฟื้นโครงการสานักงานใหญ่ครั้งใหม่นี้ ทาง<br />

ผู้ออกแบบต้องพบกับข้อจ ากัดในการออกแบบหลายๆ ด้าน<br />

ไม่ว่าจะเป็นความสูงห้ามเกินจากที่เคยขออนุญาตไว้ คือ<br />

102 เมตร จานวนชั้นต้องเท่าเดิมกรอบอาคารสามารถเกิน<br />

ได้เล็กน้อย โดยที่พื้นที่อาคารรวมจะต้องเท่าเดิมนอกจากนี้<br />

ทางผู้บริหารยังได้มอบหมายโจทย์เพิ่มเติมคือ ต้องการให้<br />

อาคารสานักงานแห่งใหม่นี้เป็นตัวแทนของคนรุ่นใหม่อัน<br />

เป็นภาพลักษณ์ขององค์กรแห่งนี้ จากโจทย์ดังกล่าวซึ่งมี<br />

ความเป็นนามธรรม ทางผู้ออกแบบจึงได้นามาตีความเพื่อ<br />

สร้างสรรค์ให้เป็นผลงานออกแบบที่เป็นรูปธรรม<br />

“จากนโยบายของ SCG ที่ต้องการสร้างให้อาคารหลังนี้<br />

เป็นอาคารของคนรุ่นใหม่เราก็มาคิดต่อว่า ในตอนที่อาคาร<br />

หลังนี้เปิดใช้งานมันคงจะไม่ได้มีเฉพาะแค่คนรุ่นใหม่เท่านั้น<br />

แต่จะประกอบด้วยคนหลายรุ่น ทั้งรุ่นเก่าและรุ่นใหม่และ<br />

ไม่ว่าจะเป็นรุ่นไหน มันยังมีวัฒนธรรมไทยที่ครอบอยู่เรา<br />

ก็เลยตั้งแนวคิดขึ้นมาว่า ‘Respect The Past - Move to<br />

The Future’” วิญญู วานิชศิริโรจน์ จาก Design 103<br />

International หัวหน้าทีมออกแบบ กล่าวถึงแนวคิดหลัก<br />

ในการปรับปรุงครั้งนี้<br />

Atischa Changsiripornpagorn<br />

01<br />

ARCHITECT<br />

Design 103 International<br />

MEMBER ID<br />

01649<br />

INTERIOR DESIGNER<br />

Interior Architecture 103<br />

Company<br />

P49<br />

LANDSCAPE DESIGNER<br />

Landscape Architects of<br />

Bangkok<br />

STRUCTURAL ENGINEER<br />

Arun Chaiseri Consulting<br />

Engineers<br />

SYSTEM ENGINEER<br />

MITR Technical<br />

Consultant<br />

CONTRACTOR<br />

Christiani & Nielsen<br />

(Thai) Public Company<br />

BUILDING AREA<br />

74,600 sq.m.<br />

DURATION<br />

2010-2013<br />

02<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 37


38 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา<br />

03


ในกระบวนการออกแบบ ผู้ออกแบบได้น าองค์ประกอบ<br />

ของ ‘เส้นนอน’ ที่ปรากฏอยู่บนรูปด้านของอาคารส านักงาน-<br />

ใหญ่ 1 และอาคารสานักงานใหญ่2 มาใช้ในอาคารสานักงาน<br />

แห่งใหม่เพื่อสื่อถึงการเคารพผู้อาวุโสที่มาก่อนทาให้เกิด<br />

ความเชื่อมโยงระหว่างอาคารเก่าและอาคารใหม่ ในขณะ-<br />

เดียวกันในผังแต่ละชั้นของอาคาร ผู้ออกแบบยังคงรักษา<br />

แนวตาแหน่งของเสาเข็มเดิมเอาไว้ แต่ได้มีการออกแบบ<br />

ให้มีความรู้สึกลื่นไหลมากขึ้น โดยใช้เส้นโค้งทาให้เกิด<br />

เฉลียงที่มีการยืด-หดออกจากแนวกรอบเดิมที่วางเอาไว้<br />

เพื่อสื่อถึงความคิดสร้างสรรค์ของคนรุ่นใหม่ ที่สามารถ<br />

คิดนอกกรอบได้<br />

ผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมที่ได้คือ อาคาร SCG 100 ปี<br />

ซึ่งเป็นอาคารสานักงานสูง 21 ชั้น ผังมีสัณฐานค่อนไป<br />

ทางรูปสี่เหลี่ยม โดยมีพื้นที่บริการ เช่น ช่องลิฟท์ บันได-<br />

หนีไฟ ห้องผู้บริหาร และห้องน้า อยู่บริเวณส่วนกลาง<br />

อาคาร (Core) เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ที่ทางานภายในได้<br />

สัมผัสแสงธรรมชาติและทิวทัศน์ภายนอกได้อย่างเต็มที่<br />

โดยมีพื้นที่ใช้งานในส่วนของสานักงานทั้งหมด 22,250<br />

ตารางเมตร ในส่วนของเฉลียงอาคารที่มีความโค้งและ<br />

ยืด-หดในตาแหน่งที่ไม่ตรงกัน ช่วยให้เกิดความเคลื่อนไหว<br />

ที่มีชีวิตชีวา และมีความโดดเด่น ซึ่งผู้ออกแบบได้เรียก<br />

สถาปัตยกรรมในลักษณะนี้ว่า ‘Dyconic’ ซึ่งมาจากการ<br />

ผสมผสานของคุณสมบัติ 2 ประการ ทั้งความ Dynamic<br />

(เคลื่อนไหว) และความเป็น Iconic (โดดเด่น) เข้าไว้ด้วยกัน<br />

01 เฉลียงแนวโค้งซึ่งมีการยืด<br />

หดในตำาแหน่งที่ไม่ตรงกัน สร้าง<br />

ความรู้สึกเคลื่อนไหวและมี<br />

ชีวิตชีวา<br />

02 ตัวอาคารสำานักกงานใหญ่<br />

SCG 100 ปี เมื่อมองจากสวน<br />

ภายนอก<br />

03 การแยกอาคารจอดรถออก<br />

จากตัวอาคารสำานักงานหลัก ช่วย<br />

ให้สามารถควบคุมความปลอดภัย<br />

ได้ดียิ่งขึ้น<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 39<br />

5 M<br />

1M.<br />

SCG 100


นอกจากอาคารสานักงานที่เป็นอาคารสูงแล้ว บริเวณ<br />

ด้านข้างยังเป็นที่ตั้งของอาคารจอดรถยนต์สูง 10 ชั้นซึ่ง<br />

ข้อดีของการแยกสานักงานกับที่จอดรถออกจากกันนี้<br />

คือ ทาให้เกิดความปลอดภัย สามารถควบคุมการเข้า-ออก<br />

สานักงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและนอกจากใช้เพื่อจอด-<br />

รถยนต์แล้ว อาคารหลังนี้ยังประกอบด้วยห้องสัมมนาย่อย<br />

บริเวณด้านข้าง และห้องประชุมใหญ่ขนาด 1,000 ที่นั่ง<br />

บริเวณชั้น 10 เพื่อรองรับการใช้งานที่หลากหลาย<br />

และด้วยความที่ SCG นั้น มีความเป็นผู้นาทางด้าน<br />

การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ทาง<br />

ผู้บริหารจึงมีความต้องการให้อาคาร SCG 100 ปี หลังนี้<br />

เป็นอาคารที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยิ่งยวด เพื่อให้<br />

สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ขององค์กร ทาให้ในการออกแบบ<br />

อาคารหลังนี้ได้มีการคานึงถึงการใช้พลังงานและทรัพยากร<br />

อย่างคุ้มค่า วัสดุที่ใช้ประกอบอาคารทั้งหมดเป็นวัสดุที่<br />

ผลิตในประเทศถึง 68 เปอร์เซ็นต์ เพื่อลดมลภาวะจาก<br />

การขนส่ง ในส่วนของผนังภายนอกเลือกใช้กระจกสองชั้น<br />

เพื่อลดความร้อนที่จะเข้ามาสู่พื้นที่ภายใน มีการใช้แผง<br />

พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตไฟฟ้าขึ้นใช้เองผสานกับสวน<br />

บนหลังคาบริเวณที่จอดรถช่วยเพิ่มพื้นที่สีเขียวนอกจากนี้<br />

ยังมีระบบหมุนเวียนเพื่อนาน้าที่ผ่านการใช้งานแล้วกลับ<br />

มาใช้ใหม่ และยังมีระบบกักเก็บน้าฝน โดยผลสารวจ<br />

จากการใช้งานจริงพบว่าอาคารหลังนี้สามารถประหยัด<br />

พลังงานได้ถึง 30 เปอร์เซ็นต์ และลดการใช้น้าได้ถึง<br />

74 เปอร์เซ็นต์ ของอาคารทั่วไปที่มีขนาดเดียวกัน ด้วย<br />

ระบบอาคารที่มีประสิทธิภาพ ทาให้อาคารหลังนี้ได้รับ<br />

การรับรองอาคารเขียวจาก LEED ในระดับ Platinum<br />

ซึ่งเป็นระดับสูงสุด<br />

จุดเด่นประการสาคัญของอาคาร SCG 100 ปี หลังนี้<br />

นอกจากจะอยู่ที่รูปลักษณ์ภายนอก ยังอยู่ที่กระบวนการ<br />

ออกแบบที่ผู้ออกแบบสามารถแปรสิ่งที่เป็นนามธรรมซึ่ง<br />

เป็นภาพลักษณ์ขององค์กรให้กลายเป็นรูปธรรมที่จับ-<br />

ต้องได้ และสอดคล้องกับตัวตนภายในผ่านกระบวนการ<br />

ตีความที่ลุ่มลึก“ผมคิดว่าการที่จะสร้างอาคารเพื่อสื่อไปถึง<br />

องค์กรใดๆ ก็ตาม เราไม่จาเป็นต้องเอาโลโก้มาคลี่คลาย<br />

หรือเอาชื่อ เอาสีมาเล่น มันสามารถส่งผ่านทางนามธรรม<br />

ที่เป็นนัยยะ ที่เป็นเนื้อหาภายในจริงๆ ขององค์กรนั้นๆ<br />

ที่เขาอยากจะสื่อสารกับสังคม แล้วก็สามารถนาเสนอ<br />

ตรงนั้นออกมาได้” วิญญูกล่าวแสดงทรรศนะที่สาคัญ<br />

การจะสร้างสถาปัตยกรรมขององค์กรใดๆ ให้ประสบ-<br />

ความสาเร็จได้นั้น วัฒนธรรมในองค์กรนั้นๆ ถือเป็นอีก<br />

หนึ่งปัจจัยสาคัญที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้“เราต้องยอมรับว่า<br />

การที่จะมีอาคารสวยๆ ได้นั้น มันไม่ได้ขึ้นอยู่กับสถาปนิก<br />

เพียงคนเดียว แต่มันต้องเกิดจากผู้บริหารขององค์กรนั้นๆ<br />

ที่ได้รับการหล่อหลอมด้วยวัฒนธรรมที่สะสมกันมาใน<br />

แต่ละองค์กร ซึ่งถือว่าโชคดีที่ผู้บริหารของ SCG เข้าใจ<br />

ในสิ่งที่เรานาเสนอ ทาให้เกิดชิ้นงานที่ดีขึ้นมาในที่สุด”<br />

วิญญูกล่าวเสริม<br />

An organization is a social unit of people from various<br />

backgrounds, each with their own different needs.<br />

So in order to design architecture that represents an<br />

organization, a designer encounters situations more<br />

complicated than when designing architecture for an<br />

individual or a small group. The major challenge is still<br />

about finding an ‘identity’ that represents everyone in<br />

the organization, and conveying this into architecture<br />

that reflects the organization’s identity and image. The<br />

SCG 100 th Year Building is a good architectural example<br />

that has been designed in response to such a purpose.<br />

Originally, the Siam Cement Group (SCG) planned to<br />

build its third Head Office Building in order to accommodate<br />

the increasing numbers of staff as their business<br />

has been expanding since 1995. The project to design<br />

this new building was assigned to Design 103 International<br />

Company, who had previously designed the first two<br />

Head Office Buildings. After completing the design they<br />

began construction, however, while in the process of<br />

doing so, Thailand faced the 1997 economic crisis. The<br />

project was halted with only the piles having been driven<br />

in. Thirteen years later, in 2010, the executives decided<br />

to revive the project. The project was scheduled for completion<br />

in 2013, as this would be SCG’s 100 th anniversary,<br />

and the Design 103 International Company was asked<br />

to pick up the project once again.<br />

In reviving this project, the designer faced many<br />

limitations, such as the restricted height that could not<br />

be higher than had been approved (102 meters) and the<br />

number of floors having to remain the same. The frame<br />

of the building could be slightly wider, but the total space<br />

occupied by the building had to remain the same as well.<br />

In addition, the executives also asked that the new office<br />

building represent the new generation, as SCG wanted<br />

to project an image that appealed to a new generation<br />

in society. The designer therefore had to translate this<br />

abstract requirement into a tangible creation.<br />

“SCG’s policy wanted to build this structure for a<br />

new generation, but we thought that when the building<br />

was in use, it wouldn’t be used by members of the new<br />

generation only, but by many generations. Either old, or<br />

new, or whatever generation - there should still be Thai<br />

culture that can cover the extent of users overall. So we<br />

thought of the concept ‘Respect The Past – Move to<br />

The Future,’” described Winyou Wanichsiriroj, head of<br />

the design team at Design 103 International in regards<br />

to the main concept behind the improvement.<br />

In the design process, the designer brought the<br />

element of the ‘horizontal line’ that appears on the sides<br />

of Office Buildings 1 and 2 for use in this new building<br />

as well. This move represents a respect for the elders<br />

who came before and facilitates a link between the old<br />

buildings and the new building. The designer retained<br />

the original orientation of the piles in the layout of each<br />

floor as well, but designed to bring about a more fluid<br />

feel by using a curved line to create balconies that bend<br />

in and out from the original frame line. This reflects the<br />

creativity of the new generation who can think outside<br />

of the box, while being based on a framework created<br />

by the former generation.<br />

04 บรรยากาศภายในห้องประชุม<br />

ซึ่งเน้นการออกแบบที่โปร่งโล่ง และ<br />

รับแสงจากธรรมชาติจากภายนอก<br />

โดยคำานึงถึงการประหยัดพลังงาน<br />

ควบคู่กันไป<br />

40 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


04<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 41


1<br />

2<br />

3<br />

5<br />

4<br />

2<br />

LLABORATIVE AREA<br />

ETING<br />

ORE<br />

ILET<br />

ARE SPACE<br />

1 2<br />

6TH FLOOR PLAN<br />

1 Collaborative Area<br />

2 Meeting<br />

3 Store<br />

4 Toilet<br />

5 Share Space<br />

1 M<br />

1 M.<br />

SCG 100 Year Building<br />

The tangible result is the 21-storey SCG 100 th Year<br />

Building. The layout is shaped rather like a square and<br />

service areas such as elevator shafts, fire escapes,<br />

executive rooms and toilets are situated in the core of<br />

the building allowing for those working inside to be fully<br />

exposed to natural light and outside views. The building<br />

has 22,250 square meters of working space. Iconic<br />

balconies bend in and out unevenly creating vibrancy<br />

that the architect describes as ‘Dyconic,’ a form of<br />

architecture derived from the combination of dynamic<br />

and iconic.<br />

Apart from high-rise office buildings, the adjacent<br />

area also houses a 10-storey car park. Separating the<br />

car park building from the office building ensures personal<br />

safety and gives effective control for entry to the building.<br />

Apart from being a car park, the building also houses<br />

small conference rooms on the side and an auditorium<br />

of 1,000 seats on the roof.<br />

The fact that SCG is the leader in creating environmental-friendly<br />

products influenced the executives’<br />

decisions as well. They wanted the new building to be<br />

totally environmental friendly in order to reflect the corporate<br />

vision. Therefore, this building was designed to<br />

be energy and resource efficient. Up to 68 percent of<br />

the materials used for this building were produced<br />

domestically, reducing the carbon footprint from transportation.<br />

The exterior walls use double-glazing to reduce<br />

heat transfer from the outside, solar cell panels were<br />

used to generate electricity and the garden in the car<br />

park roof increases green space. In addition, a water<br />

recycling system is used to recycle used water as well<br />

harvest water produced by rainwater. A survey found<br />

that, compared to a typical building of a similar size, this<br />

building could save up to 30 percent in terms of energy<br />

use and reduce water consumption by up to 74 percent.<br />

With its efficient building system, this building was<br />

awarded a LEED certification for green buildings at the<br />

highest level of a Platinum standard.<br />

Apart from the aesthetics of the external appearance,<br />

the design process is an important aspect and highlight<br />

of this SCG 100 th Year Building. The architect successfully<br />

translated abstract requirements such as the corporate<br />

image to be tangible and aligned with their inner self<br />

through a sophisticated interpretation process. As<br />

Mr. Winyou explains, “I think in creating a building that<br />

conveys the organization’s image, it’s not necessary to<br />

unpick their company logo or play with their name or<br />

corporate color. It can be done through meaningful<br />

abstraction which is the real internal content of the<br />

organization that they want to communicate with society.<br />

Then express it out.” An unavoidable factor to consider<br />

when successfully accomplishing architecture for any<br />

organization is the organization’s culture. He continues,<br />

“We have to accept that in order to have a beautiful<br />

building, this doesn’t depend entirely on an architect,<br />

but it has to come from the executives of that organization<br />

who have been tasked with accumulating their<br />

organization’s culture. Fortunately, the SCG executives<br />

understood what we presented, so it finally resulted in<br />

a quality and fine work,” concluded Winyou.<br />

จักรสิน น้อยไร่ภูมิ<br />

จักรสิน น้อยไร่ภูมิ หรือ ‘อ.แมลงภู่’<br />

จบการศึกษาด้านสถาปัตยกรรม<br />

จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร ปัจจุบันเป็น<br />

อาจารย์ประจำาอยู่ที่คณะสถาปัตย-<br />

กรรมศาสตร์และการออกแบบ<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล<br />

รัตนโกสินทร์ ศาลายา ควบคู่ไปกับ<br />

การเป็นสถาปนิกและนักเขียนอิสระ<br />

มีผลงานเขียนปรากฏตามนิตยสาร<br />

วารสาร และเว็บไซต์ทางด้านการ<br />

ออกแบบอยู่อย่างต่อเนื่อง<br />

42 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


KING POWER<br />

SRIVAREE<br />

COMPLEX<br />

TEXT<br />

Supitcha Tovivich<br />

PHOTOS<br />

Chaovarith Poonphol<br />

SAMUT PRAKAN<br />

ARCHITECTS 49<br />

01<br />

44 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


ARCHITECT<br />

Architects 49<br />

MEMBER ID<br />

04949<br />

INTERIOR DESIGNER<br />

Interior Architects 49<br />

STRUCTURAL ENGINEERING<br />

Architectural<br />

Engineering 49<br />

SYSTEM ENGINEER<br />

M&E Engineering 49<br />

LANDSCAPE DESIGNER<br />

Landscape Architects<br />

of Bangkok (LAB)<br />

LIGHTING DESIGNER<br />

49 Lighting Design<br />

Consultants<br />

GRAPHIC DESIGNER<br />

G49<br />

CONTRACTOR<br />

Ritta Company<br />

CONSULTING MANAGER<br />

Consulting &<br />

Management 49<br />

BUILDING AREA<br />

38,800 sq.m.<br />

DURATION<br />

2012-2013<br />

01 รูปด้านอาคารมีลวดลายของ<br />

พื้นผิวเครื่องจักสานและออกแบบ<br />

‘Crown’ บนระดับชั้นหลังคาที่มี<br />

ความสูงถึง 23 เมตร<br />

โครงการคิง เพาเวอร์ ศรีวารี คอมเพล็กซ์ ตั้งอยู่ที่<br />

ถนนศรีวารีน้อย ตาบลบางโฉลง อาเภอบางพลี จังหวัด<br />

สมุทรปราการ ออกแบบสถาปัตยกรรมโดยบริษัท<br />

สถาปนิก 49 เป็นโครงการร้านค้าปลอดภาษีในเมืองแห่ง<br />

ที่สามของบริษัท คิง เพาเวอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จากัด<br />

โดยหลังจากได้เปิดกิจการร้านค้าปลอดภาษีในเมืองที่<br />

สาขารางน้า และสาขาพัทยาเมื่อปี 2548 และ 2554<br />

ตามลาดับ ในปี 2555 เจ้าของโครงการต้องการขยาย<br />

สาขาร้านค้าปลอดภาษีในเมืองเพิ่มขึ้นอีก 1 แห่ง เพื่อ<br />

รองรับจานวนลูกค้านักท่องเที่ยวชาวจีนที่เพิ่มขึ้นเป็น<br />

อย่างมากและเพื่อลดความหนาแน่นของลูกค้าที่ร้านค้า<br />

ปลอดภาษี สาขาถนนรางน้า โดยได้เลือกพื้นที่โครงการ<br />

ที่อยู่ใกล้กับสนามบินสุวรรณภูมิ เพื่อความสะดวกใน<br />

การเดินทางของลูกค้า และเนื่องจากสาขาที่ถนนรางน้ านั้น<br />

ค่อนข้างแออัดจากปริมาณนักท่องเที่ยวจานวนมากใน<br />

แต่ละวัน ในการออกแบบสาขาใหม่นี้ จึงต้องการสร้าง<br />

บรรยากาศของการจับจ่ายสินค้าที่ผ่อนคลาย โอ่โถง<br />

สะดวกสบาย และดูหรูหรายิ่งขึ้น<br />

ด้วยพื้นที่ใช้สอยรวมทั้งหมดกว่า38,800 ตารางเมตร<br />

(ไม่รวมพื้นที่หลังคา) บนพื้นที่ดินกว่า 60 ไร่ อัตราส่วน<br />

ของพื้นที่ว่างต่อพื้นที่ดิน(Open Space Ratio) ร้อยละ 35<br />

โครงการประกอบด้วยส่วนประกอบหลักคือ ร้านค้าปลอด-<br />

ภาษี 11,500 ตารางเมตร ภัตตาคาร 1,500 ที่นั่ง คลัง-<br />

ทัณฑ์บน (คลังสินค้าซึ่งใช้เป็นที่ตรวจของและเก็บรักษา<br />

ของที่นาเข้าโดยให้สิทธิประโยชน์แก่ผู้ส่งออกให้ได้รับการ<br />

งดเว้นการเก็บอากรขาเข้าและขาออกแก่ของที่นาเข้ามา<br />

จากต่างประเทศ และเก็บในคลังสินค้าทัณฑ์บนเพื่อส่ง<br />

ออกไปยังนอกประเทศ) สานักงาน และลานจอดรถบัส<br />

ขนาดใหญ่สาหรับรองรับกลุ่มลูกค้านักท่องเที่ยวที่เป็น<br />

ลูกค้าหลักของโครงการ<br />

แนวคิดของการออกแบบมีแกนหลักอยู่ที่การสร้าง<br />

สัมผัสแบบเอเชียตะวันออก ผู้ออกแบบกล่าวว่า “ตั้งใจที่<br />

จะนา motif ที่คุ้นเคยของภูมิภาคแถบนี้มาประยุกต์ใช้<br />

เพื่อให้กลุ่มลูกค้าเป้าหมายที่เป็นชาวเอเชียที่มาใช้สอย<br />

โครงการได้รับรู้กลิ่นอายวัฒนธรรมแบบเอเชียตะวันออก”<br />

โดยมีกลุ่มเสากลมสีทองและเงินกระจายตัวอยู่รอบบริเวณ<br />

โถงทางเข้าด้านหน้า ร่วมกับผนังอาคารที่ใช้ลวดลายพื้นผิว<br />

ของเครื่องจักสานแนวทแยงสีทอง รวมถึง ‘Crown’ บน<br />

ระดับชั้นหลังคาที่มีความสูงถึง 23 เมตร และมีรูปลักษณ์<br />

เหมือนตะกร้าสีทองขนาดใหญ่ ทาให้ approach ทางเข้า<br />

ของอาคารมีความชัดเจน และตัดกับความราบเรียบของ<br />

บริบทโดยรอบทาให้เป็นที่สังเกตได้จากระยะไกล<br />

The King Power Srivaree complex project in<br />

Srivareenoi Sub-district, Bangpli District, Samut Prakan,<br />

was designed by Architects 49 Ltd. It is King Power<br />

International Limited’s third duty-free complex project in<br />

the city, following the opening of the duty-free complex<br />

Rangnam in 20<strong>05</strong> and Pattaya branch in 2011. In 2012,<br />

the company wanted to expand and open another branch<br />

in the city so as to accommodate the rapidly increasing<br />

number of Chinese tourists and reduce congestion for<br />

customers in the duty-free complex Rangnam, which is<br />

rather crowded every day due to large numbers of tourists.<br />

The Project is located near Suvarnabhumi Airport for<br />

the travel convenience of customers and aims to offer<br />

a more luxurious, comfortable and relaxing ambience<br />

for shopping.<br />

With 38,800 square meters of working space<br />

(excluding the roof space) on a 60-rai plot of land (approximately<br />

24 acres), the open space ratio is 35 percent.<br />

The complex consists of duty-free shops occupying<br />

10,000 square meters, a 1,400-seat restaurant, a bonded<br />

warehouse (a warehouse to store and secure duty-free<br />

imported goods that will be re-exported), offices and<br />

a large coach park to accommodate the increasingly<br />

large number of tourists who are the main customers<br />

of the complex.<br />

The concept of the building was designed to create<br />

an East Asian touch and the architect described that<br />

he “intended to apply a motif pattern that was familiar<br />

to the region into the design in order to allow for the<br />

primarily Asian target customers to feel the vibe of<br />

the East Asian culture.” Gold and silver-colored round<br />

columns are spread around the entrance hall area and<br />

complemented by a golden crisscrossed wickerwork<br />

motif wall, as well as a ‘Crown’ on the roof level of the<br />

23-metre tall space creating a structure not unlike a<br />

large golden basket in appearance. The design causes<br />

the entrance of the building to stand out clearly from its<br />

plain surroundings and can be easily seen from far away.<br />

The entrance hall was designed to be almost 10<br />

meters in height and features an exterior wall with a<br />

12-metre high glass window that reveals movements<br />

inside. The architect described that, “the area outside<br />

the entrance hall was surrounded by a line of golden<br />

columns meant to resemble a bamboo grove and, in<br />

the entrance area in front of the building, the Chinese<br />

wickerwork pattern was applied on the wall to filter out<br />

sunlight as well as create a sense of identity for the<br />

complex. The pattern was repeated at the ‘Crown’ on<br />

the top of the building which is designed in the form of<br />

a lantern and further serves as a landmark for the complex.<br />

Under the ‘Crown’ sits a court area with a Gurjan<br />

tree and tropical ground cover of plants creating a lush<br />

and inviting atmosphere.<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 45


โถงทางเข้าถูกออกแบบให้มีความสูงเกือบ 10 เมตร<br />

ผนังภายนอกเป็นบานกระจกสูง 12 เมตร เพื่อเปิดให้เห็น<br />

ความเคลื่อนไหวของกิจกรรมภายใน ผู้ออกแบบกล่าวว่า<br />

“พื้นที่ด้านนอกโถงทางเข้าโอบล้อมด้วยแนวเสาสีทองที่<br />

สื่อถึงแนวทิวไผ่ และผนังบริเวณทางเข้าด้านหน้าอาคาร<br />

ได้มีการนาลายเครื่องจักสานมาประยุกต์ใช้เป็นผนังที่ใช้<br />

กรองแสงแดด และเป็นเอกลักษณ์ให้กับโครงการไปในตัว<br />

ทั้งนี้ลวดลายดังกล่าวยังได้ถูกนาไปใช้ที่ ‘Crown’ ของ<br />

ยอดอาคารที่ออกแบบเป็นเหมือนโคมไฟ เพื่อทาหน้าที่<br />

เป็นเหมือนจุดหมายตาให้กับคนที่เดินทางมาที่โครงการ<br />

ใต้ ‘Crown’ นี้เป็นพื้นที่คอร์ทต้นยางนาและพันธ์ุไม้คลุม<br />

ดินแบบเขตร้อนชื้น ซึ่งทาหน้าที่ช่วยรับแสงธรรมชาติ<br />

เข้ามาสู่พื้นที่โถงภายใน สร้างบรรยากาศที่เชื้อเชิญและ<br />

เขียวร่มรื่นสบายตา”<br />

เนื่องจากกลุ่มลูกค้าหลักคือลูกค้าชาวจีนที่มาเป็น<br />

กลุ่มใหญ่ ขนาดของทางเดินภายในโครงการจึงมีความ<br />

กว้างขวางมากเป็นพิเศษ ตาแหน่งของแบรนด์เครื่องส าอาง<br />

ที่ได้รับความนิยมสูงสุดจากลูกค้าชาวจีนถูกจัดวางอย่าง<br />

ตั้งใจให้อยู่ลึกเข้าไปภายในสักเล็กน้อย เพื่อให้บรรยากาศ<br />

ดูเรียบร้อย และไม่ให้ภาพของการจับจ่ายใช้สอยที่อลหม่าน<br />

ทาให้บรรยากาศของการจับจ่ายที่หรูหราและน่าผ่อน-<br />

คลายเสียไป ในขณะเดียวกันแผนกเครื่องสาอางซึ่งเป็น<br />

แผนกที่ลูกค้าจับจ่ายได้ง่าย ถูกนามาวางอยู่ในโซนแรก<br />

เมื่อนับจากโถงทางเข้า เพื่อกระตุ้นให้ลูกค้าสามารถซื้อ<br />

เครื่องสาอางได้เลยในทันทีเพื่อสร้างบรรยากาศการซื้อ<br />

ขายที่คึกคักกาลังดี จากนั้นเมื่อเดินต่อไปจะเข้าสู่โซน<br />

แฟชั่น กระเป๋า เสื้อผ้า นาฬิกา ไปจนถึงอาหาร เครื่องดื่ม<br />

และของที่ระลึกต่างๆ ซึ่งการออกแบบตกแต่งภายใน<br />

ในแต่ละโซนนั้นมีลักษณะของการสื่อความหมายผ่าน<br />

สัญลักษณ์แบบตรงไปตรงมาเพื่อให้ลูกค้าสามารถมีจุด<br />

หมายตาและรับรู้ประเภทสินค้าได้อย่างรวดเร็วจากการ<br />

เดินจับจ่าย เช่น ส่วนเสื้อผ้ากีฬาตกแต่งพื้นเป็นลู่วิ่งส่วน<br />

ชุดชั้นในตกแต่งฝ้าเพดานคล้ายรูปดอกกุหลาบ หรือ<br />

ส่วนของที่ระลึกจากประเทศไทยตกแต่งฝ้าเพดานด้วย<br />

ลวดลายเรขาคณิตแบบไทยๆ เป็นต้น ลักษณะทางเดิน<br />

เป็นแบบทางเดียวที่ไม่ซับซ้อน ลูกค้าสามารถเดินไป<br />

กลับเพื่อเลือกซื้อของได้อย่างไม่หลงทาง<br />

กระบวนการก่อสร้างอาคารนับว่ามีความพิเศษ<br />

เนื่องจากใช้เวลาก่อสร้างเพียง 9 เดือนครึ่งเท่านั้น ซึ่ง<br />

นับว่ารวดเร็วทีเดียวเมื่อเทียบกับพื้นที่ใช้สอยขนาดใหญ่<br />

ระบบการก่อสร้างถูกกาหนดให้เป็นแบบ Fast-Track<br />

เช่นเดียวกับที่ร้านค้าปลอดภาษีสาขาพัทยา โครงสร้าง<br />

เป็นระบบเสา-คานสาเร็จรูป พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก<br />

หลังคาโครงสร้างเหล็กช่วงกว้างและคอนกรีตเสริมเหล็ก<br />

ระบบผนังคอนกรีตสาเร็จรูปทั้งภายนอกและภายใน<br />

ในการออกแบบได้คานึงถึงการใช้ระบบพิกัดทั้งในการวาง<br />

ระบบโครงสร้างและระยะวัสดุต่างๆ เพื่อให้สอดคล้องกับ<br />

การใช้ระบบชิ้นส่วนส าเร็จรูปให้มากที่สุดทาให้สามารถลด<br />

ระยะเวลาในการก่อสร้างได้และเปิดดาเนินการได้ทันตาม<br />

กาหนดการ<br />

46 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


02 พื้นที่คอร์ทต้นยางนาและ<br />

พันธ์ไม้คลุมดินแบบเขตร้อนชื้น<br />

ช่วยรับแสงธรรมชาติสู่พื้นที่<br />

โถงภายใน<br />

03 พื้นที่คาเฟ่ข้างคอร์ทภายใน<br />

5<br />

2 3<br />

4<br />

1<br />

SITE PLAN<br />

1 Parking<br />

2 Restaurant<br />

3 Duty Free<br />

4 Lobby<br />

5 Quarantined<br />

Storage<br />

Restaurant<br />

Duty Free<br />

Lobby<br />

Quarantined Storage<br />

5 M<br />

02 03<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 47


ELEVATION<br />

1 M<br />

ELEVATION<br />

1 M<br />

48 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


<strong>05</strong><br />

04<br />

04 โถงทางเข้ามีความโปร่งโล่ง<br />

และสว่าง<br />

<strong>05</strong> มุมมองที่มองจากคอร์ท<br />

ภายในขึ้นสู่ด้านบน<br />

The main customers who tend to visit the shop in<br />

large groups are Chinese and, for this reason, the walkway<br />

inside the complex is especially wide. The most<br />

popular cosmetic brands are intentionally positioned<br />

a bit inside the space in order to retain the ambience<br />

and avoid chaotic shopping scenes that may destroy<br />

the luxurious and relaxed quality of the environment.<br />

At the same time, cosmetics are something that are<br />

easy to buy, so the cosmetics section is therefore<br />

located in the first zone from the entrance hall. This<br />

placement encourages customers to buy and creates<br />

a proper bustling atmosphere. Further on are zones<br />

for fashion, bags, clothes, and watches, followed by<br />

the zones for food, drink and souvenirs. The interior<br />

design of each zone is a straightforward indication of<br />

the types of products offered within the zone, making<br />

it easy for customers to identify the types of goods<br />

offered in each zone. This planning also makes it easy<br />

for customers to shop; i.e. the sports fashion area is<br />

designed to look like a running track, in the underwear<br />

section the ceiling is decorated like a rose, and in the<br />

Thai souvenir section the ceiling is decorated with a<br />

simple Thai geometric pattern. The walkway is one way<br />

and is not complicated so customers can easily walk<br />

back and forth without getting lost.<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 49


06<br />

07<br />

The building process was extraordinarily fast, as it<br />

took only nine and a half months to complete the construction<br />

which is a very quick timeframe for such a huge<br />

project. The Fast-Track building system was specified<br />

like the one used for the duty-free complex in the Pattaya<br />

branch and utilized prefabricated structural beams and<br />

columns, a reinforced concrete floor, long span steel<br />

roof with reinforced concrete and precast concrete wall<br />

system for both the interior and exterior walls. The design<br />

takes into account the coordinated system in terms of<br />

both the structural and material space, in order to coordinate<br />

the prefabricated and precast components as<br />

much as possible so as to reduce building time and allow<br />

for the project to open as scheduled.<br />

06 การตกแต่งภายในสอดคล้อง<br />

กับสินค้าที่ขายแต่ละแผนก<br />

07 บรรยากาศภายนอกอาคาร<br />

ยามค่ำาคืน<br />

ผศ.ดร.สุพิชชา โตวิวิชญ์<br />

อาจารย์ประจำาคณะสถาปัตยกรรม-<br />

ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และ<br />

Editor-in-Chief วารสารอาษา<br />

50 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


TEXT<br />

Warut Duangkaewkart<br />

MK-CK5<br />

PHOTOS<br />

Spaceshift Studio<br />

SAMUT PRAKAN<br />

AGALIGO STUDIO<br />

52 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


ARCHITECT<br />

Agaligo Studio<br />

MEMBER ID<br />

03523<br />

INTERIOR DESIGNER<br />

Storage Studio<br />

LANDSCAPE ARCHITECT<br />

OpenBox<br />

LIGHTING DESIGN<br />

Studio Accent<br />

GRAPHIC DESIGN<br />

Work In Bangkok<br />

ENGINEERING<br />

EEC-IE, A+ Consultants<br />

BUILDING AREA<br />

3,023 sq.m.<br />

YEAR<br />

2013<br />

01<br />

ไม่ว่าจะเป็นเพลงโฆษณาต่างๆ การบริการ หรือการ<br />

เต้นให้ลูกค้าดูนั้น สิ่งเหล่านี้น่าจะบ่งบอกถึงความจริงใจ<br />

และเอาใจใส่ของร้าน MK Restaurant ได้เป็นอย่างดี กว่า<br />

30 ปี ที่แบรนด์นี้ได้เติบโตมาและสร้างภาพลักษณ์ในการ<br />

ส่งต่อความสุขผ่านทั้งการโฆษณาและบริการ ซึ่งถือว่าเป็น<br />

เป้าหมายหลักของแบรนด์ จากการขยายกิจการกว่า 400<br />

สาขาในประเทศและต่างประเทศ และอีกหนึ่งจุดเปลี่ยน<br />

สาคัญคือการเปลี่ยนเป็นบริษัทมหาชนที่ท าให้ธุรกิจขยาย-<br />

ตัวมากขึ้นจนเป็นที่มาของโครงการ Mk-Ck5 (MK Central<br />

Kitchen 5) ครัวกลางที่ 5 สาหรับเตรียมวัตถุดิบเพื่อที่จะ<br />

กระจายสินค้าไปยังสาขาต่างๆ ที่ร่วมทางานกับ Agaligo<br />

Studio ในการสร้างโครงการนี้ขึ้นมา<br />

Mk-Ck5 ตั้งอยู่บน ถนนบางนา-ตราด ซึ่งในที่ดินเดิม<br />

นั้นมีโกดังเก่าอยู่แล้วเพื่อที่จะรีโนเวทเป็นโรงงานผลิต<br />

อาหารและมีความต้องการที่จะสร้างสานักงานเพิ่มเติม<br />

อีกหนึ่งหลัง “ในตอนแรกนั้นความตั้งใจของเจ้าของ<br />

โครงการคือการนาโกดังเดิมในพื้นที่มาปรับเปลี่ยนเป็น<br />

ครัวกลางแห่งใหม่ และต้องการสร้างออฟฟิศขึ้นมาอีก<br />

อาคารหนึ่ง โดยที่ต้องการให้อาคารหลังนี้แสดงถึงวิสัย-<br />

ทัศน์และมุมมองในการทาธุรกิจของเขา แสดงออกถึง<br />

ความเป็นแบรด์ของ MK ให้ได้มากที่สุด” ศิษฏ์ และ<br />

ปรีชญา ธีระโกเมน ผู้ก่อตั้ง Agaligo Studio บอกเล่า<br />

ให้ฟังถึงจุดเริ่มต้นของโครงการ โครงการนี้จึงประกอบ<br />

ด้วยอาคารสองหลัง คือโรงงานผลิตอาหารและอาคาร<br />

สานักงาน โดยที่เดิมทีนั้นยังไม่มีการใช้งานที่ชัดเจน<br />

หลังจากผู้ออกแบบเดินชมโรงงาน จึงเสนอให้อาคารหลังนี้<br />

ทาหน้าที่เป็นเสมือนพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต ซึ่งเหมาะสมกับ<br />

การที่ธุรกิจของแบรนด์นั้นขยายตัวออกไปและต้องมี<br />

การพาลูกค้า ผู้ร่วมลงทุน ตลอดจนผู้ที่สนใจต่างๆ ที่<br />

ต้องการมาดูการทางานภายในโรงงานผลิตอาหารแห่งนี้<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 53


With jingle after jingle, service to the complimentary<br />

dance routines by the staff, these things reflect the level<br />

of caring and attentiveness MK Restaurant has proven to<br />

its patrons over the past three decades. The brand has<br />

grown and upheld its image as a family restaurant that<br />

passes on happiness to its clients as we have all seen in<br />

commercials and through our personal experiences with<br />

its service, which has become the brand’s main objective.<br />

From the expansion to over 400 branches nationwide and<br />

internationally, another turning point of MK arrived when<br />

the brand officially went public, leading to the substantial<br />

growth of the corporation that brought about the birth of<br />

Ck5 (MK Central Kitchen 5) where ingredients are prepared<br />

before they are distributed to other branches. MK worked together<br />

with Agaligo Studio in the development of this project.<br />

Mk-Ck5 is located on Bangna-Trat road. The land was<br />

originally occupied by an old warehouse, which was later<br />

renovated into MK’s new central kitchen with the additional<br />

requirement of a new office building. The new structure<br />

hoped to be a representation of the brand’s vision and<br />

business as well as MK’s identity. Sitt and Preechaya<br />

Therakomen, the founders of Agaligo Studio discussed<br />

the beginning of the project and how the warehouse and<br />

office building weren’t exactly given any definite functionality.<br />

After the designers looked around the factory,<br />

the proposed idea was for the space to function as a living<br />

museum, which complemented the brand’s expanding<br />

business where clients, co-investors and other interested<br />

parties could visit and see MK’s business operations.<br />

01 การจัดวางกลุ่มก้อนอาคารได้<br />

แรงบันดาลใจมาจากถาดอาหาร<br />

02 บ่อน้ำาด้านหน้าอาคารถูกจัด-<br />

วางด้วยกระเบื้องหกเหลี่ยมหลาก<br />

สีที่ดัดแปลงมาจากรูปหม้อสุกี้<br />

54 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


5<br />

4<br />

2<br />

1<br />

3<br />

6<br />

7<br />

2 M<br />

2 M<br />

MASTER PLAN<br />

1 Entrance Hall<br />

2 Exhibition Hall<br />

3 Office<br />

4 Plaza<br />

5 Central Kitchen<br />

6 Drop-Off<br />

7 Featured Pool<br />

02<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 55


ด้วยความที่เป็นการสร้างอาคารเพื่อให้แสดงออกถึง<br />

ภาพลักษณ์ของแบรนด์นั้น สิ่งที่ผู้ออกแบบคานึงถึงคือ<br />

“เราเริ่มจากการศึกษาในตัวองค์กรก่อนว่าภาพลักษณ์ของ<br />

MK นั้นเป็นอย่างไร จากการศึกษาประวัติหรือคุยกับทาง<br />

เจ้าของบริษัท เราจึงได้รู้ว่าถาดหรือคอนโดใส่อาหารที่<br />

เราพบเห็นในร้านอาหารต่างๆ นั้น MK เป็นเจ้าแรกที่เริ่ม<br />

ใช้ถาดลักษณะนี้ เราจึงนาจุดนี้มาพัฒนาต่อและนามาใช้<br />

ในเชิงสัญลักษณ์ ซึ่งทั้งอาคารจะแบ่งออกเป็นห้าถาดแยก<br />

ตามการใช้งาน และนาแต่ละถาดนั้นมาจัดวางองค์ประกอบ<br />

ให้มีความเหมาะสมและน่าสนใจ ส่วนสีแดงที่เราใช้กับ<br />

อาคารนั้นเราพยายามเลือกโทนที่ใกล้เคียงกับถาดที่ใช้<br />

ในร้าน MK มากที่สุด เป็นสีแดงที่หม่นๆ หน่อย ซึ่งก็ผ่าน<br />

การคิดมาตั้งแต่ที่เขาเลือกใช้มาแล้วว่าถาดใส่อาหารควร<br />

จะเป็นสีนี้ เพื่อให้อาหารดูน่าทานมากขึ้น” ศิษฏ์ และ<br />

ปรีชญา บอกเล่าถึงไอเดียต่างๆ ที่ได้หยิบจับมาใช้ในงาน<br />

ออกแบบ ซึ่งไม่ได้นามาใช้กับตัวอาคารเท่านั้น ยังรวมถึง<br />

การสัญจรของรถที่เข้ามาขนถ่ายสินค้าต่างๆมีการใช้สีจาก<br />

ภาชนะของ MK เข้ามาแสดงเป็นลูกศรบนถนน ช่วยใน<br />

การกาหนดทางสัญจรของรถที่เข้ามาใช้งานต่างกัน ซึ่งมี<br />

ความแตกต่างจากพื้นที่ภายในที่เน้นใช้สีขาวที่เรียบง่าย<br />

ในการออกแบบและแสดงถึงความสะอาดของอาคารหลังนี้<br />

และสร้างลูกเล่นแบบเรียบง่ายโดยสร้างผนังตามรูปทรง<br />

ของถาดหรือให้ผนังกระจกนั้นมีความขุ่นไม่เท่ากันไล่ความ<br />

เข้มอ่อนเสมือนลักษณะของไอน้าที่ลอยออกมาจากหม้อ<br />

ฟังก์ชั่นหลักของอาคารสานักงานถูกแบ่งออกเป็นสอง<br />

ส่วนคือ สานักงานที่ประสานร่วมกับโรงงานผลิตอาหารและ<br />

พื้นที่ในการต้อนรับผู้เข้าชมที่จะมาเตรียมตัวในด้านต่างๆ<br />

ก่อนที่เข้าชมโรงงาน โดยในชั้นหนึ่งเป็นส่วนของออฟฟิศ<br />

ที่จะทางานร่วมกับฝ่ายผลิตในโรงงานและโถงนิทรรศการ<br />

ในส่วนของชั้นสองมีห้องประชุมขนาดใหญ่ ห้องประชุม<br />

ขนาดเล็กและห้องสมุด รวมถึงเป็นบริเวณสาหรับเตรียม<br />

ความพร้อมของผู้เข้าชมโรงงาน ซึ่งประกอบด้วยโซนเปลี่ยน<br />

รองเท้า เปลี่ยนเครื่องแต่งกายและโซนทาความสะอาด<br />

ฆ่าเชื้อ ก่อนที่จะเชื่อมไปสู่โรงงานที่ตั้งอยู่ด้านหลังต่อไป<br />

และชั้นบนสุดของอาคารเป็นห้องเรียนขนาดใหญ่ ซึ่ง<br />

เตรียมไว้สาหรับจัดการอบรมให้กับพนักงานได้ โดยทั้ง<br />

สามชั้นถูกเชื่อมด้วยโถงบันไดที่ผู้ออกแบบได้นาฝาของ<br />

หม้อสุกี้ที่ไม่ได้ใช้งานแล้วนั้นมาสร้างเป็นฉากกั้นระหว่าง<br />

โถงบันไดกับทางเดิน<br />

03 โถงบันไดภายในอาคาร<br />

สำานักงานที่นำาฝาหม้อสุกี้เก่ามา<br />

ใช้เป็นผนังแบ่งพื้นที่<br />

04 ห้องประชุมใช้ผนังกระจกฝ้า<br />

ที่มีความเป็นส่วนตัวและเปิดโล่ง<br />

ในเวลาเดียวกัน<br />

<strong>05</strong> พื้นที่เตรียมพร้อมและเปลี่ยน<br />

เครื่องแต่งกายสำาหรับผู้เข้าชม<br />

โรงงาน<br />

56 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


04<br />

03<br />

<strong>05</strong><br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 57


06<br />

เรื่องของสีสันยังถูกน ามาใช้ต่อในงานของ Landscape<br />

Design ที่ได้ทางานร่วมกับ OpenBox ซึ่งถือว่าเป็นส่วน<br />

สาคัญที่ทาให้โครงการน่าสนใจมากขึ้น สระน้าหน้าอาคาร<br />

ที่ถูกออกแบบเพื่อรองรับวงเลี้ยวของรถบรรทุกขนาดใหญ่<br />

ถูกเปลี่ยนให้เป็นเสมือนหม้อสุกี้ที่ตั้งอยู่กลางโต๊ะ โดย<br />

ผู้ออกแบบได้นาภาพของหม้อสุกี้มาแสดงออกในเชิงกราฟิก<br />

ผ่านกระเบื้องหกเหลี่ยมหลากสีที่มองผ่านๆ อาจจะไม่รู้ว่า<br />

เป็นภาพอะไร แต่แสดงออกถึงความสนุกสนานในทิศทาง<br />

เดียวกับที่แบรนด์ต้องการเช่นเดียวกับลานพักผ่อนระหว่าง<br />

ตึก ที่นาเก้าอี้หินมาจัดวางและเล่นกับลวดลายของพื้นให้<br />

เสมือนลูกชิ้นที่ลอยอยู่ในหม้อสุกี้ ซึ่งเข้ามาทาให้มุมมอง<br />

จากภายนอกอาคารมีความน่าสนใจมากขึ้น และเนื่องด้วย<br />

การขนถ่ายสินค้าและการเข้าชมโรงงานนั้น จะเกิดขึ้นใน<br />

ช่วงกลางคืนเป็นหลัก การออกแบบแสงสว่างให้กับตัวอาคาร<br />

จึงเป็นอีกหนึ่งเรื่องที่มีความสาคัญ ผู้ออกแบบต้องการให้<br />

ตัวอาคารนั้นมีความโดดเด่นในตอนกลางคืนจึงได้ออกแบบ<br />

แสงสว่างทั้งภายในและภายนอกอย่างเหมาะสมในการมอง<br />

เห็นรายละเอียดของอาคารทั้งหมด<br />

ผู้ออกแบบกล่าวว่าภาพลักษณ์ของ MK นั้นมีความ<br />

ชัดเจนอยู่แล้วAgaligo Studio ทาหน้าที่หยิบจับและต่อยอด<br />

นามาออกแบบ อย่างไรก็ตามสิ่งที่ยากที่สุดในการออกแบบ<br />

corperate identity ไม่ใช่การคิดเพื่อสร้างภาพลักษณ์ให้<br />

ชัดเจนที่สุดเพียงอย่างเดียว แต่หากเป็นการหาจุดร่วม<br />

ของมุมมองที่ต่างกันของเชิงธุรกิจและการออกแบบ<br />

เพื่อให้ได้รูปแบบทางสถาปัตยกรรมที่เหมาะสมและมี<br />

ประสิทธิภาพ<br />

<strong>58</strong> <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


With the task requiring the architects to design<br />

buildings that embodied the brand’s identity, one of the<br />

priorities was “studying the brand through its history<br />

and conversations with the owner. We later found out<br />

that MK was the first in the business to ever use stackable<br />

trays, so we used that symbolically as a part of<br />

the designs conceptual development. We divided the<br />

building into 5 layers of the stack, each with different<br />

functionalities. The trays were put together in an interesting<br />

and practical composition. The rather dark tone<br />

of red we choose for the buildings is intended to be as<br />

similar as possible to the red color of the trays used at<br />

MK’s restaurants. The color was actually chosen because<br />

it’s the most suitable color that complements the appetizing<br />

quality of the food,” described Sitt and Preechaya<br />

regarding the ideas they had picked up on and incorporated<br />

into the design that encompasses not only the<br />

architecture but also the signage used for internal roadways.<br />

The interior, however, was designed using white<br />

color tones, reflecting both the simplicity and hygienic<br />

quality of the building. A simple gimmick of geometric<br />

forms inspired by the shapes of the tray can be found<br />

at the walls while the transparency of the glass wall that<br />

ranges from translucent to transparent is reminiscent<br />

of the steam coming out from MK’s sukiyaki pot.<br />

06 พื้นที่อเนกประสงค์เชื่อมโยง<br />

ระหว่างอาคารสำานักงานและโกดัง<br />

07 มุมมองภายนอกอาคารและ<br />

เส้นทางสัญจรของรถขนส่งที่<br />

ถูกแบ่งแยกด้วยสีต่างๆ ของ<br />

เส้นลูกศร<br />

The main functionality of the building is comprised<br />

of the office and the area where visitors are welcomed<br />

as they prepare for a tour around the factory. The first<br />

floor hosts the office space whose operation is to collaborate<br />

with the production department in the factory<br />

and an exhibition hall while the second floor includes<br />

large and small meeting rooms and a library. A preparation<br />

area is also located here as factory’s visitors are<br />

required to change their shoes, clothes and go through<br />

the cleaning and sterilization process before accessing<br />

the factory zone situated to the back of the compound.<br />

The top floor accommodates a large classroom for<br />

employee training and a staircase connects all three<br />

floors together with partitions made of used pot lids<br />

separating the stairs from the walkway of each level.<br />

The collaboration with OpenBox for the project’s<br />

landscape architecture makes the project even more<br />

interesting, with the pool in front of the building being<br />

designed to look like a sukiyaki pot on a table and function<br />

as a roundabout for trucks to conveniently make<br />

U-turns. The image of the sukiyaki pot is expressed into<br />

a graphic piece made of a bunch of colorful hexagonal<br />

tiles, which may be abstract in terms of the visual format<br />

but convey MK’s upbeat energy interestingly. The<br />

recreational ground located between the buildings is<br />

decorated with a playful installation of stone chairs on<br />

the patterned floor that looks like a bunch of meatballs<br />

floating in a sukiyaki pot. All these elements collectively<br />

contribute their presence to the project’s overall<br />

appearance, especially when viewed from the outside.<br />

The loading of goods mostly takes place at night, the<br />

lighting design of the building being therefore crucial as<br />

the architects intend for the building to be beautifully<br />

distinctive even at night. Interior and exterior lighting<br />

are executed to enhance the building’s structural and<br />

decorative details.<br />

From the Agaligo Studio’s point of view, MK’s image is<br />

already strong, so their job is to pick up on the brand’s<br />

characteristics and use them in the design creatively.<br />

The most challenging thing for designing corporate<br />

identity is, however, not about coming up with the most<br />

outstanding image of the brand, but to find a mutual point<br />

of view between the commercial aspect and design<br />

in order to conceive the most suitable and effective<br />

architectural style and outcome.<br />

วรุตร์ ดวงแก้วกาศ<br />

จบการศึกษาจากคณะสถาปัตย-<br />

กรรมศาสตร์และการออกแบบ<br />

จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี<br />

พระจอมเกล้าธนบุรี ปัจจุบัน<br />

ศึกษาปริญญาโทสาขาทัศนศิลป์<br />

ที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่<br />

07<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 59


TEXT<br />

Xaroj Phrawong<br />

ZONIC<br />

PHOTOS<br />

Krisada Boonchaleow<br />

Wison Tungthunya &<br />

W Workspace<br />

VISION<br />

BANGKOK<br />

STU/D/O ARCHITECTS<br />

01<br />

60 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


เมื่อสถาปัตยกรรมได้ทาหน้าที่คุ้มแดดฝนเป็น 1 ใน<br />

ปัจจัย 4 ของมนุษย์แล้ว หน้าที่ของสถาปัตยกรรมถูกเพิ่ม<br />

เป็นผู้เสนอความงามของวิถีชีวิต บอกเรื่องราว คติความ<br />

เชื่อของสังคม ในบริบทที่ตัวเองถูกก่อรูปขึ้น เรื่องราวที่อยู่<br />

เบื้องหลังการก่อรูปถูกแปลความออกมาในองค์ประกอบทาง<br />

สถาปัตยกรรมต่างๆ ทั้งส่วนประดับและโครงสร้าง ในช่วง<br />

ศตวรรษที่ 20 โลกตะวันตกเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรม<br />

ก่อกาเนิดสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ซึ่งสุดท้ายก็ได้กลายเป็น<br />

สิ่ง ‘น่าเบื่อ’ ที่นาพาตัวเองไปสู่การล่มสลายในยุค 1970s<br />

ในที่สุดการต่อต้านสถาปัตยกรรมที่ไม่สื่อความหมายได้<br />

กลายเป็นแนวทางของสถาปัตยกรรมหลังสมัยใหม่ที่เต็มไป<br />

ด้วยความซับซ้อน ความขัดแย้ง ความรุ่มรวยด้านความหมาย<br />

ประเด็นเหล่านี้ทาให้สถาปัตยกรรมหลังสมัยใหม่ ต่างจาก<br />

งานของสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ที่มุ่งเน้นการตัดขาดจากอดีต<br />

การไม่แสดงตัวตนและความเป็นจักรกล และเมื่อกล่าวถึง<br />

การสื่อสารด้านแนวคิดทางสถาปัตยกรรมJames C. Snyder<br />

ได้เสนอผ่านหนังสือ Introduction to Architecture ว่า<br />

แนวความคิดในการออกแบบมีอยู่ด้วยกัน 5 รูปแบบดังนี้<br />

Programmatic Concepts, Essences, Ideals, Analogy<br />

และ Metaphor and Similes โดยสองรูปแบบสุดท้ายทั้ง<br />

Analogy และ Metaphor and Similes เป็นวิธีที่เราจะคุ้นเคย<br />

มากที่สุดเพราะง่ายต่อการรับรู้ แต่ต่างกันที่ Analogy จะ<br />

เน้นความเหมือนของสิ่งที่ต้องการสื่อสารในสถาปัตยกรรม<br />

และมักจะกลายเป็นการขยายสเกลของวัตถุต้นแบบอย่าง<br />

ตรงไปตรงมาจนบางครั้งถูกมองว่าเป็นงานที่ไม่มีรสนิยม<br />

ส่วนวิธี Metaphor and Similes หรืออุปมาและอุปมัย จะ<br />

เป็นการเปรียบเปรยความสัมพันธ์ของสิ่งที่ต้องการสื่อสาร<br />

ออกมาเป็นสถาปัตยกรรม แต่ความสัมพันธ์ของสิ่งที่อุปมา<br />

และอุปมัยจะออกมาในรูปแบบที่เป็นนามธรรมมากกว่าจะ<br />

ใช้วิธีหยิบยกมาอย่างตรงไปตรงมาหรือมีกลิ่นที่คล้ายกับสิ่ง<br />

ที่ยกขึ้นมา ที่กล่าวมาในข้างต้นนั้น เนื่องจากงานออกแบบ<br />

สานักงานของบริษัท โซนิค วิชั่น โดย สานักงาน Stu/D/O<br />

Architects มีความน่าสนใจของการพยายามจะสื่อสัญลักษณ์<br />

และความหมายในสถาปัตยกรรม<br />

Once upon a time, the function of architecture was<br />

to protect us from sunlight and rain. This was one of<br />

the four requisites for human beings. Then, another<br />

function was added – to provide aesthetics to lifestyle.<br />

This feature was shared with cultural attributes such<br />

as storytelling and societal beliefs which shaped the<br />

social context. The history behind architectural design<br />

was translated into two elements: decoration and structure.<br />

The 20th century saw the birth of modern architecture.<br />

This can be traced back to changes brought about<br />

by the industrial revolution during the nineteenth century<br />

in western countries. Eventually, so-called ‘modern’<br />

architecture lost its way and became ‘boring’ and more<br />

or less collapsed in the 1970s. Later, new concepts for<br />

post-modern architecture developed as a counter-movement<br />

and in opposition to ‘meaningless’ architecture.<br />

Hallmarks of post-modern architecture were complexity,<br />

conflict, and richness in multi-layered meanings. These<br />

aspects made post-modern architecture different from<br />

modern architecture that had preceded it. Modern architecture<br />

isolated itself from the past, characterless and<br />

machine-like. In his book, Introduction to Architecture<br />

James C. Snyder discusses architectural conceptual<br />

communication and states that there were five concepts<br />

in designing: Programmatic Concepts, Essences, Ideals,<br />

Analogy, and Metaphor and Similes. The concepts Analogy<br />

and Metaphor and Similes are the most familiar to us<br />

because they are easy to recognize. The difference is<br />

that Analogy emphasizes similarities of what we<br />

want to communicate architecturally. With this concept,<br />

we invariably end up enlarging the scale of the original<br />

subject; and that would be considered tasteless. Metaphor<br />

and Similes are a form of comparison, especially<br />

in relation to the subject desired to be communicated<br />

architecturally. But Metaphor and Similes are a more<br />

abstract and less obvious method. Metaphor and Similes<br />

more easily relate to the ‘vibe’ of that subject. The above<br />

is mentioned because the design of Stu/D/O Architects<br />

is somewhat interested in conveying symbol and meaning<br />

in architecture.<br />

ARCHITECT<br />

Stu/D/O Architects<br />

MEMBER ID<br />

08087<br />

INTERIOR DESIGNER<br />

Stu/D/O Architects<br />

LANDSCAPE DESIGNER<br />

Teerachai<br />

Tharawongthawat<br />

STRUCTURAL ENGINEER<br />

Ittipon Konjaisue<br />

SYSTEM ENGINEER<br />

MEE Consultants<br />

CONTRACTOR<br />

MKS Engineering<br />

BUILDING AREA<br />

2,200 sq.m.<br />

CONSTRUCTION COST<br />

55 Million Bath<br />

01 มุมมองหลักจากถนนนนทรี<br />

ในเวลากลางคืน แสงต่างระดับ<br />

จากรูปด้านช่วยเน้นให้แนวคิด<br />

ชัดเจนขึ้น<br />

3<br />

GROUND FLOOR<br />

01 Front Terrace<br />

02 Hall<br />

03 Parking<br />

2<br />

1<br />

NONSI NONSRI ROAD<br />

5 M<br />

วารสารอาษา<br />

01 FRONT TERRACE<br />

02 HALL<br />

03 PARKING<br />

1 10 30<br />

THEME <strong>ASA</strong> 61


ในย่านธุรกิจใหม่ไม่ไกลจากสะพานวงแหวนอุตสาหกรรม<br />

บนถนนนนทรี สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปไม่ได้มีเรื่องราว<br />

เชิงประวัติศาสตร์ในอดีตที่ชัดเจนบริษัท โซนิค วิชั่น ดาเนิน<br />

กิจการค้าขายอุปกรณ์จีพีเอสและเครื่องเสียงประกอบรถยนต์<br />

อาคารสานักงานของบริษัท โซนิค วิชั่น เป็นอาคารสานักงาน<br />

ที่มีรูปทรงเป็นกล่องสี่เหลี่ยมแต่มีจุดสนใจที่façade ด้าน<br />

หน้าที่เป็นกระจกฝ้าใสสลับกันไปมาราวกับต้องการสื่อสาร<br />

ถึงกิจกรรมภายในตัวอาคาร ทั้งในส่วนของสถาปัตยกรรม<br />

และสถาปัตยกรรมภายในออกแบบโดยสานักงาน Stu/D/O<br />

Architects โดยอภิชาติศรีโรจนภิญโญ และชนาสิต ชลศึกษ์<br />

สถาปนิกเลือกตีความโดยเริ่มจากโปรแกรมของกิจกรรม<br />

ภายในซึ่งเป็นสานักงานเกี่ยวกับ ‘เสียง’ โดยการเล่นกับ<br />

ชื่อสานักงาน ‘Zonic Vision’ ซึ่งสถาปนิกมองว่าเป็นการ<br />

เล่นคาที่หมายถึงคลื่นเสียงที่มองเห็นได้อภิชาติอธิบายถึง<br />

งานนี้ว่า “เมื่อนึกถึงการรับรู้ที่ทาให้คนมองเห็นเสียงเป็น<br />

ภาพนั้น ทาให้นึกถึง diagram ของ equalizer ที่ปกติเราเห็น<br />

ตามหน้าจอของเครื่องเสียงทั่วไป เป็นการทาให้คนฟังได้<br />

รับรู้ถึงความเข้มของเสียงผ่านการมองภาพเคลื่อนไหวที่<br />

ขึ้นลงไม่หยุดนิ่ง” แนวคิดที่สถาปนิกเลือกใช้เป็นการสร้าง<br />

แนวคิดแบบอุปมาและอุปมัย โดยอุปมาจากการทางานของ<br />

คลื่นเสียงในเครื่องเสียงที่แสดงค่าของเสียงต่างๆที่ผ่านมา<br />

จาก amplifier ออกมาเป็นกราฟิกที่ตัวปรับความสมดุลเสียง<br />

ที่เรียกว่า equalizer ซึ่งการแสดงผลของเสียงที่ออกมานั้น<br />

จะเป็นกราฟิกแสดงเป็นแท่งขึ้นลงในระดับต่างๆ กันไป<br />

ตามคลื่นความถี่ของแต่ละเฮิร์ซความเคลื่อนไหวของแต่ละ<br />

คลื่นเสียงที่มีระดับไม่เท่ากันได้อุปมัยกลายเป็นการสร้าง<br />

พื้นผิวด้านหน้าที่หันไปทางทิศตะวันตกสถาปนิกออกแบบ<br />

façade ส่วนนี้ให้เป็นผนัง 2 ชั้นมีช่องว่าง 0.80 เมตร<br />

ผนังชั้นในเป็นส่วนปกปิดการใช้สอยภายในที่ไม่ต้องการ<br />

แสงสว่างและรับความร้อนมากจึงกลายเป็นผนังทึบส่วนใหญ่<br />

ผนังด้านนอกเป็นกระจกที่แบ่งความเข้มจางด้วยกระจกสีขาว<br />

ขุ่น-ใสออกเป็น 3 ระดับตามการใช้สอยภายใน ส่วนที่<br />

กระจกมีความขุ่นมากที่สุดถูกใช้ปกปิดส่วนห้องเก็บสินค้า<br />

ส่วนที่ขุ่นรองลงมาจะปกปิดส่วนท างาน ส่วนที่ใช้กระจกใส<br />

จะเป็นพื้นที่แสดงสินค้าผลลัพธ์ของการใช้กระจกที่มีความ<br />

ขุ่นต่างๆ กันคละไปบน façade ด้านหน้าก่อเกิดความ<br />

เคลื่อนไหวคล้ายการทางานของ equalizer ที่หยุดนิ่งใน<br />

เวลาหนึ่ง การรับรู้ถึงระดับความขุ่น-ใสเข้ม-จางแบบกราฟิก<br />

ของ equalizer จะยิ่งชัดเจนเมื่อถึงเวลากลางคืนที่เปิดไฟ<br />

หลังผืนกระจกมากกว่าในเวลากลางวัน<br />

62 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


02 ภาพจากห้องพักผ่อนของ<br />

พนักงาน การเลือกใช้ต้นไม้ตรง<br />

กลางระเบียงช่วยสร้าง<br />

บรรยากาศให้กับสำานักงาน<br />

03 ภาพจากห้องประชุมสู่คอร์ท<br />

ชั้นบนสุด การเลือกใช้ต้นไม้กลาง-<br />

แจ้งกระจายในอาคารช่วยเพิ่ม<br />

การรับรู้ปรากฏการณ์ธรรมชาติ<br />

04 ไดอะแกรมและหุ่นจำาลอง<br />

แสดงกระบวนการทำางาน<br />

03<br />

02 04<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 63


<strong>05</strong> มุมมองจากชั้นลอยของชั้น 6<br />

การสร้างพื้นที่โล่งช่วยลดความ<br />

อึดอัดในสเปซของสำานักงาน<br />

พื้นที่การใช้สอยในชั้นที่5-6 สถาปนิกให้ความสาคัญ<br />

กับความต้องการของลูกค้าที่ต้องการให้การทางานเป็นไป<br />

อย่างมีความสุขด้วยการสร้างที่ว่างที่มีคุณภาพดีพื้นที่ว่าง<br />

ในชั้นที่5-6 ถูกออกแบบให้มีความเลื่อนไหลและเชื่อมโยง<br />

กันอย่างต่อเนื่องในหลายส่วน ทั้งการเชื่อมโยงกับที่ว่าง<br />

ภายนอก-กึ่งภายนอก-ภายใน เช่น ในส่วนของสวนที่มี<br />

การปลูกต้นไม้ที่บริเวณชั้น 5 สถาปนิกเลือกเปิดมุมมอง<br />

จากสวนเข้ามายัง double volume ที่ชั้น 5-6 เพื่อให้เกิด<br />

มุมมองที่ดีในเวลาทางานของคนส่วนใหญ่ในสานักงาน<br />

การเลือกเปิดเอามุมมองจากสวนที่เปิดสู่แม่น้าเจ้าพระยา<br />

ช่วยนาความเคลื่อนไหวจากภายนอกเข้ามากระตุ้นพื้นที่<br />

ภายในให้มีชีวิตชีวายิ่งขึ้น โดยสวนขนาดเล็กนี้ยังเป็นพื้นที่<br />

พักผ่อนให้กับพนักงานอีกด้วย นอกจากนี้สวนขนาดเล็ก<br />

อื่นๆ ได้ถูกเติมเข้าไปในหลายส่วน เช่น ห้องประชุมชั้น 6<br />

ทาให้ห้องนี้มีความน่าสนใจจากแสงเงาจากต้นน้าเต้าทุก<br />

ช่วงวัน หรือการเติมสวนที่บริเวณห้องน้าช่วยให้ไม่เกิด<br />

จุดอับแสงสว่างตามธรรมชาติ การปลูกต้นหมากบริเวณ<br />

ห้องน้าชายที่ชั้น 5 โดยให้ยอดต้นไม้ทะลุขึ้นไปยังชั้น 6<br />

ก่อเกิดมิติของแสงธรรมชาติสอดแทรกอยู่ในพื้นที่หลาย<br />

ส่วน นอกจากนี้การตีความอัตลักษณ์ร่วมของสินค้าไม่ได้<br />

จบแค่การตีความผ่านเปลือกภายนอก แต่ยังถูกทาให้มี<br />

เนื้อหาเดียวกันไปกับงานออกแบบกราฟิกโดยนักออกแบบ<br />

กราฟิกได้ตีความชื่อโซนิค วิชั่น ด้วยการแปลงตัวอักษร Z<br />

ที่มีเส้นเฉียงเป็นจุดเด่นและสีแดง-ดาจากโลโก้เดิมเข้ามา<br />

ประกอบในป้ายส่วนต่างๆ ในสานักงาน และใช้ในพื้นที่<br />

ต่างๆ ด้วยอย่างกลมกลืน<br />

64 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


FOURTH FLOOR<br />

5<br />

4<br />

3<br />

1 2<br />

5 M<br />

FIFTH FLOOR<br />

5TH FLOOR PLAN<br />

1 Hall And Meeting Room<br />

2 Marketing Dept<br />

3 Account Dept<br />

4 Executive Rooms<br />

5 Terrace<br />

1<br />

3<br />

<strong>05</strong><br />

4<br />

1 2<br />

5<br />

6TH FLOOR PLAN<br />

1 Meeting Room<br />

2 Landscape<br />

3 Sale Dept<br />

4 Sale Dept<br />

5 Manager Rooms<br />

SIXTH FLOOR<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 65


สาโรช พระวงค์<br />

สถ.บ.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี<br />

ราชมงคลธัญบุรี และ สถ.ม.<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร ปัจจุบันเป็น<br />

นักเขียนให้กับนิตยสารและเว็บไซต์<br />

ด้านการออกแบบ สถาปนิกอิสระ<br />

ทำางานประจำาเป็นอาจารย์และ<br />

รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา<br />

ของนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรม-<br />

ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี<br />

ราชมงคลธัญบุรี พร้อมกับเป็น<br />

อาจารย์พิเศษในสถาบันอื่นๆ<br />

06<br />

In the new business area on Nonsi Road, not so far<br />

from the industrial ring, the general surroundings had<br />

no historical background to the past. The Zonic Vision<br />

Company sells GPS devices and car audio systems.<br />

The office building of Zonic Vision was a box-like square<br />

shape albeit with an interesting façade comprising<br />

alternate layers of frosted and clear glass, as if the<br />

company desired to communicate their activities in the<br />

building. Both architecture and interior were designed<br />

by Apichart Srirojanapinyo and Chanasit Cholasuek of<br />

Stu/D/O Architects. The architect chose to interpret the<br />

company’s internal activity programs, which were about<br />

‘sound’ by playing with the name of the company<br />

‘Zonic Vision.’ The architect saw this as a play on words<br />

that meant visible sound waves. Mr. Apichart described<br />

that, “when thinking about the perception of how people<br />

saw sounds, it made me think of the diagram of an<br />

equalizer that we usually see on an audio screen indicating<br />

the intensity of sounds through an up and down<br />

motion.” The idea was used by the architect to create<br />

a concept through Metaphor and Simile, referencing<br />

the representation of sound waves showing different<br />

intensities of sounds being amplified into a graphic image<br />

on the sound-balance adjuster called an equalizer. The<br />

emitted sound was displayed in graphic form, as cords<br />

going up and down at different levels according to the<br />

frequency of each Hertz. The different movement levels<br />

of the sound waves became Similes in the creation of<br />

the west-facing façade. The architect designed this façade<br />

as a two-layered wall with a gap of 0.80 meters. The<br />

inner wall, which is mostly a solid wall, will cover the<br />

internal space and prevent unwanted light and heat from<br />

entering into the space. The exterior wall includes a<br />

window constructed in a combination of frosted and<br />

clear glass, with three levels of intensity shade based<br />

on internal living use. The most opaque glass was used<br />

to cover the storage room, the less opaque glass for<br />

06 สเปซภายในสำานักงานที่ชั้น 5<br />

อัตลักษณ์ของสถาปัตยกรรมได้<br />

ปรากฏยังภายในด้วยเช่นกัน<br />

the office area, and the clear glass was used for the<br />

showroom. The results of the mixed use of different<br />

patterns and shading of glass on the front façade created<br />

movements similar to the movement of an equalizer that<br />

is static. The perception of intensity shades similar to the<br />

graphic on the equalizer can be seen more clearly during<br />

night hours when the internal lights are switched on.<br />

For the working space on the 5th-6th floors, the<br />

architect catered to the needs of the client who wanted<br />

to generate a happy working office atmosphere by creating<br />

a high-quality workspace. The space on the 5 th -6 th floors<br />

was designed to be fluid and flowing, and several parts<br />

were linked to each other with an outside-in approach<br />

being used to link the outside and inside spaces. The<br />

architect created a double volume tree garden on the<br />

5th floor, opening up to the 5 th -6 th floors. This allowed<br />

for most of those in the office to be exposed to a great<br />

view of the garden that opens out to the Chao Phraya<br />

River while also bringing movement from the outside<br />

in to activate the space inside. The garden is also utilized<br />

for staff recreation. In addition, many small gardens<br />

were added in various spaces such as the meeting room<br />

on the 6th floor. This made the room to be fascinating,<br />

with light and shadow from the calabash tree reflecting<br />

in the space during the daytime. A garden was also added<br />

in the toilet area to bring in natural light. The reason for<br />

growing betel palm trees near the men’s room on the<br />

5 th floor was to allow for their tops to grow through the<br />

6 th floor and create a dimension of natural light that<br />

pushes through many parts of the space. Moreover,<br />

the interpretation of identity does not end simply at<br />

the outer shell, but the same content also goes into<br />

the graphic work. The graphic designer interpreted the<br />

name Zonic Vision by transforming the letter Z, with its<br />

bias line serving as its strong feature, and the red and<br />

black color from the original logo being added harmoniously<br />

to many parts of the office area.<br />

66 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


QTC ENERGY<br />

OFFICE<br />

BANGKOK<br />

TEXT<br />

Paphop Kerdsup<br />

PHOTOS<br />

Spaceshift Studio<br />

PLAN ASSOCIATES<br />

01<br />

68 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


ในช่วงสองสามปีที่ผ่านมานี้ พิษเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น<br />

ทั่วโลกส่งผลกระทบให้ตลาดการค้าและการผลิตของไทย<br />

มีการชะลอตัวลงไปพอสมควร แต่ถึงอย่างนั้นก็ปฏิเสธ<br />

ไม่ได้ว่าอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของบ้านเรา<br />

ยังคงเป็นหนึ่งในกลไกสาคัญที่ช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจ<br />

และสร้างรายได้ให้กับประเทศมาโดยตลอด แม้การแข่งขัน<br />

ทางการค้าดูจะยิ่งทวีความเข้มข้นและรุนแรงมากขึ้นทุกๆวัน<br />

ทั้งในระดับภูมิภาคและระดับนานาชาติแต่เพื่อที่จะยืนหยัด<br />

แข่งขันกับผู้อื่นบนเวทีโลกได้อย่างยั่งยืนนั้น องค์กรต่างๆ<br />

ต่างก็งัดเอาไม้เด็ดของตัวเองออกมาห้ าหั่นกันอย่างไม่ลดรา-<br />

วาศอกเลยทีเดียว ไม้เด็ดที่ว่ามีตั้งแต่การพัฒนาผลิตภัณฑ์<br />

ตัวใหม่ๆ ออกมา ไปจนถึงการปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้<br />

บริการที่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลายขึ้น การ<br />

ออกแบบและภาษาทางสถาปัตยกรรมเองกลายมาเป็น<br />

อีกหนึ่งตัวช่วยส าคัญที่ถูกน ามาใช้เพื่อถ่ายทอดภาพลักษณ์<br />

ในเชิงนามธรรมขององค์กร ให้เป็นที่เข้าใจได้ในเชิงกายภาพ<br />

มากขึ้น ดังเช่นที่บริษัท QTC Energy PCL ได้ใช้หลัก-<br />

การเดียวกันกับอาคารสานักงานใหม่ของตัวเอง เพื่อให้<br />

ทั้งผู้ใช้อาคารเองและผู้ที่สัญจรผ่านไปมาสามารถมองเห็น<br />

ภาพขององค์กรที่ตรงกันได้มากยิ่งขึ้น<br />

อาคารสานักงานบริษัท QTC Energy ตั้งอยู่ที่ซอย<br />

กรุงเทพกรีฑา 8 เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร บนพื้นที่<br />

ขนาด 1 ไร่ เป็นโครงการก่อสร้างสานักงานแห่งใหม่ของ<br />

บริษัท QTC Energy PCL ที่ต้องการขยับขยายส่วนประกอบ<br />

การธุรกิจออกมาจากพื้นที่เดิมที่ซ้อนทับอยู่กับส่วนโรงงาน<br />

ผลิตในจังหวัดชลบุรี โจทย์ที่ถูกตั้งขึ้นจากคณะผู้บริหาร<br />

ภายหลังการตัดสินใจรีแบรนด์ภาพลักษณ์และโครงสร้าง<br />

ขององค์กรชุดใหญ่ ที่เปลี่ยน QTC หรือ Quality Transformer<br />

Co., Ltd. จากการเป็นเพียงผู้ผลิตหม้อแปลงไฟฟ้า<br />

ทั่วไป มาเป็นผู้ประกอบการธุรกิจพลังงานแบบครบวงจร<br />

ในนาม QTC Energy PCL ที่ต้องการพื้นที่รับรองแขก<br />

จากต่างชาติในพื้นที่กรุงเทพมหานคร รวมถึงเพื่อให้เป็น<br />

สัญลักษณ์แทนภาพลักษณ์ใหม่แสดงถึงความทันสมัยและ<br />

สากลขึ้น<br />

Over the past few years, the current economic<br />

downturn across the globe has decelerated the trading<br />

and manufacturing market quite moderately. Nonetheless,<br />

it cannot be denied that the electrical and electronics<br />

industry has played an important role in driving economic<br />

growth and making income for this country. The market<br />

competition seems to be more and more intense, not<br />

only in this region but also in the international realm. In<br />

order to stand sustainably against the others on the<br />

global stage, many corporations have brought out their<br />

stratagems to incessantly fight with others, from the<br />

development and launching of new products to the<br />

readjustment of corporate services capable of reaching<br />

a much greater variety of targets. Language and elements<br />

of architecture have also become one of the protagonists<br />

in delivering an immaterial corporate identity that is more<br />

tangible to the public, similar to how QTC Energy PCL<br />

has allowed for the building’s users and the passersby<br />

to easily grasp the image of their corporation through<br />

its design.<br />

QTC Energy office is located on a 1-rai plot of land in<br />

the middle of Soi Krungthep Kreetha 8, Bangkapi, Bangkok.<br />

This new office building project of QTC Energy PCL has<br />

followed the needs and expansion of the business from<br />

its former administration area that was overlaid with<br />

the manufacturing plant in Chonburi. The propositions<br />

received from the building’s commissioners after the<br />

decision to rebrand the corporate identity and structure,<br />

which has changed QTC or Quality Transformer Co., Ltd<br />

from a general transformer manufacturer to an all-in-one<br />

energy entrepreneur in the name of QTC Energy PCL,<br />

include a space to host international business guests<br />

in Bangkok and also an icon that could refer to the new,<br />

more modern and universal corporate identity.<br />

“At the time when we firstly started this project,<br />

we aimed to make the building to reflect the corporate<br />

identity as an energy industry,” described Boonrit<br />

Kordilokrat, architect and project manager of Plan<br />

Associates, concerning the objectives of the project.<br />

Even if QTC Energy is just a small-sized office building,<br />

the concepts behind its creation are not small like its<br />

size, as they somehow cause us to question our own<br />

responsibilities to the society and environment.<br />

ARCHITECT<br />

PLAN ASSOCIATES<br />

MEMBER ID<br />

10079<br />

INTERIOR DESIGNER<br />

AUGUST DESIGN<br />

CONSULTANT<br />

LANDSCAPE DESIGNER<br />

PLAN ASSOCIATES<br />

STRUCTURAL ENGINEER<br />

PPL<br />

SYSTEM ENGINEER<br />

OPTIMUM CONSULTING<br />

CONTRACTOR<br />

CHO RUNGLERT GROUP<br />

BUILDING AREA<br />

1,200 sq.m.<br />

DURATION<br />

2011-2012<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 69


01 การผสมผสานของวัสดุอย่าง<br />

คอนกรีต เหล็ก อะลูมิเนียม และ<br />

กระจก<br />

02 canopy บริเวณทางเข้าหลัก<br />

“ตอนที่เราตั้งเป้าหมายของโปรเจ็คต์นี้ เราตั้งใจให้<br />

มันเป็นอาคารที่ต้องสามารถสะท้อนภาพของธุรกิจพลังงาน<br />

ออกมาได้” บุญฤทธิ์ขอดิลกรัตน์สถาปนิกและผู้อ านวยการ<br />

โครงการจาก Plan Associates บอกเล่าถึงเป้าหมายของ<br />

โครงการที่แม้อาคาร QTC Energy เป็นเพียงอาคาร<br />

สานักงานขนาดเล็ก แต่ทว่าแนวความคิดที่ถูกบรรจุอยู่<br />

ภายในกลับไม่ได้เล็กตามขนาดของอาคารเลย เพราะ<br />

มันชวนให้เรากลับมาตั้งคาถามถึงความรับผิดชอบที่เรา<br />

ควรมีต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมรอบตัว<br />

“จริงๆ คอนเซ็ปต์หลักของโปรเจ็คต์นี้มีอยู่ 3 เรื่องใหญ่ๆ<br />

ด้วยกัน อย่างแรกคือ Industrial Business ด้วยความที่<br />

ธุรกิจของ QTC Energy นั้นเป็นอุตสาหกรรม เพราะฉะนั้น<br />

อาคารเองจะต้องสะท้อนภาพลักษณ์ขององค์กรตรงนี้ออก-<br />

มาให้ได้ ในขณะเดียวกันองค์กรก็ทาเรื่องของพลังงาน<br />

Green Architecture เลยกลายมาเป็นคอนเซ็ปต์อย่างที่<br />

สองของอาคารหลังนี้ ส่วนสุดท้ายคือ Nature Awareness<br />

คือเวลาที่เราทาเรื่องพวกนี้แล้ว เรื่องของอุตสาหกรรมและ<br />

พลังงาน เราก็ต้องเข้าใจธรรมชาติเพื่อที่จะสร้างสมดุล<br />

ระหว่างเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบๆ ด้วย”<br />

บุญฤทธิ์แจกแจงถึงแนวความคิดเบื้องหลังโครงการที่<br />

ต้องการจะให้สถาปัตยกรรมสะท้อนกลับไปที่ภาพลักษณ์<br />

ขององค์กร<br />

“Actually, there are 3 main concepts behind this<br />

project,” explained Boonrit regarding the concepts behind<br />

the project that aims to reflect the corporate identity<br />

through architecture. “The first one is Industrial Business.<br />

Due to the business of QTC Energy being an industry,<br />

the building itself should reflect this corporate identity<br />

to the public. At the same time, this corporation also<br />

does business in energy, so this has led to the second<br />

concept of the office as a Green Architecture. The last<br />

one is Nature Awareness. While we are working on<br />

these things—on industry and energy—we have to<br />

understand the nature so that we will be able to find<br />

a balance between technology and the surrounding<br />

environment.”<br />

The planning of the building is derived accordingly<br />

from the three concepts that are organized in concentric<br />

circles. The outermost ring is Green Architecture, where<br />

selected trees are planted at a corresponding height<br />

to the building in order to create shade for the site and<br />

surroundings. Moreover, the trees also function as a<br />

screen that helps protect the site from sunlight, noise<br />

and other kinds of pollution. The latter ring is Nature<br />

Awareness. Due to the U-shape of the building and the<br />

way the garden was placed at the concave side, the<br />

architects were not only able to bring about a cool and<br />

pleasant atmosphere for the user inside, but also find<br />

means for the nature to be closer to the human beings<br />

so as to make them feel that nature and the environment<br />

are a part of their lives, provoking more tangible nature<br />

awareness in everyone who occupies the building.<br />

WEST ELEVATION<br />

70 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


02<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 71


72 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา<br />

03


“This bamboo garden is the heart of the building<br />

that you can see from wherever you are,” added Boonrit.<br />

“We want to create the environment that poses<br />

questions to the users about the difference between<br />

having and not having this garden. We want them to<br />

think about: if this nature were to no longer exist, how<br />

would they actually feel? And while it exists, is it good,<br />

or not?”<br />

With a building area of only 1,200 square meters,<br />

which is not that big, the organization of the interior<br />

space seems mainly to focus on simplicity and function.<br />

Circulation systems in the building are arranged to best<br />

fit into the usability of the inside. All vertical circulations—<br />

lifts and stairs—are placed at the main entrance in order<br />

to shorten the circulation of each floor. The 1 st floor<br />

includes a staff lounge, utility and maintenance room<br />

and 12 parking lots under the building that people can<br />

directly access through the garden that is blended together<br />

with the in-between space. The 2 nd and 3 rd floors consist<br />

of an administration area including various sizes of workspaces<br />

and meeting rooms set together with pantries<br />

and toilets on every floor. This QTC Energy office building<br />

has August Design Consultant as its interior designer<br />

who designed the interior space using elements and<br />

materials giving an industrial look and reflecting the<br />

identity of the corporation—the use of dark colored<br />

wallpaper also makes the space to feel deeper and more<br />

dimensional, while the use of metal sheet and glass as<br />

inside partitions leads to the harmony of both the exterior<br />

and interior architectural elements when looking in.<br />

04<br />

03 สวนไผ่บริเวณด้านหน้าอาคาร<br />

04 รายละเอียดการเลือกใช้วัสดุ<br />

ภายในอาคารบริเวณโถงลิฟต์<br />

2<br />

5<br />

6<br />

7<br />

8<br />

1<br />

2<br />

4<br />

3<br />

10<br />

9<br />

1ST FLOOR PLAN<br />

1 Main Entrance<br />

2 Parking<br />

3 Lift Hall<br />

4 Main Stair Hall<br />

5 Canteen<br />

6 Service<br />

7 Staff Room<br />

8 Meeting Room<br />

9 Stair Hall<br />

10 Garden<br />

1 st FLOOR PLAN<br />

5 M<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 73


การวางผังอาคารเป็นการนาแนวความคิดทั้งสามข้อ<br />

ข้างต้นมาจัดวางเป็นวงที่ล้อมเข้าไป จากวงนอกสุดที่เป็น<br />

Green Architecture ซึ่งคือการเลือกปลูกต้นไม้ที่สูงในระดับ<br />

เดียวกันกับความสูงของอาคารไว้โดยรอบที่ตั้ง เพื่อช่วย<br />

สร้างความร่มรื่นให้กับพื้นที่โดยรอบ พร้อมกันนั้น ต้นไม้<br />

ยังทาหน้าที่เป็นตัวช่วยกรองแสงแดด เสียง และมลภาวะ<br />

ต่างๆ ที่อยู่โดยรอบโครงการได้อีกด้วย วงถัดเข้ามาคือ<br />

Nature Awareness ด้วยความที่ผังอาคารมีลักษณะเป็น<br />

รูปตัวยูและมีการแทรกสวนไว้ตรงกลางในส่วนที่ถูกเว้า<br />

เข้ามา ทาให้ในส่วนนี้สถาปนิกนอกจากจะสามารถสร้าง<br />

ความร่มรื่นให้กับผู้ใช้งานภายในอาคารได้แล้ว ยังเป็น<br />

การดึงเอาธรรมชาติเข้ามาไว้ใกล้ชิดกับมนุษย์มากขึ้น<br />

ให้มนุษย์ได้รู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับสิ่งแวดล้อม<br />

ภายนอก เพื่อสร้างจิตสานึกทางธรรมชาติที่ผู้ใช้อาคาร<br />

ทุกคนสามารถจะรู้สึกและรับรู้ได้ตลอดเวลา<br />

“สวนไผ่ที่คุณเห็นนี้มันเป็นหัวใจหลักของอาคาร ที่<br />

ไม่ว่าจะมองจากตรงไหนก็จะเห็น เราต้องการที่จะสร้าง<br />

ความรู้สึกที่ว่า การมีกับไม่มีสวนนี้มันแตกต่างกันมาก<br />

เราอยากให้เขารู้สึกว่าถ้าไม่มีธรรมชาติพวกนี้แล้วเขา<br />

จะรู้สึกอย่างไร แล้วการที่มีมันอยู่ตอนนี้ มันดีอย่างไร”<br />

บุญฤทธิ์กล่าว<br />

ด้วยขนาดของพื้นที่ใช้สอยภายในที่มีเพียง 1,200<br />

ตารางเมตร ซึ่งถือว่าเป็นอาคารมีขนาดไม่ใหญ่มากรูปแบบ<br />

ของการจัดการกับสเปซภายในจึงเน้นความเรียบง่ายและ<br />

ประโยชน์ใช้สอยเป็นหลัก ระบบทางสัญจรเองถูกจัดวาง<br />

ให้ตอบสนองต่อการใช้งานภายในได้อย่างคุ้มค่าที่สุด<br />

โถงบันไดและโถงลิฟต์โดยสารถูกกาหนดให้อยู่บริเวณ<br />

ทางเข้าหลักของอาคารเพื่อย่นระยะการใช้พื้นที่ของทาง<br />

สัญจรในแต่ละชั้นลง บริเวณชั้นที่ 1 ประกอบด้วยส่วน<br />

รับประทานอาหารของพนักงาน ส่วนบริการและงานระบบ<br />

ต่างๆ ของอาคาร และที่จอดรถใต้อาคารจานวน 12 คัน<br />

ที่สามารถเชื่อมเข้าสู่ทางเข้าหลักผ่านสวนไผ่ที่แทรกตัวอยู่<br />

ระหว่างอาคาร บริเวณชั้นที่2 และ 3 เป็นพื้นที่ส่วนส านักงาน<br />

ที่ประกอบไปด้วยห้องทางานและห้องประชุมหลายขนาด<br />

รวมถึงส่วน pantry ที่อยู่ติดกันกับห้องน้าในแต่ละชั้น<br />

โดยอาคาร QTC Energy แห่งนี้ได้ทีมมัณฑนากรจาก<br />

August Design Consultant มาเป็นผู้ออกแบบสเปซ<br />

ภายในอาคาร ซึ่งมีการใช้องค์ประกอบและวัสดุต่างๆ ที่<br />

สะท้อนภาพ Industrial Look ขององค์กรออกมา ทั้งการ<br />

เลือกใช้วอลเปเปอร์ติดผนังที่มีสีเข้มเพื่อให้สเปซภายในดู<br />

กลืนหายและมีมิติมากขึ้น หรือการใช้แผ่น metal sheet<br />

กับกระจกในการกั้นส่วนการใช้งานต่างๆ ทาให้เมื่อมอง<br />

เข้ามาจากภายนอกอาคารที่เป็นกระจกใสทั้งหมด จะพบ<br />

ความสอดคล้องกันของทั้งงานสถาปัตยกรรมที่อยู่ภายนอก<br />

และงานออกแบบตกแต่งที่อยู่ภายใน<br />

ในแง่ของการแสดงออกทางสถาปัตยกรรม สถาปนิก<br />

เลือกใช้การสะท้อนภาพความเป็นองค์กรของบริษัท QTC<br />

Energy ออกมาในสองรูปแบบด้วยกัน รูปแบบแรกคือการ<br />

สะท้อนถึงความเป็นองค์กรธุรกิจอุตสาหกรรม (Industrial<br />

Business) ผ่านการใช้ภาษาที่เน้นแสดงถึงความงามของ<br />

สัจจะของวัสดุ และการผสมผสานกันระหว่างงานสถาปัตย-<br />

กรรมและงานวิศวกรรม ทั้งการเลือกใช้โครงสร้างเหล็ก<br />

ให้กับทั้งอาคาร การเปลือยฝ้าเพดานภายในที่แสดงให้<br />

เห็นถึงงานระบบต่างๆ ที่ถูกจัดเรียงอย่างเป็นระเบียบและ<br />

การใช้หลักคากระจกเปลือยที่ยึดกับโครงสร้างspider และ<br />

ลวดสลิงบริเวณ canopy ทางเข้าหลักของอาคาร รูปแบบ<br />

ที่สองคือการสะท้อนถึงนวัตกรรมพลังงานซึ่งเป็นธุรกิจ<br />

หลักขององค์กร ผ่านการเลือกใช้เทคโนโลยีอาคารและ<br />

วัสดุก่อสร้างต่างๆ ที่ช่วยให้เกิดสภาวะน่าสบายขึ้นกับผู้ใช้<br />

งานอาคารได้ อย่างเช่น การใช้กระจก 2 ชั้น บวกกับ<br />

การติดฟิล์มกันความร้อนเสริมเข้าไป เพื่อลดการแผ่รังสี<br />

จากแสงแดดลงหรือการใช้ระบบปรับอากาศ ที่แม้ว่าจะ<br />

เป็นการใช้ระบบ split-type เนื่องจากขนาดของอาคารที่<br />

ไม่ใหญ่มาก แต่ก็เป็นการเลือกใช้ระบบcassette ที่สามารถ<br />

กระจายลมเย็นให้ทั่วถึงส่วนต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br />

นอกจากการนาเทคโนโลยีอาคารต่างๆ เข้ามาช่วยแล้ว<br />

การใช้องค์ประกอบสถาปัตยกรรมอย่างครีบบังแดดเข้า<br />

มาช่วย นอกจากจะช่วยกันแสงแดดที่เข้าได้ส่วนหนึ่งแล้ว<br />

ยังเพิ่มความสวยงามให้กับอาคารได้อีกส่วนหนึ่งด้วย<br />

“คนเราเวลาอยู่กับอาคารนั้น ไม่ได้ต้องการแค่ฟังก์ชั่น<br />

ด้านการใช้สอยอย่างเดียว มันมีเรื่องของฟังก์ชั่นด้าน<br />

จิตใจเข้ามาด้วย” บุญฤทธิ์ทิ้งท้าย<br />

74 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


In terms of architectural expression, the architects<br />

have used two methods to reflect the corporate identity<br />

of QTC Energy. The first one reflects upon the industrial<br />

business: through the use of language and elements<br />

of architecture that highlight aesthetics from truth of<br />

materials and construction. The integration between<br />

architecture and engineering can be derived from the<br />

use of a steel structure for the entire building, the bare<br />

ceiling depicting organized wireways and conduits, and<br />

the use of a frameless laminated glass with spider fittings<br />

and tension rods at the canopy of the main entrance.<br />

The second method reflects the main business of the<br />

corporation, energy innovation. From the use of building<br />

technologies and construction materials that help to<br />

create comfort for the user to the use of a double-layered<br />

glass window paired with heat insulating film to reduce<br />

heat radiation or the use of the efficient cassette air<br />

conditioners that can thoroughly ventilate air and are<br />

suited for a medium-sized building, a regard for energy<br />

innovation is present throughout the design and, apart from<br />

these various building technologies, simple architectural<br />

elements like vertical shading fins also help to screen<br />

sunlight and add more aesthetics and value to the building.<br />

“When we live in architecture, we need not only the<br />

physical function but also the mental function as well,”<br />

Boonrit added.<br />

<strong>05</strong> โถงบันไดและบรรยากาศ<br />

ภายในอาคาร<br />

06 มุมมองภายนอกอาคารแสดง<br />

การเลือกใช้วัสดุที่สะท้อนภาพ-<br />

ลักษณ์องค์กร<br />

ปภพ เกิดทรัพย์<br />

จบการศึกษาจากคณะสถาปัตย-<br />

กรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย ปัจจุบันทำาหน้าที่<br />

เป็นกองบรรณาธิการประจำา<br />

วารสารอาษา นิตยสาร art4d<br />

และเป็นบล็อกเกอร์ที่สนใจเขียน<br />

เกี่ยวกับหนังสือและการออกแบบ<br />

<strong>05</strong><br />

06<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 75


ASEAN<br />

ASEAN ARCHITECTS. 01 SINGAPORE<br />

FORMWERKZ ARCHITECTS<br />

แนวกำแพงซ้อนเหลื่อมกัน<br />

เพื่อแก้ปัญหของที่ตั้ง<br />

ในเรื่องของมุมมองจกทง<br />

ยกระดับ มีลักษณะคล้ย<br />

ตัวนิ่ม อันเป็นที่มของชื่อ<br />

Armadillo House<br />

76 <strong>ASA</strong> ASEAN วารสารอาษา


TEXT<br />

Jirawit Yamkleeb<br />

Darren Yio<br />

PHOTOS<br />

Albert Lim<br />

Jeremy San<br />

TRANSLATED TO THAI BY<br />

Tanakanya<br />

Changchaitum<br />

THE STUDIO’S ADVOCATING BELIEF – AN INTEREST<br />

THAT IS KEEN TO DESIGN HAPPENINGS OR MORE<br />

PRECISELY, CONDITIONS THAT CAN ESPOUSE<br />

MORE ACTIVE ENGAGEMENT FROM MAN WITH<br />

HIS ENVIRONMENT.<br />

การมาถึงของ AEC (ASEAN Economic Community) ทาให้ความเปลี่ยนแปลง<br />

เป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้อีกต่อไปส าหรับแวดวงวิชาชีพสถาปนิกไทย การขยับขยายและ<br />

พัฒนาความรู้ที่เราร่วมแบ่งปันกันไม่เพียงแค่เฉพาะในแง่มุมของความสามารถในการ<br />

ออกแบบเท่านั้น หากแต่ยังรวมไปถึงวัสดุและรายละเอียดในการก่อสร้าง และอีกหลาย<br />

ต่อหลายอย่างที่กาลังจะเกิดขึ้นภายในภูมิภาค เพื่อการคงไว้ซึ่งแรงผลักดันแห่งการแข่งขัน<br />

และการเติบโตของตลาด เป็นที่น่าสังเกตว่าสถาปนิกจากกลุ่มประเทศ ASEAN นั้น<br />

กาลังได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆและในอีกไม่นานพวกเขาก็จะ<br />

ได้รับอนุญาตให้เข้ามาประกอบวิชาชีพในเมืองไทย บทความนี้คือจุดแรกเริ่มของชุดงาน<br />

เขียนที่จะบอกเล่าเรื่องราวและผลงานของบริษัทสถาปนิกเลือดใหม่ใน ASEAN โดยมี<br />

จุดมุ่งหมายคือการเปรียบเทียบแนวคิดและมาตรฐานทางสถาปัตยกรรมของงานจาก<br />

ทุกประเทศในภูมิภาค ผ่านการวิเคราะห์ผลงานและการเติบโตเปลี่ยนผ่านของการท างานทั้ง<br />

ในระดับภูมิภาคและนานาชาติของบริษัทสถาปนิกรุ่นใหม่ โดยจุดหมายแรกของการ<br />

เดินทางนี้คือสิงคโปร์ ประเทศผู้นาด้านเศรษฐกิจและการเงินของ ASEAN<br />

และเพื่อเป็นการแก้ต่างแนวคิดและความเชื่อเกี่ยวกับชื่อเสียงของสถาปัตยกรรม<br />

สิงคโปร์ในฐานะของการเป็นผลพลอยได้ของการควบคุมการใช้วัสดุและรายละเอียดเชิง<br />

ก่อสร้าง Formwerkz Architects ที่เราเลือกมานั้นแตกต่างนับตั้งแต่ปรัชญาของบริษัทที่<br />

บอกว่าตนเองนั้น “ไม่มีความสนใจในสถาปัตยกรรมที่ถูกครอบงาด้วยความลุ่มหลงในการ<br />

มุ่งสร้างผลลัพธ์ของความบริสุทธิ์ผุดผ่องสิ่งละอันพันละน้อย”นาทีมโดย Alan Tay, Berlin<br />

Lee, Seetoh Kum Loon และ Gwen Tan ที่ตามมาสมทบในปี2002 Formwerkz Architects<br />

ถูกก่อตั้งขึ้นในปี1998 และก็ได้ผลิตงานที่แม้ไม่ตามขนบแต่ก็เต็มไปด้วยพลังความสดใหม่<br />

และน่าติดตามยิ่ง<br />

สถาปัตยกรรมของ Formwerkz คืออุปมาอุปมัยของความเชื่อที่ทางสตูดิโอสนับสนุน<br />

มาตลอด นั่นก็คือความสนใจที่จะออกแบบสถานการณ์หรือเงื่อนไขที่จะก่อให้เกิดความ<br />

ผูกพันหว่างมนุษย์และสิ่งแวดล้อมที่พวกเขาอยู่อาศัย โปรเจ็คต์ที่ผ่านมาของสตูดิโอคือ<br />

ตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมของการเดินทางค้นหาการก่อร่างสร้างตัวของเหตุการณ์และเรื่องราว<br />

เพื่อที่จะนิยามความสัมพันธ์ที่เกิดกับบริบทที่ล้อมรอบตัวมันอยู่หากพูดให้เฉพาะเจาะจง<br />

ผลลัพธ์อันหลากหลายของโครงการที่พักอาศัยต่างๆ ที่ FA ได้ทาไว้นั้นแสดงให้เห็นถึง<br />

การรวบรวมเอาไว้ซึ่งความแตกต่างที่เปี่ยมไปด้วยความคิดและน่าสนใจของการถือก าเนิด<br />

ของรูปทรงแบบต่างๆ กัน มันปรากฏตัวขึ้นจากเส้นสายที่ถูกควบคุมไปจนถึงรูปทรงและ<br />

รูปร่างอันเป็นอิสระที่ดึงดูดการรับรู้ได้อย่างน่าประหลาด<br />

อย่างแรกที่เราอยากกล่าวถึงคือชื่อของสตูดิโอที่ท าให้เรานึกถึงแนวทางการทางานที่<br />

นิยามและพึ่งพาการสร้างสรรค์ของตนอยู่กับรูปทรงที่เหมาะสมน่าขันที่เมื่อพูดถึงหรือได้ยิน<br />

เป็นครั้งแรก ชื่อ Formwerkz Architects ก็เป็นการเท้าความที่นาไปสู่การตั้งคาถามว่า<br />

อะไรคือสิ่งที่ทาให้ Formwerkz เรียกตัวเองตามคาเรียกเชิงเทคนิคที่ใช้ในการออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรม อะไรคือแนวคิดเบื้องหลังบริษัทสถาปนิกที่วางตัวเองไว้บนการรับรู้อย่างมี<br />

ปฏิกิริยาต่อสภาพแวดล้อมและเล่นกับทุกสิ่งสะท้อนกลับที่เกิดขึ้นและโต้ตอบกับงานออกแบบ<br />

ของพวกเขา นี่คือความพยายามที่จะดึงเอาสถานการณ์และเงื่อนไขต่างๆ ที่ปรากฏอยู่<br />

ตรงหน้าเข้าไว้ด้วยกันอย่างสร้างสรรค์หรือไม่นับว่าเป็นเรื่องที่ต้องพูดคุยถกเถียงกันต่อไป<br />

With the upcoming opening of the ASEAN Economic<br />

Community or AEC, changes are inevitable to<br />

the architectural community in Thailand. It becomes<br />

imperative to expand and deepen shared knowledge,<br />

not only in terms of design capabilities, building materials<br />

and construction details, but also on the happenings<br />

within the region in order to remain competitive in a<br />

growing market. It is noticeable that architects from<br />

ASEAN nations are gaining international recognition<br />

and soon will have their hall pass to operate in Thailand.<br />

This article is the initiating piece in a series of writings<br />

on selected young ASEAN practices, one that is aimed<br />

at comparing ideas and standards of work across the<br />

region. It looks at emerging practices from selected<br />

ASEAN countries and analyzes how their projects have<br />

grown with the burgeoning expansion of regional and<br />

international practice. The first of these destinations<br />

selected is Singapore, a traditional financial powerhouse<br />

within ASEAN.<br />

As antidote to Singapore architecture’s reputation<br />

of being byproducts in the control of material palettes<br />

and construction details, the selection here, Formwerkz<br />

Architects, as noted in the firm’s philosophy, has no<br />

interest for architecture that is preoccupied with its<br />

obsessive pursuit of minimal refinement as an end.<br />

Led by Alan Tay, Berlin Lee, Seetoh Kum Loon and later<br />

joined by Gwen Tan in 2002, Formwerkz was founded<br />

in 1998 and has regularly produced a series of unconventional<br />

yet surprisingly delightful projects.<br />

The architecture of Formwerkz is a metaphor for<br />

the studio’s advocating belief – an interest that is keen<br />

to design happenings or more precisely, conditions that<br />

can espouse more active engagement from man with<br />

his environment. The studio’s projects – as noted, are<br />

visual testaments to this continuing exploration in fabricating<br />

happenings, in order to define an engagement<br />

with context. In particular, the diverse outcomes of<br />

Formwerkz’s numerous residential projects display a<br />

palette of enlightening and interesting variety of form<br />

materializations. They prompt from a range of controlled<br />

lines to a free rein of shapes and figures that draw<br />

peculiar awareness and attention.<br />

First and foremost, the studio’s moniker brings to<br />

mind a practice that defines and perhaps depends on<br />

forms that work. Ironically, it is also the initial allusion<br />

when the firm’s name is spoken or heard. This raises<br />

questions. What prompts the studio to name itself behind<br />

a critical term (form) in architectural design? What is<br />

วารสารอาษา<br />

ASEAN <strong>ASA</strong> 77


รูปตัดแนวกำแพงที่ใช้ช่วย<br />

แก้ปัญหในกรออกแบบ<br />

แสดงให้เห็นถึงกรเลื่อนไหล<br />

ถ่ยเทกันของที่ว่ง กิจกรรม<br />

แสงสว่ง และกรระบยอกศ<br />

ตมธรรมชติ<br />

SECTION A-A<br />

SECTION B-B<br />

SECTION C-C<br />

แนวคิดหรือความเชื่อนี้นั้นในความเป็นจริงเป็นเรื่องยากที่จะให้ค านิยาม หากมีผลลัพธ์<br />

มหาศาลที่ขึ้นอยู่กับความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ที่ยังส่งผลหรือมีปฏิกิริยาต่อกันอยู่ สิ่งที่จะเกิดขึ้น<br />

ตามมาก็คือการเกิดขึ้นอย่างเป็นธรรมชาติและไร้การปั้นแต่งของเหตุการณ์แนวทางหรือ<br />

แนวความคิดของ Formwerkz คือการปฏิเสธความต้องการที่มีต่อรูปทรงหรือการจัดประเภท<br />

หรือแม้แต่กระแสความนิยม ในทางตรงกันข้ามพวกเขาพึงพอใจกับความเป็นไปได้ของ<br />

ปลายเปิดอันไม่มีที่สิ้นสุดและผลกระทบในรูปแบบต่างๆที่จะช่วยถอดสลักของผลลัพธ์และ<br />

ความหลากหลายที่จะตามมา FA นั้นสนใจความสัมพันธ์ขององค์ประกอบทางพื้นที่และ<br />

การสัมผัสกับประสบการณ์อะไรบางอย่างด้วยตัวเองพวกเขามองหาเสียงสะท้อนในเสรีภาพ<br />

และความขี้เล่นของการสารวจอะไรบางอย่างจากการสร้างสรรค์มากกว่าการบังคับตัวเอง<br />

ให้มุ่งหน้าสร้างรูปทรงหรือคาตอบที่คาดเดาได้ เป็นโอกาสที่เกิดขึ้นจากความสัมพันธ์อัน<br />

หลากหลาย ทั้งสามโปรเจ็คต์ที่เราน าเสนอในบทความนี้นั้นถูกเลือกมาเพื่อช่วยให้เราศึกษา<br />

และเข้าใจมุมมองดังกล่าวมากขึ้น<br />

ผลงานแรกที่แสดงให้เห็นถึงความสนใจของ FA ในความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และ<br />

สิ่งแวดล้อมคือ Armadillo House นับตั้งแต่แรกเริ่ม โครงการนี้ท้าทาย FA ด้วยปัจจัยทาง<br />

พื้นที่และสภาพแวดล้อมหลายอย่างนับตั้งแต่มลภาวะทางเสียงจากถนนที่ตั้งอยู่เกือบติดกับ<br />

ตัวบ้าน รวมไปถึงสะพานลอยและทางยกระดับ และประเด็นเรื่องความเป็นส่วนตัวเนื่อง<br />

มาจากระยะห่างของบ้านจากถนนหลัก ยังไม่นับรวมไปถึงการที่ตัวที่ดินหันด้านยาวของ<br />

มันไปรับความร้อนจากทิศตะวันตกเข้าเต็มๆ และเพื่อเป็นการรับมือกับสภาพแวดล้อมที่<br />

ไม่เป็นมิตรดังกล่าวโดยที่ไม่ต้องลงเอยกับงานออกแบบที่เต็มไปด้วยเครื่องปรับอากาศและ<br />

กาแพงหนาๆ ห้องใต้ดินขนาดใหญ่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นส่วนพักอาศัยหลัก อันประกอบ<br />

ไปด้วยห้องนั่งเล่น ห้องนอนหลัก และสวนส่วนตัวขนาดย่อม เราสามารถมองเห็นความ<br />

เกี่ยวพันอย่างแรกของบ้านหลังนี้กับตัวนิ่ม(Armadillo) ได้จากส่วนประกอบนี้เอง เมื่อเผชิญ<br />

หน้ากับศัตรูตัวนิ่มจะขุดหลุมและฝังตัวเองลงใต้ดินเพื่อความปลอดภัยปฏิกิริยาทางสถาปัตย-<br />

กรรมที่ FA เลือกใช้ก็คือการหลบลงดิน เพื่อหนีจากถนนยกระดับที่มีการจราจรหนาแน่น<br />

การขุดเพื่อสร้างห้องใต้ดินนั้นช่วยกันพื้นที่หลักของบ้านออกจากความไม่น่าพึงประสงค์<br />

ของสภาพแวดล้อม Armadillo House คือสถาปัตยกรรมที่แสดงให้เห็นถึงการผลักดันความ<br />

ตั้งใจในการออกแบบเพื่อปกป้องมนุษย์และความจ าเป็นในการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม<br />

หัวใจของบ้านหลังนี้ถูกดูแลรักษาไว้ที่นี่ และถูกเน้นย้าให้เห็นชัดเจนในฐานะของพื้นที่ๆ<br />

เป็นจุดศูนย์กลางของอาคารที่พักอาศัยแห่งนี้<br />

the thinking behind a studio that sets itself on reactive<br />

acknowledgements of surroundings and dabbles into<br />

varied responses on every project it undertakes? Is this<br />

an attempt to creatively engage each program presented<br />

before them? These leave much to discuss.<br />

This theme or belief is in reality difficult to define.<br />

If there is a multitude of outcomes depending on active<br />

engagements, there will so often be an end production<br />

of happenings, as Formwerkz describes it. The studio<br />

leaves it to an approach and a way of thinking that rejects<br />

the need for any form of neither classification nor trend,<br />

instead it favours the possibilities of endless openings<br />

and influences that can unbolt sequences of derivatives<br />

and varieties. Formwerkz are interested in the relationship<br />

of spatial components and active experiences. They<br />

seek a resonance ironically in freedom and playfulness,<br />

of creative explorations, and not straight-jacketing the<br />

studio into particular predictable executions of form or<br />

response, but as an opportunity in relationships. A selection<br />

in three of the firm’s projects is presented here<br />

to explore this perspective.<br />

The first of which that exhibits this deliberate interest<br />

in the relationship of man and his environment is found in<br />

the Armadillo House. At the outset, the project presented<br />

the studio with multiple site challenges, i.e. noise pollution<br />

from the nearby road with a traffic crossing and<br />

a viaduct, privacy issues due to its proximity to main<br />

thoroughfares and exposure of the longest face of site<br />

to the heat of the western sun. To address its hostile<br />

surroundings without resorting to a fully air-conditioned<br />

and walled-in design, a sizeable basement was first<br />

created for the main living compound; the living space,<br />

a master en-suite and a partial private garden. The first<br />

correlation to an armadillo is found here. When faced<br />

with adversary, an armadillo digs into ground for safety.<br />

Similarly, Formwerkz had reactionarily “dug into the<br />

ground” from the adjacent heavily trafficked viaduct.<br />

78 <strong>ASA</strong> ASEAN วารสารอาษา


By digging into the ground for a basement, which safeguards<br />

the main spaces from the harshness of the<br />

environment, the Armadillo House exhibited the driving<br />

design intent to protect man and his needs to adapt to<br />

his surroundings. The hearth of the house is cosseted<br />

here, and is emphasized as the main constituent at the<br />

nuclei of the residence.<br />

Above ground, a series of overlapping walls (akin<br />

to the bands of an armadillo skin, hence its name) shield<br />

the house from the unpleasant surroundings. In fact,<br />

the skin of the house acts as armour to its surrounds,<br />

an evident reaction that intuitively tackles and adopts<br />

the traces of its environment. This skin protects and<br />

screens the inhabitants of the residence from the harsh<br />

sunlight and noise emanated from the western face<br />

of the site. Indirect daylight is only allowed to infiltrate<br />

into the interior spaces through the full height glazing<br />

contained between the skin walls. To cool the house<br />

down, stack effect is induced by mechanical fans that<br />

are installed on the rooftop. Cooler air is drawn in from<br />

the basement up through an open riser staircase well.<br />

Simply put, the house is deliberately shied away and<br />

addressed ‘vertically’ and ‘marginally’ in reaction to its<br />

surroundings. Formwerkz had conscientiously by design,<br />

ensured that the first priority of the residence owner is<br />

addressed; a responsibility to comfort and wellbeing.<br />

Here, man and his immediate environment encapsulate<br />

the driving intent behind the development.<br />

ช่องเปิดที่เปิดรับวิวและแสง<br />

ธรรมชติทงด้นข้งและ<br />

ด้นบนเพื่อป้องกันกรมอง<br />

เข้มในตัวบ้นจกทงยก-<br />

ระดับที่อยู่ใกล้เคียง<br />

สิ่งที่ปกคลุมอยู่เหนือชั้นหนึ่งของบ้านคือชุดก าแพงที่ทับซ้อนกัน (คล้ายเปลือกหุ้มของ<br />

ตัวนิ่มอันเป็นที่มาของชื่อ Armadillo House) ช่วยปกป้องบ้านจากสภาพแวดล้อมที่ไม่<br />

น่าพิศมัย ผิวชั้นนอกของตัวบ้านทาหน้าที่เป็นเกราะที่ป้องกันพื้นที่ภายในจากภายนอกซึ่ง<br />

นับว่าเป็นปฏิกิริยาทางสถาปัตยกรรมที่เกิดขึ้นจากความพยายามในระดับสัญชาตญาณที่<br />

จะต่อสู้กับสิ่งแวดล้อม<br />

‘ผิวหนัง’ นี้ปกป้องผู้พักอาศัยจากแสงแดดและเสียงรบกวนจากทิศตะวันตก แสง<br />

ธรรมชาติเพียงบางส่วนเท่านั้นที่ได้รับอนุญาตให้เข้ามาในพื้นที่ผ่านแผงกระจกขนาดสูงสุด<br />

เพดานที่ติดตั้งอยู่ระหว่างส่วนทับซ้อนของโครงสร้างกาแพงด้านนอก และเพื่อเป็นการ<br />

ทาให้บ้านมีอุณหภูมิที่เย็นขึ้น สถาปนิกติดพัดลมระบายอากาศที่บริเวณด้านบนสุดของ<br />

หลังคา อากาศเย็นจะพัดเคลื่อนตัวจากชั้นใต้ดิน ผ่านช่องบันไดที่เปิดทะลุยาวถึงหลังคา<br />

เรียกได้ว่าตัวบ้านจงใจหลีกเลี่ยงและจัดการกับสภาพแวดล้อมของมันผ่านการออกแบบ<br />

พื้นที่เชิงดิ่งได้อย่างมีชั้นเชิง<br />

FA ให้ความสาคัญกับความต้องการแรกของลูกค้าเป็นหลักผ่านการออกแบบ นั่นคือ<br />

การสร้างความสะดวกสบายและมาตรฐานการพักอาศัยที่ดีอย่างมีความรับผิดชอบ ที่นี่ผู ้-<br />

อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อมคือภาพสะท้อนแรงขับเคลื่อนและความตั้งใจที่อยู่เบื้องหลังการ<br />

พัฒนาของตัวสถาปัตยกรรมได้อย่างครบถ้วน<br />

โปรเจ็คต์ต่อมาของ FA คือการศึกษาแนวทางการออกแบบที่ถือกาเนิดขึ้นจากบริบท<br />

ของที่ตั้ง Park House ตั้งอยู่บนที่ดินที่มีระดับต่ ากว่าระดับพื้นที่ปกติของบริเวณโดยรอบ<br />

โดยด้านหนึ่งของที่ดินหันหน้าเข้าหาสวนขนาดใหญ่ริมทะเลตัวบ้านมีห้องนอนที่ถูกวางตัว<br />

ให้อยู่ที่ชั้นล่างสุดของบ้าน และถูกปกคลุมด้วยมวลของคานยื่นขนาดใหญ่ที่ท าหน้าที่เป็น<br />

ทั้งหลังคาให้กับพื้นที่่จอดรถและแผงกันแดดให้กับห้องนอนในเวลาเดียวกันรวมไปถึงเป็น<br />

พื้นที่สาหรับสวนยกระดับที่เชื่อมต่อกับพื้นที่พักอาศัยส่วนอื่นๆที่ชั้นบนของบ้าน ห้องนอน<br />

ที่ฝังตัวอยู่ใต้ดินได้รับร่มเงาและความเป็นส่วนตัวจากมวลอาคารด้านบน ในขณะที่พื้นที่<br />

ส่วนกลางวางตัวอยู่ชั้นบนสุดพร้อมการเชื่อมต่อทางสายตากับสวนสาธารณะที่ตั้งอยู่อีกฝั่ง<br />

ถนน ดังที่ FA ตั้งใจ “บ้านหลังนี้ได้รับการออกแบบเพื่อคู่แต่งงานที่ต้องรับรองแขกเหรื่อ<br />

บ่อยครั้ง” ความเชื่อมโยงทางการมองเห็นกับสวนฝั่งตรงข้ามกลายเป็นองค์ประกอบส าคัญ<br />

ระหว่างการพัฒนาแบบ และจัดลาดับพื้นที่ภายใน โดยการวางสวนยกระดับไว้ที่ชั้นสอง<br />

ของบ้านและเชื่อมโยงสวนภายนอกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของบ้าน ความคิดในการหยิบยืม<br />

ภูมิทัศน์ดังกล่าวจึงถือกาเนิดขึ้น พื้นที่สีเขียวถูกรวมเข้าเป็นหนึ่ง ขอบข่ายของพื้นที่ถูก<br />

ขยายให้กว้างออกไป ความสวยงามของทัศนวิสัยถูกทาให้เด่นชัดขึ้น<br />

ด้วยองค์ประกอบที่ว่า Park House หยิบยื่นความรู้สึกของดินแดนไร้ขอบเขตที่น าพา<br />

ผู้พักอาศัยให้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของสภาพแวดล้อมได้อย่างสร้างสรรค์<br />

สิ่งหนึ่งที่เห็นชัดเจนคือห้องนอนที่มักถูกวางไว้ด้านบนของบ้านนั้นถูกน ามาวางให้อยู่<br />

ในชั้นที่เตี้ยที่สุด อันเป็นแนวคิดที่ตรงกันข้ามกับการจัดการพื้นที่แนวดิ่งทั้งพื้นที่ส่วนตัว<br />

และส่วนกลางของบ้านพักอาศัยทั่วไปอย่างสิ้นเชิง แนวทางดังกล่าวส่งผลให้ห้องนอนมี<br />

ความเป็นส่วนตัวเต็มที่และนาเสนอประสบการณ์ทางพื้นที่แบบใหม่ที่ให้ความรู้สึกปกป้อง<br />

และปลอดภัยจากคานคอนกรีตขนาดใหญ่ที่รับน้าหนักมวลด้านบนของอาคารทั้งหมดอยู่<br />

คล้ายกับที่หลบภัยหรือบังเกอร์หากแต่กว้างขวางและสะดวกสบายกว่ามาก พร้อมทางเดิน<br />

ที่เชื่อมต่อห้องนอนเข้ากับสระว่ายน้าที่อยู่ชั้นเดียวกัน การจัดวางพื้นที่ภายในดังกล่าว<br />

สะท้อนภาพการตอบสนองของสถาปัตยกรรมต่อที่ตั้งของมัน นั่นคือสวนบนพื้นที่ราบที่<br />

ถูกยกระดับขึ้น อันเป็นผลพวงจากความพยายามที่จะผสานความเชื่อมโยงระหว่างผู้อยู่อาศัย<br />

กับสภาพแวดล้อม การตอบสนองต่อความต้องการของเจ้าของบ้านได้อย่างมีลูกเล่นนี้<br />

เน้นย้าให้เห็นถึงความทุ่มเทตั้งใจของFA ในการค้นหาการเกิดขึ้นของปฏิกิริยาและเหตุการณ์<br />

ที่ตอบสนองต่อกันอย่างเป็นธรรมชาติที่ถูกขับเคลื่อนโดยเงื่อนไขของที่ตั้งและความต้องการ<br />

ของลูกค้าอย่างแท้จริง ทุกอย่างถูกอธิบายออกมาอย่างมีชั้นเชิง หาใช่การผลิตขัดเกลา<br />

รูปทรงที่ปรากฏอยู่ก่อนแล้วแต่อย่างใด<br />

วารสารอาษา<br />

ASEAN <strong>ASA</strong> 79


The second project in the studio’s explorations in<br />

unearthing design resolutions from site context can<br />

be found in the Park House. This house, situated on<br />

a sunken piece of land with a facing to a huge park<br />

next to the sea, has all bedrooms placed on grade<br />

covered with a large band of cantilevered slab that not<br />

only serves as a car porch canopy, but simultaneously<br />

as sunshades for the bedrooms and as an elevated<br />

private garden for living spaces on the upper levels.<br />

The sunken bedrooms receive shade and privacy from<br />

the building mass of the upper levels while the communal<br />

space on the top connects with the park across the<br />

street. As Formwerkz commits, “the house is designed<br />

for a couple that entertains frequently”. Naturally, the<br />

connection to the adjacent park becomes the focal point<br />

while developing the brief and general order of the spaces<br />

within. By placing the elevated garden on the second<br />

storey level in visual connection to the park across the<br />

street, the idea of a borrowed landscape is conceived;<br />

greens connected, boundaries extended, visuals enhanced.<br />

Immediately, the house offers the feel of a limitless boundary,<br />

one that allows the owners to creatively associate with<br />

their surroundings.<br />

Evidently, the traditionally located upper level bedrooms<br />

now occupy the lowest level in the Park House,<br />

a notion that inverses the typical vertical arrangement<br />

of public and private spaces within a residence. This<br />

maneuver however, essentially granted the bedrooms<br />

a new sense of privacy, one that is securely grounded<br />

and sheltered under a concrete canopy holding the masses<br />

above, one similar in feel to a bunker, albeit a generous<br />

and comfortable one though, well covered and well<br />

secured with private access to a pool at the same ground<br />

level. In this instance, the outcome of the arrangements<br />

within the house illustrates a response to its settings;<br />

a constituted elevated ground plane of the private garden<br />

that performs as an intentional endeavour to enhance<br />

the connection between the couple-owners and their<br />

direct environment. This playful response to the owners’<br />

brief highlights Formwerkz’s active engagements in<br />

sourcing those reactive happenings, driven by conditions<br />

of site and brief, and aptly described, not through mere<br />

productions and refinement of preoccupied forms.<br />

This affair in man and nature is in no doubt further<br />

amplified in the recently completed Terrace House.<br />

An existing semi-detached house was demolished to<br />

make way for a terrace house planned as a residence<br />

for a multi-generation family. “They wanted their house<br />

to be introverted to safeguard their privacy as an reaction<br />

to the towering neighbour next door where most of the<br />

rooms overlook their compound”, explains Formwerkz.<br />

From the street, the concrete façade with a singular<br />

strip of window appears as a concrete ruin overran by<br />

a suggestively untamed landscape. The internal spaces<br />

are organized around an atrium amply filled with natural<br />

light through generous side openings and a skylight<br />

over the internally terracing planter boxes. Communal<br />

spaces around the central atrium and the greenery are<br />

spatially connected to encourage interactions between<br />

family members, while the stepping landscape continues<br />

on the rooftop where the experience is imagined akin<br />

to walking, sitting and having conversations in a park<br />

setting.<br />

แผงบังตด้นหลังกระจก<br />

ผืนใหญ่นอกจกจะ<br />

ช่วยกรองแสงสว่งในเวล<br />

กลงวันแล้วยังส่งผลให้<br />

ตัวบ้นมีลักษณะเหมือนโคม<br />

ส่องสว่งในยมคำ่คืน<br />

แนวคิดเรื่องมนุษย์และธรรมชาติถูกน ามาขยับขยายและบอกเล่าอีกครั้งผ่านสถาปัตย-<br />

กรรมของ Terrace House ที่เพิ่งเสร็จสิ้นการก่อสร้างไปได้ไม่นาน บ้านเดี่ยวที่ตั้งอยู่บน<br />

พื้นที่ก่อนหน้าถูกรื้อถอนเพื่อหลีกทางให้กับบ้านทรงตึกที่ทางเจ้าของวางแผนให้เป็นที่พัก-<br />

อาศัยของครอบครัวที่ประกอบไปด้วยสมาชิกหลากหลายวัย “พวกเขาอยากได้บ้านที่มี<br />

ลักษณะปิดตัวเองจากภายนอก และปกป้องความเป็นส่วนตัวเนื่องด้วยบ้านของเพื่อนบ้าน<br />

ข้างเคียงนั้นสูง นั่นทาให้แทบทุกห้องของบ้านหลังนั้นสามารถมองมาภายในบ้านของพวก<br />

เขาได้ จากถนน façade คอนกรีตผืนใหญ่พร้อมแนวหน้าต่างปรากฏให้เห็นในสภาพที่<br />

คล้ายกับซากปรักหักพังคอนกรีตที่มีต้นไม้และภูมิทัศน์ขึ้นบดบังตามธรรมชาติ พื้นที่ภายใน<br />

ถูกจัดวางให้อยู่ล้อมรอบโถงที่สว่างสดใสไปด้วยแสงธรรมชาติที่เข้ามาจากช่องเปิดด้านข้าง<br />

และช่องรับแสงที่วางตัวอยู่เหนือบริเวณปลูกต้นไม้ที่ถูกจัดวางให้ลดหลั่นลงมา พื้นที่ส่วน<br />

กลางรอบโถงกลางและพื้นที่สีเขียวถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกันเพื่อส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ระหว่าง<br />

สมาชิกในครอบครัว ในขณะที่ภูมิสถาปัตยกรรมถูกออกแบบให้เป็นชั้นลดหลั่นวางตัวยาว<br />

ต่อเนื่องขึ้นไปยังบริเวณดาดฟ้าหยิบยื่นประสบการณ์ที่คล้ายคลึงกับการเดินั่ง และพักผ่อน<br />

พูดคุยโดยมีพื้นหลังเป็นสวนสาธารณะสวยๆ สักแห่ง<br />

80 <strong>ASA</strong> ASEAN วารสารอาษา


แนวคิดเรื่องการลดหลั่นเป็นสิ่งที่ปรากฏให้เห็นเด่นชัดในสถาปัตยกรรมของTerrace<br />

House ทั้งในเชิงกายภาพและอุปมาอุปมัยโถงกลางที่ถูกซ่อนตัวจากภายในดึงความเชื่อม-<br />

โยงมากมายเข้าไว้ด้วยกันทั้งในด้านการปฏิสัมพันธ์ การมองเห็น และการใช้พลังงานธรรมชาติ<br />

แง่มุมของการมีปฏิสัมพันธ์คือการที่ลักษณะของพื้นที่ช่วยเชื่อมโยงสมาชิกในครอบครัว<br />

จากหลากหลายช่วงอายุเข้าไว้ด้วยกันไม่ว่าพวกเขาจะอยู่ตรงส่วนไหนของบ้านการมองเห็น<br />

เกี่ยวพันถึงความโอ่ โถงปลอดโปร่งที่ปรากฏให้เห็นอย่างต่อเนื่องผ่านพื้นที่ส่วนกลางที่วางตัว<br />

รอบโถงขนาดใหญ่กลางบ้าน และประหยัดพลังงานในแง่ที่ว่าแสงธรรมชาติสามารถผ่าน<br />

เข้าสู่พื้นที่ภายในได้ในปริมาณที่เหมาะสมและสวยงามผ่านช่องเปิดด้านบนและพื้นที่โล่ง<br />

ตรงกลาง ทุกอย่างที่กล่าวมาล้วนเป็นคุณสมบัติพื้นฐานที่งานสถาปัตยกรรมหมายมั่นจะมี<br />

และยึดถือเป็นความสาเร็จ หากวิเคราะห์เชิงอุปมาอุปมัย การคลี่คลายทางสถาปัตยกรรม<br />

ของ FA ก็คล้ายคลึงกับการเดินทางเข้าสู่พื้นที่ต่างๆผ่านประตูหน้า โดยมีระเบียงบนดาดฟ้า<br />

เป็นจุดหมาย ทางสัญจรถูกวางเพื่อให้ผู้พักอาศัยได้เดินเล่นพักผ่อนตามเส้นทางที่จะน าไป<br />

สู่จุดสูงสุดของบ้าน ราวกับว่าบ้านมีZiggurat ล่องหนวางตัวอยู่ณ ใจกลางของบ้านเพื่อดึง<br />

สมาชิกในครอบครัวขึ้นไปเจอกันที่ด้านบนอย่างเป็นระบบกระบวนการภูมิทัศน์ของดาดฟ้า<br />

ของบ้านคล้ายคลึงกับสวนสาธารณะอันเป็นความตั้งใจของสถาปนิกที่จะให้พื้นที่นี้เป็น<br />

จุดหมายของการสังสรรค์และปฏิสัมพันธ์ มันวางตัวอยู่ในฐานะของตัวแทนของแนวคิดที่<br />

เติบโตพัฒนาไปจากล่างสู่บนเป็นดังพื้นฐานของความสัมพันธ์ของสมาชิกทุกคนในครอบครัว<br />

ดังนิยามที่สถาปัตยกรรมของ FA ได้สร้างไว้ มีการผสมผสานที่เป็นรูปธรรมของวิธีการ<br />

ต่างๆ ที่ FA ได้นามาใช้เมื่อพวกเขาทางานในแต่ละโปรเจ็คต์ ในทางกลับกันมันก็มีเส้นทาง<br />

ที่งานแต่ละแบบถูกรับรู้และตีความ FA ได้แสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ที่ชัดเจนในการ<br />

เชื่อมโยงความต้องการของลูกค้าเข้ากับพื้นที่โดยไม่ต้องมีอย่างใดอย่างหนึ่งถูกบดบังหรือ<br />

ลดทอนความสาคัญ เราได้เห็นความพิถีพิถันของการตอบสนองความต้องการของลูกค้า<br />

มันถูกให้ความสาคัญและวางไว้อย่างเหมาะสมถูกที่ถูกทาง นั่นคือมุมมองของผู้อยู่อาศัย<br />

ความสะดวกสบาย และความรับผิดชอบ บางทีจากจุดเดียวกันที่ FA อธิบายถึงความคิด<br />

ของพวกเขาต่อการเป็นที่ปรึกษาในโปรเจ็คต์ต่างชาติ (ในบทสัมภาษณ์หน้าถัดไป)คุณสมบัติ<br />

ที่สาคัญที่สุดที่สตูดิโอสถาปัตยกรรมสามารถและควรจะท าในการทางานข้ามพรมแดนอย่าง<br />

มีความรับผิดชอบก็คือ การวางตัวเองให้มั่นคงภายใต้บริบทที่งานของพวกเขาถูกสร้างขึ้น<br />

ไม่ว่าบริบทนั้นจะเต็มไปด้วยสิ่งที่คาดการณ์ไม่ได้ สถานการณ์แวดล้อม หรือลักษณะ<br />

ความเป็นพื้นถิ่นแบบใดก็ตาม<br />

The theme of ascendency is visible here in the<br />

Terrace House, both physical and metaphorical. The<br />

introvertly driven central atrium draws connectivity in<br />

many ways; interactively, visually and passively. Interactive<br />

in the sense that the various members of a multigeneration<br />

family are encouraged to connect no matter<br />

where they are in the house, visual in the way that a<br />

generous feel in the ampleness or excess of space is<br />

channeled through with all communal areas being planned<br />

around a central expansive high volume atrium, passive<br />

in response to bring as much natural daylight in as<br />

possible through the use of a skylight and a large void<br />

in the middle - the fundamentals in which successes<br />

of architecture had traditionally thrived on. Analyzed<br />

metaphorically, this response from Formwerkz can be<br />

likened to have drawn or routed a journey from entry<br />

to all spaces through the house and which accumulates<br />

at the rooftop terrace. Inhabitants are intentionally<br />

planned to walk and wind around while mingling on<br />

their way to the apex of the house, as if a ziggurat had<br />

invisibly been placed at the heart of the house to draw<br />

all family members processionally upward. Coincidentally,<br />

the park-like setting at the rooftop terrace is equated<br />

to one of a public park, a purpose-planned destination<br />

for meetings and interactions. It stages itself as a completion<br />

to the ideology that initiated from ground up,<br />

as the main basis for invaluable interaction between all<br />

members of the family.<br />

As the architecture of Formwerkz defines, there is<br />

a palpable combination of methodologies adopted by<br />

the studio while approaching each project it undertakes.<br />

Conversely, there is also a visible lineage in which the<br />

diverse range of works had been addressed. To date,<br />

Formwerkz displayed a clear inclination in engaging the<br />

requirements of both owner and site, without downplaying<br />

either. There is an inevitable sense of meticulousness<br />

in how the briefs have been addressed; focus<br />

appropriately placed on the intrinsic aspects of habitat,<br />

comfort and responsibility. Perhaps in a similar position<br />

on how the studio describes their idea on foreign consultancy<br />

(in interview following), the paramount quality on<br />

how architectural studios can and should responsibly<br />

practice across borders, is to entrench itself (the studio)<br />

in the context that they operate; be it immediate, contextual<br />

or even thoroughly vernacular.<br />

รูปตัดแสดงกรเล่นระดับ<br />

ของตัวบ้นที่มีจุดเด่นเป็น<br />

สวนขั้นบันไดและชนพัก-<br />

ผ่อนบนหลังค<br />

วารสารอาษา<br />

ASEAN <strong>ASA</strong> 81


oof garden บนหลังค<br />

บ้นและงนภูมิทัศน์ที่มี<br />

ลักษณะคล้ยงอกเงยมเอง<br />

ตมธรรมชติ<br />

Q&A WITH ALAN TAY, FORMWERKZ<br />

Q&A WITH ALAN TAY, FORMWERKZ<br />

คุณมองเห็นความสาคัญของแนวความคิดในแต่ละงานของ Formwerkz<br />

อย่างไร?<br />

ผมไม่คิดว่าเราจะสามารถออกแบบอะไรได้หากปราศจากความคิดที่จะมาช่วยขับเคลื่อน<br />

มันนะครับ ไม่ว่างานนั้นจะเป็นการสร้างเฟอร์นิเจอร์ บ้าน มัสยิด หรือเมืองสักเมืองหนึ่ง<br />

บททดสอบที่แท้จริงก็คือเราจะสามารถทาให้ผลลัพธ์ที่ได้ใกล้เคียงกับความคิดแค่ไหนและ<br />

ความตั้งใจในแง่มุมของสถาปัตยกรรมจะชัดเจนเพียงไร<br />

คุณจะอธิบายสถาปัตยกรรมของ Formwerks ว่าเป็นอย่างไร?<br />

เราเขียนคาประกาศปรัชญาการทางานของเราไว้แล้วในเว็บไซต์ แต่ถึงกระนั้นตอนนี้ผมก็<br />

ยังคงค้นหาคานิยามงานของเราที่ดีกว่านั้นอยู่นะครับ<br />

ใครหรืออะไรที่เป็นอิทธิพลในการทางานของคุณ พวกคุณมีสถาปนิก<br />

หรือนักออกแบบที่เป็นแรงบันดาลใจบ้างไหม?<br />

ด้วยหุ้นส่วน 4 คนของเรา มันเป็นเรื่องยากที่จะเห็นพ้องต้องกันโดยเฉพาะเมื่อเป็นเรื่องของ<br />

แรงบันดาลใจในช่วงเวลาที่แตกต่างกันไป ผมเองมีสถาปนิกหลายท่านที่ชื่นชอบและเป็น<br />

แรงบันดาลใจมาตลอดชีวิตการทางาน ถ้าจะให้บอกเป็นชื่อก็มีทั้งPeter Zumthor, Geoffrey<br />

Bawa, Jorn Utzon และ Paulo Mendes da Rocha ถ้าเป็นสถาปนิกที่ร่วมสมัยหน่อยก็<br />

Jun Igarashi, Kevin Mark Low, Mansilla & Tunon มีอีกมากมายหลายท่านเลยครับ<br />

อะไรคือปัจจัยเบื้องหลังการรับว่าจ้างทางานออกแบบ?<br />

ณ จุดนี้ของการทางาน เราแทบจะไม่ปฏิเสธงานนะ อาจจะเป็นเพราะเรายังเด็กหรือมอง<br />

โลกในแง่ดีจนโง่เขลาหรือเปล่าก็ไม่รู้เราเชื่อว่าทุกโปรเจ็คต์หยิบยื่นโอกาสในการเข้าค้นหา<br />

ดินแดนแห่งความรู้ใหม่ๆ หรือศักยภาพที่เราจะได้ลองทาอะไรด้วยแนวทางและวิธีการ<br />

ที่มีความหมายและมีประโยชน์ได้<br />

การเริ่มต้นแต่ละโปรเจ็คต์เกิดขึ้นได้อย่างไร หุ้นส่วนทุกคนมานั่งคุยกันไหม<br />

โดยเฉพาะในระยะเริ่มแรกของแต่ละงาน?<br />

ไม่มีกฏอะไรตายตัวนะครับ<br />

HOW DO YOU SEE THE IMPORTANCE OF IDEAS<br />

BEHIND EACH PROJECT OF FORMWERKZ?<br />

I cannot imagine designing a project without any idea<br />

driving it. Be it a piece of furniture, a house, a mosque<br />

or a city. The real test is how close we could keep to<br />

it and how legible the architectural intent is when the<br />

project is finally completed.<br />

HOW WOULD YOU DESCRIBE FORMWERKZ’S<br />

ARCHITECTURE?<br />

We have a manifesto on our website. But, to this date,<br />

I am still seeking a better definition of our works.<br />

WHO/WHAT ARE YOUR INFLUENCES? ARE THERE<br />

ANY PARTICULAR ARCHITECTS/DESIGNERS THAT<br />

INSPIRE ALL PARTNERS IN THE OFFICE?<br />

With four partners, it is difficult to find a common ground<br />

in this at any given moment in time. Alone, I have a<br />

pantheon of architects that have greatly intrigued and<br />

inspired me throughout my career; to name a few;<br />

Peter Zumthor, Geoffrey Bawa, Jorn Utzon and Paulo<br />

Mendes da Rocha. The younger contemporaries that I<br />

look to include Jun Igarashi, Kevin Mark Low, Mansilla<br />

& Tunon; the list goes on.<br />

WHAT ARE THE DRIVING FACTORS BEHIND THE<br />

ACCEPTANCE OF A COMMISSION?<br />

At this stage of our career, we hardly turn away<br />

any commission. Perhaps it’s our youthful or foolish<br />

optimism; we believe that every project presents<br />

the opportunities for us to unravel a hidden thesis or<br />

potential for us to contribute in a meaningful way.<br />

HOW DOES A PROJECT NORMALLY GET INITIATED<br />

IN THE OFFICE? DO ALL PARTNERS HAVE A SHARE<br />

OF IDEAS AT THE BEGINNING OF EVERY PROJECT?<br />

No fixed rules really.<br />

82 <strong>ASA</strong> ASEAN วารสารอาษา


โปรเจ็คต์ในอุดมคติของพวกคุณเป็นอย่างไร?<br />

มันเป็นการประกอบกันของหลายๆ สิ่ง แต่ถ้าให้อธิบายคร่าวๆ โปรเจ็คต์ในฝันเลย<br />

น่าจะเป็น<br />

1) การได้สร้างงานในบริบทที่มีวัสดุท้องถิ่นหรือธรรมเนียมในการก่อสร้างที่เราต้องตอบสนอง<br />

2) มีโปรแกรมที่เรียบง่าย<br />

3) มีภูมิทัศน์ที่กว้างใหญ่<br />

4) มีการยอมรับต่อความผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นได้<br />

WHAT IS THE IDEAL PROJECT THAT THE FIRM<br />

WOULD LIKE TO UNDERTAKE?<br />

I came out with a matrix to define, in loose terms, the<br />

dream project;<br />

1) To build in a context where you have local materials<br />

or building traditions to respond.<br />

2) A simple program.<br />

3) A vast landscape.<br />

4) A project with a big tolerance for errors.<br />

คุณมองเห็นตัวเองอย่างไรในอีกห้าปีข้างหน้า?<br />

ได้พัฒนาบริษัทและการทางานอย่างจริงจังมุ่งมั่นเพื่อจะแข่งขันในโปรเจ็คต์สาธารณะ<br />

คุณมีความคิดเห็นอย่างไรต่อ AEC และการที่ในอนาคตสถาปนิกจะ<br />

สามารถทางานในประเทศสมาชิกได้ง่ายขึ้น?<br />

ผมสนับสนุนแนวคิดทุกแนวคิดที่มีผลในการสร้างสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมความร่วมมือและ<br />

การแลกเปลี่ยนทางความคิดและประสบการณ์ แต่ที่สาคัญยิ่งกว่าก็คือผมมองว่านี่เป็น<br />

โอกาสให้สถาปนิกที่ทางานนอกประเทศจะได้ลองเพิ่มเดิมพันกับภูมิภาคอันเป็นพื้นที่ที่<br />

พวกเขากาลังสร้างงานกันอยู่ ผมเองมีทัศนคติในแง่ลบมาตลอดเกี่ยวกับการมีที่ปรึกษา<br />

สถาปนิกต่างชาติถ้าพวกเขาไม่มีความยึดมั่นกับบริบทที่ล้อมรอบงานที่พวกเขาก าลังสร้างขึ้น<br />

HOW DO YOU POSITION YOURSELF WITHIN THE<br />

NEXT 5 YEARS?<br />

We are aggressively shaping our practice to compete<br />

for public commissions.<br />

WHAT DO YOU THINK OF AEC AND HOW ARCHI-<br />

TECTS ARE IN THE FUTURE ABLE TO WORK EASILY<br />

WITHIN THE MEMBER COUNTRIES OF ASEAN?<br />

I am supportive of any initiatives that create a collaborative<br />

environment and promote the exchanges of ideas<br />

and experiences. But more importantly, I see this as<br />

an opportunity for architects working outside of their<br />

country to take a bigger stake in the region that they<br />

are working in. I have always been a bit skeptic with<br />

the idea of foreign architecture consultancy if the practice<br />

do not entrench itself in the context that they operate.<br />

Jirawit Yamkleeb<br />

Jirawit Yamkleeb received<br />

B.Arch from Chulalongkorn<br />

University and M.Sc. (Urbanism)<br />

from TU Delft in the<br />

Netherlands. He spent his life<br />

after Delft in Singapore for 11<br />

years and left his previous firm,<br />

SCDA Architects, as a Senior<br />

Associate. In 2015, he cofounded<br />

archi.smith – a multidisciplinary<br />

design firm, with<br />

Sukonthip Sa-ngiamvongse.<br />

Darren Yio<br />

Darren Yio received his B.Arch<br />

(Hons.) from The University of<br />

Melbourne in 2007. Prior to<br />

the completion of his architecture<br />

degree, Darren also<br />

spent time studying at the<br />

Royal Academy of Arts in<br />

Copenhagen, Denmark. Upon<br />

graduation, he spent 8 years<br />

at SCDA Architects before<br />

leaving his position as an<br />

Associate.<br />

สถปนิกจงใจออกแบบให้<br />

หน้บ้นมีลักษณะ หนหนัก<br />

ทึบตันคล้ยซกอรยธรรม<br />

ที่ถูกปกคลุมไปด้วยพืชพันธ์ุ<br />

วารสารอาษา<br />

ASEAN <strong>ASA</strong> 83


SPECIAL REPORT<br />

MILAN<br />

EXPO 2015<br />

TEXT<br />

Chisagarn Rojanasoonthon<br />

84 <strong>ASA</strong> SPECIAL REPORT วารสารอาษา


Chris Singshinsuk<br />

IN 2010, CHINA HELD THE SHANGHAI EXPO 2010 WITH<br />

AN EXHIBITION AREA OF 5.2 SQUARE KILOMETERS. VISITORS<br />

FROM 192 COUNTRIES ATTENDED THIS EVENT AS WELL<br />

AS REPRESENTATIVES FROM 50 INTERNATIONAL ORGANI-<br />

ZATIONS. IN 2015, ITALY ORGANIZED THE MILAN EXPO 2015<br />

IN A SMALLER EXHIBITION SPACE OF 1.1 SQUARE KILOMETERS.<br />

THIS EVENT RECEIVED PARTICIPANTS FROM 145 COUNTRIES,<br />

REPRESENTATIVES FROM 20 INTERNATIONAL ORGANIZATIONS<br />

AND SIX GROUPS OF COMPANIES. THE EXHIBITION THEME,<br />

‘FEEDING THE PLANET, ENERGY FOR LIFE’ ENCOURAGED<br />

PARTICIPANTS TO REFLECT ON THE IMBALANCE OF TODAY’S<br />

WORLD FOOD SHORTAGES, THE PROBLEMS OF EXCESSIVE<br />

CONSUMPTION, AND THE SIGNIFICANT AMOUNTS OF FOOD<br />

WASTED ANNUALLY. THE EXHIBITION BROUGHT TOGETHER<br />

A NUMBER OF INTERRELATED THEMES AND PARTICIPANTS<br />

WERE ENCOURAGED TO FIND AND OFFER SOLUTIONS TO<br />

THESE ISSUES TOGETHER. AMONG THE THEMES WERE HOW<br />

TO STIMULATE POLICY DECISIONS AND RAISE AWARENESS<br />

IN TERMS OF NUTRITION, FOOD SAFETY AND QUALITY,<br />

AS WELL AS INNOVATION IN THE FOOD SUPPLY CHAIN,<br />

CURRENT-DAY TECHNOLOGIES FOR AGRICULTURE, THE<br />

IMPORTANCE OF MAINTAINING BIODIVERSITY IN AGRICUL-<br />

TURE AND ECOSYSTEMS AND CREATING SOLIDARITY AND<br />

COOPERATION IN TERMS OF FOOD IN ORDER TO MAIN-<br />

TAIN A BALANCED AND SUSTAINABLE AGRICULTURE AND<br />

ELIMINATE FOOD SHORTAGES FOR FUTURE GENERATIONS.<br />

ในปี 2010 ประเทศจีนจัดงานเซี่ยงไฮ้เอ็กซ์โป 2010 ด้วยพื้นที่จัดงาน 5.2 ตารางกิโลเมตร<br />

มีผู้เข้าร่วมถึง 192 ประเทศ และองค์กรสากล 50 องค์กร ในปีนี้อิตาลีใช้พื้นที่เพียง 1.1<br />

ตารางกิโลเมตร จัดงาน มิลานเอ็กซ์โป 2015 โดยมีผู้เข้าร่วมงาน 145 ประเทศ 20 องค์กร<br />

สากล และ 6 กลุ่มบริษัท ในหัวข้องาน ‘Feeding the Planet, Energy for Life’ ซึ่งเปิด<br />

โอกาสให้ผู้เข้าร่วมสะท้อนถึงความไม่สมดุลของโลกในปัจจุบัน ซึ่งมีทั้งความขาดแคลนอาหาร<br />

ปัญหาการบริโภคมากเกินไป และปริมาณอาหารที่เหลือทิ้งเป็นจานวนมากในแต่ละปี ร่วมกัน<br />

ค้นหาและนาเสนอแนวทางการแก้ไข เพื่อกระตุ้นให้เกิดการตัดสินใจด้านนโยบาย ให้ความรู้<br />

ด้านโภชนาการ บอกเล่าวิทยาการเพื่ออาหารที่ปลอดภัยมีคุณภาพ นวัตกรรมในห่วงโซ่อุปทาน<br />

อาหาร นาเสนอเทคโนโลยีช่วยในการเกษตรและรักษาความหลากหลายทางระบบนิเวศน์ และ<br />

ก่อให้เกิดความร่วมมือเรื่องอาหาร เพื่อช่วยให้เกิดสมดุล นาไปสู่การเกษตรที่ยั่งยืนและขจัด<br />

ปัญหาขาดแคลนอาหารในอนาคต<br />

01<br />

วารสารอาษา<br />

SPECIAL REPORT <strong>ASA</strong> 85


Chisagarn Rojanasoonthon<br />

02<br />

01 Pavilion ประเทศไทย<br />

02 Pavilion ประเทศอิตาลี ออก-<br />

แบบด้วยแนวความคิด Urban<br />

Forest และใช้ Biodynamic<br />

ซีเมนต์ซึ่งเมื่อโดนแสงจะช่วย<br />

ดักจับมลภาวะในอากาศและลด<br />

หมอกควัน<br />

03 ทางเข้า Pavilion ประเทศ<br />

ฝรั่งเศส รูปทรง Organic<br />

ประหยัดพลังงาน ลมสามารถ<br />

พัดผ่านอาคารได้<br />

กลุ่มสถาปนิกและนักผังเมืองที่ได้รับเชิญให้วางผัง<br />

งานมิลานเอ็กซ์โป ประกอบด้วย Stefano Boeri สถาปนิก<br />

ชาวมิลาน Herzog & de Meuron สถาปนิกชาวสวิสเจ้าของ<br />

รางวัล Pritzker Prize, Rickard Burdett ที่ปรึกษาด้าน<br />

สถาปัตยกรรมและผังเมืองของลอนดอน โอลิมปิกส์,William<br />

McDonough สถาปนิกผู้คิดค้นทฤษฎีออกแบบ ‘Cradle<br />

to Cradle’ และกาหนดหลักปฏิบัติสาหรับฮานโนเวอร์<br />

เอ็กซ์โป 2000, Joan Busquets สถาปนิกและนักผังเมือง<br />

ชาวสเปน ผู้มีส่วนร่วมในโอลิมปิกส์ที่บาร์เซโลน่า โดย<br />

ทีมได้วางผังเป็นกริดอ้างอิงถึงการใช้แนวแกนถนนในแนว<br />

เหนือใต้ (Cardo) และถนนแนวตะวันตกและตะวันออก<br />

(Decumanus) ของผังเมืองโรมัน โดยมีความตั้งใจที่จะ<br />

เสนอผังที่มีแนวคิดสอดคล้องกับหัวข้อของงานโดยต้องการ<br />

จะเปลี่ยนแปลงแนวความคิดที่ผู้เข้าร่วมงานแข่งขันกัน<br />

ออกแบบสถาปัตยกรรมที่ใหญ่โตอลังการ เป็นการให้ความ<br />

สาคัญ มุ่งเน้นการนาเสนอเนื้อหาที่แตกต่างกันของการจัด<br />

แสดงแนวความคิดของแต่ละประเทศ และได้ตั้งใจวางผัง<br />

โดยแบ่งที่ดินเป็นชิ้นผอมยาว ขนาดเท่ากันทุกประเทศ<br />

จัดแสดงสวนเกษตร และให้มีเพียงอาคารง่ายๆ ที่เป็นที่<br />

จัด Exhibition ภายใต้หลังคาผ้าใบของงาน ทาให้ไม่มี<br />

การออกแบบสถาปัตยกรรมที่ใหญ่โตแข่งกัน น่าเสียดาย<br />

ที่แนวคิดนี้ไม่ได้รับการสนับสนุนในระดับนโยบายเนื่อง<br />

ด้วยเหตุผลหลายประการ ทาให้ในปี 2011 กลุ่มผู้ออกแบบ<br />

ได้ถอนตัวจากการทางานให้กับมิลานเอ็กซ์โป 2015 นี้<br />

หลังจากเห็นว่าไม่สามารถผลักดันแนวความคิดที่น าเสนอ<br />

ให้บรรลุผลได้<br />

ผังที่เห็นในปัจจุบันนั้นยังคงแนวแกนที่กลุ่มผู้ออกแบบ<br />

เดิมได้ออกแบบไว้ และยังคงรักษาความกว้างของหน้าที่<br />

ดินที่เท่ากัน แต่ผู้จัดงานได้ปรับผังภายหลังจากที่กลุ่ม<br />

ผู้ออกแบบเดิมถอนตัว โดยได้ยกเลิกแนวความคิดของ<br />

พื้นที่ดินที่เท่ากัน โดยปรับแปลงที่ดินให้เช่าตั้งแต่ 400-<br />

6,000 ตารางเมตร สร้างอาคารได้ 30 เปอร์เซ็นต์ของ<br />

ที่ดิน และปรับเปลี่ยนแนวความคิดของหลังคาผ้าใบที่<br />

เคยออกแบบให้คลุมอาคารนิทรรศการของผู้เข้าร่วมใน<br />

แนวตั้งฉากกับ Decumanus มาเป็นหลังคาผ้าใบใน<br />

แนวขนานกับ Decumanus ด้านหน้าของ Pavilion แทน<br />

จึงไม่น่าแปลกใจว่า เหตุใดจึงไม่มีระยะสาหรับการถ่าย<br />

ภาพด้านหน้าอาคาร มีแต่โครงสร้างหลังคาผ้าใบขวาง<br />

เต็มไปหมด และเมื่อเดินในแกนก็ไม่สามารถเห็นด้าน<br />

หน้าของ Pavilion ต่างๆ และภาพรวมของงานได้ ใครที่<br />

ต้องการเห็นภาพว่าแนวคิดเรียบง่ายที่วางไว้เดิมเป็นอย่างไร<br />

สามารถไปดูตัวอย่างได้ที่อาคารของ International Slow<br />

Food Movement ซึ่ง Herzog & de Meuron ได้รับการ<br />

ติดต่อให้ออกแบบไว้ในปี 2014 ตั้งอยู่บริเวณปลายด้าน<br />

ตะวันออกของแกนหลัก<br />

ในแนวแกนหลัก Decumanus ซึ่งยาว 1.5 กิโลเมตร<br />

สุดปลายด้านทิศตะวันตกจะเป็น Expo Center ซึ่งเป็น<br />

สานักงานหลัก Media Center จุดนัดพบและพื้นที่จัดงาน<br />

ส่วนสุดปลายด้านทิศตะวันออกเป็น Mediterranean Hill<br />

ซึ่งเป็นงานออกแบบสวนบนเนินที่เกิดจากดินที่มาจากการ<br />

ขุดดินจากการก่อสร้างในพื้นที่ ส่วนในแนวแกน Cardo<br />

ยาว 350 เมตร สุดปลายด้านเหนือเป็นแลนด์มาร์คของ<br />

เอ็กซ์โป The Tree of Life และทางด้านทิศใต้เป็นทางเข้า<br />

ของผู้ชมที่มาโดยรถบัส และโรงละครกลางแจ้ง จุดตัดกัน<br />

ของแกนจะเป็น Piazza Italia เป็นที่ตั้งของ Italy Pavilion<br />

และการจัดแสดงของท้องถิ่นและภูมิภาคต่างๆ ของอิตาลี<br />

86 <strong>ASA</strong> SPECIAL REPORT วารสารอาษา


03<br />

Chisagarn Rojanasoonthon<br />

The group of architects and city planners invited<br />

to design the Milan Expo site included Stefano Boeri,<br />

a Milan architect, Herzog & de Meuron, a firm of<br />

Swiss architects (and a winner of the Pritzker Prize<br />

award), Richard Burdett, a consultant in architecture<br />

and city planning for the London Olympics, William<br />

McDonough, an architect who founded the Cradleto-Cradle<br />

theory and who set the guidelines for the<br />

Hannover Expo 2000, and Joan Busquets, a Spanish<br />

architect and city planner who was part of the Barcelona<br />

Olympics development team. The group designed<br />

a grid plan reference to supplement the Rome city<br />

plan – the north-south-oriented streets (Cardo) and the<br />

east-west-oriented streets (Decumanus), with an intention<br />

to present a layout corresponding to the theme<br />

of the event. The intention was to change the perception<br />

that participating countries competed in designing<br />

grandeur architecture and to focus on the content of<br />

the exhibitions that differ from country to country. The<br />

idea was to provide each participating country with<br />

equal amounts of a long thin space so that they could<br />

each create a garden of equal size and a simple building.<br />

In this way, the participating countries would not compete<br />

in building any grand architectural structure.<br />

Unfortunately, and for various reasons, this idea was<br />

not supported at the policy level. So, in 2011, after<br />

seeing that they could not push the concept through,<br />

the design team pulled out from the Milan Expo 2015.<br />

The layout still remained the main grid that the original<br />

design team had designed, including maintaining the<br />

width of land equally, but after the design team pulled<br />

out, the organizer abandoned the idea of providing equal<br />

amounts of space to each country and introduced a<br />

system of renting areas ranging in size from 400-6,000<br />

square meters, making the building area to fall within<br />

a ratio of 30 percent being allotted to the rented land<br />

area. The designers’ idea of tent roofing designed to<br />

be vertical to the Decumanus was further changed to<br />

be horizontal, with the Decumanus in the front of the<br />

Pavilion. For these reasons, there was insufficient space<br />

to photograph the front of the building and every time<br />

that one looked up, there were structural tent roofs to<br />

be seen. When walking along the principal axes it was<br />

impossible to see the front of the Pavilion and the overall<br />

view of the event. Those who wanted to see the simple<br />

concept of the original plan could see an example at<br />

the International Slow Food Movement Building, which<br />

was assigned to Herzog & de Meuron to design in 2014<br />

and located at the edge of the east principle axis.<br />

The Decumanus axial core was 1.5 kilometers in length.<br />

At the western end was situated the Expo Center, main<br />

office, media center, meeting point, and exhibition area.<br />

While the eastern end featured a Mediterranean Hill<br />

which was a green hill created out of excavated soil<br />

from the construction in the area, the Cardo axis of<br />

350 meters in length set at the end of the north side<br />

housed The Tree of Life, the Expo’s landmark structure.<br />

The south side supported the public entrance for people<br />

who arrived by bus and an open-air amphitheatre. At the<br />

intersection of the axes was the Piazza Italia and also<br />

the Italian Pavilion and exhibitions from local Italian regions.<br />

วารสารอาษา<br />

SPECIAL REPORT <strong>ASA</strong> 87


สาหรับ Pavilion ของไทยนั้น ตั้งอยู่บนที่ดินประมาณ<br />

3,000 ตารางเมตร ติดกับ Pavilion ของจีน อยู่ระหว่าง<br />

จุดเข้างานจากรถไฟใต้ดินทางด้านทิศตะวันตกและPiazza<br />

Italia ออกแบบโดย บริษัท สานักงานสถาปนิกกรุงเทพ<br />

จากัด (OBA) และออกแบบส่วนนิทรรศการโดย บริษัท<br />

Work Right ปีนี้เป็นปีแรกก็ว่าได้ที่รูปแบบของสถาปัตย-<br />

กรรมแตกต่างออกไป ไม่มีศาลาไทยอยู่ด้านหน้าอาคาร<br />

เหมือนทุกครั้ง ผู้ออกแบบตีความและนาเสนอสัญลักษณ์<br />

ความเป็นไทยที่ต่างออกไปจากเดิม โดยนาเสนอสัญลักษณ์<br />

3 สัญลักษณ์ ซึ่งแสดงออกถึงความเป็นไทยและสอดคล้อง<br />

กับหัวข้อของงานเอ็กซ์โป ได้แก่ ‘งอบ’ เป็นสัญลักษณ์แห่ง<br />

การเกษตรกรรม ซึ่งเป็นภูมิปัญญาไทยในการออกแบบให้<br />

มีการระบายอากาศที่ดี มีรูปทรงที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว<br />

ใช้เป็นส่วนประกอบหลักของงานสถาปัตยกรรม ‘นาค’<br />

เป็นสัญลักษณ์ของความเชื่อความสัมพันธ์กับแหล่งน้ าและ<br />

ความอุดมสมบูรณ์ เป็นตัวนาเข้าสู่อาคาร และ ‘ฐานเจดีย์’<br />

เป็นสัญลักษณ์ของความศรัทธา ถูกนามาใช้ในส่วนเปลือก<br />

อาคาร โดยสัญลักษณ์ทั้งหมดได้ถูกตัดทอนรูปแบบและ<br />

ใช้วัสดุสมัยใหม่ ยกเว้นเพียงหัวพญานาคด้านหน้าทางเข้า<br />

ซึ่งเป็นงานศิลปะไทยโบราณ ส่วนงอบเป็นโครงเหล็กและ<br />

ไม้ซึ่งสามารถนาไปใช้ต่อได้ภายหลังการรื้อถอน ใต้หลังคา<br />

ทางเดินเข้าคิวสู่ส่วนจัดแสดงห้อยแผ่นเส้นใยปอทอมือ<br />

จากเมืองไทย ขนาด 0.90 x 2.00 เมตร จานวน 200<br />

แผ่นเย็บต่อกันเป็นผืน ซึ่งแผ่นเส้นใยนี้ได้ถูกขนส่งไปชุบ<br />

น้ายาป้องกันการลามไฟในอิตาลี และถูกติดตั้งภายหลัง<br />

จากเปิดงานไปแล้วพักหนึ่ง ผิวของอาคารส่วนที่เป็นฐาน<br />

เจดีย์ใช้ Aluminium Composite Cladding ผิวเงา ซึ่ง<br />

ระหว่างการก่อสร้างหลังติดตั้งเสร็จพบว่าแปลนอาคาร<br />

ซึ่งมีความโค้งเพียงน้อยสามารถท าให้เกิดภาวะจุดรวมแสง<br />

ทาให้ส่วนพลาสติกของรถยนต์ที่จอดฝั่งตรงข้ามคลอง<br />

ละลาย และต้องแก้ปัญหาด้วยการพ่นเคลือบชิ้นที่มีปัญหา<br />

เพื่อลดการสะท้อน<br />

การจัดแสดงภายในโถงจัดแสดงงานนาเสนอด้วย<br />

multimedia สามส่วน ส่วนแรกแนะนาแหล่งธรรมชาติ<br />

ความอุดมสมบูรณ์ของไทย ส่วนที่สอง แสดงเรื่องอาหารไทย<br />

ตั้งแต่วัตถุดิบการประกอบอาหาร และกระบวนการอุตสาห-<br />

กรรมอาหาร ส่วนที่สามแสดงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง<br />

และโครงการในพระราชดาริของในหลวง นอกจากนี้ยัง<br />

มีการแสดงสด ประเพณี การละเล่น บริเวณด้านหน้าอาคาร<br />

ในช่วงเย็นของทุกวัน น่าเสียดายที่ Pavilion ของไทยไม่มี<br />

การจาหน่ายอาหารปรุงสุก เหมือนกับประเทศอื่นๆ ที่มี<br />

ชื่อเสียงด้านอาหารและเครื่องดื่มที่จัดให้มีร้านขายอาหาร<br />

และเครื่องดื่มทั้ง อิตาลี จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ เยอรมัน<br />

เนเธอร์แลนด์ โดย Pavilion ของไทยมีเพียงซุปเปอร์มาร์เก็ต<br />

ขนาดเล็กที่จาหน่ายอาหาร ขนมและเครื่องดื่มที่บรรจุ<br />

กล่องสาเร็จรูป และน่าเสียดาย Roof Garden ที่ไม่ได้<br />

เปิดให้ผู้คนทั่วไปเข้าชมเหมือนหลายประเทศ<br />

<strong>05</strong><br />

Chisagarn Rojanasoonthon<br />

88 <strong>ASA</strong> SPECIAL REPORT วารสารอาษา


04<br />

Nattakit Jeerapatmaitree<br />

นอกจาก Pavilion เดี่ยวๆ ของประเทศต่างๆ แล้ว<br />

ภายในงานเอ็กซ์โปยังจัดให้มีการจัดแสดงของกลุ่ม(Cluster)<br />

วัตถุดิบอาหารและเครื่องดื่มต่างๆ อีก 9 กลุ่ม เช่น ข้าว<br />

กาแฟ ช็อคโกแลต เครื่องเทศ เป็นต้น ซึ่งมีการจัดแสดง<br />

นิทรรศการตามประเภทของกลุ่ม และเป็นอาคารที่รวม<br />

การจัดแสดงของประเทศขนาดเล็กที่ไม่ได้สร้างอาคารของ<br />

ตัวเอง นอกจากนี้ยังมีการจัดแสดง Thematic Area ต่างๆ<br />

ทั้ง Children’s Park, Future food district, Arts and<br />

foods, Biodiversity Park และ Pavilion Zero<br />

Pavilion Zero ตั้งอยู่บริเวณทางเข้าจากรถไฟใต้ดิน<br />

เป็นอาคารที่แนะนาหัวข้อหลักของงานเอ็กซ์โปออกแบบ<br />

โดย Michele de Lucchi มีแนวความคิดที่จะนาเสนอ<br />

เปลือกโลก โดยได้รับแรงบันดาลใจรูปทรงของภูเขาและ<br />

หุบเขาจาก Euganean Hills กลุ่มเนินเขาที่เกิดจากลาวา<br />

ทางตอนเหนือของอิตาลี ผู้เข้าชมจะได้รับประสบการณ์<br />

การเดินผ่านถ้าของเปลือกโลกไปสู่หุบเขากลางแจ้ง โครง-<br />

สร้างของรูปทรงภูเขาของอาคารใช้เหล็กชุบสังกะสีที่สามารถ<br />

นากลับไปรีไซเคิลได้ทั้งหมด การจัดแสดงภายในดูแล<br />

โดย Davide Rampello บอกเล่าถึงหัวข้อของงาน จัดแสดง<br />

ความสัมพันธ์ของมนุษย์และอาหารจากอดีตจนถึงปัจจุบัน<br />

ด้วย multimedia ในห้องจัดแสดง 12 ห้อง<br />

Chisagarn Rojanasoonthon<br />

04 ‘งอบ’ องค์ประกอบหลักซึ่ง<br />

เป็นจุดเด่นและเป็นเอกลักษณ์<br />

ของ Pavilion ประเทศไทย<br />

<strong>05</strong> ภายนอกของ Vanke Pavilion<br />

และบันไดทางขึ้นดาดฟ้า<br />

06 ผนังทางเดินใน Pavilion<br />

ประเทศเกาหลี<br />

The Thailand Pavilion was situated on an exhibition<br />

space of 3,000 square meters next to the China Pavilion,<br />

which was between the west side entrance near the<br />

underground station and Piazza Italia. The Thailand Pavilion<br />

was designed by The Office of Bangkok Architects<br />

Co., Ltd. (OBA), and the Thai exhibition was designed<br />

by Work Right Co., Ltd. The year 2015 was the first year<br />

that the architectural format was different from previous<br />

years and there was no Thai Pavilion at the front of the<br />

building as in previous times. The designer presented a<br />

different interpretation of the symbol of Thainess, by<br />

showing three symbols representing Thainess and<br />

reflecting the Expo theme one of which was a ‘Ngob’<br />

(a famer’s palm-leaf hat), symbolizing agriculture and<br />

Thai wisdom. Thai wisdom of hat making that provides<br />

good ventilation and a unique shape. It was used as<br />

the main element of the architectural structure. ‘Naga’<br />

is a symbol of beliefs, connecting water resources and<br />

fertility and was utilized to lead people into the building.<br />

The ‘Pagoda platform,’ a symbol of faith, was used to<br />

create a façade. All these symbolic forms were reduced<br />

in scope and were replaced by new materials, except for<br />

the Naga’s head in front of the entrance that featured a<br />

traditional Thai art work. The Ngob structure was made<br />

of steel and wood that could be re-used after being<br />

dismantled. Below the hallway hat roof leading to the<br />

exhibition area was a corridor where 200 hand-woven<br />

flax-fiber fabrics from Thailand sized 0.90 x 2.00 meters<br />

each were sewn together and hung. The fabrics were<br />

imported from Thailand and underwent a fire-protection<br />

treatment in Italy. These hangings were installed some<br />

time after the opening of the exhibition. The pagodaplatform<br />

façade was made of Aluminum Composite<br />

Cladding, giving the façade a glimmering top. During the<br />

construction it was found that a slight curvature of the<br />

building created a focus point that melted the plastic<br />

of the cars parked in the car park at the opposite side<br />

of the canal, solution being to coat the problem pieces<br />

in order to reduce the reflected glare.<br />

The exhibits in the exhibition hall presented by multimedia<br />

were in three parts, the first aiming to introduce<br />

Thailand’s natural resources and fertility. The second<br />

part displayed Thai food and included ingredients, cooking,<br />

and industrial processing. The third part presented the<br />

Self Efficiency Concept and His Majesty the King’s Royal<br />

Projects. There were also daily live cultural performances<br />

held in the evenings at the front of the building. Unfortunately,<br />

the Thai Pavilion did not prepare and sell food<br />

like other countries that are famous in food and beverages.<br />

The pavilions of Italy, China, Japan, and South Korea<br />

sold national foods and beverages while the Thai Pavilion<br />

had only a tiny supermarket selling pre-packaged readymade<br />

foods and drinks. And, unfortunately, the Roof<br />

Garden was not open for the public like those of other<br />

countries.<br />

06<br />

วารสารอาษา<br />

SPECIAL REPORT <strong>ASA</strong> 89


Pavilion อื่นๆ ที่น่าสนใจ ได้แก่ Pavilion จากประเทศ<br />

เยอรมนี ด้วยแนวคิด ‘Fields of Ideas’ ออกแบบ<br />

โดย Schmidhuber Architekten (Sabine Heinrichs)<br />

ดูแลการจัดแสดงโดย Milla & Partner ได้นาเสนองาน<br />

ออกแบบอาคารที่เชิญชวนผู้คนให้เข้าไปใช้งานทั้งร้าน<br />

อาหารชั้นล่าง และงานภูมิสถาปัตยกรรมบนหลังคา<br />

พื้นที่บนหลังคาออกแบบเป็น public space ที่น่าพักผ่อน<br />

หย่อนใจ สอดแทรกการจัดแสดงอาหารแต่ละภูมิภาค<br />

ของเยอรมันและพืชพันธุ์เนื้อหาของการจัดแสดงก็น่าสนใจ<br />

กล่าวถึงดิน น้า สภาพอากาศ ความหลากหลายทางระบบ<br />

นิเวศ การใช้ทรัพยากรอย่างชาญฉลาดจะเป็นส่วนสาคัญ<br />

ของอาหารสาหรับอนาคต ใช้ interactive multimedia ที่<br />

ตอบสนองกับแผ่นกระดาษแข็งที่แจกให้กับผู้ชมโครงสร้าง<br />

ทรงกรวยติดแผ่น solar cell บางเฉียบ เชื่อมโยงความ<br />

สัมพันธ์ของการจัดภายในอาคารและพื้นที่บนหลังคา<br />

ส่วนจัดแสดงที่ออกจะแปลกอยู่สักหน่อยก็น่าจะมีเพียง<br />

การแสดงโชว์ใน hall สุดท้าย<br />

Pavilion จากประเทศจีน ด้วยแนวคิด ‘Land of Hope,<br />

Food for Life’ ออกแบบโดย Tsinghua University +<br />

Studio Link-Arc กับรูปทรงของหลังคาที่ผสานรูปทรง<br />

คลื่นที่เป็นธรรมชาติด้านทิศใต้กับ skyline ของเมืองใน<br />

ด้านทิศเหนือ การที่เมืองและธรรมชาติอยู่ด้วยกันอย่าง<br />

กลมกลืนนี้สะท้อนถึงความหวังที่สามารถเป็นจริงได้และ<br />

ตั้งใจให้หลังคานี้เป็น ‘field of space’ เป็นส่วนหนึ่งของ<br />

ภูมิสถาปัตยกรรมแทนที่จะเป็น object ที่ตั้งอยู่ในลานจัด<br />

แสดง การออกแบบโครงหลังคาเหล็กและ cable bracing<br />

ทาให้สามารถสร้างพื้นที่ปราศจากเสา สาหรับจัดแสดง<br />

แท่งไฟ LED ซึ่งเป็นไฮไลท์ของการจัดแสดงงาน สถาปนิก<br />

เลือกปูหลังคาของอาคารด้วยวัสดุกันซึมแผ่นmembrane<br />

เพื่อความโปร่งแสงและความรวดเร็วในการก่อสร้างเปลือก<br />

ของอาคารเป็นแผ่นไม้ไผ่สานจานวน 1,<strong>05</strong>2 แผ่น ทาจาก<br />

ไม้ Glulam ภายหลังจากงานอาคารจะถูกรื้อและนาไป<br />

สร้างเป็น public facilities ในสวนสาธารณะในเมือง<br />

ชิงเต่า (Qingdao)<br />

07 Pavilion ประเทศเยอรมัน<br />

โครงสร้างทรงกรวยให้แสง<br />

ธรรมชาติเชื่อมต่อพื้นที่จัด<br />

แสดงกับพื้นที่สวนบนหลังคา<br />

และแสดงการใช้ Photovoltaic<br />

sheet<br />

08 พื้นที่ Highlight ของการ<br />

จัดแสดงใน Pavilion ประเทศ<br />

จีน จัดแสดงทุ่งข้าวสาลีสะท้อน<br />

แนวคิด Land of Hope ด้วย<br />

การใช้แท่งไฟ Interactive LED<br />

90 <strong>ASA</strong> SPECIAL REPORT วารสารอาษา


Narute Pongchavanakul<br />

Chisagarn Rojanasoonthon<br />

08<br />

07<br />

Apart from the pavilions of individual countries, the<br />

event also featured a cluster of exhibitions. The exhibitions<br />

were organized by theme and intended to host<br />

small countries that did not construct their own exhibition<br />

pavilions. Themes of the cluster exhibitions included food<br />

ingredients and beverages, rice, coffee, chocolate and<br />

spices etc. The event featured nine cluster exhibitions<br />

in total as well as exhibitions under thematic areas, for<br />

example: a Children’s Park, a Future Food District, Arts<br />

and Foods, a Biodiversity Park and Pavilion Zero.<br />

Pavilion Zero was located near the entrance adjacent<br />

to the underground train station. The building introduced<br />

visitors to the event’s themes and was designed by<br />

Michele de Lucchi with the concept of Earth Crust. The<br />

inspiration came from the Euganean Hills and Valleys<br />

created from lava flowing from the north of Italy and<br />

audiences experience a journey through a cave to the<br />

open-air valley. The structure of the hill-form building<br />

was made from galvanized steel that could be wholly<br />

recycled. Davide Rampello was responsible for the overall<br />

exhibition, the theme of which was the connection of<br />

human beings and foods from past to present. The exhibition<br />

was presented through multimedia in 12 exhibition<br />

rooms.<br />

Another interesting pavilion was the German Pavilion<br />

that took on the concept of ‘Fields of Ideas’ and was<br />

designed by Schmidhuber Architekten (Sabine Heinrichs).<br />

The firm of Milla & Partner designed the German exhibition<br />

and the building created an inviting atmosphere for<br />

visitors, both to the restaurant on the ground floor and<br />

the landscape on the roof. The space on the roof was<br />

designed to be a public space suitable for recreation<br />

and included an exhibition of food and plants from<br />

various regions of Germany. The exhibition content was<br />

interesting, as it presented earth, water, climate, and<br />

the diversity of the ecosystem emphasizing how a wise<br />

use of resources is important for securing sufficient<br />

food for the future. Exhibits were presented through<br />

interactive multimedia engaged through papers provided<br />

to each visitor. A conical structure was attached with<br />

a very thin solar cell linking the inside of the building to<br />

the space on the roof. The final hall contained a rather<br />

eccentric live performance.<br />

The Chinese Pavilion presented the concept ‘Land<br />

of Hope, Food for Life’ and was designed by Tsinghua<br />

University and Studio Link-Arc. The roof featured the<br />

merging of natural waves in the south with the city skyline<br />

in the north. City and Nature were brought together<br />

harmoniously reflecting the hope that this could be true<br />

with an intention of utilizing the roof as a ‘field of space’<br />

and a part of the landscape instead of an object set<br />

down in the exhibition area. A steel structure and cable<br />

bracing were utilized for the construction of the roof,<br />

allowing for the exhibition space to be free from columns<br />

and to allow for an LED light exhibit which was the<br />

highlight of this exhibition. The architect chose to line<br />

the roof with membrane waterproof materials to retain<br />

translucency and allow for quick construction. The<br />

building surface was clad with 1,<strong>05</strong>2 woven bamboo<br />

panels made from Glulam. After the event, the building<br />

will be dismantled and rebuilt as a public facility in a<br />

public park in Qingdao.<br />

วารสารอาษา<br />

SPECIAL REPORT <strong>ASA</strong> 91


Pavilion จากประเทศญี่ปุ่นเป็น Pavilion ซึ่งมีราย-<br />

ละเอียดนิทรรศการค่อนข้างมากและต้องใช้เวลาในส่วน<br />

นิทรรศการไม่น้อยกว่า 50 นาทีไม่รวมเวลาเข้าคิวเปลือก<br />

อาคารใช้ผนังที่ทาจากชิ้นไม้ขึ้นโครงเป็นกริด 3 มิติ เชื่อม-<br />

ต่อด้วยเทคนิคงานไม้ของญี่ปุ่นโดยไม่มีตัวยึดโลหะแสดงถึง<br />

ความเชื่อมโยงจุดกาเนิดของความหลากหลายของประเทศ<br />

ญี่ปุ่น ได้แก่ ฤดูทั้งสี่ ธรรมชาติ ระบบนิเวศ และอาหาร<br />

ไม้ที่ใช้เป็นไม้ที่มีการปลูกทดแทน สะท้อนถึงการดูแล<br />

รักษาป่าไม้ และสื่อถึงการใช้วัสดุอย่างความยั่งยืนซึ่งเป็น<br />

แนวคิดที่ผู้จัดงานมิลานเอ็กซ์โป 2015 ให้ความสาคัญ<br />

โครงไม้นี้จะช่วยควบคุมอุณหภูมิอาคารในตอนกลางวัน<br />

และเป็นส่วนหนึ่งของ lighting feature ในตอนกลางคืน<br />

ภายในจัดแสดงวัฒนธรรมและภูมิปัญญาด้านอาหาร นา<br />

เสนอแนวการแก้ไขปัญหาเรื่องการขาดแคลนอาหารของ<br />

โลก ภาวะอากาศที่ส่งผลต่อเกษตรกรรม การกินอาหาร<br />

ไม่สมดุล และการกระจายอาหารที่ไม่ทั่วถึง มีการใช้<br />

application ในการให้ข้อมูลเพิ่มเติมกับผู้ชมนิทรรศการ<br />

ในส่วน Diversity Waterfall เมื่อออกจากส่วนนิทรรศการ<br />

จะเป็นร้านอาหารและ food court ออกแบบอาคารโดย<br />

สถาปนิก Atsushi Kitagawara และส่วนจัดแสดงภายใน<br />

ออกแบบโดย Nendo และ teamLab<br />

Pavilion ที่น่าจะเป็นงานออกแบบที่สะดุดตามี public<br />

space ที่เชิญชวนและดึงดูดให้เข้าไปมีปฏิสัมพันธ์กับอาคาร<br />

มากที่สุดน่าจะเป็น Pavilion จากประเทศบราซิล ออกแบบ<br />

โดย Studio Arthur Casas และออกแบบนิทรรศการโดย<br />

Atelier Marko Brajovic นาเสนออาคารที่ให้เป็นจุดหยุดพัก<br />

เป็น public space ที่ดึงดูดผู้คนให้เข้าไปค้นหา โดยใช้<br />

เชือกตาข่ายขึง ด้วย tensile structure สร้างรูปทรงของ<br />

ทางเดินเชื่อมต่อระหว่างชั้นล่างถึงชั้นบนของอาคารอาคารนี้<br />

เป็นตัวอย่างที่ดีของอาคารที่มีจิตวิญญาณบางอย่างที่กระตุ้น<br />

ความอยากรู้ อยากลองของคนใช้งาน ให้ประสบการณ์<br />

ใหม่ๆ หวนนึกถึงความสนุกในวัยเด็กที่อาจจะขาดหายไป<br />

เมื่อเติบโตขึ้นน่าเสียดายที่การจัดนิทรรศการภายในไม่ค่อย<br />

มีคนสนใจเท่ากับภายนอก และการจัดสวนพืชดอกและ<br />

พืชใบด้านใต้ตาข่ายถึงแม้ว่าจะให้เดินชมได้แต่ก็ไม่ค่อย<br />

มีคนเดินเท่าไรนักเนื่องจากจะต้องเดินอยู่ใต้ฝุ่นจากทาง-<br />

เดินตาข่ายด้านบน<br />

นอกจากนี้ยังมี Vanke Pavilion ของกลุ่มบริษัท<br />

ก่อสร้าง Vanke ซึ่งเป็น 1 ใน 3 ของตัวแทนบริษัทจาก<br />

ประเทศจีน เป็นอาคารขนาด 950 ตารางเมตร ออกแบบ<br />

โดยสถาปนิก Daniel Libeskind จากนิวยอร์ก และ Libeskind<br />

Architettura จากมิลาน รูปทรงอาคารคดเคี้ยวและลื่นไหล<br />

ต่อเนื่องระหว่างพื้นที่ภายในและภายนอกใช้แผ่นกระเบื้อง<br />

เคลือบผิวเหลือบสีเป็นวัสดุผิวภายนอกอาคารและทางเดิน<br />

ภายนอกขึ้นไปยังสวนบนหลังคา<br />

นอกจากนี้ยังมี Pavilion อื่นๆ ที่น่าสนใจ ที่ไม่ได้<br />

กล่าวถึงในคราวนี้อีกหลาย Pavilion รวมถึง Pavilion จาก<br />

ประเทศเกาหลี และ Pavilion จากประเทศออสเตรีย งาน<br />

มิลานเอ็กซ์โป 2015 จัดแสดงถึงวันที่31 ตุลาคม 2015 ดู<br />

รายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://www.expo2015.org<br />

09 Pavilion ประเทศญี่ปุ่น แสดง<br />

ทิวทัศน์ชนบทญี่ปุ่นที่อุดมสมบูรณ์<br />

ทั้ง 4 ฤดู ให้ประสบการณ์ Interactive<br />

ใน space ที่ล้อมรอบไป<br />

ด้วยวิดีโอ<br />

10 เชือกตาข่ายขึงของ Pavilion<br />

ประเทศบราซิล ที่ให้ประสบการณ์<br />

แปลกใหม่กับผู้เข้าชม<br />

Narute Pongchavanakul<br />

09<br />

92 <strong>ASA</strong> SPECIAL REPORT วารสารอาษา


ชิสากานต์ โรจนสุนทร<br />

สถาปนิก บริษัท สานักงาน<br />

สถาปนิกกรุงเทพ จากัด<br />

The Office of Bangkok<br />

Architects Co., Ltd. (OBA)<br />

10<br />

Chisagarn Rojanasoonthon<br />

The Japan Pavilion featured a very detailed exhibition<br />

and required at least 50 minutes to view, not including<br />

queuing time. The outer shell of the building was made<br />

from pieces of wood created in a three dimensional<br />

grid, joined together by Japan’s traditional carpentry<br />

techniques and without any supportive metal connectors<br />

The exhibition showed the connection of the origins of<br />

Japan’s diversity, i.e. the four seasons, nature, ecosystem<br />

and food. The sustainable wood was used to represent<br />

forest conservation, conveying the concept that the<br />

organizer of the Milan Expo valued which was to highlight<br />

the use of sustainable materials. The wooden<br />

structure also controlled the temperature in the building<br />

during the daytime and was part of a lighting feature during<br />

the nighttime hours. Inside, the exhibition presented<br />

food culture, food knowledge and ideas for solutions<br />

to the world’s food shortages, climate conditions that<br />

affect agriculture, imbalances in food consumption, and<br />

inequalities in food distributions. A smart phone application<br />

provided additional information for audiences in the<br />

Diversity Waterfall section. Upon exiting the exhibition,<br />

one was greeted by restaurants and a food court. The<br />

building was designed by Atsushi Kitagawara Architects<br />

and the exhibition was designed by Nendo and teamLab.<br />

The Brazilian Pavilion was likely the most eye-catching<br />

design, as it featured an inviting and attractive public<br />

space that visitors could interact with. Studio Arthur<br />

Casas designed the building and Atelier Marko Brajovic<br />

designed the exhibition. The area was comprised of a<br />

rest area and a public space that attracted people to<br />

explore the area through the use of a stretched rope<br />

mesh that created a tensile structure, shaping the<br />

corridor that linked the ground floor to the apex of the<br />

building. This building was a good example of a spiritual<br />

building that stimulated visitors’ curiosity, provided new<br />

experiences, and reminding them of the good times<br />

from childhood that are missing from adulthood.<br />

What a pity that the exhibition inside was not as well<br />

received as the outside. Although a flower and green<br />

garden under the mesh allowed for people to walk into<br />

the space, many people did not want to walk under the<br />

dust that fell from the mesh over their heads.<br />

The Venke Pavilion of Venke Construction Group<br />

Company was 1 of 3 representatives from China.<br />

The building occupied 950 square meters of space and<br />

was designed by Architect Daniel Libeskind, New York,<br />

and Libeskind Architecttura, Milan. The building featured<br />

a curvy shape that seemed to flow between the inside<br />

and outside spaces. Sleek glazed tiles were used for<br />

the façade of the building while a walkway led up to<br />

the rooftop garden.<br />

There were many other interesting pavilions apart<br />

from those mentioned in this article, including those<br />

from Korea and Australia. The Milan Expo 2015 is<br />

on view until 31 October 2015. For more information<br />

please visit http://www.expo2015.org<br />

วารสารอาษา<br />

SPECIAL REPORT <strong>ASA</strong> 93


PROFESSIONAL<br />

TEXT<br />

Assistant Professor<br />

Dr.Pattaranan Takkanon (TREES-A)<br />

TOKYO<br />

GREEN OFFICES<br />

IF THE AVERAGE TIME PEOPLE<br />

SPEND IN THEIR OFFICE IS 8 HOURS<br />

A DAY, OR APPROXIMATELY NO MORE<br />

THAN 48 HOURS A WEEK, HOW GREAT<br />

IT MUST BE FOR ONE TO BE ABLE TO<br />

WORK UNDER A PLE<strong>ASA</strong>NT ATMO-<br />

SPHERE; THE KIND OF PLACE THAT IS<br />

PHYSICALLY AND MENTALLY HEALTHY,<br />

FRIENDLY TO THE ENVIRONMENT<br />

AND USES LESS ENERGY. THE AFORE-<br />

MENTIONED IS A SIMPLE DEFINITION<br />

OF A GREEN OFFICE, THE SUBJECT<br />

OF OUR DISCUSSION FOR THIS ISSUE<br />

OF <strong>ASA</strong>. I HAD THE EXPERIENCE OF<br />

VISITING A GOOD NUMBER OF SUCH<br />

BUILDINGS WHEN I WAS ORGANIZING<br />

THE INTERNATIONAL GREEN ARCHI-<br />

TECTURE FIELDTRIP PROJECT ON<br />

BEHALF OF THE THAI GREEN BUILDING<br />

INSTITUTE HELD IN MAY OF 2015. FOR<br />

THIS ARTICLE, I SELECTED THREE<br />

OFFICE BUILDINGS; ALL ARE INTERES-<br />

TING FOR THEIR EXEMPLARY NOTION<br />

AND EXECUTION OF GREEN ARCHI-<br />

TECTURE, AND EACH WITH ITS OWN<br />

UNIQUELY DISTINCTIVE DESIGN.<br />

เมื่อเราต้องใช้ชีวิตอยู่ในสานักงานเฉลี่ยวันละ 8 ชั่วโมง<br />

และไม่เกิน 48 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ จะดีแค่ไหนหากเราได้<br />

มีโอกาสอยู่ในสถานที่ที่มีบรรยากาศเอื้อต่อการทางาน<br />

สภาพแวดล้อมภายในอาคารส่งเสริมสุขภาพกายและใจ<br />

แถมยังประหยัดพลังงานและเป็นมิตรกับสภาพแวดล้อม<br />

อีกด้วย นั่นคือคาจากัดความง่ายๆ ของ สานักงานเขียว<br />

(Green Office) ที่ผู้เขียนจะกล่าวถึงในวารสารอาษา<br />

ฉบับนี้ ซึ่งผู้เขียนมีโอกาสได้ไปเยี่ยมชมเมื่อครั้งเป็น<br />

ผู้จัดโครงการทัศนศึกษาอาคารเขียวในต่างประเทศ<br />

ในนามของสถาบันอาคารเขียวไทยช่วงปลายเดือน<br />

พฤษภาคม 25<strong>58</strong> ที่ผ่านมา ทั้งนี้ผู้เขียนได้คัดเลือก<br />

เฉพาะอาคารประเภทสานักงานเป็นตัวแทนของอาคารเขียว<br />

ที่น่าสนใจมากล่าวถึงจานวน 3 อาคาร ซึ่งแต่ละอาคาร<br />

มีลักษณะโดดเด่นด้านการออกแบบเพื่อ ‘ความเขียว”<br />

ที่แตกต่างกัน<br />

01<br />

94 <strong>ASA</strong> PROFESSIONAL วารสารอาษา


อาคารแรกคือ NBF Osaki Building เป็นอาคารสูง<br />

25 ชั้น สาหรับส่วนวิจัยและพัฒนาของบริษัท Sony ได้รับ<br />

การออกแบบและนาชมโดยสถาปนิก Tomohiko Yamanashi<br />

แห่ง Nikken Sekkei โดยเป็นอาคารที่มีเอกลักษณ์เห็นได้<br />

ชัดจากภายนอกคือเปลือกอาคารที่เรียกว่า ‘BioSkin’ ซึ่ง<br />

ทาหน้าที่เป็นผนังทาความเย็น (Cooling Façade) ด้วย<br />

เทคนิคของ Evaporative Cooling หรือการทาความเย็น<br />

ด้วยการระเหย เริ่มแรกนั้นสถาปนิกมีวัตถุประสงค์ในการ<br />

ออกแบบผนังชั้นนอกของอาคารให้ทาหน้าที่เพื่อความ<br />

ปลอดภัยในกรณีมีเหตุเพลิงไหม้ผู้ใช้อาคารสามารถใช้ผนัง<br />

ส่วนนี้เป็นราวจับระหว่างหนีโดยใช้เส้นทางภายนอกอาคาร<br />

และยังเป็นการป้องกันผู้อยู่ภายในอาคารกระโดดออกสู่<br />

ภายนอกด้วย แต่นอกจากผนังนี้จะมีทั้งความสวยงามและ<br />

ประโยชน์ใช้สอยด้านความปลอดภัยแล้ว มันยังได้ทาหน้าที่<br />

เป็นท่อไหลเวียนน้าเพื่อลดอุณหภูมิของเปลือกอาคาร โดย<br />

สถาปนิกได้มีแนวคิดจากระบบสเปรย์น้าแบบดั้งเดิมของ<br />

ญี่ปุ่นที่เรียกว่าUchimizu ซึ่งใช้ร่วมกับไม้ไผ่เมื่อนาแนวคิด<br />

มาพัฒนา BioSkin สาหรับอาคารนี้จึงเลือกใช้วัสดุอย่าง<br />

ชาญฉลาดโดยใช้เซรามิคมีรูพรุนจากผู้ผลิตงานสุขภัณฑ์<br />

และอาคารได้มีการปล่อยน้าเข้าสู่ระบบจากถังเก็บน้าฝน<br />

ด้านบนอาคารในช่วงฤดูร้อน ซึ่งตั้งแต่เปิดใช้อาคารเมื่อ<br />

ปี 2011 เปลือกอาคารเย็นนี้ก็ได้ท าหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ<br />

ในการลดความร้อนและการใช้พลังงานในอาคารตลอดมา<br />

โดยผลการทดลองและจาลองทางคอมพิวเตอร์ระบุว่าเปลือก<br />

อาคารนี้สามารถลดอุณหภูมิผิววัสดุได้สูงสุดถึง12 องศา-<br />

เซลเซียส และลดอุณหภูมิอากาศโดยรอบได้2 องศาเซลเซียส<br />

นอกจากระบบการระเหยน้าแล้ว รูปแบบของผนังชั้นนอกนี้<br />

ยังช่วยป้องกันแดดให้กับผนังชั้นในของอาคาร เป็นระบบ<br />

ผนังที่ช่วยลดผลกระทบจากปรากฏการณ์เกาะความร้อน<br />

ในเมืองได้เป็นอย่างดีจึงทาให้ BioSkin นี้ได้รับรางวัลด้าน<br />

นวัตกรรมจาก The Council on Tall Buildings and Urban<br />

Habitat (CTBUH) อีกด้วย ส่วนพื้นที่ภายนอกอาคารนั้น<br />

ก็ได้รับการออกแบบอย่างเอาใจใส่ให้เป็นสวนในเมืองที่<br />

ช่วยปรับสภาวะความร้อนภายนอกอาคาร มีการยกระดับ<br />

พื้นให้เสมือนอาคารตั้งอยู่บนเขา และพืชพรรณต่างๆ ที่<br />

คัดเลือกมานั้นได้ผ่านกระบวนการจาลองสภาพการเจริญ-<br />

เติบโตและร่มเงาด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยรวม NBF<br />

Osaki Building จึงได้รับรางวัลด้านการออกแบบสถาปัตย-<br />

กรรมจาก The Architectural Institute of Japan<br />

NBF Osaki Building is a 25-storey high edifice that hosts the research<br />

and development unit of the Sony Corporation with Tomohiko Yamanashi<br />

of Nikken Sekkei as the project’s architect. The building’s ‘BioSkin’<br />

contributes to both the striking appearance of the overall structure<br />

and the functionality as the Cooling Façade employs the Evaporative<br />

Cooling technique. Initially, the architect intended for this particular<br />

shell to provide additional safety in the case of fire where people<br />

could actually use the exterior wall’s structure as a handle to get out<br />

of the building. Its presence was also designed to prevent people<br />

from jumping off of the building. But aside from the beauty and safety<br />

features, the water circulation system installed on the façade also helps<br />

to decrease the building’s temperature. The architect applied the idea<br />

from the Japanese traditional spraying system called ‘Uchimizu,’ where<br />

bamboo is the essential component. For the development of BioSkin,<br />

a perforated ceramic produced by a sanitary ware manufacturer was<br />

chosen as the material. In the summer, the building releases water<br />

from the rainwater storage installed on the top floor. Since the building’s<br />

opening in 2001, this cooling façade has done a magnificent job of<br />

helping to reduce the heat and energy usage. Data from experiments<br />

and computer modeling indicate that the façade can reduce the temperature<br />

of the building’s surface by up to 12° c while the surrounding air<br />

temperature decreases 2°c. In addition to the evaporative cooling system,<br />

the design of the façade can also protect the interior wall from being<br />

directly exposed to the sun. Such a walling system can also efficiently<br />

relieve the urban heat island phenomenon. All that being said, it<br />

comes as no surprise why BioSkin was the winner of the Innovative<br />

Award from The Council on Tall Buildings and Urban Habitat (CTBUH).<br />

The exterior space is also attentively designed to function as an<br />

urban garden with its ability to help adjust the outside temperature.<br />

The floor is elevated to create the hillside landscape that the building<br />

seemingly stands on. The plants were also carefully selected using a<br />

computer program simulating the overall growing condition, shapes<br />

and shades they could potentially provide to the area. NBF Osaki<br />

Building was also awarded an architectural design award from the<br />

Architectural Institute of Japan.<br />

01 NBF Osaki Building<br />

02 ส่วนขยายของ BioSkin<br />

02<br />

วารสารอาษา<br />

PROFESSIONAL <strong>ASA</strong> 95


03 Mokuzai Kaikan (https://<br />

www.flickr.com)<br />

04 ความลึกของ Façade ด้าน<br />

ทิศตะวันตกทาหน้าที่บังแดดให้<br />

กับพื้นที่ภายในอาคาร<br />

<strong>05</strong> รูปตัดของ Mokuzai Kaikan<br />

(http://facadesconfidential.<br />

blogspot.com/2010/11/<br />

mokuzai-kaikan-japanesetimber.html)<br />

03<br />

อาคารที่สอง คือ Mokuzai Kaikan ออกแบบโดยสถาปนิก<br />

ท่านเดียวกัน โดยอาคารนี้ได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก<br />

เพราะคุณ Yamanashi ต้องทาหน้าที่เป็นมัคคุเทศก์ให้แก่<br />

เพื่อนสนิทมิตรสหายที่ขอไปเยี่ยมชมอยู่บ่อยครั้งเนื่องจาก<br />

อาคารนี้เป็นสานักงานของบริษัทขายไม้ ตั้งอยู่ในย่านโกดัง<br />

และอุตสาหกรรมไม้ใน Shinkiba ของโตเกียว สถาปนิก<br />

จึงเลือกใช้ไม้เป็นวัสดุหลักเพื่อสร้างความโดดเด่นเน้นภาพ-<br />

ลักษณ์ของธุรกิจ ไม้ถูกนามาใช้เป็นองค์ประกอบหลักของ<br />

อาคารนับตั้งแต่เปลือกอาคารด้านตะวันตกที่เป็นทางเข้า<br />

หลักจากลานกว้างเชื่อมต่อไปยังอาคารอื่นโดยรอบไปจน<br />

ถึงวัสดุภายในอาคาร ผนังด้านตะวันตกของอาคารนี้สื่อ<br />

ถึงพื้นที่เชื่อมต่อภายนอกและภายในอาคารตามรูปแบบ<br />

สถาปัตยกรรมญี่ปุ่นที่เรียกว่า Engawa หากแต่งานนี้เป็น<br />

Modern Engawa ที่ทาหน้าที่เป็นส่วนพักผ่อนของพนักงาน<br />

ในแต่ละชั้น สร้างพื้นที่ด้านข้างของอาคารให้มีคุณภาพทั้ง<br />

ในการระบายอากาศและการป้องกันแดดภายนอก ความ<br />

เปลี่ยนแปลงของสี ไม้และผิวผนังคอนกรีตตามอายุของอาคาร<br />

เป็นเสน่ห์อีกอย่างหนึ่งที่สถาปนิกตั้งใจให้ปรากฏในอาคารนี้<br />

The second building, Mokuzai Kaikan, was designed by the very<br />

same architect. Mr. Yamanashi himself is constantly given the duty of<br />

conducting a special guide tour when his close acquaintances stop<br />

by to visit the building. Used as the head office of a wood trading<br />

company and located in the warehouse district of Tokyo’s carpentry<br />

industry, Shinkiba, the architect naturally chooses wood as the key<br />

architectural element to reflect the company’s business operation<br />

and identity. Wood is present in several compositions of the structure<br />

including the westward building’s shell where the main entrance is<br />

located. This particular wall is an expression of Japanese Architecture’s<br />

Engawa, which is basically the transitional space that links the interior<br />

and exterior together. For this project, the Modern Engawa on each floor<br />

functions as a recreational area for the employees, offering additional<br />

spaces that can essentially improve the building’s ventilation and heat<br />

prevention qualities. The changes in the color of the wood and concrete<br />

surface take place accordingly, as the building ages through time. The<br />

detail eventually became one of the unique charms that the architect<br />

intended to have happen within the structure.<br />

The interior comprises an office space, exhibition room and an<br />

auditorium. The first space one encounters as entering the building is<br />

the reception area for greeting and welcoming visitors, following the<br />

Japanese tradition. The spacious foyer and an expansive elevated floor<br />

make the space ideal for group briefings while special carpentry details<br />

can be found on the walls. Every feature and element of Mokuzai Kaikan<br />

was designed using Building Information Modeling (BIM) while every<br />

single piece of wood was machine-cut for ultimate precision. It is this<br />

kind of intricateness that derives from the perfect clash between the<br />

aesthetics of Japanese culture and the functional ability brought about<br />

by advanced technology.<br />

96 <strong>ASA</strong> PROFESSIONAL วารสารอาษา


พื้นที่ใช้สอยภายในอาคารประกอบด้วยส่วนส านักงาน<br />

ห้องนิทรรศการ และห้องประชุม (auditorium) โดยนับ<br />

ตั้งแต่แรกเข้าสู่อาคารจะมีพื้นที่ให้การต้อนรับตามธรรมเนียม<br />

ญี่ปุ่น เป็นโถงสูงและมีพื้นยกระดับขนาดใหญ่สาหรับการ<br />

นั่งอธิบายงานเป็นหมู่คณะผนังห้องแสดงการต่อไม้อันเป็น<br />

เทคนิคเฉพาะ ทั้งนี้ทุกรายละเอียดของอาคารผ่านกระบวน-<br />

การออกแบบโดยใช้ระบบ Building Information Modeling<br />

(BIM) และไม้ทุกชิ้นผ่านการตัดอย่างแม่นย าโดยใช้เครื่อง-<br />

จักร ความประณีตของโครงการจึงมาจากการผสมผสานทั้ง<br />

วัฒนธรรมญี่ปุ่นและเทคโนโลยีอันทันสมัยได้เป็นอย่างดี<br />

อาคารที่สามคือ Kajima Akasaka Annex เป็นอาคาร<br />

สานักงานใหญ่ของบริษัท Kajima ซึ่งมีชื่อเสียงทางด้าน<br />

การออกแบบและก่อสร้าง โครงการตั้งอยู่ใจกลางกรุงโตเกียว<br />

ย่าน Akasaka เขต Minato มีทั้งอาคารเดิมที่ได้รับการ<br />

ปรับปรุงและอาคารใหม่ที่เป็นส่วนขยาย ลักษณะอาคาร<br />

เป็นกล่องเรียบๆ แต่มีการออกแบบระบบผนังอาคารอย่าง<br />

ลงตัวในเรื่องของขนาด สัดส่วนพื้นที่กระจกและกรอบผนัง<br />

คอนกรีตเสริมเหล็กผิวเปลือยส่วนผนังกระจกใช้เทคโนโลยี<br />

กระจก multilayered low-E อันทันสมัยเพื่อให้เป็นฉนวน<br />

ทางความร้อนและมองเห็นทิวทัศน์ได้ดี โดยกระจกชั้น<br />

นอกเป็นกระจกฉนวนกันความร้อน (heat-absorbing<br />

glass) หนา 12 มิลลิเมตร และกระจกชั้นในเป็นกระจก<br />

โฟลตหนา 8 มิลลิเมตร ในส่วน air gap บรรจุก๊าซเพื่อให้<br />

มีคุณสมบัติการแผ่รังสีต่า (low emissivity) นอกจากนี้<br />

ยังมีระบบการระบายอากาศด้วยวิธีธรรมชาติโดยเมื่อเซ็น-<br />

เซอร์ตรวจวัดพบว่าอุณหภูมิภายนอกอาคารมีความเหมาะสม<br />

จะเปิดช่องเปิดให้อากาศไหลเวียนทางตั้งตามหลักของ<br />

stack effect ซึ่งอาศัยค่าความแตกต่างของอุณหภูมิที่<br />

เพียงพอ ภายในอาคารยังมีระบบม่านช่วยควบคุมแสง<br />

ธรรมชาติและความร้อนที่เข้ามาในอาคารในแต่ละด้าน<br />

อีกด้วย<br />

04<br />

The last but definitely not least of the bunch is Kajima Akasaka<br />

Annex, the headquarters of the renowned design and construction<br />

company, Kajima. The project is located in central Tokyo in a neighborhood<br />

called Akasaka in the Minato district. The entire architectural<br />

program includes a renovated original building and the new addition.<br />

The design of the simple box-shaped building is superlative in terms<br />

of the details of the scale and proportion of the glass opening and the<br />

frame, which is essentially a reinforced concrete wall with an exposed<br />

surface. The glass wall employs the smart multilayered low-E technology<br />

that offers functionality as heat insulation with a transparency that<br />

does not obstruct any outside view. The exterior layer is comprised<br />

of heat-absorbing glass with a thickness of 12 millimeters, and the<br />

8-millimeter thick float glass was used for the inner layer where an air<br />

gap contains gas with the ability to help maintain the low emissivity.<br />

The building was also designed to have a natural ventilation system,<br />

in which once the censor detects the suitable outside temperature,<br />

openings are automatically opened to enhance the airflow. The operation<br />

follows the stack effect theory, which relies on the right level of temperature<br />

differences. Inside the building, a curtain system is also<br />

incorporated to help control the amount of natural light and heat<br />

allowed into the building from different sides.<br />

Even though the office space was designed to be of an open-plan,<br />

the atmosphere is still very quiet and peaceful, reflecting the true<br />

Japanese working environment. An economical use of electricity is<br />

achieved while still maintaining the universal comfort of the building’s<br />

users through the implementation of a task and ambient air-conditioning<br />

system. Central air conditioning is used and the working space is<br />

divided into eco modules to separate the control switches of the air<br />

conditioning and lighting system. This allows for the user of each module<br />

to appropriately determine when to open and close the system by<br />

themselves.<br />

<strong>05</strong><br />

วารสารอาษา<br />

PROFESSIONAL <strong>ASA</strong> 97


พื้นที่ภายในอาคารสานักงานได้รับการออกแบบแบบ<br />

open-plan แต่บรรยากาศเงียบสงบตามลักษณะการทางาน<br />

ของชาวญี่ปุ่น การประหยัดไฟฟ้าโดยยังคงคานึงถึงสภาวะ<br />

น่าสบายของผู้ใช้งานอาคารทาได้โดยการใช้ระบบ task<br />

and ambient air-conditioning system มีการใช้ระบบ<br />

ปรับอากาศรวมและแบ่งพื้นที่ทางานเป็น eco module<br />

เพื่อแยกสวิตช์ควบคุมระบบปรับอากาศและไฟฟ้าแสง-<br />

สว่างเฉพาะจุด เพื่อให้ผู้ใช้งานในแต่ละ module สามารถ<br />

กาหนดการเปิด-ปิดระบบได้เอง<br />

และด้วยเล็งเห็นว่าการควบคุมอุณหภูมิของระบบปรับ<br />

อากาศรวมอาจทาให้ผู้ใช้งานอาคารแต่ละคนรู้สึกสบาย<br />

แตกต่างกัน จึงมีการใช้ air diffuser เพื่อให้สามารถปรับ<br />

การกระจายลมแต่ละพื้นที่ได้ตามต้องการ<br />

โครงการนี้ยังให้ความสาคัญกับคุณภาพชีวิตและ<br />

บรรยากาศภายนอกห้องทางาน โดยได้จัดพื้นที่ส่วนกลาง<br />

สาหรับการติดต่อคุยงานกับลูกค้าท่ามกลางสวนภายใน<br />

อาคารที่ได้รับแสงธรรมชาติจากด้านบน (top light)<br />

มีการประดับตกแต่งด้วยงานประติมากรรมของนักศึกษา<br />

และศิลปินในท้องถิ่นหมุนเวียนกันไปและภายนอกอาคาร<br />

ยังมีสวนหลังคาพร้อมแผงโซล่าเซลล์ที่ช่วยผลิตไฟฟ้า<br />

ให้กับอาคารอีกส่วนหนึ่ง โดยรวม Kajima Akasaka<br />

Annex จึงได้รับแต้มคะแนนอยู่ในระดับ S ตามเกณฑ์<br />

CASBEE ซึ่งเป็นเกณฑ์การประเมินอาคารเขียวของญี่ปุ่น<br />

06<br />

07<br />

1 Wooden Oak<br />

(White) Plugs<br />

2 Japanese<br />

Traditional Joint<br />

Method (Tsugite)<br />

3 Aluminium Ring<br />

4 Bolt<br />

5 Japanese<br />

Cypress<br />

115X115mm<br />

1<br />

3<br />

4<br />

5<br />

2<br />

08<br />

06 โถงต้อนรับและอธิบายงาน<br />

07 สถาปนิก Tomohiko<br />

Yamanashi อธิบายการต่อไม้<br />

ของ Mokuzai Kaikan<br />

08 ภาพขยายการต่อไม้ของ<br />

Mokuzai Kaikan (http://<br />

facadesconfidential.<br />

blogspot.com/2010/11/<br />

mokuzai-kaikan-japanesetimber.html)<br />

09 Kajima Akasaka Annex<br />

10 ช่องเปิดทางตั้งเพื่อการ<br />

ระบายอากาศด้วยวิธีธรรมชาติ<br />

และระบบม่านเพื่อควบคุมแสง<br />

และความร้อน<br />

11 การจัดพื้นที่ภายในสานักงาน<br />

แบบ open-plan<br />

12 การแยกสวิตช์ควบคุมดวงโคม<br />

98 <strong>ASA</strong> PROFESSIONAL วารสารอาษา


10<br />

09<br />

The architect foresaw how the temperature control of the central<br />

air conditioning could affect the users’ level of comfort differently. This<br />

resulted in the use of an air diffuser in order for the adjustment to be<br />

made as one pleases.<br />

The project also highlights the importance of people’s quality of<br />

life and the atmosphere outside of the working space. A communal<br />

area is provided in the form of an indoor garden where employees<br />

converse and consult with clients. This was designed to bring in the<br />

top light with presences of sculptural pieces by students and local<br />

artists being shown in turn to showcase their artistic expressions. At<br />

the rooftop garden, solar cell panels are installed, generating a good<br />

amount of electricity for the building. Kajima Akasaka Annex is in<br />

the S level of CASBEE criteria, Japan’s Green building assessment<br />

standard.<br />

11<br />

12<br />

วารสารอาษา<br />

PROFESSIONAL <strong>ASA</strong> 99


พัฒนาการด้านอาคารเขียวในแต่ละประเทศนั้นล้วน<br />

แตกต่างและมีความเฉพาะของตนเอง ประเทศญี่ปุ่นเป็น<br />

อีกตัวอย่างหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงความพยายามใส่ใจกับ<br />

สภาพแวดล้อม พลังงาน และทรัพยากร โดยเฉพาะหลัง<br />

เหตุการณ์สึนามิในปี 2011 ที่ทาให้ภาครัฐต้องกาหนด<br />

มาตรการคุมเข้มมากขึ้น หากแต่ภาคการออกแบบอาคาร<br />

และประชาชนต่างก็ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการปรับ-<br />

ปรุงอาคาร และปรับพฤติกรรมเพื่อการประหยัดพลังงาน<br />

สาหรับอาคารเขียวของไทยนั้นแม้อาจยังนับได้ว่าอยู่ใน<br />

ช่วงเริ่มต้น แต่หากได้มีโอกาสเรียนรู้จากผู้มีประสบการณ์<br />

ในหลายประเทศก็เป็นไปได้ที่จะมีพัฒนาการที่รวดเร็วและ<br />

เข้าใจที่จะประยุกต์ให้เหมาะสม เพื่อเป็นไปในทิศทางที่<br />

สอดคล้องกับบริบทสภาพแวดล้อม สภาพภูมิอากาศ และ<br />

สถานการณ์ด้านพลังงานและทรัพยากรของเราเอง<br />

13<br />

The development of Green building differs in each country with its<br />

own specifics and standards. Japan is one example that manifests a<br />

very active and dedicated attempt to be more conscious and attentive<br />

to the environment as well as energy and resource consumption. The<br />

2011 Tsunami has intensified the measures and controls while the design<br />

and public sector are keener to facilitate improvement in building<br />

construction, as they are more willing to readjust their behaviors to<br />

maximize efficient energy usage. For Thailand, Green building is a<br />

notion that is in the very beginning stage of formation. But with the<br />

opportunity to learn from what different countries around the world has<br />

achieved, there is a great chance that the next steps of the development<br />

can be accomplished faster, as we learn to understand how to apply<br />

bodies of knowledge to suit the local environment, climate and our<br />

own conditions in terms of energy and resources.<br />

14<br />

อ้างอิง<br />

1 http://facadesconfidential.blogspot.com/2010/11/mokuzai-kaikan-japanesetimber.html,<br />

28กรกฎาคม 25<strong>58</strong>.<br />

2 https://www.flickr.com/photos/77597060@N02/11514488025, 28กรกฎาคม 25<strong>58</strong>.<br />

3 http://www.ibec.or.jp/jsbd/AN/features.htm, 28กรกฎาคม 25<strong>58</strong>.<br />

15<br />

13 การใช้ air diffuser เพื่อ<br />

universal comfort (http://<br />

www.ibec.or.jp/jsbd/AN/<br />

features.htm)<br />

14 ส่วน atrium ตกแต่งเป็น<br />

สวนเพื่อการพักผ่อนและคุย<br />

ธุรกิจ<br />

15 สวนหลังคาพร้อมแผงโซล่า-<br />

เซลล์<br />

ผศ.ดร.ภัทรนันท์ ทักขนนท์<br />

(TREES-A)<br />

อาจารย์ประจาภาควิชานวัตกรรม<br />

อาคาร และรองคณบดีฝ่ายวิชาการ<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

100 <strong>ASA</strong> PROFESSIONAL วารสารอาษา


MEMBERSHIP<br />

หนังสือและเอกสาร<br />

• วารสารอาษา วารสารวิชาการด้านสถาปัตยกรรม<br />

ราย 2 เดือน<br />

• จดหมายเหตุ หนังสือข่าวในแวดวงด้านสถาปัตยกรรม<br />

และเพื่อการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆของสมาคมฯ<br />

ราย 1 เดือน<br />

• ห้องสมุด สาหรับบริการเพื่อสมาชิกได้เข้าใช้ศึกษา<br />

ข้อมูล ค้นคว้า ทางด้านวิชาการ (ณ ศูนย์<br />

ประชาสัมพันธ์ asa center สยามดิสคัพเวอร์รี่ ชั้น 5)<br />

• หนังสือต่างๆ สมาชิกสามารถสั่งซื้อหนังสือ เอกสาร<br />

และคู่มือต่างๆ ทั้งทางด้านวิชาการและที่เป็นประโยชน์<br />

ทางด้านการปฏิบัติวิชาชีพที่สมาคมฯ ได้จัดทาขึ้นใน<br />

ราคาพิเศษ เฉพาะสมาชิก เช่น กฎหมายอาคาร ฯลฯ<br />

WEBSITE<br />

• asa web สมาชิกสามารถเข้าถึงข่าวสารข้อมูลออนไลน์<br />

ได้ที่ www.asa.or.th<br />

• asa webboard ชุมชนออนไลน์ สาหรับการแลกเปลี่ยน<br />

ข้อมูลของสมาชิก<br />

กิจกรรมด้านต่างๆ<br />

• สถาปัตย์สัญจร การจัดทัศนนักศึกษาทางด้านสถาปัตย-<br />

กรรมทั้งในและต่างประเทศ ปีละประมาณ 2 ครั้ง<br />

• กิจกรรมด้านวิชาการและวิชาชีพ การจัดอบรม<br />

โครงการสุดสัปดาห์วิชาการ การจัดสัมมนาด้าน<br />

วิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนาศักยภาพในการ<br />

ประกอบวิชาชีพปีละประมาณ 10 ครั้ง<br />

• กิจกรรมด้านสันทนาการเพื่อความสนุกสนานสามัคคี<br />

ของสมาชิกสมาคมฯ เช่น asa cup (การแข่งขัน<br />

ฟุตบอลสนามเล็กข้างละ 8 คน), golf asa,<br />

badmintion asa, asa night ฯลฯ<br />

• กิจกรรมอื่นๆ ขึ้นอยู่กับการจัดขึ้นมาเป็นครั้งๆ ไป<br />

เช่น การร่วมประกวดแบบต่างๆ ที่สมาคมฯจัดขึ้น<br />

หรือรับรอง สนับสนุน การร่วมส่งประกวดงาน<br />

สถาปัตยกรรมดีเด่นงานอนุรักษ์ดีเด่น บางกิจกรรม<br />

นั้นจัดเฉพาะสมาชิกเท่านั้นและทุกกิจกรรมจะคิด<br />

ราคาสมาชิกพิเศษกว่าบุคคลทั่วไป<br />

งานสถาปนิก<br />

• asa club สามารถเข้าใช้พื้นที่ asa club เพื่อการ<br />

พักผ่อน พบปะสังสรรค์ นั่งเล่นในบริเวณงาน<br />

• asa shop จาหน่ายหนังสือทางด้านสถาปัตกรรม<br />

ต่างๆ และของที่ระลึกที่ทางสมาคมฯผลิตขึ้นโดย<br />

จาหน่าย ในราคาพิเศษสาหรับสมาชิกฯ<br />

หมายเหตุ รายละเอียดอาจเปลี่ยนแปลงได้ตาม<br />

ความเหมาะสมขึ้นอยู่กับคณะกรรมการบริหาร<br />

สมาคมในแต่ละสมัย<br />

ประเภทของสมาชิกและค่าสมัคร (รวม vat 7%)<br />

สมัครสมาชิกประเภทบุคคล ค่าลงทะเบียน 100 บาท<br />

ภาคี-ค่าบารุงรายปี ปีละ 400 บาท รวม 535 บาท<br />

สามัญ-ค่าบารุงราย 5 ปี ครั้งละ 1,800 บาท<br />

รวม 2,033 บาท<br />

สมทบ [บุคคลทั่วไป]-ค่าบารุงรายปี ปีละ 900 บาท<br />

รวม 1,070 บาท<br />

สมทบ [นักศึกษา]-ค่าบารุงรายปี ปีละ 200 บาท<br />

รวม 321 บาท<br />

สมัครสมาชิกประเภทสานักงานนิติบุคคล<br />

ค่าลงทะเบียน 500 บาท<br />

ค่าบารุงราย 2 ปีครั้งละ 8,000 บาท รวม 8,500 บาท<br />

สนใจรายละเอียด ข้อแตกต่างของแต่ละประเภทสมาชิก<br />

และวิธีการสมัคร ติดต่อที่ สมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

คุณนพมาส สมใจเพ็ง โทร 02 3196555 ต่อ 109<br />

E-mail : memberasa@gmail.com<br />

ใบสมัครสมาชิก วารสารอาษา<br />

(ถ่ายเอกสารได้)<br />

ข้าพเจ้า :<br />

ที่อยู่ (สาหรับการจัดส่งหนังสือ) :<br />

โทรศัพท์ : โทรสาร : e-mail :<br />

ต้องการสมัครเป็นสมาชิก ‘วารสารอาษา’ อัตราต่อไปนี้<br />

บุคคลทั่วไป สมาชิกรายครึ่งปี (3 เล่ม) 225 บาท สมาชิกรายปี (6 เล่ม) 500 บาท<br />

นิสิตนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สมาชิกรายครึ่งปี (3 เล่ม) 225 บาท สมาชิกรายปี (6 เล่ม) 440 บาท<br />

รวมค่าส่งทางไปรษณีย์แล้ว (เฉพาะภายในประเทศ)<br />

ลงชื่อ : วันที่ :<br />

การชาระเงิน เงินสด ชาระเงินที่ สมาคมสถาปนิกสยามฯ โอนเงิน เข้าในนาม สมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

ที่อยู่ (สาหรับใบเสร็จรับเงิน) ธนาคารกสิกรไทย สาขาถนนพระราม 9<br />

บัญชีออมทรัพย์ เลขที่บัญชี 713-2-02232-6<br />

กรณีการโอนเงิน<br />

- กรุณาส่งโทรสารใบสมัครและหลักฐานการชาระเงิน และจดหมายรับรองสถานภาพ กรณีเป็นนิสิต-นักศึกษา ลงนามโดยอาจารย์หัวหน้าภาควิชาฯ ที่ฝ่ายการเงิน<br />

สมาคมสถาปนิกสยามฯ โทรสาร 02-3196419 พร้อมโทรศัพท์ยืนยันการส่งเอกสารที่โทรศัพท์ 0-2319-6555 กด 109<br />

- สมาคมฯ จะจัดส่งใบเสร็จให้ทางไปรษณีย์<br />

หมายเหตุ สามารถซื้อหนังสือวารสารอาษาได้ที่สมาคมสถาปนิกสยามฯ ราคาเล่มละ 90 บาท


DETAILS<br />

QTC<br />

ENERGY<br />

PLAN ASSOCIATES<br />

1<br />

2<br />

3<br />

4<br />

5<br />

SECTION<br />

1 อุปกรณ์ยึดจับ Spider<br />

2 Tension Rod Stainless Steel<br />

3 กระจก Sky Light Laminated<br />

4 Fin Aluminium สีดำ<br />

5 กระจกใส Low-E<br />

6 คนเหล็ก WF<br />

ทสี Polyurethane สีดำ<br />

7 เสเหล็ก WF<br />

ทสี Polyurethane สีดำ<br />

6<br />

7<br />

BUILDING TYPE<br />

Office<br />

BUILDING AREA<br />

1,200 sq.m.<br />

DURATION<br />

2011-2012<br />

LOCATION<br />

Bangkapi, Bangkok<br />

ARCHITECT<br />

Plan Associates<br />

INTERIOR DESIGNER<br />

August Design<br />

Consultant<br />

LANDSCAPE DESIGNER<br />

Plan Associates<br />

STRUCTURAL ENGINEER<br />

PPL Engineer<br />

SYSTEM ENGINEER<br />

Optimum Consulting<br />

CONTRACTOR<br />

Cho Runglert Group<br />

QTC Energy PCL เป็นบริษัทที่ขึ้นชื่อในฐานะผู้-<br />

ประกอบการธุรกิจพลังงานรายใหญ่ที่สุดรายหนึ่งของไทย<br />

แนวความคิดในการออกแบบอาคารสานักงานแห่งใหม่นี้<br />

จึงมุ่งเน้นไปที่การถ่ายทอดภาพลักษณ์เชิงนามธรรมทั้ง<br />

สามข้อขององค์กรออกมา อันได้แก่ Industrial Business,<br />

Green Architecture และ Nature Awareness ให้เป็น<br />

ที่เข้าใจและรับรู้ได้ในเชิงกายภาพ ตัวอาคารมุ่งเน้นออก-<br />

แบบให้มีเนื้อหาที่แสดงถึงการทางานร่วมกันระหว่างงาน<br />

สถาปัตยกรรม งานวิศวกรรม และงานสภาพแวดล้อม<br />

รูปแบบของอาคารจึงเน้นไปที่ประโยชน์ใช้สอยเป็นหลัก<br />

สร้างความเรียบง่ายของอาคารผ่านการผสมผสานวัสดุ<br />

ต่างๆ เข้าด้วยกัน โดยที่ยังไม่ลืมที่จะคงเรื่องความงาม<br />

จากสัจจะของวัสดุเอาไว้ด้วย สถาปนิกเลือกใช้โครงสร้าง<br />

เหล็กเป็นโครงสร้างหลักของอาคารเพื่อสะท้อนภาพลักษณ์<br />

ขององค์กรให้ออกมาได้ชัดเจนที่สุด ส่วน canopy บริเวณ<br />

ทางเข้าหลักของอาคารเป็นส่วนที่แสดงภาพลักษณ์ความ<br />

เป็นอุตสาหกรรมของอาคารออกมาได้มากที่สุดส่วนหนึ่ง<br />

จากการใช้โครงสร้างเหล็ก wide flange ยึดกับโครงสร้าง<br />

อาคารและการใช้ tension rod สแตนเลสช่วยดึงจาก<br />

ด้านบน ทาให้ตัว canopy นี้สามารถยื่นออกมาอย่างอิสระ<br />

โดยไม่ต้องมีเสารองรับ เพื่อช่วยเน้นความสาคัญบริเวณ<br />

ทางเข้า ในส่วนของหลังคานั้นเลือกใช้กระจกลามิเนตแบบ<br />

บานเปลือยยึดเข้ากับอุปกรณ์ยึดจับ spider ที่ติดอยู่กับ<br />

คาน wide flange ด้านล่าง เพื่อให้ดูมีน้าหนักเบา ไร้-<br />

น้าหนัก และไม่เกิดองค์ประกอบที่จะไปขัดแย้งกับโครงสร้าง<br />

ของตัวสถาปัตยกรรม และด้วยการที่โครงสร้างเหล็ก<br />

ทั้งหมดไม่ได้มีวัสดุใดหุ้มปิดจึงทาให้ดูกลมกลืนกันดี<br />

ในภาพรวม<br />

102 <strong>ASA</strong> DETAILS วารสารอาษา


1<br />

1<br />

2<br />

2<br />

3<br />

3<br />

4<br />

5<br />

6<br />

DETAIL 1<br />

1 คนเหล็ก WF<br />

ทสี Polyurethane สีดำ<br />

2 Tension Rod Stainless Steel<br />

3 เสเหล็ก WF<br />

ทสี Polyurethane สีดำ<br />

DETAIL 2<br />

1 Tension Rod Stainless Steel<br />

2 กระจก Sky Light Laminated<br />

3 Fin Aluminium สีดำ<br />

4 อุปกรณ์ยึดจับกระจก Spider<br />

5 กระจกใส Low-E<br />

6 คนเหล็ก WF<br />

ทสี Polyurethane สีดำ<br />

01 canopy บริเวณทงเข้หลัก<br />

ของอคร<br />

01<br />

QTC Energy PCL is known for its position as one of<br />

the biggest energy entrepreneurs in Thailand’s electrical<br />

and electronics industries and the concept behind the<br />

company’s new office design aims to make its immaterial<br />

corporate identity, including Industrial Business, Green<br />

Architecture and Nature Awareness, more tangible to<br />

the public. Intending to show its collaboration between<br />

architecture, engineering and environmental design; the<br />

building focuses mainly on the functionality of the space<br />

inside, allowing for the building to look simple and minimal<br />

through the combination of different kinds of materials<br />

while allowing for their pure attributes to remain unc hanged.<br />

The architect has chosen a steel framed structure as the<br />

main framework of the building in order to best deliver<br />

an understanding of the organization’s corporate identity.<br />

One of the elements that best defines the industrial look<br />

of the building is the canopy at the main entrance. By<br />

connecting the wide flange steel beams with the building<br />

structure and lifting the system from above through the<br />

use of stainless steel tension rods, a freely cantilevered<br />

canopy with column-free space has been created beneath,<br />

highlighting the importance of the entrance. For the canopy’s<br />

roof, the architects have used frameless laminated glass<br />

with spider fittings that are pinned against the wide flange<br />

steel beams below in order to make the canopy appear<br />

light and weightless. The bare external steel structure<br />

used for the canopy also causes the system to find harmony<br />

with the whole building structure, succeeding in<br />

a design where no elements work against the structure<br />

of the architecture.<br />

วารสารอาษา<br />

DETAILS <strong>ASA</strong> 103


CARTOON<br />

SRV<br />

104 <strong>ASA</strong> <strong>ASA</strong> CARTOON วารสารอาษา

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!