24.07.2020 Views

Annual Report 2019

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Annual Report

2019

ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล

1111

รายงานประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2562

ศูนย์บริการประชาชน ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี


ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล

1111


สารจากปลัดส านักนายกรัฐมนตรี

ส ำนักงำนปลัดส ำนักนำยกรัฐมนตรีเป็นหน่วยงำนหลักในกำรบูรณำกำร ขับเคลื่อนนโยบำย

ที่มีควำมส ำคัญของประเทศไทย โดยในปี พ.ศ. 2564 จะพัฒนำหน่วยงำนให้เป็นต้นแบบด้ำนกำรบูรณกำรเพื่อขับเคลื่อนงำน

ของรัฐบำลในมิติด้ำนนโยบำยและกำรบริหำรรำชกำร นอกจำกนี้ยังได้น ำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมำให้บริกำรประชำชนมุ่งมั่น

ที่จะให้บริกำรอย่ำงรวดเร็ว และสร้ำงควำมเป็นธรรมให้เกิดขึ้นในสังคมไทย จะเป็นหน่วยงำนที่พึ่งให้กับประชำชนที่ได้รับ

ควำมเดือดร้อนในปีที่ผ่ำนมำ ส ำนักงำนปลัดส ำนักนำยกรัฐมนตรี โดยศูนย์บริกำรประชำชน ได้เพิ่มรูปแบบกำรให้บริกำร

ที่รวดเร็วแก่ประชำชน โดยกำรส่งข้อควำม (SMS) แจ้งรหัสเรื่องร้องทุกข์ให้กับประชำชนใช้ในกำรติดตำมควำมคืบหน้ำของ

กำรแก้ไขปัญหำ รวมทั้ง ส ำนักงำนปลัดส ำนักนำยกรัฐมนตรีได้มอบหมำยให้ผู้ตรวจรำชกำรส ำนักนำยกรัฐมนตรีติดตำม

กำรด ำเนินกำรแก้ไขปัญหำของประชำชนในแต่ละพื้นที่อย่ำงเป็นรูปธรรมร่วมกับหน่วยงำนในท้องที่ โดยใช้รูปแบบของ

กำรท ำ Government Lab เพื่อกำรแก้ไขปัญหำอย่ำงเป็นรูปธรรม

ทั้งนี้ ส ำนักงำนปลัดส ำนักนำยกรัฐมนตรีจะพัฒนำกำรให้บริกำรประชำชนให้ทันสมัย รวดเร็ว

และสร้ำงควำมเป็นธรรม โดยกำรบูรณำกำรฐำนข้อมูลกำรจัดกำรเรื่องร้องทุกข์ระหว่ำงหน่วยงำนภำครัฐ ตลอดจนผลักดัน

เพื่อให้มีผู้น ำกำรบริหำรจัดกำรเรื่องรำวร้องทุกข์ ประจ ำหน่วยงำน (Chief Complaint Executive Officer : CCEO)

ซึ่งกลไกเหล่ำนี้จะสร้ำงควำมเชื่อมั่นให้กับประชำชนและอ ำนวยควำมสะดวกในกำรร้องเรียน ติดตำมผลและเสนอควำมคิดเห็น

ต่อรัฐบำล รวมทั้งมั่นใจได้ว่ำจะได้รับกำรติดตำมแก้ไขปัญหำต่ำงๆ อย่ำงต่อเนื่องจำกหน่วยงำน นอกจำกนี้ ส ำนักงำนปลัด

ส ำนักนำยกรัฐมนตรียังเป็นหน่วยงำนส ำคัญในกำรผลักดันให้หน่วยงำนของรัฐพัฒนำกำรให้บริกำรประชำชนเพื่อเข้ำสู่

มำตรฐำนกำรให้บริกำรตำมเกณฑ์มำตรฐำนของ “ศูนย์รำชกำรสะดวก (GECC : Government Easy Contact Center)”

สุดท้ำยนี้ ส ำนักงำนปลัดส ำนักนำยกรัฐมนตรีพร้อมที่จะเป็นส่วนหนึ่งในกำรพัฒนำให้ “ประเทศไทย

มีควำมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนำแล้ว ด้วยกำรพัฒนำตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง” ตำมยุทธศำสตร์ชำติ

20 ปี ( พ.ศ. 2561 – 2580 ) และแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564)

นางพัชราภรณ์ อินทรียงค์

ปลัดส านักนายกรัฐมนตรี


สารจากรองปลัดส านักนายกรัฐมนตรี

ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 ที่ผ่ำนมำ ส ำนักงำนปลัดส ำนักนำยกรัฐมนตรีได้มุ่งมั่นขับเคลื่อนกำรด ำเนินงำนของรัฐบำล

ในมิติด้ำนกำรพัฒนำระบบกำรบริหำรจัดกำรภำครัฐ โดยศูนย์บริกำรประชำชนในฐำนะศูนย์รับเรื่องรำวร้องทุกข์ของรัฐบำลมีภำรกิจหลัก

ในกำรจัดกำรเรื่องรำวร้องทุกข์เพื่อแก้ปัญหำและตอบสนองต่อควำมต้องกำรและควำมคำดหวังของประชำชน ในกำรให้ควำมช่วยเหลือ

บรรเทำเยียวยำ ประสำนกำรท ำงำน และติดตำมผล เพื่อให้ปัญหำควำมเดือดร้อนของประชำชนเข้ำสู่กระบวนกำรพิจำรณำ แก้ไข

โดยหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ และเกิดควำมเป็นธรรมแก่ประชำชน

กำรจัดกำรเรื่องรำวร้องทุกข์ในปีที่ผ่ำนมำ ได้เน้นกำรท ำงำนแบบมีส่วนร่วมของทุกภำคส่วนมำกขึ้น โดยเน้นกำรบูรณำกำร

กำรท ำงำนทั้งหน่วยงำนภำยในส ำนักงำนปลัดส ำนักนำยกรัฐมนตรี หน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งภำคประชำชนได้เข้ำมำมีส่วนร่วม

ในกำรแก้ไขปัญหำเรื่องร้องทุกข์ เนื่องจำกปัญหำกำรด ำเนินงำนที่ผ่ำนมำพบว่ำ บ่อยครั้งที่ปัญหำในพื้นที่ไม่ได้รับกำรแก้ไข หรือไม่ได้รับ

กำรช่วยเหลือ บรรเทำเยียวยำได้อย่ำงดีเพียงพอ ท ำให้ประชำชนบำงส่วนรวมกลุ่มกันเดินทำงมำเรียกร้องขอควำมเป็นธรรมจำกรัฐบำล

และหน่วยงำนรำชกำรส่วนกลำง เพื่อให้ภำครัฐได้รับรู้ปัญหำที่แท้จริงและเข้ำมำช่วยเหลือในกำรจัดกำรและแก้ไขปัญหำเรื่องร้องทุกข์

ส ำนักงำนปลัดส ำนักนำยกรัฐมนตรีจึงได้มีกำรยกระดับมำตรฐำนกำรจัดกำรเรื่องรำวร้องทุกข์ให้ตอบสนองต่อ

ควำมต้องกำรและควำมคำดหวังของประชำชนมำกขึ้น โดยมีกำรจัดตั้งคณะกรรมกำรขึ้นมำเพื่อขับเคลื่อนกำรด ำเนินกำรแก้ไขปัญหำ

ควำมเดือดร้อนของมวลชน โดยมีรัฐมนตรีซึ่งเป็นผู้ก ำหนดนโยบำยเป็นประธำน และให้ประชำชนที่เป็นตัวแทนของกลุ่มเข้ำมำ

เป็นคณะกรรมกำรร่วมกับกระทรวงต่ำง ๆ เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหำควำมเดือดร้อนของประชำชนแต่ละกลุ่มได้อย่ำงรวดเร็วและมีประสิทธิภำพ

รวมทั้งมีกำรประสำนกำรท ำงำน เร่งรัด และกำรลงพื้นที่แก้ไขปัญหำที่รวดเร็ว กำรติดตำมควำมก้ำวหน้ำ ปัญหำอุปสรรคในกำรด ำเนินงำน

ให้ควำมช่วยเหลือแก่ประชำชนเป็นนโยบำยกำรแก้ไขปัญหำควำมเดือดร้อนของประชำชนในเชิงรุก ท ำให้กำรจัดกำรเรื่องรำวร้องทุกข์ได้รับ

กำรแก้ไขได้อย่ำงรวดเร็วจนได้ข้อยุติ ประชำชนได้รับกำรเยียวยำตำมแนวทำงที่เหมำะสม ซึ่งเป็นรำกฐำนส ำคัญในกำรขับเคลื่อน

กำรจัดกำรเรื่องรำวร้องทุกข์ให้เกิดประสิทธิภำพ เกิดประโยชน์กับประชำชนทุกภำคส่วน และอีกหนึ่งควำมภำคภูมิใจในกำรท ำงำนของ

ศูนย์บริกำรประชำชน คือกำรได้รับรำงวัลกำรบริหำรจัดกำรภำครัฐในระดับดีจำกส ำนักงำน ก.พ.ร. รวมทั้งกำรได้รับรองมำตรฐำน

กำรให้บริกำรของศูนย์รำชกำรสะดวก หรือ GECC (Government Easy Contact Center) ซึ่งเป็นเครื่องยืนยันคุณภำพกำรท ำงำน

ของผู้บริหำรและบุคลำกรของศูนย์บริกำรประชำชนได้เป็นอย่ำงดี ขอขอบคุณควำมมุ่งมั่นตั้งใจของหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องและเจ้ำหน้ำที่

ศูนย์บริกำรประชำชนในกำรท ำงำนเพื่อพี่น้องประชำชนอย่ำงแท้จริง

นายสุรศักดิ์ เรียงเครือ

รองปลัดส านักนายกรัฐมนตรี


สารจากผู้อ านวยการศูนย์บริการประชาชน

ศูนย์บริกำรประชำชน ส ำนักงำนปลัดส ำนักนำยกรัฐมนตรี ในฐำนะเป็นศูนย์รับเรื่องรำวร้องทุกข์ของรัฐบำล มีภำรกิจหลัก

ในกำรแก้ไขปัญหำ ตอบสนองควำมต้องกำรและควำมคำดหวังของประชำชนที่ได้ร้องทุกข์ถึงนำยกรัฐมนตรี รองนำยกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี

ประจ ำส ำนักนำยกรัฐมนตรี ในกำรให้ควำมช่วยเหลือ บรรเทำเยียวยำ ประสำนกำรท ำงำน และติดตำมผล เพื่อให้ปัญหำควำมเดือดร้อน

ของประชำชนเข้ำสู่กระบวนกำรพิจำรณำแก้ไขโดยหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ และเกิดควำมเป็นธรรมแก่ประชำชน

ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 ที่ผ่ำนมำ ศูนย์บริกำรประชำชนได้รับเรื่องร้องทุกข์ผ่ำนช่องทำงต่ำงๆ รวม 80,319 เรื่อง

และด ำเนินกำรจนได้ข้อยุติ 72,899 เรื่อง หรือคิดเป็นร้อยละ 90.76 โดยได้มีกำรส ำรวจควำมพึงพอใจของผู้ใช้บริกำรในภำพรวม มีผลอยู่ใน

ระดับดีมำก มีคะแนนรวมเฉลี่ย 3.26 คะแนน (คะแนนเต็ม 4) หรือคิดเป็นร้อยละ 81.50 ซึ่งแสดงให้เห็นถึงควำมมุ่งมั่นและประสิทธิภำพ

ในกำรบริหำรจัดกำรเรื่องรำวร้องทุกข์เพื่อตอบสนองต่อควำมต้องกำรและควำมคำดหวังของประชำชนได้เป็นอย่ำงดี

นอกจำกนี้ ศูนย์บริกำรประชำชนยังได้ผลักดันนโยบำยและภำรกิจส ำคัญที่เกี่ยวกับกำรให้บริกำรประชำชนและกำรบริหำร

จัดกำรเรื่องร้องทุกข์จนเป็นผลส ำเร็จในหลำยเรื่อง เช่น กำรปรับเปลี่ยนกระบวนกำรแก้ไขปัญหำควำมเดือดร้อนของกลุ่มมวลชนในรูปแบบ

คณะกรรมกำรกำรให้บริกำรประชำชนตำมมำตรฐำนศูนย์รำชกำรสะดวก หรือ Government Easy Contact Center (GECC) กำรพัฒนำกลไก

ขับเคลื่อนกำรแก้ไขปัญหำควำมเดือดร้อนของประชำชนโดยผู้น ำกำรขับเคลื่อนกำรด ำเนินกำรเรื่องร้องทุกข์ประจ ำหน่วยงำน

(Chief Complaint Executive Officer : CCEO) กำรเสริมสร้ำงควำมสัมพันธ์เครือข่ำยผู้ปฏิบัติงำนเรื่องรำวร้องทุกข์ (Contact Point)

กำรสร้ำงควำมสัมพันธ์กับผู้รับบริกำรหรือศูนย์บริกำรประชำชนพบประชำชน กำรส่งเสริมกำรมีส่วนร่วมของประชำชนในกำรบริหำรรำชกำร

กำรส่งเสริมและพัฒนำเครือข่ำยด้ำนกำรประสำนมวลชนและกำรข่ำว เป็นต้น ซึ่งกำรด ำเนินกำรที่ผ่ำนมำได้รับควำมร่วมมือเป็นอย่ำง ดี

จำกหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องจนเกิดผลส ำเร็จเป็นอย่ำงดีในกำรปรับเปลี่ยนกำรท ำงำนของภำครัฐที่เน้นกำรท ำงำนเพื่อตอบสนองควำมต้องกำร ควำมคำดหวัง

และให้บริกำรประชำชนอย่ำงสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภำพ รวมถึงกำรสร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจของประชำชนในกระบวนกำรท ำงำนของภำครัฐ

เพื่อสร้ำงควำมเชื่อมั่นให้กับประชำชนต่อกำรแก้ไขปัญหำควำมเดือดร้อนของรัฐบำล

ควำมส ำเร็จทั้งหมดนี้คงไม่อำจเกิดขึ้นได้หำกปรำศจำกกำรสนับสนุน ควำมร่วมมือ และควำมเป็นมืออำชีพจำกผู้เกี่ยวข้อง

ทุกฝ่ำย ขอขอบคุณผู้บริหำรระดับสูง เจ้ำหน้ำที่ศูนย์บริกำรประชำชน เจ้ำหน้ำที่ทุกหน่วยงำน รวมถึงเจ้ำหน้ำที่เครือข่ำยที่เกี่ยวข้องที่มีส่วนส ำคัญ

ในกำรบูรณำกำรเพื่อขับเคลื่อนกำรแก้ไขปัญหำควำมเดือดร้อนและให้บริกำรประชำชนอย่ำงดียิ่ง และที่ส ำคัญขอขอบคุณประชำชนผู้รับบริกำร

ที่ให้ควำมเชื่อมั่นและไว้วำงใจศูนย์บริกำรประชำชนตลอดมำ ศูนย์บริกำรประชำชนพร้อมทุ่มเท มุ่งมั่น และเป็นที่พึ่งของประชำชนเพื่อสร้ำง

ควำมเป็นธรรมให้เกิดขึ้นอย่ำงมั่นคงและยั่งยืนตลอดไป

นายอิทธิพล ช่างกลึงดี

ผู้อ านวยการศูนย์บริการประชาชน


ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

1

- อ านาจหน้าที่ 2

- วิสัยทัศน์ (VISION) ศูนย์บริการประชาชน 3

- พันธกิจ (MISSION) ศูนย์บริการประชาชน 4

- ภารกิจของศูนย์บริการประชาชน 5

ส่วนที่ 2 บุคลากร

6

- โครงสร้างศูนย์บริการประชาชน

- อัตราก าลัง

- ผู้บริหารศูนย์บริการประชาชน

- ช่องทางการให้บริการเรื่องราวร้องทุกข์ 1111

- การจัดท าข้อตกลงระดับการให้บริการ (SLA)

- กระบวนงาน (ย่อย) และขั้นตอนการให้บริการ

ส่วนที่ 3 ผลการด าเนินงานประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

- ภารกิจตามนโยบายและข้อสั่งการของรัฐบาลและคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)

- ภารกิจด้านการประสานมวลชนและองค์กรประชาชน

- ภารกิจเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน

- ภารกิจตามแผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

- ภารกิจพิเศษ

ส่วนที่ 4 สรุปผลการด าเนินการเรื่องร้องทุกข์/

เสนอความคิดเห็นในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

7

8

9

19

20

22

27

29

35

45

49

68

80


ส่วนที่

1

ข้อมูลทั่วไป


2

1111

ศูนย์บริการประชาชน

ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี

ในฐานะ

ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล

อ านาจหน้าที่

1.

2.

3.

4.

5.

6.

7.

ด ำเนินกำรเกี่ยวกับกำรร้องทุกข์ ร้องเรียนขอควำมเป็นธรรมและกำรขอควำมช่วยเหลือที่มีผู้ยื่นค ำร้อง

ต่อนำยกรัฐมนตรี รองนำยกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจ ำส ำนักนำยกรัฐมนตรีรวมทั้งปัญหำควำม

เดือดร้อนของประชำชน

ให้ค ำแนะน ำเกี่ยวกับกฎหมำยและกำรด ำเนินคดีแก่ประชำชนที่มำขอควำมช่วยเหลือและขอค ำแนะน ำ

จำกนำยกรัฐมนตรี รองนำยกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจ ำส ำนักนำยกรัฐมนตรี

ประสำนงำนเพื่อแก้ไขปัญหำและอ ำนวยควำมสะดวกแก่มวลชนที่มำพบหรือชุมนุมร้องเรียนต่อ

นำยกรัฐมนตรี รองนำยกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจ ำส ำนักนำยกรัฐมนตรี

ตรวจสอบเรื่องร้องเรียนในพื้นที่เพื่อแก้ไขปัญหำส ำคัญที่เป็นกรณีเร่งด่วน

ด ำเนินกำรให้เป็นไปตำมระเบียบส ำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยกำรรับฟังควำมคิดเห็นของประชำชน

พ.ศ. 2548

ด ำเนินกำรให้เป็นไปตำมระเบียบส ำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยกำรจัดกำรเรื่องรำวร้องทุกข์ พ.ศ. 2552

ปฏิบัติงำนร่วมกับหรือสนับสนุนกำรปฏิบัติงำนของหน่วยงำนอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมำย


3

วิสัยทัศน์

1111

ศูนย์บริการประชาชน

ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี

“เป็นศูนย์กลำงกำรบริหำรจัดกำร

เรื่องรำวร้องทุกข์ของรัฐบำล

ด้วยหลักธรรมำภิบำล

เพื่อประโยชน์สุขของประชำชน”


4

พันธกิจ

พันธกิจที่

พันธกิจที่

พัฒนากระบวนการ

แก้ไขปัญหาความเดือดร้อน

ของประชาชน

อย่างเป็นระบบ

พัฒนาช่องทางการร้องทุกข์

ในทุกช่องทางให้เป็น

ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์

ของรัฐบาล

พันธกิจที่

เพิ่มประสิทธิภาพและ

ประสิทธิผลการแก้ไขปัญหา

ความเดือดร้อน โดยยึด

ประชาชนเป็นศูนย์กลาง

พัฒนาระบบ

เครือข่ายให้เป็น

ศูนย์ประสานเร่งรัด

ติดตาม

และประเมินผลการ

แก้ไขปัญหา

ความเดือดร้อน

ของประชาชน

พันธกิจที่


5

ภารกิจของศูนย์บริการประชาชน

ด าเนินการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน

ที่มาพบหรือชุมนุมร้องเรียนต่อนายกรัฐมนตรี รอง

นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจ าส านักนายกรัฐมนตรี

และปลัดส านักนายกรัฐมนตรี

ประสานงานเพื่อแก้ไขปัญหาและอ านวยความสะดวก

แก่มวลชนที่มาพบหรือชุมนุมร้องเรียนต่อ

นายกรัฐมนตรีและปฏิบัติหน้าที่ฝ่ายเลขานุการ

คณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะท างาน

ที่นายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีประจ าส านัก

นายกรัฐมนตรีแต่งตั้งขึ้น เพื่อแก้ไขปัญหาความ

เดือดร้อนของประชาชน

การให้ค าแนะน าเกี่ยวกับกฎหมาย

และการด าเนินคดี

ลงพื้นที่

ประชาชน

การประชุม

ให้ค าแนะน าเกี่ยวกับกฎหมายและการด าเนินคดีแก่

ประชาชนที่มาขอความช่วยเหลือและขอค าแนะน า

จากนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี

ประจ าส านักนายกรัฐมนตรี และปลัดส านัก

นายกรัฐมนตรี

ตรวจสอบข้อเท็จจริงในพื้นที่ เพื่อแก้ไขปัญหาส าคัญ

ที่เป็นกรณีเร่งด่วน

ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องราวร้องทุกข์

เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในระดับนโยบาย

ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน

รวมทั้งด าเนิ นการเกี่ยวกับระเบี ยบส า นั ก

นายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของ

ประชาชน พ.ศ. 2548

ระเบียบ

ส านักนายกรัฐมนตรี

ว่าด้วยการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์

พ.ศ. 2552

สถิติ

ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็น

ของประชาชน พ.ศ. 2548

ด าเนินการเกี่ยวกับการร้องทุกข์ ร้องเรียน แจ้ง

เบาะแส และเสนอความคิดเห็นที่มีผู้ยื่นค าร้องต่อ

นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจ า

ส านักนายกรัฐมนตรี และปลัดส านักนายกรัฐมนตรี

รวมทั้ ง ด า เ นิ น ก า ร เ กี่ ย วกั บ ร ะ เ บี ย บ ส า นั ก

นายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์

พ.ศ. 2552

ระเบียบ

ส านักนายกรัฐมนตรี

ศูนย์ราชการสะดวก

GECC

การพัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการประชาชนของ

หน่วยงานของรัฐ โดยการสนับสนุนและส่งเสริมให้

ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจจัดให้มีศูนย์ราชการ

สะดวก


ส่วนที่

2

บุคลากร


7

โครงสร้างศูนย์บริการประชาชน

ศูนย์บริการประชาชน

ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี

ปลัดส านักนายกรัฐมนตรี

รองปลัดส านักนายกรัฐมนตรี

ผู้อ านวยการศูนย์บริการประชาชน

ผู้เชี่ยวชาญด้านมวลชน

ส่วนด าเนินการ

เรื่องราวร้องทุกข์ 1

ส่วนด าเนินการ

เรื่องราวร้องทุกข์ 2

ส่วนนิติการ

ส่วนประสานมวลชน

และองค์กรประชาชน

ส่วนการมีส่วนร่วม

ของประชาชน

ส่วนแผน

และประเมินผล

ฝ่ายบริหารทั่วไป


8

อัตราก าลัง

ศูนย์บริการประชาชน มีอัตราก าลังทั้งสิ้น 126 อัตรา ประกอบด้วย

ข้าราชการ 48 อัตรา

ต าแหน่งประเภทอ านวยการระดับสูง 1 อัตรา

1 อัตรา

ผู้อ านวยการศูนย์บริการประชาชน

ต าแหน่งประเภทวิชาการ 41 อัตรา

1 อัตรา 9 อัตรา 18 อัตรา 13 อัตรา

ระดับเชี่ยวชาญ ระดับช านาญการพิเศษ ระดับช านาญการ ระดับปฏิบัติการ

ต าแหน่งประเภททั่วไป 6 อัตรา

5 อัตรา

ระดับช านาญงาน

1 อัตรา

ระดับปฏิบัติงาน

พนักงานราชการ 78 อัตรา

วิชาชีพเฉพาะ 3 อัตรา

3 อัตรา

นักวิชาการคอมพิวเตอร์

วิชาชีพทั่วไป 74 อัตรา

44 อัตรา

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

18 อัตรา

นิติกร

1 อัตรา

เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป

4 อัตรา 1 อัตรา 7 อัตรา

เจ้าพนักงานธุรการ เจ้าหน้าที่ธุรการ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล


9

ผู้บริหารส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี

นางพัชราภรณ์ อินทรียงค์

ปลัดส านักนายกรัฐมนตรี

นายสุรศักดิ์ เรียงเครือ

รองปลัดส านักนายกรัฐมนตรี


10

ผู้บริหารศูนย์บริการประชาชน

นายอิทธิพล ช่างกลึงดี

ผู้อ านวยการศูนย์บริการประชาชน

นางมาลินี ภาวิไล

ผู้เชี่ยวชาญด้านมวลชน


ผู้บริหารศูนย์บริการประชาชน

11

นายพันศักดิ์ เจริญ

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ

ผู้อ านวยการส่วนประสานมวลชนและองค์กรประชาชน

นางจุฑามาศ ศิริชัยสุทธิกร

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ

ผู้อ านวยการส่วนแผนและประเมินผล

นางศรีส าอาง โกศาสตร์

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ

ผู้อ านวยการส่วนการมีส่วนร่วมของประชาชน

นางสาวอัญชนา สาเรือง

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ

ผู้อ านวยการส่วนด าเนินการเรื่องราวร้องทุกข์ ๑

นายยงยุทธ โหระกุล

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ

ผู้อ านวยการส่วนด าเนินการเรื่องราวร้องทุกข์ ๒

นางสาวมีนา เหล่าหะเกียรติ

นิติกรช านาญการ รกน. นิติกรช านาญการพิเศษ

รกท. ผู้อ านวยการส่วนนิติการ

นางสาวมนสิชา กาแก้ว

นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ

หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป


12

ส่วนด าเนินการเรื่องราวร้องทุกข์ 1

นางสาวอัญชนา สาเรือง

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ

ผู้อ านวยการส่วนด าเนินการเรื่องราวร้องทุกข์ 1

นายภาสกร นาเมือง นางศิรินทร เดชาภิวุฒิ นางสาวสุพัตรา โค้วตระกูล นายวิวัฒน์ วิธีเจริญ

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ เจ้าพนักงานธุรการช านาญงาน

นางสาววราภรณ์ หินอ่อน

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวนงนุช สายัณห์

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาววิยะดา ปัททะทุม

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวรสริน กองเกิดสุข

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นายอภิวัชร์ ศรีสวัสดิ์

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวอาริยา เรืองสรรงามสิริ

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวพรปรียา สมเพราะ

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวสุธิดา บุตรสาธรรม

นิติกร

นายธรรมฤทธิ์ ศักดิ์ทอง

นิติกร

นายสักกเดช นฤวรวงศ์

นิติกร

นายทิวา จันทร์ศรีงาม

นิติกร

นางสาวอรนิชา ผุดเผือก

นิติกร

นางสาวศรสลัก อ่อนส าลี

พนักงานบันทึกข้อมูล


ส่วนด าเนินการเรื่องราวร้องทุกข์ 2

13

นายยงยุทธ โหระกุล

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ

ผู้อ านวยการส่วนด าเนินการเรื่องราวร้องทุกข์ 2

นางสาวฐิติรัตน์ สุวรรณราช นางสาวสมใจ บุญทวีกุล นางสาววันดี เรืองงาม นางสาวน้อมจิตร ทิพย์มณี

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการ

นายรังสรรค์ ตั้งใจงาม

เจ้าพนักงานธุรการช านาญงาน

นางสุภาภรณ์ กลิ่นขจร

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นายเฉลิมพงษ์ ผิวด า

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวอรนุช ปลื้มโต๊ะสะอาด

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวอรชิสา นิพากรเมธ

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางชนาวลัย นิยมผล

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวอัญญาภร จินดาโชติ

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวรัตติยา สุทธิสติพล

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวจิณต์ภัษ กุลธนานนท์จรัส

นางสาววาสนา ธนะกูลบริภัณฑ์

นางสาวปาริชาติ ทองพันชั่ง

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน นิติกร นิติกร

นิติกร

นายสมหมาย โสพิกุล

นางสาวลดาทิพย์ อุส่าห์ดี

เจ้าพนักงานธุรการ

นางหทัยพร เทียนทอง

เจ้าพนักงานธุรการ

นางสาวรัชนีกร แสนทวีสุข

พนักงานบันทึกข้อมูล

นางสาวธนิตา ศรีสมบูรณ์

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน


14

ส่วนนิติการ

นางสาวมีนา เหล่าหะเกียรติ

นิติกรช านาญการ รกน. นิติกรช านาญการพิเศษ

รกท. ผู้อ านวยการส่วนนิติการ

นายปิติพงศ์ เลิศพิสุทธิ์โสภณ นางสาวนฎาพรรณ ภิโสรมย์ นายปิยะพงค์ ไทยเสรีกุล นางสาวพัชราภรณ์ ผลพูนศิริ

นิติกรช านาญการ นิติกรช านาญการ นิติกรช านาญการ นิติกรปฏิบัติการ

นายกัญจน์ สิริสิงห

นิติกรปฏิบัติการ

นางสาวแสงระวี สวัสดิบุตร

นิติกรปฏิบัติการ

นายบุญเกิด ปะระทัง

นิติกรปฏิบัติการ

นางสาวญาณี อมรขจรเดช

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาววิลาวัลย์ สินอ้วน

นิติกร

นางสาวสุกัญญา ไชยวารี

พนักงานบันทึกข้อมูล


ส่วนประสานมวลชนและองค์กรประชาชน

15

นายพันศักดิ์ เจริญ

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ

ผู้อ านวยการส่วนประสานมวลชนและองค์กรประชาชน

นายสาธิต สุทธิเสริม นางสาวสุวีรยา ทองพิทักษ์ นายโชคชัย หาญนิมิตกุล นางสาวธัญกมล หมายถิ่นกลาง

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ

นางกาญจน์สุดา กาญจนาภา ไชยรา

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ

นางสาวเรณู ภูมรา

เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

นางสาวศรุดา นิยมพงษ์

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นายเทอดศักดิ์ บัวทอง

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวสุทัตตา สุทัศน์กุล

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นายรังสรรค์ สดสายทอง

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นายชาย ชื่นชม

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวเพ็ญนภา ผิวทวี

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นายปัญญาพงษ์ จริโมภาส

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นายอัมฤทธิ์ หวานหอม

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวโชษิตา บุษบงษ์

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาววิภาดา คุณประชา

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นายอนุพงษ์ เชษฐสิงห์

นิติกร

นายธีรพงษ์ รูปเล็ก

นิติกร

นางสาวณฐมน มูลสาร

นิติกร

นายพงษ์ศักดิ์ พ่วงทรัพย์

พนักงานบันทึกข้อมูล

นายพุทธิพงศ์ โกศัลวัฒน์

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวอติภา สุดโต

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน


16

ส่วนแผนและประเมินผล

นางจุฑามาศ ศิริชัยสุทธิกร

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ

ผู้อ านวยการส่วนแผนและประเมินผล

นางกุลธิดา มาแจ้ง นางสาวรวีวรรณ บุญศิริธรรมชัย นายไพฑูรย์ ด ารงกุลชัย นายสมเจตน์ ทับมา

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

นางสาวธัชธร ปั้นสุวรรณ์

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ

นายภูเบศ อัศนียวงศ์

นักวิชาการคอมพิวเตอร์

นายภคพล พลธร

นักวิชาการคอมพิวเตอร์

นางสาวชนกานต์ สุขสวัสดิ์

นักวิชาการคอมพิวเตอร์

นายขจร ป้อมค า

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางมนัฐดา เมฆบริสุทธิ์

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวสุชาดา เผือกเจริญ

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวจุฑารัตน์ ธ ารงธิติทัศ

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นายนนทการ ไกรทอง

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวศศิณัฏฐ์ แรงเพ็ชร์

พนักงานบันทึกข้อมูล

นางสาวภัทราพร ยอดจันทร์

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน


ส่วนการมีส่วนร่วมของประชาชน

17

นางศรีส าอาง โกศาสตร์

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ

ผู้อ านวยการส่วนการมีส่วนร่วมของประชาชน

นางสาวศุภลักษณ์ ทองเดช นางสาวจันทิมา ณ นคร นางสาวพัทธนันท์ ว่องธีรโชติวงษ์ นายสมชาย พันธุ์สกุล

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นายนิคม ข าเถื่อน

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวกฤษฎาพร ทองรักษ์

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวสุทธิดา ปานสง่า

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวกชณิภา ลาวลงเฆ่

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวกนกอร เกษค า

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวสุทธิดา ค ามะนาง

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวกัลยากร อ่อนน่วม

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นายนิทัศน์ ชื่นชม

นิติกร

นางสาวนันท์นภัส แสงแจ่ม

นิติกร

นางสาวดารณี สว่างศรี

นิติกร

นางสาวแสงรวี ด่านเทศ

นิติกร

นางสาวสุทธิชา บุญสิทธ์

นิติกร

นางสาวมะลิวัลย์ เก็ตหมัด

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวภัสสุดา สมปัญญา

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน


18

ฝ่ายบริหารทั่วไป

นางสาวทิพย์ทิวาณพร ลากุล

นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ

หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป

นางวิมลรัตน์ ศรีเพ็ญ นายสุภิญญา ตาดี นางวรรณรักษ์ ภู่รักษ์ นางสาวจุไรรัตน์ วงศ์ลา

เจ้าพนักงานธุรการช านาญงาน เจ้าพนักงานธุรการช านาญงาน เจ้าพนักงานธุรการช านาญงาน เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป

นางสาวปรียา เชาว์ไว

เจ้าพนักงานธุรการ

นางสาวจิระนันท์ ปรีดี

เจ้าพนักงานธุรการ

นางประนอม กลิ่นหอม

เจ้าหน้าที่ธุรการ

นางสาวพรพรรณ เบญจภัทรากุล

พนักงานบันทึกข้อมูล


19

สายด่วนของรัฐบาล

โทร. 1111

ช่องทาง

ร้องทุกข์

จุดบริการประชาชน 1111

ท าเนียบรัฐบาล

ตู้ ปณ. 1111

ปณ. ท าเนียบรัฐบาล

เว็บไซต์

www.1111.go.th

Mobile Application PSC 1111


20

การจัดท าข้อตกลงระดับการให้บริการ

(Service Level Agreement : SLA)

ข้อตกลงระดับการให้บริการ

งานที่ให้บริการ

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

การจัดการเรื่องร้องทุกข์

ศูนย์บริการประชาชน ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี

ขอบเขตการให้บริการ

ช่องทาง การให้บริการรับเรื่องร้องทุกข์/สถานที่ ระยะเวลามาตรฐานการให้บริการ

สายด่วนของรัฐบาล

1111

จุดบริการประชาชน 1111

ท าเนียบรัฐบาล

เว็บไซต์

www.1111.go.th

วันจันทร์ถึงวันอาทิตย์

ตลอด 24 ชั่วโมง

จุดบริการประชาชน 1111 (ส านักงาน ก.พ. เดิม)

ถนนพิษณุโลก เขตดุสิต กทม. 10300

ให้บริการวันจันทร์ถึงวันศุกร์ (ยกเว้นวันหยุดที่ทางราชการก าหนด)

ตั้งแต่เวลา 8.30 -16.30 น.

วันจันทร์ถึงวันศุกร์

(ยกเว้นวันหยุดที่ทางราชการก าหนด)

ตลอด 24 ชั่วโมง

2 ชั่วโมง

1.5 วันท าการ

2 วันท าการ

ตู้ ปณ. 1111

ปณ. ท าเนียบรัฐบาลกรุงเทพมหานคร 10302

โมบายแอปพลิเคชัน

PSC 1111

เลขที่ 1 ถนนพิษณุโลก เขตดุสิต กทม. 10300

ให้บริการวันจันทร์ ถึงวันศุกร์

(ยกเว้นวันหยุดที่ทางราชการก าหนด)

ตั้งแต่เวลา 8.30 -16.30 น.

วันจันทร์ถึงวันศุกร์

(ยกเว้นวันหยุดที่ทางราชการก าหนด)

ตลอด 24 ชั่วโมง

8.5 วันท าการ

1 วันท าการ

การจัดท าข้อตกลงระดับการให้บริการ

สืบเนื่องจากการปรับปรุงขั้นตอน วิธีการปฏิบัติงาน ตลอดจนระยะเวลาการให้บริการ

ของกระบวนงานการแก้ไขปัญหาเรื่องราวร้องทุกข์ของศูนย์บริการประชาชนในการนี้ เพื่อให้ประชาชน

ได้รับทราบแนวทางการปฏิบัติงานและมาตรฐานการให้บริการ ศูนย์บริการประชาชนจึงได้ปรับปรุง

ข้อตกลงระดับการให้บริการ (Service Level Agreement : SLA) ที่ได้ประกาศไว้

เมื่อปี พ.ศ. 2558 ให้มีความเป็นปัจจุบัน สอดคล้องกับการปฏิบัติงานจริง และได้ใช้ประกาศ

เมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2561


21

สถานที่ตั้งศูนย์บริการประชาชน ท าเนียบรัฐบาล

ศบช.

ศบช.

จุดบริการประชาชน 1111

(ส านักงาน ก.พ. เดิม) ถนนพิษณุโลก

แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร


22

กระบวนงาน (ย่อย) และขั้นตอนการให้บริการ

กระบวนงำน : กำรด ำเนินกำรแก้ไขปัญหำให้กับประชำชนที่ร้องทุกข์ทำงโทรศัพท์ (สำยด่วนของรัฐบำล 1111)

กรณีปกติ (ไม่ใช้เวลำในกำรตรวจสอบข้อเท็จจริงมำกและไม่ซับซ้อน)

ช่องทำง กำรให้บริกำรรับเรื่องร้องทุกข์/สถำนที่ ระยะเวลำมำตรฐำนกำรให้บริกำร

สายด่วนของรัฐบาลโทร. 1111

(ให้บริการตลอด 24 ชม. ไม่เสียค่าโทร)

วันจันทร์ถึงวันอาทิตย์

ตลอด 24 ชั่วโมง

2 ชั่วโมง

ประชำชนร้องทุกข์ผ่ำน

สำยด่วนของรัฐบำล 1111

ขั้นตอนที่ 1

เจ้ำหน้ำที่ GCC 1111รับสำย สืบค้น สอบถำมรำยละเอียดและบันทึก

ข้อมูลเรื่องร้องทุกข์ในระบบกำรจัดกำรเรื่องรำวร้องทุกข์

ขั้นตอนที่ 2

เจ้ำหน้ำที่ GCC 1111 วิเครำะห์ และสรุปประเด็นค ำร้องทุกข์

เพื่อพิจำรณำแนวทำงกำรแก้ไขปัญหำ

ขั้นตอนที่ 3

แจ้งให้ผู้ร้องทรำบกำรด ำเนินกำรเบื้องต้น

2

ชั่วโมง

ขั้นตอนที่ 4

ประสำนส่งเรื่องให้หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องและบันทึก

กำรด ำเนินกำรในระบบกำรจัดกำรเรื่องรำวร้องทุกข์

แจ้งรหัสเรื่องร้องทุกข์ให้ผู้ร้องทรำบผ่ำนข้อควำม SMS ส ำหรับใช้ในกำรติดตำมผล

กำรแก้ไขปัญหำเรื่องร้องทุกข์ และแจ้งกำรด ำเนินกำรเป็นเบื้องต้นให้ผู้ร้องทรำบ

จบขั้นตอน


23

กระบวนงำน : กำรด ำเนินกำรแก้ไขปัญหำให้กับประชำชนที่ส่งเรื่องร้องทุกข์ทำงไปรษณีย์ (ตู้ ปณ. 1111)

กรณีปกติ (ไม่ใช้เวลำในกำรตรวจสอบข้อเท็จจริงมำกและไม่ซับซ้อน)

ช่องทำง กำรให้บริกำรรับเรื่องร้องทุกข์/สถำนที่ ระยะเวลำมำตรฐำนกำรให้บริกำร

ตู้ ปณ. 1111

ปณ.ท าเนียบรัฐบาล

กรุงเทพมหานคร 10302

(ไม่ต้องติดแสตมป์)

เลขที่ 1 ถนนพิษณุโลก เขตดุสิต กทม. 10300

ให้บริการวันจันทร์ ถึงวันศุกร์

(ยกเว้นวันหยุดที่ทางราชการก าหนด)

ตั้งแต่เวลา 8.30 -16.30 น.

8.5 วันท าการ

รับเรื่องร้องทุกข์จำก ตู้ ปณ. 1111

ฝ่ำยบริหำรทั่วไป (ฝบท.)

คัดแยกเรื่องเข้ำส่วน/ ฝ่ำย

ขั้นตอนที่ 1

รับงำนจำก ฝบท.

คัดแยกประเภทเรื่อง

มอบหมำยงำน

1 วันท ำกำร

ขั้นตอนที่ 2

เจ้ำหน้ำที่ตรวจสอบข้อมูลข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องร้องทุกข์

1 วันท ำกำร

ขั้นตอนที่ 3 เจ้ำหน้ำที่วิเครำะห์ สรุปประเด็น

บันทึกข้อมูลเรื่องร้องทุกข์ในระบบกำรจัดกำรเรื่องรำวร้องทุกข์

2.5 วันท ำกำร

ขั้นตอนที่ 4

‣ ประสำนส่งเรื่องให้หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องผ่ำนช่องทำงต่ำง ๆ ตำมควำมเหมำะสม

‣ ให้ค ำปรึกษำแนะน ำ

‣ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

‣ แจ้งให้ผู้ร้องทุกข์ทรำบกำรด ำเนินกำรเบื้องต้น

‣ บันทึกข้อมูลในกำรจัดกำรเรื่องรำวร้องทุกข์

‣ แจ้งรหัสเรื่องร้องทุกข์ให้ผู้ร้องทรำบผ่ำนข้อควำม SMS ส ำหรับใช้ในกำรติดตำมผล

กำรแก้ไขปัญหำเรื่องร้องทุกข์ และแจ้งกำรด ำเนินกำรเป็นเบื้องต้นให้ผู้ร้องทรำบ

4 วันท ำกำร

จบขั้นตอน


24

กระบวนงำน : กำรด ำเนินกำรแก้ไขปัญหำให้กับประชำชนที่เดินทำงมำร้องทุกข์ที่ท ำเนียบรัฐบำล(จุดบริกำรประชำชน 1111 กรณีปกติ)

กรณีปกติ (ไม่ใช้เวลำในกำรตรวจสอบข้อเท็จจริงมำกและไม่ซับซ้อน)

ช่องทำง กำรให้บริกำรรับเรื่องร้องทุกข์/สถำนที่ ระยะเวลำมำตรฐำนกำรให้บริกำร

จุดบริการประชาชน 1111

ท าเนียบรัฐบาล

จุดบริการประชาชน 1111 (ส านักงาน ก.พ. เดิม)

ถนนพิษณุโลกเขตดุสิต กทม. 10300

ให้บริการวันจันทร์ถึงวันศุกร์

(ยกเว้นวันหยุดที่ทางราชการก าหนด)

ตั้งแต่เวลา 8.30 -16.30 น.

1.5 วันท าการ

ผู้ร้องทุกข์เดินทำงมำร้องทุกข์

ที่ศูนย์รับเรื่องรำวร้องทุกข์ของรัฐบำล

จุดบริกำรประชำชน 1111

ขั้นตอนที่ 1

ให้กำรต้อนรับ

เจ้าหน้าที่ สปน.

ให้ค ำปรึกษำแนะน ำในกำรเขียนค ำร้องทุกข์

คัดแยกหน่วยงำน

2 ชั่วโมง

ตรวจค ำร้องทุกข์

สืบค้นเรื่องในระบบ

ออกใบรับค ำร้องทุกข์

ขั้นตอนที่ 2

เจ้าหน้าที่ สปน.

วิเครำะห์ สรุปประเด็นค ำร้องทุกข์

และบันทึกข้อมูลในระบบกำรจัดกำรเรื่องรำวร้องทุกข์

เจ้าหน้าที่ 24 หน่วย

วิเครำะห์ สรุปประเด็นค ำร้องทุกข์

และบันทึกข้อมูลในระบบกำรจัดกำรเรื่องรำวร้องทุกข์

ขั้นตอนที่ 3

เจ้าหน้าที่ สปน. เจ้าหน้าที่ สปน.

กรณี

กรณี

เรื่องที่สำมำรถชี้แจง เรื่องที่ต้องด ำเนินกำร

จนท. 24 หน่วย

กรณี

เรื่องที่สำมำรถชี้แจง

จนท. 24 หน่วย

กรณี

เรื่องที่ต้องด ำเนินกำร

1.2

วันท ำกำร

ท ำควำมเข้ำใจ ให้ค ำปรึกษำ/

ต่อให้ประสำนส่งเรื่อง

ท ำควำมเข้ำใจ ให้ค ำปรึกษำ/

ต่อให้ประสำนส่งเรื่อง

แนะน ำ กับผู้ร้องทุกข์ ให้บันทึก

กำรปฏิบัติงำน เพื่อยุติเรื่อง

ในระบบ

กำรจัดกำรเรื่องรำวร้องทุกข์

ให้ส่วน/ฝ่ำย ผ่ำนระบบฯ

และแจ้งรหัสเรื่องร้องทุกข์

ให้ผู้ร้องทุกข์ทรำบ

แนะน ำ กับผู้ร้องทุกข์ ให้บันทึก

กำรปฏิบัติงำน เพื่อยุติเรื่อง

ในระบบ

กำรจัดกำรเรื่องรำวร้องทุกข์

ให้หน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง

(ภำยในสังกัด) ผ่ำน

ระบบฯ และแจ้งรหัส

เรื่องร้องทุกข์ให้ผู้ร้อง

ทุกข์ทรำบ

แจ้งรหัสเรื่องร้องทุกข์ให้ผู้ร้องทรำบผ่ำน

ข้อควำม SMS ส ำหรับใช้ในกำรติดตำม

ผลกำรแก้ไขปัญหำเรื่องร้องทุกข์ และแจ้ง

กำรด ำเนินกำรเป็นเบื้องต้นให้ผู้ร้องทรำบ

แจ้งรหัสเรื่องร้องทุกข์ให้ผู้ร้องทรำบผ่ำน

ข้อควำม SMS ส ำหรับใช้ในกำรติดตำม

ผลกำรแก้ไขปัญหำเรื่องร้องทุกข์ และแจ้ง

กำรด ำเนินกำรเป็นเบื้องต้นให้ผู้ร้องทรำบ

จบขั้นตอน จบขั้นตอน


25

กระบวนงำน : กำรด ำเนินกำรแก้ไขปัญหำให้กับประชำชนที่ส่งเรื่องร้องทุกข์ทำง เว็บไซต์ (เว็บไซต์ www.1111.go.th)

กรณีปกติ (ไม่ใช้เวลำในกำรตรวจสอบข้อเท็จจริงมำกและไม่ซับซ้อน)

ช่องทำง กำรให้บริกำรรับเรื่องร้องทุกข์/สถำนที่ ระยะเวลำมำตรฐำนกำรให้บริกำร

เว็บไซต์

www.1111.go.th

วันจันทร์ถึงวันศุกร์

(ยกเว้นวันหยุดที่ทางราชการก าหนด)

ตลอด 24 ชั่วโมง

2 วันท าการ

ผู้ร้องส่งเรื่องร้องทุกข์ทำงระบบอิเล็กทรอนิกส์

ผ่ำนเว็บไซต์ www.1111.go.th / e-mail

ขั้นตอนที่ 1

เจ้ำหน้ำที่ GCC 1111 เปิดรับเรื่อง วิเครำะห์ สรุปประเด็น และบันทึก

ข้อมูลเรื่องร้องทุกข์ในระบบกำรจัดกำรเรื่องรำวร้องทุกข์

คัดแยกประเภทเรื่อง

0.5

วันท ำกำร

ขั้นตอนที่ 2

GCC ด ำเนินกำรประเภทเรื่องสังคม

และสวัสดิกำร

ส่ง สปน. ทุกประเภทเรื่อง ยกเว้น

ประเภทเรื่องสังคมและสวัสดิกำร

ขั้นตอนที่ 3

สปน. ตรวจสอบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ

เรื่องร้องทุกข์โดยพิจำรณำประเด็นเรื่อง

และหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง

0.5

วันท ำกำร

ขั้นตอนที่ 4

แจ้งให้ผู้ร้องทุกข์ทรำบกำรด ำเนินกำรเบื้องต้น

และบันทึกกำรด ำเนินกำร

ในระบบกำรจัดกำรเรื่องรำวร้องทุกข์

• ประสำนส่งเรื่องให้หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องผ่ำนช่องทำงต่ำง ๆ

ตำมควำมเหมำะสม

• ให้ค ำปรึกษำ แนะน ำ

• ขอข้อมูลเพิ่มเติม

1

วันท ำกำร

• บันทึกข้อมูลในระบบฯ

จบขั้นตอน


26

กระบวนงำน : กำรด ำเนินกำรแก้ไขปัญหำให้กับประชำชนที่ส่งเรื่องร้องทุกข์ทำง Mobile Application (PSC 1111)

กรณีปกติ (ไม่ใช้เวลำในกำรตรวจสอบข้อเท็จจริงมำกและไม่ซับซ้อน)

ช่องทำง กำรให้บริกำรรับเรื่องร้องทุกข์/สถำนที่ ระยะเวลำมำตรฐำนกำรให้บริกำร

โมบายแอปพลิเคชัน

PSC 1111

วันจันทร์ถึงวันศุกร์

(ยกเว้นวันหยุดที่ทางราชการก าหนด)

ตลอด 24 ชั่วโมง

1 วันท าการ

ผู้ร้องส่งเรื่องร้องทุกข์

ทำง Mobile Application PSC 1111

ขั้นตอนที่ 1

เจ้ำหน้ำที่ GCC 1111 เปิดรับเรื่อง วิเครำะห์ สรุปประเด็น และบันทึก

ข้อมูลเรื่องร้องทุกข์ในระบบกำรจัดกำรเรื่องรำวร้องทุกข์

คัดแยกประเภทเรื่อง

0.5

วันท ำกำร

ขั้นตอนที่ 2

GCC ด ำเนินกำรประเภทเรื่องสังคม

และสวัสดิกำร

ส่ง สปน. ทุกประเภทเรื่อง ยกเว้น

ประเภทเรื่องสังคมและสวัสดิกำร

ขั้นตอนที่ 3

สปน. ตรวจสอบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ

เรื่องร้องทุกข์โดยพิจำรณำประเด็นเรื่อง

และหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนที่ 4

แจ้งให้ผู้ร้องทุกข์ทรำบกำรด ำเนินกำรเบื้องต้น

และบันทึกกำรด ำเนินกำร

ในระบบกำรจัดกำรเรื่องรำวร้องทุกข์

• ประสำนส่งเรื่องให้หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องผ่ำนช่องทำงต่ำง ๆ

ตำมควำมเหมำะสม

• ให้ค ำปรึกษำ แนะน ำ

• ขอข้อมูลเพิ่มเติม

0.5

วันท ำกำร

• บันทึกข้อมูลในระบบฯ

จบขั้นตอน


ส่วนที่

3

ผลการด าเนินงาน

ประจ าปีงบประมาณ

พ.ศ. 2562


28

ผลการด าเนินงาน

ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

ศูนย์บริการประชาชน ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี ได้ด าเนินงานภายใต้

แผนยุทธศาสตร์ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรีระยะที่ 4 (พ.ศ. 2559 - 2562)

และแผนปฏิบัติราชการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 รวมทั้ง ได้น านโยบาย

และข้อสั่งการของรัฐบาล มาเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน โดยสามารถสรุป

กรอบภารกิจที่ได้ด าเนินการใน 5 ด้าน ดังนี้

ภารกิจที่

ภารกิจตามนโยบาย

และข้อสั่งการของรัฐบาล

01

ภารกิจที่ ภารกิจด้านการประสาน

มวลชนและองค์กรประชาชน

02

ภารกิจที่ ภารกิจเพื่อส่งเสริม

การมีส่วนร่วมของประชาชน

03

1111

ภารกิจที่

ภารกิจตามแผนปฏิบัติการ

ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

04

ภารกิจที่ ภารกิจพิเศษ

กิจกรรมจิตอาสา “เราท าความ ดี ด้วยหัวใจ”

05


ภารกิจที่ ภารกิจตามนโยบาย

และข้อสั่งการของรัฐบาล

01

29

รัฐบาล ภายใต้การน าของ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี

ได้ให้ความส าคัญกับการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ได้มอบหมายให้ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี

โดยศูนย์บริการประชาชนเป็นกลไกในการบริหารจัดการเรื่องร้องทุกข์ พร้อมทั้งได้มอบนโยบายและข้อสั่งการที่เกี่ยว

กับกรณีดังกล่าวหลายประการ เช่น เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2557 ได้ให้ทุกกระทรวงจัดเจ้าหน้าที่มารับเรื่องร้องทุกข์

และแก้ไขปัญหาขั้นต้นโดยตรง ณ จุดบริการประชาชน 1111 และเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2557นายกรัฐมนตรีได้มีข้อสั่งการ

ให้ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี เชื่อมโยงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศวางระบบฐานข้อมูลร่วมกับศูนย์ด ารงธรรม

ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน

ในการนี้ ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรีจึงได้จัดท าโครงการพัฒนาและขยายผลศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของ

รัฐบาล (Integrated Complaint Management System) ขึ้น เพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ให้เป็น

“ระบบกลาง” ให้ทุกส่วนราชการสามารถด าเนินการเรื่องร้องทุกข์ผ่านระบบกลางที่ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี

พัฒนาขึ้น ซึ่งข้อมูลเรื่องร้องทุกข์จากทั่วประเทศจะถูกจัดเก็บภายใต้ฐานข้อมูลเดียว สามารถตรวจสอบความซ้ าซ้อนของ

เรื่องร้องทุกข์ได้และสามารถประมวลผลข้อมูลเรื่องร้องทุกข์จากระบบการจัดการเรื่องร้องทุกข์เพื่อประกอบการตัดสินใจ

ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


30

1.1 ขับเคลื่อนนโยบายการด าเนินการเรื่องราวร้องทุกข์

มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2561 ก าหนดให้ทุกส่วน

ราชการให้ความส าคัญแก่การแจ้งความคืบหน้าการด าเนินการเรื่องการร้องทุกข์และเร่งรัดการแก้ไข

ปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนให้มีผลเป็นที่ยุติด้วยความเป็นธรรมภายในระยะเวลาที่เหมาะสม

รวมทั้งพิจารณามอบหมายและแต่งตั้งผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานเป็นผู้น าการขับเคลื่อน

การด าเนินการเรื่องร้องทุกข์ประจ าหน่วยงาน (Chief Complaint Executive Officer: CCEO)

มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2562 ให้ส่วนราชการใช้กลไก

ของผู้น าการขับเคลื่อนการด าเนินการเรื่องร้องทุกข์ประจ าหน่วยงาน (Chief Complaint Executive

Officer: CCEO) ท าหน้าที่ในการก ากับดูแลการด าเนินงานด้านการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ ประสาน

ความร่วมมือติดตามและประเมินผลการด าเนินการเรื่องราวร้องทุกข์ และแก้ปัญหาความเดือดร้อน

ของประชาชน อย่างมีประสิทธิภาพ

ด้านการวางแผน

ด้านการบริหารจัดการ

และประชาสัมพันธ์

ด้านบูรณาการ

และก ากับติดตาม


31

พิธีลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ

“การด าเนินการเรื่องราวร้องทุกข์”

ของศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล 1111

วันพุธที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2562 ณ ตึกสันติไมตรี ท าเนียบรัฐบาล

ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี โดย ศูนย์บริการประชาชน ได้จัดพิธีลงนาม

ในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือการด าเนินการเรื่องราวร้องทุกข์ของศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล 1111

โดยมี รองนายกรัฐมนตรี (นายวิษณุ เครืองาม) เป็นประธานในพิธี มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนความร่วมมือในการขับเคลื่อนนโยบาย

การด าเนินการเรื่องร้องทุกข์และบูรณาการความร่วมมือระหว่างส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรีในฐานะศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์

ของรัฐบาลกับส่วนราชการซึ่งจะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการด าเนินการเรื่องร้องทุกข์สร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชน

ผู้รับบริการ รวมทั้งเพื่อสร้างการรับรู้ให้กับผู้ปฏิบัติงานเรื่องร้องทุกข์ถึงมาตรฐานและแนวทางการด าเนินการเรื่องร้องทุกข์ผ่าน

ระบบการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ในทิศทางเดียวกัน โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานที่ร่วมลงนามในบันทึก

ความร่วมมือผู้น าการขับเคลื่อนการด าเนินการเรื่องร้องทุกข์ประจ าหน่วยงาน CCEO และผู้ปฏิบัติงานเรื่องร้องทุกข์จากทุกกระทรวง

ศูนย์ด ารงธรรม กระทรวงมหาดไทย และศูนย์ด ารงธรรมจังหวัดทั่วประเทศ กรุงเทพมหานคร ส านักงานต ารวจแห่งชาติ ส านักงาน

สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ส านักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี

ส านักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค กรมบังคับคดี บริษัท ทีโอที จ ากัด (มหาชน) สื่อมวลชน และเจ้าหน้าที่ส านักงานปลัด

ส านักนายกรัฐมนตรี จ านวนรวมประมาณ 300 คน ซึ่งมีกรอบความร่วมมือใน 3 ด้าน ดังนี้

เพื่อให้การขับเคลื่อนภารกิจการเชื่อมโยง และแลกเปลี่ยนข้อมูลระบบสารสนเทศของส่วนราชการ

เข้าสู่ระบบฐานข้อมูลกลางเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยก าหนดให้เป็นผู้ร่วมใช้งานระบบ

การจัดการเรื่องราวร้องทุกข์หรือขอให้ส่วนราชการพัฒนา Web Service ให้สามารถรองรับ

การเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลเรื่องร้องทุกข์กับระบบการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์

เป็นการก าหนดมาตรการร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรื่องร้องเรียน

ร้องทุกข์ให้ได้รับการแก้ไขปัญหาโดยเร่งด่วน เพื่อประโยชน์และบรรเทาความเดือดร้อนของ

ประชาชน

เป็นการก าหนดแนวทางความร่วมมือในการพัฒนาองค์ความรู้ และบุคลากรในการปฏิบัติงาน

เรื่องราวร้องทุกข์


32

1.2 การรับแจ้งสถานะความเป็นองค์กรของผู้บริโภค

วันจันทร์ที่ 22 กรกฎาคม 2562

ณ ส านักงาน ก.พ. (เดิม) ถนนพิษณุโลก แขวดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

รมต.นร. (นายเทวัญ ลิปตพัลลภ)

เปิดรับแจ้งสถานะความเป็นองค์กรของผู้บริโภค

สร้างความเข้มแข็งให้ประชาชนไม่ให้ถูกเอาเปรียบ

และตรวจเยี่ยมจุดบริการประชาชน 1111

ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี โดย ศูนย์บริการประชาชน จัดพิธีเปิดรับแจ้งสถานะความเป็นองค์กรของผู้บริโภค

เปิดการรับแจ้งสถานะความเป็นองค์กรของผู้บริโภคโดยวันแรกมีเครือข่ายผู้บริโภค ยื่นค าขอแจ้งสถานะความเป็นองค์กร

ของผู้บริโภค ณ ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี จ านวน 57 ราย ทั้งนี้ เครือข่ายองค์กรของผู้บริโภคสามารถยื่นค าขอ

จดแจ้งได้ทุกจังหวัด โดยศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมที่เว็บไซต์ สปน. (www.opm.go.th)

ในการนี้ รัฐมนตรีประจ าส านักนายกรัฐมนตรี นายเทวัญ ลิปตพัลลภ ได้เข้าตรวจเยี่ยมการด าเนินงานของศูนย์รับเรื่อง

ราวร้องทุกข์รัฐบาล ณ จุดบริการประชาชน 1111 โดยมี ปลัดส านักนายกรัฐมนตรี (นางพัชราภรณ์ อินทรียงค์)

รองปลัดส านักนายกรัฐมนตรี (นายสุรศักดิ์ เรียงเครือ) และผู้อ านวยการศูนย์บริการประชาชน (นายอิทธิพล ช่างกลึงดี)

ให้การต้อนรับและแนะน าการด าเนินงาน


33

1.3 งานสัมมนาวิชาการและมอบรางวัลเลิศรัฐ ประจ าปี พ.ศ. 2562

“Shift to the future : ภาครัฐปรับ อนาคตเปลี่ยน”

ศูนย์บริการประชาชน

ได้รับรางวัลความเป็นเลิศของหน่วยงานภาครัฐ

ที่บอกถึงความส าเร็จด้านการพัฒนาระบบการ

ให้บริการประชาชน

เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2562 รองปลัดส านักนายกรัฐมนตรี (นายสุรศักดิ์ เรียงเครือ) พร้อมด้วย ผู้อ านวยการศูนย์บริการประชาชน

(นายอิทธิพล ช่างกลึงดี) ได้เข้ารับรางวัลเลิศรัฐ ประจ าปี พ.ศ. 2562 จาก รองนายกรัฐมนตรี (นายวิษณุ เครืองาม) ประธานในพิธี

เนื่องในโอกาส สปน. โดย ศบช. ได้รับรางวัลเลิศรัฐ สาขาบริการภาครัฐประเภทพัฒนาบริการระดับดี ในหัวข้อ “การบริการรับเรื่อง

ราวร้องทุกข์ของศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล” ในการนี้ ปลัดส านักนายกรัฐมนตรี (นางพัชราภรณ์ อินทรียงค์) และคณะ

ผู้บริหาร ได้กรุณาให้เกียรติมาร่วมแสดงความยินดีในโอกาสดังกล่าว


34

1.4 ประมวลภาพ/กิจกรรมการขับเคลื่อนนโยบายและข้อสั่งการของรัฐบาล

จัดนิทรรศการและบริการประชาชน วันข้าราชการพลเรือน ประจ าปี พ.ศ. 2562

งานวันข้าราชการพลเรือนของส่วนราชการ เพื่อมุ่งหวังการเสริมสร้างเกียรติภูมิข้าราชการไทย

เพื่อความโปร่งใส เชื่อมั่นและศรัทธา อีกทั้งเป็นการตอกย้ าให้ข้าราชการได้ตระหนักถึงเกียรติ

หน้าที่ สามัคคี ซื่อสัตย์ ซึ่งเป็นคุณสมบัติของข้าราชการ รวมไปถึงยกย่องส่งเสริมข้าราชการ

ที่มีความประพฤติและผลการปฏิบัติงานดีเด่น รวมถึงการเผยแพร่เกียรติคุณของ ข้าราชการดีเด่น

ให้ปรากฏ อันจะช่วยสร้างขวัญและก าลังใจให้ข้าราชการกระท าความดีตลอดไป โดยมีการปรับเปลี่ยน

รูปแบบวิธีการที่แตกต่างจากอดีตที่ผ่านมาเพื่อเข้าถึงประชาชนในทุกระดับชั้นส าหรับวันนี้

และในอนาคต

เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2562 ศูนย์บริการประชาชน ได้ร่วมจัดนิทรรศการ และบริการประชาชนให้ความรู้

เกี่ยวกับการร้องทุกข์ แนะน าการร้องทุกข์ ผ่านช่องทาง Mobile Application “PSC 1111”

ในการนี้ รองนายกรัฐมนตรี (นายวิษณุ เครืองาม) ข้าราชการ ประชาชนผู้สนใจเยี่ยมชมนิทรรศการ

ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล


ภารกิจที่ ภารกิจด้านการประสาน

มวลชนและองค์กรประชาชน

02

35

ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี

โดย ศูนย์บริการประชาชน ได้ด าเนินการ

ภารกิจด้านการประสานมวลชนและองค์กร

ประชาชนใน 3 แนวทาง ได้แก่

1) การให้การต้อนรับ อ านวยความสะดวกและรับเรื่องร้องทุกข์จาก

กลุ่มมวลชนและองค์กรประชาชน ที่เดินทางมายื่นข้อเรียกร้องที่

ท าเนียบรัฐบาล

2) ท าหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุการในการประสานงานและจัดประชุม

คณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ และคณะท างาน ในการแก้ไข

ปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน

3) รับเรื่องร้องทุกข์จากกลุ่มเครือข่ายองค์กรประชาชนและประชาชน

ทั่วไปที่เดินทางมายื่นเรื่องร้องทุกข์ต่อนายกรัฐมนตรีและ

คณะรัฐมนตรีในคราวประชุมคณะรัฐมนตรีนอกสถานที่ รวมทั้ง

ประสานหน่วยงานเพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน


36

2.1 สรุปการด าเนินการรับเรื่องร้องทุกข์จากประชาชน

ที่เดินทางมายื่นเรื่องที่ท าเนียบรัฐบาล

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนย์บริการประชาชนได้ให้การต้อนรับ อ านวยความสะดวก

และรับเรื่องร้องทุกข์จากกลุ่มมวลชนและองค์กรประชาชนที่เดินทางมายื่นเรื่องร้องทุกข์ที่ท าเนียบรัฐบาล

รวมทั้งสิ้น 244 ครั้ง ซึ่งมีกลุ่มประชาชนได้ยื่นเรื่องร้องเรียนในหลากหลายประเด็นปัญหาอาทิ เช่น

ชมรมลูกจ้างแพทย์แผนไทย (ประเทศไทย)

ขอให้พิจารณาการจัดสรรต าแหน่งเพื่อบรรจุเข้ารับราชการสายงาน

แพทย์แผนไทยสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เนื่องจากมีรายงานผล

การจัดสรรต าแหน่งเพื่อบรรจุเข้ารับราชการรอบที่ 1 ประจ าปี พ.ศ.

2561 โดยสายงานแพทย์แผนไทยไม่ได้รับการจัดสรรต าแหน่ง

ดังกล่าว ซึ่งไม่สอดคล้องกับรายงานการขาดแคลนของกลุ่ม

บริหารงานบุคคล เมื่อปี พ.ศ. 2560

กลุ่มเครือข่ายสลัม 4 ภาค

ขอให้พิจารณาแก้ไขปัญหาด้านที่ดินเพื่ออยู่อาศัยและท ากินและพื้นที่

เขตเศรษฐกิจพิเศษ สนันสนุนการจัดสร้างบ้านและชุมชน รวมทั้งสิทธิ

ด้านสวัสดิการทางสังคม พร้อมกับขอให้รัฐบาลสนับสนุนโครงการ

บ้านมั่นคง โครงการพัฒนาที่อยู่อาศัยของรัฐ โดยรัฐบาลควรเพิ่ม

งบประมาณในการด าเนินการโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ที่มี

ผลกระทบด้านที่อยู่อาศัยต่อชุมชน

สหพันธ์องค์กรชุมชนคนจนเมืองแห่งชาติ

สหพันธ์องค์กรชุมชนคนจนเมืองแห่งชาติ จ านวน 350 คน ได้

เดินทางมาที่ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาลจุดบริการประชาชน

1111 เพื่อขอเสนอแนวทางเชิงนโยบายเพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการ

ขับเคลื่อนงานที่อยู่อาศัยและที่ท ากิน

ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรชาวไร่อ้อยแห่งประเทศไทย จ ากัด

ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรชาวไร่อ้อยแห่งประเทศไทย จ ากัด จ านวน

100 คน ได้เดินทางมาที่ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล จุด

บริการประชาชน 1111 เพื่อสนับสนุนร่างพระราชบัญญัติอ้อยและ

น้ าตาลทราย ฉบับที่ ... พ.ศ. ... ของคณะกรรมการพิจารณาศึกษา

ปรับปรุงพระราชบัญญัติอ้อยและน้ าตาลทราย พ.ศ. 2527ตามที่สภา

นิติบัญญัติแห่งชาติเสนอ

ขบวนการประชาชนเพื่อสังคมที่เป็นธรรม (ขปส.)

ขอให้พิจารณาวาระการประชุมคณะกรรมการเเก้ไขปัญหา

ของขบวนการประชาชนเพื่อสังคมที่เป็นธรรมเพิ่มเติม กรณีการ

คุ้มครองพื้นที่โฉนดชุมชน 486 ชุมชน เพื่อน ามติที่ประชุม

ของคณะกรรมการฯ เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาต่อไป


37

กลุ่มมวลชนและองค์กรประชาชน

ที่เดินทางมายื่นเรื่องร้องทุกข์ที่ท าเนียบรัฐบาล

ขบวนการประชาชนเพื่อสังคมที่เป็นธรรม (ขปส.)

ขอให้พิจารณาถอนร่างพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. ... และ

ร่างพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. ... ออกจากการ

พิจารณาของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เนื่องจากเห็นว่าร่าง

พระราชบัญญัติทั้ง ๒ ฉบับ มีเนื้อหาท าลายหลักการสิทธิชุมชนคนอยู่

ป่า และท าลายวิถีชีวิตของชุมชนที่รักษาป่ามายาวนาน

เครือข่ายองค์กรครู 4 ภูมิภาค

ขอให้ชะลอการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ

(ฉบับที่ ...) พ.ศ. ... และชะลอการแต่งตั้งต าแหน่งเลขาธิการ

คณะกรรมการส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิ

ภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) เพื่อประโยชน์ของการ

ปฏิรูปการศึกษาของประเทศ โดยให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการร่าง

พระราชบัญญัติดังกล่าว

สมาพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ (สรส.)

สมาพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ (สรส.) ขอให้ด าเนินการรับฟัง

ความคิดเห็นของประชาชนอย่างรอบด้าน และสามารถตรวจสอบการ

ด าเนินการได้อย่างโปร่งใสก่อนที่จะด าเนินการโครงการพัฒนา

ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) และโครงการรถไฟฟ้า

ความเร็วสูงเชื่อมท่าอากาศยานดอนเมือง สุวรรณภูมิ และอู่ตะเภา

เนื่องจากโครงการดังกล่าวส่งผลกระทบต่อด้านเศรษฐกิจ สังคม

คุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม

สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ ทีโอที และ สร.กทพ.

ขอให้ชะลอการต่อสัญญาสัมปทานโครงการระบบทางด่วนขั้นที่ 2

และสัญญาโครงการทางด่วนสายบางปะอิน – ปากเกร็ด กับขอ

คัดค้านมติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

กรณีเห็นชอบให้กรุงเทพมหานครเป็นผู้ด าเนินการสร้างท่อ

ร้อยสายสื่อสารใต้ดินในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

ราษฎรหมู่ที่ 1 ต.แหลมตะลุมพุก อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช

ขอให้พิจารณาจ่ายเงินเยียวยาให้แก่ผู้ประสบภัยจากพายุโซนร้อนปาบึก

กรณีราษฎรได้รับผลกระทบจากพายุโซนร้อนปาบึกท าให้บ้านเรือน

และเครื่องมือในการประกอบอาชีพประมงได้รับความเสียหาย รวมทั้ง

ขอให้ตรวจสอบความโปร่งใสในการบริหารจัดการงบประมาณ

ในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยขององค์การบริหารส่วนต าบลแหลมตะลุมพุก


38

2.2 สรุปการด าเนินงานด้านการประชุมคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/

คณะท างาน เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน

การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ในรูปแบบของการแต่งตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการและคณะท างานเป็นกลไก

หนึ่งที่ส าคัญในการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยให้หลายภาคส่วนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการผลักดันปัญหาให้ได้รับการแก้ไขปัญหา

อย่างเป็นรูปธรรมซึ่งศูนย์บริการประชาชนได้มีส่วนในการประชุมคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ และคณะท างาน โดยเชิญผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

(ภาคเอกชน ประชาชนทั่วไป และประชาชนในพื้นที่) ผู้แทนหน่วยงานเอกชนที่ไม่แสวงหารายได้ NGOs นักวิชาการ ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

เพื่อเข้าร่วมประชุมหาแนวทางการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของเครือข่ายภาคประชาชน ตลอดจนถึงการรวบรวมข้อมูล ลงพื้นที่ตรวจสอบ

ข้อเท็จจริงตามหลักวิชาการ เพื่อก าหนดแนวทางเกี่ยวกับระเบียบ หรือเสนอกฎหมายต่าง ๆ ที่ส าคัญๆ เพื่อแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนในพื้นที่

อย่างแท้จริง และยั่งยืน โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนย์บริการประชาชนได้จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการชุดต่าง ๆ มากกว่า 20 คณะ

โดยมีคณะกรรมการที่มีผลงานเด่นเป็นประจักษ์เช่น

คณะกรรมการแก้ไขปัญหาของขบวนการประชาชนเพื่อสังคมที่เป็นธรรม

ซึ่งท าหน้าที่ก าหนดนโยบายมาตรการและงบประมาณ ติดตามผลการด าเนินการของส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหา

ของเครือข่าย ประชาชน ที่ได้รับความเดือดร้อน

รัฐบาลได้แก้ไขปัญหาของขบวนการประชาชนเพื่อสังคมที่เป็นธรรม (ขปส.) โดยใช้กลไกคณะกรรมการในการด าเนินการมา โดยตลอดอย่างต่อเนื่อง

ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรีได้ประมวลกรณีปัญหาของ ขปส. ทั้งหมด น าเสนอให้คณะรัฐมนตรีเพื่อโปรดทราบ

และมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งรัดขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาของประชาชนอย่างต่อเนื่อง โดยส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี ในฐานะฝ่าย

เลขานุการคณะกรรมการแก้ไขปัญหาฯ ได้เร่งรัดติดตามผลการด าเนินการของคณะอนุกรรมการทั้ง 8 คณะ และน ามาประมวลจัดท าสรุปผล

การด าเนินการแก้ไขปัญหาของประชาชนในกลุ่ม ขปส. เสร็จเรียบร้อยแล้วสรุปได้ว่า ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ภาคประชาชน ได้มีข้อ

เรียกร้องจ านวน 159 กรณี ซึ่งคณะกรรมการแก้ไขปัญหาฯ ได้ด าเนินการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหา โดยมีการจัดประชุม จ านวน 11 ครั้ง และมอบหมาย

ให้ส านักงานส านักนายกรัฐมนตรีลงพื้นที่ 17 ครั้ง รวมทั้งได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อช่วยเหลือการปฏิบัติงาน จ านวน 8 คณะ

โดยคณะอนุกรรมการฯ ได้แต่งตั้งคณะท างานอีก จ านวน 17 คณะ ทั้งนี้ ได้ด าเนินการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของภาคประชาชนจนได้

ข้อยุติ จ านวน 64 กรณี และอยู่ระหว่างการด าเนินการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จ านวน 95 กรณี


คณะท างานเพื่อแก้ไขความเดือดร้อนของประชาชน

39

เกี่ยวกับด้านการยุติธรรม กฎหมายและคดีความ

มีอ านาจหน้าที่ในการศึกษาข้อมูล และตรวจสอบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ ของประชาชนและกลุ่มมวลชนหรือองค์กรประชาชน เพื่อหา

แนวทางการช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาเชิญหน่วยงาน หรือบุคคลมาให้ข้อมูลข้อเท็จจริง เพื่อประกอบการพิจารณาให้ความช่วยเหลือแก้ไขปัญหา

ความเดือดร้อน ของประชาชน ประชุมหารือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและลงพื้นที่เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนและกลุ่มมวลชนหรือองค์กร

ประชาชน เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง เรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ต่าง ๆ ประสานกลุ่มมวลชนหรือองค์กรประชาชนที่เดินทางมาร้องทุกข์

ณ จุดบริการประชาชน 1111 หรือร้องทุกข์ต่อนายกรัฐมนตรีในโอกาสต่าง ๆ

ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี โดย ศูนย์บริการประชาชน ได้ให้ความส าคัญต่อการแก้ไขปัญหา

เรื่องร้องเรียนในพื้นที่ จึงได้มีการแต่งตั้งคณะท างานเพื่อแก้ไขความเดือดร้อนของประชาชนเกี่ยวกับด้านการยุติธรรม กฎหมายและคดี ความ

โดยมี พ.ต.ท. พงศ์อินทร์ อินทรขาว ประธานคณะท างานฯ พ.ต.ท. สมบูรณ์ สาระสิทธิ์ พ.ต.ท. ชินโชติ พุฒิวรรธธาดา และเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการ

ประชาชนร่วมกันแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนที่มีความยุ่งยาก และซับซ้อน สร้างปัญหาให้กับประชาชน และชุมชนโดยทั่วไป ซึ่งจะท าให้แก้ไข ปัญหา

ของประชาชนเกิดผลเป็นรูปธรรม มีการติดตามผลการด าเนินการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะท างานฯ ได้ท าอย่างหนัก

และช่วยบรรเทาปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนได้ในหลายกรณี


40

คณะท างานเพื่อแก้ไขความเดือดร้อนของประชาชน

เกี่ยวกับด้านการยุติธรรม กฎหมายและคดีความ

การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน

ในพื้นที่ที่มีการปลูกยางพาราและแปรรูปยางพารา

ศูนย์บริการประชาชน ได้รับเรื่องร้องเรียนจากปัญหามลพิษ

จากยางพาราในพื้นที่จังหวัดเลย จังหวัดหนองบัวล าภู และ จังหวัดบึงกาฬ

ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ในคราวนายกรัฐมนตรีเดินทางไปปฏิบัติราชการใน

พื้นที่จังหวัดหนองบัวล าภู โดยราษฎรขอให้พิจารณาแก้ไขปัญหาให้กับราษฎรที่อยู่

อาศัยรอบโรงงานผลิตยางพาราของบริษัท วงศ์บัณฑิต จ ากัด และบริษัท ศรีตรัง

แอโกรอินดัสทรี จ ากัด (มหาชน) ในพื้นที่ต าบลหนองนาค า อ าเภอเมืองอุดรธานี

จังหวัดอุดรธานี ที่ได้รับความเดือดร้อนร าคาญจากกลิ่นเหม็นและเสียงดังรบกวน

จากการประกอบกิจการโรงงาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ซึ่งคณะท างานเพื่อแก้ไขความเดือดร้อนและประชุม

หารือร่วมกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในหลายครั้งจนได้ข้อสรุปว่า จังหวัดอุดรธานี ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี

และผู้ประกอบการผลิตยางพาราขนาดใหญ่ในจังหวัดอุดรธานีจะมีการลงนามในบันทึกข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือการลด

ปัญหามลพิษจากกระบวนการผลิตยางพาราในพื้นที่จังหวัดอุดรธานี ต่อมา ภายใต้การผลักดันของส านักงานปลัดส านัก

นายกรัฐมนตรี โดยศูนย์บริการประชาชน ได้มีพิธีลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือเมื่อวันพุธที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2562

ณ ห้องประชุมสิรินธรวัลลี ศาลากลางจังหวัดบึงกาฬ โดยมี รองปลัดส านักนายกรัฐมนตรี (นายสุรศักดิ์ เรียงเครือ)

เป็นประธานพิธีลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ในการแก้ไขปัญหามลพิษจากยางพาราในพื้นที่จังหวัดบึงกาฬ ระหว่าง

ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี จังหวัดบึงกาฬและโรงงานผลิตยางแท่งจ านวน 6 แห่ง ในเรื่องความร่วมมือกัน

ในการควบคุมน้ าเซรั่มจากยางก้อนถ้วย มิให้ร่วงหล่นในระหว่างการขนส่งเพื่อป้องกันมลภาวะและอุบัติเหตุ และตรวจเยี่ยมการ

แก้ไขปัญหามลภาวะจากการผลิตยางแท่งในจังหวัดอุดรธานี


คณะท างานแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน

41

เกี่ยวกับด้านเศรษฐกิจ สังคม สวัสดิการ และสิ่งแวดล้อม

มีอ านาจหน้าที่ในการศึกษาข้อมูล และตรวจสอบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ ของประชาชนและกลุ่มมวลชนหรือองค์กรประชาชน

เพื่อหาแนวทางการช่วยเหลือและแก้ไขปัญหา เชิญหน่วยงาน หรือบุคคลมาให้ข้อมูลข้อเท็จจริง เพื่อประกอบการพิจารณาให้ความช่วยเหลือแก้ไขปัญหา

ความเดือดร้อน ของประชาชน ประชุมหารือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและลงพื้นที่เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนและกลุ่มมวลชนหรือองค์กร

ประชาชน เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง เรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ต่าง ๆ ประสานกลุ่มมวลชนหรือองค์กรประชาชนที่เดินทางมาร้องทุกข์

ณ จุดบริการประชาชน 1111 หรือร้องทุกข์ต่อนายกรัฐมนตรีในโอกาสต่าง ๆ

1. เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2562 ผู้ตรวจพิเศษราชการประจ าส านักนายกรัฐมนตรี (นายพศิน โกมลวิชญ์) ในฐานะประธานคณะท างานแก้ไขปัญหาความ

เดือดร้อนของประชาชนเกี่ยวกับด้านเศรษฐกิจ สังคม สวัสดิการ และสิ่งแวดล้อม พร้อมด้วยผู้อ านวยการพิเศษส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี

(นายสมภพ ร่วมญาติ) และเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการประชาชน ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี ได้มีการลงพื้นที่ ณ จังหวัดบุรีรัมย์ ดังนี้

1) ประชุมหารือแนวทางการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องทุกข์ร่วม

กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์ โดยมีรองผู้ว่าราชการ

จังหวัดบุรีรัมย์ (นายด ารงชัย เนรมิตตกพงศ์) เข้าร่วมประชุมฯ ซึ่งผู้ตรวจ

ราชการพิเศษประจ าส านักนายกรัฐมนตรี (นายพศิน โกมลวิชญ์) ได้ขอให้

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง โดยให้ความส าคัญ

ในการแจ้งความคืบหน้า/ชี้แจงการด าเนินการให้ผู้ร้องเรียนได้รับทราบ

รวมถึงรายงานผลความคืบหน้าให้ สปน. ทราบด้วย

2) ลงพื้นที่เพื่อพบปะ ด.ญ. รุ่งอรุณ พระปฐม และหารือหน่วยงาน

ที่เกี่ยวข้อง ในการให้ความอนุเคราะห์สัญชาติไทยให้แก่มารดาของ

ด.ญ. รุ่งอรุณ พระปฐม ขอทุนการศึกษา และขอให้ได้ใช้ไฟฟ้าเนื่องจาก

มีฐานะยากจน โดยได้ทราบข้อมูลเพิ่มเติมว่า ด.ญ. รุ่งอรุณ พระปฐม

ได้มีหนังสือกราบบังคมทูลสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ

รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ขอพระราชทานความช่วยเหลืออีกทาง

หนึ่งด้วย ทั้งนี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ด าเนินการให้ความช่วยเหลือ สรุปได้

ดังนี้

2.1) กรณีมารดาขอสัญชาติไทยไม่เข้าหลักเกณฑ์ของการได้รับสัญชาติ

2.2) พ.ม. จ.บุรีรัมย์ และโรงเรียน ได้ให้ด าเนินการสนับสนุนทุนการศึกษา

แก่ ด.ญ. รุ่งอรุณ พระปฐม

2.3) กฟภ. จ.บุรีรัมย์ ได้ติดตั้งมิเตอร์ไฟฟ้าเรียบร้อยแล้ว


42

คณะท างานแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน

เกี่ยวกับด้านเศรษฐกิจ สังคม สวัสดิการ และสิ่งแวดล้อม

2. เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2562 ผู้ตรวจราชการพิเศษประจ าส านักนายกรัฐมนตรี (นายพศิน โกมลวิชญ์) ในฐานะประธานคณะท างานฯ พร้อมด้วย

ผู้อ านวยการพิเศษส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี (นายสมภพ ร่วมญาติ) และเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการประชาชน ร่วมกับเจ้าหน้าที่จังหวัดร้อยเอ็ด

ลงพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด ดังนี้0

1) จัดประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการด าเนินการแก้ไขปัญหา

เรื่องร้องทุกข์ในพื้นที่ จังหวัดร้อยเอ็ด ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รายงาน

ความคืบหน้าในการแก้ไขปัญหาเรื่องราวร้องทุกข์ รวมถึงปัญหาอุปสรรค/

ข้อขัดข้องในการด าเนินการ และข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาบูรณา

การในการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องทุกข์ โดยจังหวัดร้อยเอ็ดคาดว่าจะสามารถ

ด าเนินการเรื่องร้องทุกข์ที่คงค้างกว่า 200 เรื่อง ให้ได้ข้อยุติทั้งหมดภายใน

3 เดือน

2) ลงพื้นที่ตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลข้อเท็จจริงในการแก้ไข

ปัญหาเรื่องราวร้องทุกข์ในพื้นที่อ าเภอโพนทอง ดังนี้

2.1) การแก้ไขปัญหากลิ่นควันรบกวนที่เกิดจากการเผาถ่านในพื้นที่

ต าบลโคกสูง เนื่องจากหลายครัวเรือนประกอบอาชีพเผาถ่านขาย ส่งผลให้

ประชาชนในพื้นที่ดังกล่าวได้รับความเดือดร้อน โดยจากการศึกษาและ

ตรวจสอบพบว่าการเผาถ่านส่งผลกระทบด้านสุขภาพอนามัย และ

สิ่งแวดล้อม ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ร่วมแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องแต่ยัง

ไม่ได้ผลเป็นที่ยุติ ทั้งนี้ เทศบาลต าบลโคกสูงได้จัดท าร่างเทศบัญญัติในการ

คุ้มครอง ก ากับ ดูแล โดยจะมีการรับฟังความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ภายในเดือนสิงหาคม 2562 ก่อนที่จะมีการบังคับใช้ต่อไป

2.2) การแก้ไขปัญหากลิ่นเหม็นรบกวนจากมูลสุกรในต าบลโนนศรีชัย ซึ่ง

ปัจจุบันได้มีการเคลื่อนย้ายสุกร จ านวน 30 ตัว ออกจากพื้นที่ดังกล่าวแล้ว

แต่ยังคงเหลือแม่พันธ์สุกร จ านวน 2 ตัว เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายในการขนย้าย

สูง โดยการขนย้ายสุกรส่วนใหญ่ออกจากพื้นที่สามารถลดระดับปัญหาการ

ส่งกลิ่นเหม็นได้ในระดับหนึ่ง


คณะกรรมการการแก้ไขปัญหาการใช้สารเคมีป้องกัน

43

และก าจัดศัตรูพืชที่มีความเสียงสูง

มีนายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีประจ าส านักนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน และรองปลัดส านักนายกรัฐมนตรี (นายสุรศักดิ์ เรียงเครือ) เป็นรอง

ประธาน มีอ านาจหน้าที่ในการรวบรวม วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลทางวิชาการชุดใหม่ที่มีหลักฐานน่าเชื่อถือทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับสารพาราควอต

คลอร์ไพริฟอส และไกลโฟเฟต เพื่อเสนอต่อผู้ที่เกี่ยวข้องในการก าหนดแนวทางการบริหารจัดการทั้ง 3 สาร ในทางเกษตร ในประเทศไทย โดยจะได้

ประมวลผลและพิจารณาน าเสนอในระดับนโยบายต่อไป ซึ่งผลการด าเนินงาน ของคณะกรรมการฯ ได้จัดประชุมเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2562 โดยมี

รัฐมนตรีประจ าส านักนายกรัฐมนตรี (นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ) เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการแก้ไขปัญหาการใช้สารเคมีป้องกันก าจัด

ศัตรูพืชที่มีความเสี่ยงสูง (พาราควอต คลอร์ไพริฟอส และไกลโฟเซต) โดยมีรองปลัดส านักนายกรัฐมนตรี (นายสุรศักดิ์ เรียงเครือ) เป็นรองประธาน

ผู้อ านวยการศูนย์บริการประชาชน (นายอิทธิพล ช่างกลึงดี) เป็นกรรมการและเลขานุการ ซึ่งสรุปผลการประชุมได้ดังนี้

1) คณะกรรมการแก้ไขปัญหาการใช้สารเคมีป้องกันก าจัดศัตรูพืชที่มีความ

เสี่ยงสูงจะจัดส่งข้อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับการใช้สารเคมีป้องกันก าจัด

ศัตรูพืชที่มีความเสี่ยงสูง (พาราควอต คลอร์ไพริฟอส และไกลโฟเซต) ของ

ส านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พร้อมบันทึกความเห็นเพิ่มเติมของ

กรรมการฯ เพื่อให้คณะกรรมการวัตถุอันตรายใช้เป็นข้อมูลประกอบการ

พิจารณาต่อไป

2) คณะกรรมการแก้ไขปัญหาการใช้สารเคมีป้องกันก าจัดศัตรูพืช

ที่มีความเสี่ยงสูงจะจัดให้มีการประชุมคณะท างานย่อย 2 คณะ

ดังนี้

- คณะท างานที่ 1 เพื่อพิจารณาสรุปประเด็นด้านสุขภาพ

และสาธารณสุขเพิ่มเติม

- คณะท างานที่ 2 เพื่อพิจารณาสรุปมาตรการทดแทน

กรณียกเลิกการใช้สารเคมีป้องกันก าจัดศัตรูพืชที่มีความเสี่ยงสูง

(พาราควอต คลอร์ไพริฟอส และไกลโฟเซต)

ทั้งนี้ เมื่อได้ข้อสรุปจากการประชุมคณะท างานย่อยทั้ง 2 คณะ

ครบแล้ว คณะกรรมการฯ จะได้พิจารณาน ากราบเรียน

นายกรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาต่อไป


44

คณะอนุกรรมการติดตามการแก้ไขปัญหาแชร์ลูกโซ่

มีหน้าที่เสนอแนะมาตรการปราบปรามและเร่งรัดติดตามการด าเนินคดีแชร์ลูกโซ่ มาตรการป้องกัน และมาตรการเยียวยาส าหรับผู้ได้รับผลกระทบจาก

แชร์ลูกโซ่ ติดตามและประเมินผลการด าเนินการของส่วนราชการ ในมาตรการปราบปรามและเร่งรัดติดตามการด าเนินคดีแชร์ลูกโซ่ มาตรการ

ป้องกัน และมาตรการเยียวยาส าหรับผู้ได้รับผลกระทบจากแชร์ลูกโซ่ ตามข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรี เพื่อรายงานคณะกรรมการติดตามการแก้ไข

ปัญหาแชร์ลูกโซ่ทราบเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง โดยมี พ.ต.ท. พงศ์อินทร์ อินทรขาว ผต.พิเศษประจ าส านักนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน ซึ่งได้จัดประชุม

ไปเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2561 โดยมีผู้ตรวจราชการพิเศษประจ าส านักนายกรัฐมนตรี (พ.ต.ท.พงศ์อินทร์ อินทรขาว) เป็นประธานการประชุม

คณะอนุกรรมการติดตามการแก้ไขปัญหาแชร์ลูกโซ่ ครั้งที่ 1/2561 ซึ่งที่ประชุมมีมติ ดังนี้

1)ขอความร่วมมือให้ส านักงานต ารวจแห่งชาติจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการร่วม โดยมี

ผู้บังคับบัญชาระดับสูงเป็นผู้บัญชาการศูนย์ เพื่อบูรณาการการสืบสวน

สอบสวนตามแนวทางการแก้ไขปัญหาที่นายกรัฐมนตรีเห็นชอบ

2) ขอความร่วมมือกระทรวงมหาดไทยก าชับให้คณะอนุกรรมการป้องกันและ

ปราบปรามธุรกิจการเงินนอกระบบในส่วนภูมิภาค ในระดับจังหวัด ทั้ง 76

จังหวัด ประชุมคณะอนุกรรมการฯ อย่างต่อเนื่อง

3)เห็นชอบให้จังหวัดนครราชสีมาเป็นจังหวัดน าร่องในการด าเนินมาตรการ

ป้องปราม โดยมอบหมายให้ฝ่ายเลขานุการจัดท า

4)เห็นชอบตารางแนวทางการแก้ไขปัญหาให้แก่ผู้ได้รับผลกระทบจากธุรกิจแชร์

ลูกโซ่ของคณะอนุกรรมการฯ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการประชุมคณะอนุกรรมการ

และคณะกรรมการครั้งต่อไปตามที่ฝ่ายเลขานุการเสนอ


ภารกิจที่ ภารกิจเพื่อส่งเสริม

การมีส่วนร่วมของประชาชน

03

45

ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี

ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน

พ.ศ. 2548

ได้มีผลบังคับให้หน่วยงานของรัฐต้องปฏิบัติและ

ด าเนินการตามระเบียบตั้งแต่วันที่ 25 กันยายน 2548

โดยระเบียบดังกล่าวได้ก าหนดให้หน่วยงานของรัฐ ได้แก่

ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วน

ท้องถิ่น หน่วยงานอื่นใดของรัฐและรัฐวิสาหกิจ ต้อง

เผยแพร่ข้อมูล และ/หรือรับฟังความคิดเห็นของประชาชน

เกี่ยวกับโครงการของรัฐ รวมทั้งก าหนดให้ส านักงานปลัด

ส านักนายกรัฐมนตรีมีหน้าที่ ดังต่อไปนี้

1)

2)

3)

4)

ก ากับดูแล ส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือ และแนะน าหน่วยงานของรัฐในการด าเนินการตามระเบียบ

จัดท าและเผยแพร่แนวทางการเผยแพร่ข้อมูลและการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนให้หน่วยงานของรัฐทราบ

โดยจะจัดให้มีการสัมมนาหรือฝึกอบรมเป็นครั้งคราวก็ได้

ศึกษาหรือวิจัยเพื่อประโยชน์ในการปรับปรุงและพัฒนาวิธีการให้ข้อมูล และการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน

จัดท าและพัฒนาฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และระบบเครือข่ายสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการประกาศ รวบรวม

และให้บริการข้อมูลที่เผยแพร่แก่ประชาชนและข้อมูลเกี่ยวกับการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนตามระเบียบ


48

3. การเผยแพร่ข้อมูลโครงการของรัฐและข้อมูลการรับฟังความคิดเห็น

ของประชาชน ผ่านเว็บไซต์การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน

โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และระบบเครือข่าย

ระบบสารสนเทศเว็บไซต์การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน

นอกจากนั้นยังมีการให้ค าปรึกษา แนะน าหน่วยงานของรัฐในการ

ด าเนินการตามระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความ

คิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 ผ่านช่องทางต่าง ๆ ดังนี้

เป็นโครงการ ที่ต้องเผยแพร่ข้อมูลโครงการ

ของหน่วยงานต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อ

ประชาชน ซึ่งมีเพิ่มขึ้นมาก ท าให้ต้องมี

การพัฒนาระบบฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์

และระบบเครือข่ายเพื่อเพิ่มความรวดเร็วใน

การท างาน อันก่อให้เกิดประชาชนต่อ

ประชาชนสูงสุด

ศูนย์บริการประชาชน ได้ด าเนินการตรวจสอบการด าเนินการเผยแพร่ข้อมูลโครงการของรัฐและข้อมูลการรับฟังความคิดเห็น

ของประชาชน ผ่านเว็บไซต์การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ที่ http://www.publicconsultation.opm.go.th/Web/Index

พบว่าในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 หน่วยงานของรัฐได้เผยแพร่ข้อมูลโครงการต่าง ๆ จ านวน 1,655 โครงการ และได้รับการ

ตรวจสอบเรียบร้อยแล้ว จ านวน 1,655 โครงการคิดเป็นร้อยละ 100 (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2562) โดยเป็นโครงการของรัฐ

ตามระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีฯ จ านวน 1,491 โครงการ ในจ านวนนี้ เป็นโครงการที่หน่วยงานของรัฐได้จัดให้มีการรับฟังความ

คิดเห็นของประชาชน จ านวน 811 โครงการ จ าแนกเป็นโครงการ ที่หน่วยงานของรัฐ ได้ด าเนินการสรุปผลการรับฟังความคิดเห็น

ของประชาชนได้อย่างถูกต้องครบถ้วนตามระเบียบฯ จ านวน 785 โครงการเป็นโครงการที่หน่วยงานของรัฐมิได้ด าเนินการสรุปผล

การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนให้ถูกต้องครบถ้วนตามระเบียบฯ จ านวน 24 โครงการ และเป็นโครงการที่อยู่ระหว่างการรับฟัง

ความคิดเห็นของประชาชน จ านวน 2 โครงการ

3.1 ให้ค าปรึกษาแก่หน่วยงานของรัฐทางโทรศัพท์

จ านวน 72 ครั้ง โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1) ให้ค าปรึกษาข้อหารือเกี่ยวกับการพิจารณาความเป็น “โครงการของรัฐ” ที่จะต้องมีการเผยแพร่และการก าหนดให้มีการรับฟังควาคิดเห็น

ตามระเบียบฯ จ านวน 18 หน่วยงาน

2) ให้ค าปรึกษาข้อหารือเกี่ยวกับการด าเนินการเผยแพร่ข้อมูลโครงการของรัฐ และข้อมูลการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนผ่านเว็บไซต์

การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ที่www.publicconsultation.opm.go.th ได้แก่ การขอรหัสผู้ใช้งาน การตรวจสอบรหัสผู้ใช้งาน

การกรอกข้อมูลโครงการของรัฐ (การลงข้อมูลแยกโครงการ การแนบเอกสารโครงการ การลงเวลาเริ่มต้นโครงการ และการตรวจสอบ

โครงการว่าได้มีการเผยแพร่ข้อมูลโครงการแล้วหรือไม่) จ านวน 54 รายการ

ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มีหน่วยงานของรัฐได้น าโครงการของรัฐมาเผยแพร่ในระบบฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และ

เครือข่ายสารสนเทศการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนทั้งสิ้น จ านวน 1,655 โครงการ และได้รับการตรวจสอบเรียบร้อย

แล้ว จ านวน 1,655 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 100 (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2562)


ภารกิจที่ ภารกิจตามแผนปฏิบัติการ

ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

04

49

4.1 โครงการอ านวยการ

ศูนย์ราชการสะดวก

(Government Easy Contact Center : GECC)

สะดวก รวดเร็ว เข้าถึงง่าย

สัญลักษณ์สีทอง

ระดับเป็นเลิศ

เพิ่มเติมนวัตกรรมและเทคโนโลยี

ส าหรับให้บริการด้วยระบบดิจิทัล

สะดวกทุกที่ทุกเวลา

สัญลักษณ์สีเงิน

ระดับก้าวหน้า

เพิ่มเติมนวัตกรรมและ

เทคโนโลยีในการให้บริการ

สัญลักษณ์สีฟ้า

ระดับพื้นฐาน

ให้บริการสะดวก

รวดเร็ว เข้าถึงง่าย

พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา

นายกรัฐมนตรี

ได้มีนโยบายในคราวการประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2558

ให้ทุกกระทรวง กรม จังหวัด และรัฐวิสาหกิจ ด าเนินการจัดให้มีศูนย์ราชการสะดวก หรือ (Government Easy Contact Center : GECC)

เพื่อท าหน้าที่ให้ค าแนะน า และอ านวยความสะดวกแก่ประชาชนที่มาขอรับบริการอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างความเชื่อมั่นแก่ ประชาชน

ต่อการให้บริการจากหน่วยงานของรัฐ และต่อมานายกรัฐมนตรีได้มีค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการอ านวยการศูนย์ราชการสะดวกขึ้น โดย มี

รองนายกรัฐมนตรี (นายวิษณุ เครืองาม) เป็นประธานกรรมการ และมีส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี ร่วมกับส านักงานคณะกรรมการ

พัฒนาระบบราชการเป็นกรรมการและเลขานุการร่วม

ในปี พ.ศ. 2562 มีหน่วยงานของรัฐที่สมัครขอรับการรับรองมาตรฐานการให้บริการของศูนย์ราชการสะดวก จ านวนรวมทั้งสิ้น 1,262 ศูนย์

และคณะกรรมการอ านวยการศูนย์ราชการสะดวก ในคราวการประชุม ครั้งที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2562 ได้พิจารณา

ให้การรับรองมาตรฐานการให้บริการของศูนย์ราชการสะดวก จ านวน 340 ศูนย์ ตามที่คณะอนุกรรมการตรวจประเมินมาตรฐาน

ศูนย์ราชการสะดวกจ านวน 15 คณะ ประจ าปี พ.ศ. 2562 ได้ตรวจพิจารณาจากเอกสารและการให้บริการประชาชนในพื้นที่ โดยการรับรอง

มาตรฐานนี้จะมีระยะเวลา 3 ปี

คณะกรรมการอ านวยการศูนย์ราชการสะดวก


50

พิธีมอบโล่และตรารับรองมาตรฐาน

การให้บริการของศูนย์ราชการสะดวก (GECC)

ประจ าปี พ.ศ. 2562

รัฐมนตรีประจ าส านักนายกรัฐมนตรี (นายเทวัญ ลิปตพัลลภ) ได้เป็นประธาน

ในพิธีมอบโล่และตรารับรองมาตรฐานการให้บริการของศูนย์ราชการสะดวก (GECC)

ประจ าปี พ.ศ. 2562 วันอังคารที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ ห้องประชุมปรินซ์

แกรนด์บอลรูม ชั้น ๑๑ โรงแรมปรินซ์พาเลซ มหานาค กรุงเทพมหานคร

ให้แก่หน่วยงานที่ผ่านการรับรองมาตรฐานศูนย์ราชการสะดวก

ประจ าปี พ.ศ. 2561 เพื่อเป็นสัญลักษณ์แสดงถึง

การให้บริการประชาชนของหน่วยงานของรัฐ

ที่มีการให้บริการด้วยความ

“สะดวก รวดเร็ว เข้าถึงง่าย”

ตามนโยบายของนายกรัฐมนตรี

ปัจจุบันมีหน่วยงานที่ได้รับการรับรอง

มาตรฐานการให้บริการของศูนย์ราชการ

สะดวกและได้มอบโล่พร้อมตราสัญลักษณ์

ศูนย์ราชการสะดวก จ านวน 340 ศูนย์

ทั้งนี้ คณะกรรมการฯ จะได้มีการก ากับและติดตามการท างานของหน่วยงานให้สามารถรักษา

มาตรฐานการให้บริการได้อย่างต่อเนื่องต่อไป

340

หน่วยงานที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน ศูนย์ราชการสะดวก พ.ศ.2562 จ านวน ศูนย์

ระดับก้าวหน้า 43 ระดับพื้นฐาน 297

ศูนย์

ศูนย์


51

4.2 โครงการเสริมสร้างความสัมพันธ์

เครือข่ายผู้ปฏิบัติงานเรื่องราวร้องทุกข์

Contact Point

Public Service Center 1111

ศูนย์บริการประชาชน ได้รับอนุมัติให้ด าเนินโครงการเสริมสร้างความสัมพันธ์เครือข่ายผู้ปฏิบัติงานเรื่องราวร้องทุกข์

(Contact Point) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จ านวน 1 ครั้ง ซึ่งก าหนดด าเนินการในระหว่างเดือนตุลาคม 2561 –มีนาคม 2562

ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และพื้นที่ต่างจังหวัด โดยกลุ่มเป้าหมาย เป็นเครือข่ายผู้ปฏิบัติงานเรื่องราวร้องทุกข์จากส่วนราชการระดับ

กระทรวง กรม จังหวัด รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอิสระทั่วประเทศ และผู้ปฏิบัติงานเรื่องราวร้องทุกข์ของศูนย์บริการประชาชน

จ านวนประมาณ 100 คน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อบูรณาการการด าเนินการเรื่องราวร้องทุกข์และสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างส่วน

ราชการผู้ร่วมเป็นเครือข่ายในการด าเนินการเรื่องราวร้องทุกข์ (Contact Point) ทั้งนี้ เพื่อให้สามารถด าเนินการแก้ไขปัญหา

ความเดือดร้อนของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4.2.1 ศูนย์บริการประชาชน โดย ส่วนแผนและประเมินผล

ได้ด าเนินโครงการเสริมสร้างความสัมพันธ์เครือข่าย

ผู้ปฏิบัติงานเรื่องราวร้องทุกข์ (Contact Point) จ านวน

1 ครั้ง เรียบร้อยแล้ว ระหว่างวันที่ 19 - 21 ธันวาคม

พ.ศ. 2561 ณ โรงแรม รอยัล ริเวอร์แคว รีสอร์ท

แอนด์ สปา จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งมีผู้เข้าร่วมโครงการ

จ านวนทั้งสิ้น 123 คน ประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ


52

4.3 โครงการสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ

(ศูนย์บริการประชาชนพบประชาชน)

ศูนย์บริการประชาชน ได้ด าเนินโครงการสร้างความสัมพันธ์

กับผู้รับบริการ (ศูนย์บริการประชาชนพบประชาชน) ระหว่างวันที่ 2 - 4 ธันวาคม 2561

ณ อ าเภอเชียงคาน จังหวัดเลย เพื่อบูรณาการการด าเนินการเรื่องราวร้องทุกข์ และ

สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาลกับส่วนราชการที่

เกี่ยวข้อง และประชาชนในพื้นที่ด าเนินโครงการฯ โดยมีรองปลัดส านักนายกรัฐมนตรี

(นายสุรศักดิ์ เรียงเครือ) เป็นประธานกล่าวเปิดการด าเนินโครงการ และปลัดจังหวัดเลย

(นายณรงค์ จีนอ่ า) ให้การต้อนรับ


4.3.1 การอภิปรายในหัวข้อ

“บทบาทในการด าเนินการเรื่องราวร้องทุกข์ของศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล

และหน่วยงานเครือข่ายผู้มีอ านาจหน้าที่ในการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องทุกข์ในพื้นที่”

53

วิทยากร ประกอบด้วย นายอิทธิพลช่างกลึงดี ผู้อ านวยการศูนย์บริการประชาชน เจ้าหน้าที่ส านักงานอัยการคุ้มครองสิทธิและ

ช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดีจังหวัดเลย เจ้าหน้าที่ศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอเชียงคาน และเจ้าหน้าที่ส านักงานคณะกรรมการ

การกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (สกถ.) ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี และด าเนินการอภิปราย

โดย นายสมภพ ร่วมญาติ ผู้อ านวยการพิเศษ ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี


54

4.3.2 กิจกรรมสาธารณประโยชน์

“ท าความสะอาดห้องน้ า

และลานวัด อิ่มใจ อิ่มบุญ”

และการศึกษาดูงาน

ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านศรีโพนแท่น

รองปลัดส านักนายกรัฐมนตรี (นายสุรศักดิ์ เรียงเครือ) น าผู้เข้าร่วมโครงการท ากิจกรรมสาธารณประโยชน์ “ท าความสะอาด

ห้องน้ าและลานวัด อิ่มใจ อิ่มบุญ” ณ วัดศรีโพนแท่น และศึกษาดูงาน ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านศรีโพนแท่น หมู่ที่ 13

ต าบลนาซ่าว อ าเภอเชียงคาน จังหวัดเลย ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวได้เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้ปฏิบัติงานเรื่องราวร้องทุกข์

ของศูนย์บริการประชาชนกับส่วนราชการ และประชาชนในพื้นที่ รวมทั้งสร้างความรู้สึกอิ่มเอมใจให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่ได้ร่วมท าความดี


4.3.3 ผลการส ารวจความพึงพอใจเกี่ยวกับการด าเนินโครงการฯ

55

ส ารวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วม

โครงการสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ

(ศูนย์บริการประชาชนพบประชาชน)

มีผู้เข้าร่วมโครงการฯ จ านวน 198 คน มีผู้ตอบแบบส ารวจความพึงพอใจ จ านวนรวมทั้งสิ้น 128 คน

มีความพึงพอใจ

85.20%

ต่อการจัดกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ

(ศูนย์บริการประชาชนพบประชาชน)

จากการส ารวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการฯ จ านวน 198 คน มีผู้ตอบแบบส ารวจ

ความพึงพอใจ จ านวนรวมทั้งสิ้น 128 คน คิดเป็น ร้อยละ 64.65 ของผู้เข้าร่วมโครงการฯ พบว่า ผู้เข้าร่วม

โครงการมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ (ศูนย์บริการประชาชน

พบประชาชน) โดยรวมคิดเป็นร้อยละ 85.20 ซึ่งการด าเนินโครงการฯได้รับผลส าเร็จเป็นอย่างดี เนื่องจาก

ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความประสงค์ให้จัดกิจกรรมในลักษณะนี้อย่างต่อเนื่อง เพื่อประชาชนจะได้เข้าใจ

กระบวนการท างานของภาครัฐ และได้พบปะร่วมท ากิจกรรมกับส่วนราชการ และเสริมสร้าง

ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันให้มากยิ่งขึ้น


56

4.4 โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารราชการ

2019 / 2562

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนย์บริการประชาชนได้จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ

เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ตามระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย

การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 ได้จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ

เพื่อพัฒนากลไกการมีส่วนร่วมของประชาชน จ านวน 2 ครั้งสรุปได้ ดังนี้

การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนากลไกการมีส่วนร่วมของประชาชน

รวมจ านวน 2 ครั้ง ได้แก่

ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี โดยศูนย์บริการประชาชน จึงได้จัดท าโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนา

กลไก การมีส่วนร่วมของประชาชน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ แนวคิด เทคนิคและวิธีการ

การมีส่วนร่วมของประชาชน ขั้นตอนวิธีการด าเนินการตามระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน

พ.ศ. 2548 รวมทั้ง เป็นเวทีส าหรับแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ ระหว่างภาครัฐและหน่วยงาน/องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วม

ของประชาชน ซึ่งมีความส าคัญต่อการพัฒนากระบวนการและกลไกการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงานภาครัฐ

โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จะมีการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ รวมจ านวน 2 ครั้ง ได้แก่

ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2561 นายอิทธิพล ช่างกลึงดี ผู้อ านวยการศูนย์บริการประชาชน เป็นประธานเปิด

การประชุมฯ ณ ห้องประชุมเดอซี โรงแรมไมด้า เดอซี หัวหิน อ าเภอชะอ า จังหวัดเพชรบุรี โดยมีนางศรีส าอาง โกศาสตร์ ผู้อ านวยการ

ส่วนการมีส่วนร่วมของประชาชน เป็นผู้กล่าวรายงานโดยมีผู้เข้าร่วมประชุมจากจังหวัดเพชรบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดราชบุรี

จังหวัดสมุทรสงคราม และ จังหวัดสมุทรสาครจ านวน 229 คน โดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ ที่ตอบแบบทดสอบจ านวนรวม 110 คน คิดเป็น

ร้อยละ 48.03 ของจ านวนผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด ได้ผ่านเกณฑ์การประเมินที่ระดับร้อยละ 60


57

ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2562 นายอลงกต วรกี ปลัดจังหวัดขอนแก่น เป็นประธานเปิดการประชุม

เชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนากลไกการมีส่วนร่วมของประชาชน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ครั้งที่ 2 ณ โรงแรมอวานี ขอนแก่น โฮเทล

แอนด์ คอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ จังหวัดขอนแก่น โดยมี นายอิทธิพล ช่างกลึงดี ผู้อ านวยการศูนย์บริการประชาชน เป็นผู้กล่าวรายงาน

มีผู้เข้าร่วมประชุมจากจังหวัดขอนแก่น จังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดชัยภูมิ และ จังหวัดอุดรธานี จ านวน 206 คน

มีผู้เข้าร่วมการประชุมประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ของรัฐ ผู้บริหารส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ 4 จังหวัด (จังหวัดขอนแก่น จังหวัดกาฬสินธุ์

จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดชัยภูมิ และ จังหวัดอุดรธานี) รวมจ านวน 206 คน โดยเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ตอบแบบทดสอบ จ านวนรวม 105

คน คิดเป็นร้อยละ 50.97 ของจ านวนผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด ได้ผ่านเกณฑ์การประเมินที่ระดับร้อยละ 60 ซึ่งมีการแบ่งกลุ่มย่อย

เพื่อตอบข้อซักถามแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และระดมความคิดเห็นในประเด็นร่างพระราชบัญญัติการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการ

นโยบายสาธารณะ พ.ศ. ...

สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนากลไกการมีส่วนร่วมของประชาชน เจ้าหน้าที่ของรัฐส่วนใหญ่มีความรู้

ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดหลักการและกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนและระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟัง

ความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 แต่ยังมีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนในบางประเด็น ดังนั้นเพื่อให้การด าเนินการด้านการมีส่วนร่วม

ของประชาชน และการปฏิบัติตามระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 เกิดผล

เป็นรูปธรรมอย่างแท้จริง และมีประสิทธิภาพ จึงมีความจ าเป็นต้องสร้างองค์ความรู้ให้กับผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานให้มีความรู้

ความเข้าใจเกี่ยวกับระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 อย่างต่อเนื่อง


58

การจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เจ้าหน้าที่รัฐมีความรู้ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตามระเบียบส านัก

นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 ได้อย่างถูกต้องและเกิดประโยชน์แก่หน่วยงานของรัฐและ

ประชาชน โดยมีรูปแบบการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ประกอบด้วย

4.4.1 การอภิปรายให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการด าเนินกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน

ในการด าเนินโครงการของรัฐให้ถูกต้องตามข้อกฎหมาย

(1) การอภิปรายในหัวข้อ“หลักการมีส่วนร่วมของประชาชน”

โดย นายไพบูลย์ โพธิ์สุวรรณ ผู้เชี่ยวชาญด้านการมีส่วนร่วม

ของประชาชน

(2) การอภิปรายในหัวข้อ “คดีปกครองที่เกี่ยวข้องกับการมี

ส่วนร่วมของประชาชนในการด าเนินโครงการของรัฐ” โดยนาย

วชิระ ชอบแต่ง ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองภูเก็ต

(3) การอภิปรายในหัวข้อ“การปฏิบัติตามระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 และการใช้

งานระบบสารสนเทศการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน”

ครั้งที่ 1 ณ จังหวัดเพชรบูรณ์

โดย นางสาวอัญชนา สาเรือง

ผู้แทนส่วนการมีส่วนร่วมของประชาชน

ศูนย์บริการประชาชน

ครั้งที่ 2 ณ จังหวัดขอนแก่น

โดย นายอิทธิพล ช่างกลึงดี

ผู้อ านวยการศูนย์บริการประชาชน

(4) การอภิปรายประเด็นการด าเนินกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการด าเนินโครงการของรัฐให้ถูกต้องตามข้อกฎหมาย

โดยนายอิทธิพล ช่างกลึงดี ผู้อ านวยการศูนย์บริการประชาชน


4.5 โครงการส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายด้านการประสานมวลชน

และการข่าว

59

ศูนย์บริการประชาชน ได้ด าเนินโครงการส่งเสริมและพัฒนาเครือข่าย

ด้านการประสานมวลชนและการข่าว ระหว่างวันที่ 4 - 6 มกราคม 2562

ณ ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี และภูสักธารรีสอร์ท ต าบลหินตั้ง

อ าเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา

แนวทางการท างานร่วมกันของเครือข่ายด้านการประสานมวลชน การข่าว

และผู้ปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องทุกข์ของหน่วยงาน โดยมีรองปลัดส านัก

นายกรัฐมนตรี (นายสุรศักดิ์ เรียงเครือ) เป็นประธานกล่าวเปิดโครงการ

และมอบแนวทางการด าเนินงานด้านการประสานมวลชนและการข่าว


60

การด าเนินการโครงการฯ มีกิจกรรมประกอบด้วย

4.5.1 การบรรยาย

(1) การบรรยายในหัวข้อ “Information Operations : IO ส าคัญอย่างไร

กับงานด้านการข่าว” โดย นายฐนัตถ์ สุวรรณานนท์ ผู้อ านวยการศูนย์ประสานข่าวกรองแห่งชาติ

ภาค 1 ได้บรรยายหลักวิชาการเกี่ยวกับปฏิบัติการข่าวสาร (Information Operations) การมี

สถานะที่เหนือกว่าทางด้านข้อมูลข่าวสาร คือ การวางแผนปฏิบัติการข่าวสาร และการน าข้อมูล

ข่าวสารไปปรับใช้ให้เข้ากับหน้าที่และภารกิจของหน่วยงาน โดยงานด้านการข่าวจะต้องด าเนินการ

รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลตลอดเวลา เพื่อให้ผู้บัญชาการรับทราบถึงภาพแวดล้อมในพื้นที่

และสถานการณ์ในขณะนั้น นอกจากนี้ปฏิบัติการข่าวสารยังต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ

เพื่อร่วมกันหาช่องทางและวิธีการสื่อสารไปยังกลุ่มเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพทั้งทางตรง

และทางอ้อม

(2) การบรรยายในหัวข้อ “การเตรียมความพร้อมของเจ้าหน้าที่ในการให้บริการ

ประชาชนที่มีปัญหาทางสุขภาพจิต” โดย แพทย์หญิงดวงตา ไกรภัสสร์พงษ์ นายแพทย์ทรงคุณวุติ

สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์ ได้บรรยายวิธีการเตรียมความพร้อมของเจ้าหน้าที่ในการรับมือผู้ร้อง

ที่มีปัญหาสุขภาพจิต โดยการสังเกตลักษณะบุคคลมีภาวะอารมณ์ไม่ปกติ การเจรจาต่อรองกับผู้ร้อง

ที่มีปัญหาสุขภาพจิตที่อยู่ในภาวะวิกฤต เพื่อประโยชน์ในการรับผู้ร้องทั่วไปและผู้ร้องที่มีภาวะอารมณ์ไม่ปกติ


การบรรยายในหัวข้อ “สถานการณ์ด้านการเมืองและความมั่นคงที่

ส่งผลกระทบต่องานประสานมวลชนและการข่าว”

61

(3) การบรรยายในหัวข้อ “สถานการณ์ด้านการเมืองและความ

มั่นคงที่ส่งผลกระทบต่องานประสานมวลชนและการข่าว” โดย นายสมพาศ นิลพันธ์ ที่

ปรึกษาด้านการบริหารจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ ได้บรรยายถึงการประเมินสถานการณ์การท างาน

ด้านการข่าว ด้านมวลชน โดยคาดการณ์สถานการณ์ส าคัญในปี 2562 ดังนี้

1). กลุ่มที่จะเคลื่อนไหวในช่วงของการเลือกตั้ง มีการเคลื่อนไหวของกลุ่มเห็น

ต่างทางการเมือง ในประเด็นการติดตามและการตรวจสอบการเลือกตั้งให้เป็นไป

อย่างโปร่งใส โดยมีการจัดกิจกรรมด้านวิชาการ และกิจกรรมเชิงสัญลักษณ์

2) กลุ่มพลังมวลชนของผู้ประกอบอาชีพต่าง ๆ ที่ได้รับความเดือดร้อน และกลุ่ม

พลังมวลชนคาดหวังว่าจะได้รับความสนใจจากรัฐบาลและพรรคการเมือง ท าให้

มีบทบาทในการต่อรองทางการเมืองมากขึ้น

3) ประชาคมระหว่างประเทศให้ความสนใจในการเลือกตั้งของประเทศไทย

โดยเฉพาะประเด็นในเรื่องความโปร่งใสของการเลือกตั้ง ซึ่งการเลือกตั้งระบบ

ใหม่ยังพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ไม่เข้าใจในรูปแบบการเลือกตั้ง ภาครัฐต้องให้

ความส าคัญในการประชาสัมพันธ์การเลือกตั้งระบบใหม่ให้แก่ประชาชนมากขึ้น

4.5.2 กิจกรรมสันทนาการ

การจัดกิจกรรมสันทนาการ ณ ภูสักธาร

รีสอร์ท ต าบลหินตั้ง อ าเภอเมือง

นครนายก จังหวัดนครนายก เพื่อสร้าง

ความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้เข้าร่วม

โครงการ ให้มีเป้าหมายร่วมกันในการ

ท างานเป็นทีม และมีทัศนคติที่ดีต่อ

ทีมงาน รวมทั้งสร้างจิตส านึกที่ดีต่อการ

ท างาน


62

การศึกษาดูงาน

4.5.3 การศึกษาดูงาน

(1) การศึกษาดูงานและรับฟังการ

บรรยาย พร้อมทั้งเยี่ยมชมฐานการเรียนรู้ต่างๆ ณ ศูนย์

ภูมิรักษ์ธรรมชาติ ซึ่งเป็นสถานที่รวบรวมข้อมูลและการจัดแสดง

แนวคิดโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ โดยมีแนวทางการ

พัฒนาตามพระราชด าริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ

ดุลยเดช บรมนาถบพิตร ที่ทรงมุ่งการพัฒนาด้วยการแก้ไขปัญหา

ปรับปรุงคุณภาพของการบริหารจัดการดิน น้ า ป่า และมนุษย์ อย่าง

เป็นระบบ เพื่อเผยแพร่แนวพระราชด าริให้กว้างขวางและลึกซึ้ง

ตลอดจนสาธิตความเป็นอยู่วิถีไทยด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม

(2) การศึกษาดูงานและรับฟังการบรรยาย พร้อมทั้งเยี่ยมชมเขื่อน

ขุนด่านปราการชล ซึ่งเป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริพระบาทสมเด็จ

พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ที่ทรงมีพระราชด าริเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม

2536 ให้กรมชลประทานพิจารณาวางโครงการและก่อสร้างเขื่อนคลองท่าด่าน ต าบลหินตั้ง

อ าเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาลุ่มน้ า

นครนายกตอนบน เพื่อให้ราษฎรมีน้ าใช้ในการท าการเกษตร การอุปโภคบริโภค

การอุตสาหกรรม และการแก้ไขดินเปรี้ยว รวมทั้งช่วยบรรเทาอุทกภัยที่มักจะเกิดขึ้น

ในเขตจังหวัดนครนายกเป็นประจ าทุกปี โดยมีการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศบริเวณ

เขื่อนขุนด่านปราการชลและพื้นที่ใกล้เคียง


4.6 โครงการพัฒนาขีดสมรรถนะของเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการประชาชน

ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

63

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ศูนย์บริการประชาชนได้ด าเนินโครงการพัฒนาขีดสมรรถนะของเจ้าหน้าที่

ศูนย์บริการประชาชน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ประกอบด้วยหัวข้อการอบรม ดังนี้

4.6.1 หัวข้อ “การขับเคลื่อนสู่ประเทศไทย 4.0 และการออกแบบนวัตกรรมภาครัฐ

ให้ตอบสนองประชาชน (Government Innovation Lab)”

โครงการพัฒนาขีดสมรรถนะของเจ้าหน้าที่ ศบช. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

หลักสูตร “การขับเคลื่อนสู่ประเทศไทย 4.0 และการออกแบบนวัตกรรมภาครัฐให้ตอบสนองประชาชน

วันอังคารที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุม 108 อรรถไกวัลวที ท าเนียบรัฐบาล

(Government Innovation Lab)”

ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล 1111

นายสุรศักดิ์ เรียงเครือ

รองปลัดส านักนายกรัฐมนตรี

กล่าวเปิดโครงการ

นายอิทธิพล ช่างกลึงดี

ผู้อ านวยการศูนย์บริการประชาชน

กล่าวรายงาน

ส านักงานคณะกรรมการ

พัฒนาระบบราชการ

นายคุณันต์ บางภูมิ

นักพัฒนาระบบราชการช านาญการ

วิทยากร

ศูนย์บริการประชาชน

ได้จัดโครงการพัฒนาขีดสมรรถนะของเจ้าหน้าที่ ศบช. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 หลักสูตร

“การขับเคลื่อนสู่ประเทศไทย 4.0 และการออกแบบนวัตกรรมภาครัฐให้ตอบสนองประชาชน (Government Innovation Lab) ”

เพื่อพัฒนาการให้บริการประชาชนและการบริหารจัดการเรื่องร้องทุกข์ไปสู่ระบบราชการ 4.0 โดยการน าเทคโนโลยีสารสนเทศ เข้ามาช่วยใน

การปฏิบัติงาน เพื่อพัฒนาการให้บริการที่มีประสิทธิภาพ โดยมี รองปลัดส านักนายกรัฐมนตรี (นายสุรศักดิ์ เรียงเครือ) ได้กล่าวมอบแนวทาง

การพัฒนา ศบช. ให้เป็นราชการ 4.0 และเน้นการบูรณาการท างานร่วมกับหน่วยงานภายใน สปน. และหน่วยงานภายนอก


64

4.6 โครงการพัฒนาขีดสมรรถนะของเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการประชาชน

ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

4.6.1 โครงการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการของเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการประชาชน ประจ าปี พ.ศ. 2562

นายอิทธิพล ช่างกลึงดี

ผู้อ านวยการศูนย์บริการประชาชน

ประธานกล่าวเปิดโครงการ

โครงการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ

ของเจ้าหน้าที่ ศูนย์บริการประชาชน ประจ าปี พ.ศ. 2562

วันที่ 13-15 กันยายน 2562 ณ เทวัญดารา บีชวิลล่า กุยบุรี อ าเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ผู้อ านวยการศูนย์บริการประชาชน (นายอิทธิพล ช่างกลึงดี) เป็นประธานเปิดโครงการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการของเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการประชาชน ประจ าปี พ.ศ. 2562

ในการนี้ ได้มีการประชุมหารือร่วมระหว่างผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานเพื่อก าหนดนโยบาย “สัมมนา ‘การพัฒนา ศบช. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563’ ประกอบด้วย

1) การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนในรูปแบบคณะกรรมการ 2) การพัฒนาการให้บริการประชาชน (Front Office)

3) กระบวนการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ (Back Office) 4) การแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนเชิงคุณภาพ ”


กิจกรรมบรรยายเรื่อง “สถาบันพระมหากษัตริย์กับประเทศไทยและความเป็นมาของโครงการจิตอาสา”

โดย วิทยากรอบรมจิตอาสา 904

65

ศูนย์บริการประชาชน ก าหนดให้มีการจัดกิจกรรมบรรยายเรื่อง “สถาบันพระมหากษัตริย์กับประเทศไทย

และความเป็นมาของโครงการจิตอาสา” โดย วิทยากรอบรมจิตอาสา 904 และศึกษาดูงานโครงการศึกษาวิจัยและ

พัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชด าริ อ าเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี


66

ANNUAL REPORT 2018

4.7 โครงการส ารวจความพึงพอใจและความเชื่อมั่นของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการประสานงานแก้ไขปัญหาเรื่องร้องทุกข์

การส ารวจความพึงพอใจและความเชื่อมั่นของผู้รับริการและผู้มีส่วนได้

ส่วนเสียที่มีต่อการประสานงานแก้ไขปัญหาเรื่องร้องทุกข์ของศูนย์บริการประชาชน

ศูนย์บริการประชาชนจัดท าแผนงานการส ารวจความพึงพอใจและความเชื่อมั่นของผู้รับริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการ

ประสานงานแก้ไขปัญหาเรื่องร้องทุกข์ของศูนย์บริการประชาชน ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

และได้ออกแบบเครื่องมือส ารวจความพึงพอใจและได้เริ่มทอดแบบสอบถาม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2560 - 31 มีนาคม 2561

และจากการด าเนินการส ารวจความพึงพอใจและความเชื่อมั่นต่อการให้บริการของศูนย์บริการประชาชน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 256๑

มีผลการส ารวจ ดังนี้

4.7.1 สรุปผลการส ารวจความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ ความเชื่อมั่นและไม่เชื่อมั่นของผู้รับบริการผ่านช่องทางจุดบริการประชาชน

1111 และตู้ ปณ. 1111/ไปรษณีย์/โทรสาร มีความพึงพอใจเฉลี่ยต่อการให้บริการของศูนย์บริการประชาชน ร้อยละ 70.20

และความเชื่อมั่น ร้อยละ 70.00

ตารางแสดงความพึงพอใจและความเชื่อมั่น

ผลการส ารวจ (ปีงบประมาณ)

ช่องทาง

ประเด็น

ปีงบประมาณ พ.ศ.

2561

คะแนน

(เต็ม 5)

ร้อยละ

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

คะแนน

(เต็ม 5)

ร้อยละ

ผลต่าง

คะแนน

เพิ่ม/(ลด)

- จุดบริการประชาชน

1111

- ตู้ ปณ. 1111/

ไปรษณีย์/โทรสาร

ค่าเฉลี่ยรวม

2 ช่องทาง

ความพึงพอใจ 3.39 67.80 3.48 69.60 (0.09)

ความเชื่อมั่น 3.33 66.60 3.30 66.00 0.03

ความพึงพอใจ 3.62 72.40 3.63 72.60 (0.01)

ความเชื่อมั่น 3.67 73.40 3.39 67.80 0.28

ความพึงพอใจ 3.51 70.20 3.55 71.00 (0.04)

ความเชื่อมั่น 3.50 70.00 3.34 66.80 0.16


ANNUAL REPORT 2018

67

4.7.2 สรุปผลการส ารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการช่องทางโทรศัพท์สายด่วนของรัฐบาล 1111 (ส ารวจโดย บมจ. ทีโอที)

ซึ่งมีความพึงพอใจต่อการให้บริการ คิดเป็นร้อยละ 95.40

ตารางแสดงความพึงพอใจและความเชื่อมั่น

ผลการส ารวจ (ปีงบประมาณ)

ผลต่าง

ช่องทาง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 คะแนน

คะแนน (เต็ม 5) ร้อยละ คะแนน (เต็ม 5) ร้อยละ เพิ่ม/(ลด)

1. การให้บริการของ 4.75 95.00 4.74 94.88 0.01

พนักงานรับสาย

2. ความสะดวกในการใช้ 4.78 95.60 4.80 95.90 (0.02)

บริการ

ค่าเฉลี่ยรวม 4.77 95.40 4.77 95.39 (0.00)

4.7.3 สรุปผลการส ารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการช่องทางเว็บไซต์ www.1111.go.th และโมบายแอปพลิเคชัน PSC 1111

ศบช. ได้ส ารวจความพึงพอใจต่อการใช้บริการเรื่องร้องทุกข์ช่องทาง ดังกล่าว ในรูปแบบอัตโนมัติ โดยแบ่งเป็นการส ารวจหลังรับบริการ

ในคราวแรก และการส ารวจเมื่อเรื่องร้องทุกข์ปรากฏผลการด าเนินการ ดังนี้

1) การส ารวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการหลังการรับบริการในคราวแรก จ านวน 958 ราย พบว่า ผู้รับบริการมีความ

พึงพอใจในประเด็นช่องทางการให้บริการร้องทุกข์ใช้งานง่าย และสะดวกมากที่สุด จ านวน 807 ราย คิดเป็นร้อยละ 84.24

2) การส ารวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการเมื่อเรื่องร้องทุกข์ปรากฏผลการด าเนินการ จ านวน 612 ราย พบว่า ผู้รับบริการ

มีความพึงพอใจในการใช้บริการโดยรวม มากที่สุด จ านวน 387 ราย คิดเป็นร้อยละ 63.24

4.7.4 สรุปผลการส ารวจความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ ความเชื่อมั่นและไม่เชื่อมั่นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการประสานงาน

และการให้บริการของศูนย์บริการประชาชนพบว่า มีความพึงพอใจ ร้อยละ 75.80 และความเชื่อมั่น ร้อยละ 76.60

ช่องทาง

ตารางแสดงความพึงพอใจและความเชื่อมั่น

ผลการส ารวจ (ปีงบประมาณ)

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

คะแนน (เต็ม 5) ร้อยละ คะแนน (เต็ม 5) ร้อยละ

ผลต่าง

คะแนน

เพิ่ม/(ลด)

ความพึงพอใจ 3.79 75.80 3.87 77.40 (0.08)

ความเชื่อมั่น 3.83 76.60 3.94 78.80 (0.11)


68

ภารกิจที่ ภารกิจพิเศษ

กิจกรรมจิตอาสา “เราท าความ ดี ด้วยหัวใจ”

05

วันอาทิตย์ที่ 13 ตุลาคม 2562

ณ วัดธรรมาภิรตาราม (สะพานสูง) เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

(พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา) พร้อมด้วย

คณะรัฐมนตรี ข้าราชการ ภาคีเครือข่าย

เอกชน ประชาชนในพื้นที่ใกล้เคียง รวมทั้ง

กําลังพลจิตอาสาเข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสา

พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์ ทําความสะอาดคูคลอง ถวายพระราชกุศลและน้อมรําลึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องใน

โอกาสวันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร


69


70

ศูนย์บริการประชาชน ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี


71

วันศุกร์ที่ 18 ตุลาคม 2562

ณ วัดโสมนัสวิหาร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร

(พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา) พร้อมด้วยคณะรัฐมนตรี ข้าราชการ ภาคีเครือข่าย

เอกชน ประชาชนในพื้นที่ใกล้เคียง รวมทั้งกําลังพลจิตอาสา จํานวน 7๐๐ คน เข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสาพัฒนา

ปรับปรุงภูมิทัศน์ ทําความสะอาดศาสนสถาน วัดโสมนัสวิหาร ถวายพระราชกุศลและน้อมรําลึกในพระมหากรุณาธิคุณ

เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมีกิจกรรมทาสีรั้วกําแพงวัด

ปลูกหญ้า และกวาดล้างลานวัด


72

กิจกรรมทาสีรั้วก าแพงวัด

กิจกรรมปูหญ้า


73


74

รองนายกรัฐมนตรี

วันพุธที่ 23 ตุลาคม 2562

ณ สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวล าโพง) เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

(นายวิษณุ เครืองาม) พร้อมด้วยคณะรัฐมนตรี ข้าราชการ ภาคีเครือข่ายเอกชน ประชาชนในพื้นที่

ใกล้เคียง รวมทั้งกําลังพลจิตอาสา จ านวน 700 คน เข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์ทําความสะอาดบริเวณ

เส้นทางรถไฟ ณ สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลําโพง) ถวายพระราชกุศลและน้อมรําลึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องในโอกาสวันคล้าย

วันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมีกิจกรรมทําความสะอาด ทาสีรั้วหน้าสถานี จัดระเบียบสายสื่อสาร

และสายไฟฟ้า และปรับภูมิทัศน์บริเวณสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลําโพง)


75

กิจกรรมทาสีหน้าสถานี

กิจกรรมท าความสะอาดตู้รถไฟ

สักการะอนุสรณ์ปฐมฤกษ์รถไฟหลวง


76


77

วันพฤหัสบดีที่ 5 ธันวาคม 2562 ณ บริเวณท้องสนามหลวง กรุงเทพมหานคร

(พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา) พร้อมด้วยคณะรัฐมนตรี ข้าราชการหน่วยงานภาครัฐ ภาคีเครือข่ายเอกชน และกําลังพลจิตอาสา

จํานวนประมาณ 1,000 คน ได้พร้อมใจกันจัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อมและบริการประชาชน เพื่อถวายพระราชกุศลและน้อมรําลึกในพระมหากรุณาธิคุณ

เนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศ มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ประกอบด้วย การอนุรักษ์ดิน

เนื่องในวันดินโลกโดยการทําดินปุ๋ยจากผักตบชวา การบํารุงต้นไม้ในพื้นที่บริเวณโดยรอบท้องสนามหลวง รวมทั้งการเยี่ยมชมการจัดกิจกรรมบริการประชาชน

การซ่อมแซมอุปกรณ์ไฟฟ้า และนิทรรศการ “ชุมชนต้นแบบแห่งความดีวิถีไทยในแบบพ่อ” และปณิธานความดี...มีแล้วแบ่งปัน


78


79


ส่วนที่

4

สรุปผลการด าเนินการเรื่องร้องทุกข์

เสนอความคิดเห็น

ในปีงบประมาณ

พ.ศ. 2562


(ภาคผนวก)

สรุปผลการด าเนินการเรื่องร้องทุกข์/เสนอความคิดเห็น

ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒


สรุปผลการด าเนินการเรื่องร้องทุกข์/เสนอความคิดเห็น

ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ประชาชนได้แจ้งเรื่องร้องทุกข์/เสนอความคิดเห็นต่อนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี

ประจ าส านักนายกรัฐมนตรี และผู้บริหารระดับสูงของประเทศ ผ่านช่องทางต่าง ๆ สรุปประเด็นส าคัญได้ ดังนี้

๑. สถิติการแจ้งเรื่องร้องทุกข์/เสนอความคิดเห็นจากประชาชน จ าแนกตามช่องทางการร้องทุกข์ ๑๑๑๑ และคณะรักษา

ความสงบแห่งชาติ

๘๖.๗๖

๑๒๓,๖๕๓

% ครั้ง

๖.๐๕%

๘,๖๒๖

ครั้ง

รวมจ านวนติดต่อทั้งสิ้น

๑๔๒,๕๑๕ เรื่อง

๓.๖๖%

๕,๒๒๓ ๒.๑๖%

ครั้ง ๓,๐๘๑

ครั้ง ๐.๙๙%

๑,๔๑๘ ๐.๒๔%

๓๓๗ ๐.๑๒%

ครั้ง

๑๗๖

ครั้ง ครั้ง

๐.๐๐๑% ๑

ครั้ง

สายด่วนของรัฐบาล

โทร. ๑๑๑๑

ตู้ ปณ. ๑๑๑๑

ปณ. ท าเนียบรัฐบาล

เว็บไซต์

www.1111.go.th

จุดบริการประชาชน ๑๑๑๑

ท าเนียบรัฐบาล

Mobile Application

PSC 1111

สายตรงไทยนิยม

ตู้ ปณ. ๔๔๔ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

ล าดับที่ ช่องทางการติดต่อ จ านวนการติดต่อ (ครั้ง) ร้อยละ

1 สายด่วนของรัฐบาล 1111 123,653 86.765

2 ตู้ ปณ. 1111/ไปรษณีย์/โทรสาร 8,626 6.050

3 เว็บไซต์ www.1111.go.th 5,223 3.665

4 จุดบริการประชาชน 1111 3,081 2.160

5 Mobile Application PSC 1111 1,418 0.995

6 สายตรงไทยนิยม 337 0.240

7 ตู้ ปณ. 444 176 0.124

8 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ 1 0.001

รวมทั้งสิ้น 142,515 100.00

จากตารางแสดงสถิติการแจ้งเรื่องร้องทุกข์/เสนอความคิดเห็นดังกล่าวข้างต้นพบว่า ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ประชาชนแจ้งเรื่อง

ร้องทุกข์/เสนอความคิดเห็นผ่านช่องทางต่าง ๆ รวมทั้งสิ้น ๑๔๒,๕๑๕ ครั้ง โดยผ่านช่องทางสายด่วนของรัฐบาล ๑๑๑๑ มากที่สุด

รองลงมา คือ ช่องทางตู้ ปณ. ๑๑๑๑/ไปรษณีย์/โทรสาร ช่องทางเว็บไซต์ (www.1111.go.th) ช่องทางจุดบริการประชาชน ๑๑๑๑ โม

บายแอปพลิเคชัน PSC 1111 สายตรงไทยนิยม ตู้ ปณ. ๔๔๔ และคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ตามล าดับ




















ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล

1111


สายด่วนของรัฐบาล

โทร. 1111

ช่องทาง

ร้องทุกข์

จุดบริการประชาชน 1111

ท าเนียบรัฐบาล

ตู้ ปณ. 1111

ปณ. ท าเนียบรัฐบาล

เว็บไซต์

www.1111.go.th

Mobile Application PSC 1111

ศูนย์บริการประชาชน

ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี

เลขที่ 1 ท าเนียบรัฐบาล ถนนพิษณุโลก

แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300

http://www.psc.opm.go.th/

Call Center : 1111

www.facebook.com/PublicServiceCenter1111

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!