30.09.2022 Views

E-Book หลักเมือง กันยายน 65

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

กลับหลังหัน...กับพิพิธภัณฑ์กลาโหม

่องหมายวรรคตอน

“เครื

และมาตราชั ่งตวงวัดแบบโบราณ

ที ่ปรากฏบนกระบอกปืนใหญ่ด้านหน้าศาลาว่าการกลาโหม”

พิพิธภัณฑ์ศาลาว่าการกลาโหม

ถ้

าท่านใดเคยเข้ามาชมปืนใหญ่โบราณที่จัดแสดงอยู่ด้านหน้าศาลา

ว่าการกลาโหม เคยสังเกตกันไหมว่า บนกระบอกปืนใหญ่

ทุกกระบอกจะมีการจารึกชื่อเอาไว้เพื่อให้ทราบว่าปืนใหญ่กระบอกนั้น

มีชื่อว่าอะไร และเพื่อป้องกันการสับสน รวมถึงการเรียกชื่อผิดพลาดนั่นเอง

โดยการตั้งชื่อปืนใหญ่ทุกกระบอกพระมหากษัตริย์เป็นผู้พระราชทาน

ชื่อให้ มีหลักฐานกล่าวถึงในหนังสือตำราปืนใหญ่ ซึ่งเป็นตำราที่

พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงแปลมาจากตำราภาษา

อังกฤษ เมื่อปี พ.ศ.๒๓๘๔ และนิพนธ์เพิ่มเติมเกี่ยวกับลักษณะปืนใหญ่

และรายชื่อปืนใหญ่ที่มีไว้รักษาพระนคร พ.ศ.๒๓๖๙ ว่า

เมื่อปี จ.ศ.๑๑๗๗ (พ.ศ.๒๓๘๕) พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า

เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ ได้พระราชทานชื่อปืนใหญ่ทั้งเก่าและใหม่ที่เคย

ประจำการในกองทัพสยาม โดยพระราชทานชื่อปืนใหญ่ จำนวน ๙๑

กระบอก และให้จารึกชื่อเหล่านั้นไว้บนกระบอกปืนด้วย บางท่านที่เคย

มาชมปืนใหญ่ด้านหน้าศาลาว่าการกลาโหม อาจเคยเห็นมาบ้างแล้ว

46

ปืนใหญ่พรหมมาศปราบมาร ใช้ดินดำน้ำหนัก ๒ ชั่ง ๑๐ ตำลึง

ว่านอกจากมีการจารึกชื่อบนกระบอกปืนแล้ว ยังมีการจารึกตัวเลขและ

สัญลักษณ์ที่มีลักษณะแปลกตาเอาไว้ด้วยเช่นกัน แต่บางท่านอาจยังไม่ทราบ

ว่ามีความหมายอย่างไร วันนี้ผู้เขียนจะมานำเสนอให้ได้ทราบกันค่ะ …

มาตราชั่งตวงวัดแบบไทยโบราณ เรียกว่า ตีนครุหรือตีนกา

พิพิธภัณฑ์ศาลาว่าการกลาโหม

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!