16.07.2015 Views

Blood Utilization in Elective Surgery at Police General Hospital

Blood Utilization in Elective Surgery at Police General Hospital

Blood Utilization in Elective Surgery at Police General Hospital

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

93นิพนธตนฉบับ<strong>Blood</strong> <strong>Utiliz<strong>at</strong>ion</strong> <strong>in</strong> <strong>Elective</strong> <strong>Surgery</strong> <strong>at</strong> <strong>Police</strong> <strong>General</strong> <strong>Hospital</strong>ผกาวรรณ ชนะชัยสุวรรณงานธนาคารเลือด กลุมงานพยาธิวิทยา โรงพยาบาลตำารวจบทคัดยอ : ความเปนมาและปญหา : การจองโลหิตผาตัดมากเกินความตองการใช สงผลกระทบทำาใหเกิดความสูญเสียทรัพยากรการทบทวนการใชโลหิตของผูปวยผาตัดมีความจำาเปนในการประเมินความเหมาะสมในการใชโลหิตของแตละหัตถการ เพื่อพัฒนาการใชโลหิต และนำาผลการศึกษาครั้งนี้เสนอตอคณะทำางานบริหารการใชโลหิตของโรงพยาบาล (<strong>Hospital</strong> Transfusion Committee)สำาหรับเปนขอมูลในการพิจารณากำาหนดนโยบายการจองโลหิตผาตัดแบบ T&S หรือ MSBOS วิธีการ : รวบรวมขอมูลการจองและใชโลหิตของผูปวยผาตัดแบบ elective surgery ที่โรงพยาบาลตำารวจ ระหวางเดือน มกราคม-มิถุนายน 2551 โดยคำานวณคา C:Tr<strong>at</strong>io, Transfusion probability (%T) และ Transfusion <strong>in</strong>dex (T i) จำาแนกตามหัตถการการผาตัด ผลการศึกษา : จำาแนกประเภทการผาตัดของผูปวย จำานวน 1,204 ราย พบวาการผาตัดทางดานกระดูกและขอมีการใชโลหิตเหมาะสมมากที่สุด (C:T r<strong>at</strong>io= 1.5) เมื่อเปรียบเทียบกับการผาตัดดานศัลยกรรมทรวงอก (1.6), ศัลยกรรมสูตินรีเวชกรรม (1.6), ศัลยกรรมยูโร (1.7), ศัลยกรรมทั่วไป (1.9) และศัลยกรรมประสาท (2.5) ผลศึกษาการใชโลหิตจำาแนกตามหัตถการ พบวามีหัตถการที่ใชโลหิตเหมาะสม 31 หัตถการคิดเปนรอยละ 54.4 ในขณะที่มีการสั่ง cross m<strong>at</strong>ch มากเกินความตองการใชโลหิต 24 หัตถการ คิดเปนรอยละ 42.1 ซึ่งหัตถการเหลานี้ควรจองโลหิตผาตัดแบบ T&S การผาตัด coronary artery bypass graft (CABG) ใชโลหิตมากที่สุด 155 ยูนิต มีคา C:Tr<strong>at</strong>io = 1.4, %T = 96.6 และ T i= 5.3 หมายถึงมีการใชโลหิตเหมาะสมในการผาตัด CABG ในการศึกษาครั้งนี้มีโลหิตจำานวน641 ยูนิต ที่สั่ง cross m<strong>at</strong>ch แลวไมไดใช หากมีการสั่งจองโลหิตแบบ T&S จะประหยัดคาใชจายไดถึง 51,280 บาท สรุป : การทบทวนกระบวนการจองโลหิตผาตัด โดยจำาแนกตามหัตถการ เพื่อประเมินความเหมาะสมในการใชโลหิต นอกจากจะชวยใหมีโลหิตสำารองใชเพียงพอกับผูปวยแลว ยังลดกระบวนการเตรียมโลหิตที่เกินความตองการใชกับผูปวย ลดภาระงานที่มากเกินความจำาเปนผลการศึกษาครั้งนี้เปนขอมูลเพื่อนำาเสนอพิจารณากำาหนดเปนนโยบายในการจองโลหิตผาตัดแบบ T&S หรือ MSBOS และยังสามารถนำามาเปนตนแบบใหกับโรงพยาบาลอื่นๆKey Words : • <strong>Blood</strong> utiliz<strong>at</strong>ion • C:T r<strong>at</strong>io • MSBOSวา​รสาร​โลหิต​วิทยา​และ​เวชศาสตร​บริการ​โลหิต 2553;20:93-104.การจองโลหิตมากเกินความตองการใชโลหิต เปนปญหาที่สงผลกระทบตอการสำารองโลหิตที่ไมสอดคลองกับการใชจริงของผูปวยทำาใหมีโลหิตหมดอายุมาก สูญเสียคาใชจายและเพิ่มภาระงานของธนาคารเลือด ในภาวะทีมีแหลงโลหิตสำารองอยางจำากัดแตละโรงพยาบาลทั้งในประเทศและตางประเทศใหความสนใจศึกษาทบทวนและพัฒนาการใชโลหิตกันอยางแพรหลาย เพื่อกำาหนดนโยบายและแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใชโลหิตที่สอดคลองกับการใชจริง จุดมุงหมายใหมีการเตรียมและใชโลหิตอยางเหมาะสมและคุมคา (<strong>Blood</strong>utiliz<strong>at</strong>ion management) ลดการสูญเสียทรัพยากร โดยการจองได​รับ​ตนฉบับ 26 กุมภาพันธ 2553 ให​ลงตี​พิมพ 16 มีนาคม​ 2553ตองการ​สำาเนา​ตนฉบับ​ติดตอ พ.ต.ท.หญิง ผกา​วรรณ ชนะ​ชัย​สุวรรณ งานธนาคารเลือด กลุมงานพยาธิวิทยา โรงพยาบาลตำารวจ เขต​ปทุม​วัน กรุง​เทพ​ฯ 10330โลหิตผาตัดแบบ type and screen (T&S) มีการศึกษา 1 อัตราการใชโลหิตของผูปวยศัลยกรรมกระดูกและขอที่จองโลหิตผาตัดแบบ T&S พบวามีการใชโลหิตในระหวางผาตัดเพียงรอยละ 5.4ทำาใหลดการเตรียมโลหิตและประหยัดคาใชจาย เชนเดียวกับการศึกษาใน Queen Mary <strong>Hospital</strong> 2 ป 1993 เปรียบเทียบระหวางconventional cross m<strong>at</strong>ch system กับ type, screen (T&S)and save policy system พบวา T&S สามารถลดโลหิตหมดอายุไดมากกวา 50 ยูนิตตอเดือน และลด C:T r<strong>at</strong>io จาก 2.42เหลือเพียง 1.67 ซึ่งคา C:T r<strong>at</strong>io > 2.0 แสดงวามีการสั่ง crossm<strong>at</strong>ch มากเกินความตองการใชโลหิตการพัฒนาการใชโลหิตนอกจากนโยบายการจองโลหิตผาตัดแบบ T&S แลว ยังมีการศึกษาการใชโลหิตของผูปวยผาตัดยอนวารสาร​โลหิต​วิทยา​และ​เวชศาสตร​บริการ​โลหิต ป​ที่ 20 ฉบับ​ที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2553


94ผกาวรรณ ชนะชัยสุวรรณหลัง (retrospective study) เพื่อหาจำานวนยูนิตของโลหิตที่เหมาะสมสำาหรับสั่ง cross m<strong>at</strong>ch ในแตละหัตถการ ซึ่ง maximumsurgical blood order schedule (MSBOS) 3-6 มีประโยชนในการลดการสูญเสียคาใชจาย ลดโลหิตหมดอายุ ลดภาระงานที่มากเกินความจำาเปนและมีโลหิตสำารองเพียงพอสำาหรับผูปวยฉุกเฉินThe British Committee for Standards <strong>in</strong> Haem<strong>at</strong>ology<strong>Blood</strong> Transfusion Task Force 7 ไดศึกษาการใชโลหิตและจัดทำาแนวทางปฏิบัติในการสั่งเตรียมโลหิตสำาหรับหัตถการการผาตัด(Guidel<strong>in</strong>es for implement<strong>at</strong>ion of a maximum surgicalblood order schedule)เพื่อแกไขและพัฒนาการจองโลหิตผาตัดใหเหมาะสมสอดคลองกับการใชจริง และลดจำานวนโลหิตสำารองที่มากเกิน จึงมีการศึกษาขอมูลการใชโลหิตของแตละหัตถการเพื่อนำาขอมูลเสนอตอคณะทำางานบริหารการใชโลหิต (<strong>Hospital</strong> Transfusion Committee) และคณะกรรมการทีมนำาทางคลินิก (PCT) รวมกันพิจารณากำาหนดนโยบายการจองโลหิตผาตัดแบบ T&S หรือ แบบ MSBOS ทั่วไปกำาหนดเกณฑในการจองโลหิตแบบ T&S เมื่อ C:T r<strong>at</strong>io 8 > 2,Transfusion <strong>in</strong>dex (T i) 3 < 0.5 ยูนิต, Transfusion probability(%T) 9 < 30, Request r<strong>at</strong>e (%) for pre-transfusion test 10 10 ซึ่งเกณฑเหลานี้ใชในการประเมินการจองโลหิตผาตัดที่มากเกิน (over-order<strong>in</strong>g) ในปจจุบันมีการใช MSBOSเปนแนวทางปฏิบัติในการจองโลหิตผาตัดกันแพรหลาย 7,8,12,13,14 ซึ่งMSBOS เปนตารางที่ระบุจำานวนยูนิตของโลหิตในการสั่ง crossm<strong>at</strong>ch ของแตละหัตถการ จำานวนยูนิตของโลหิตที่กำาหนดในMSBOS อาจมีความแตกตางกันในแตละโรงพยาบาล ขึ้นอยูกับขอมูลการใชโลหิตของแตละแหงและชวงเวลาที่ทำาการศึกษา ในบางแหงมีการพัฒนาปรับเปลี่ยนหลักการจองโลหิตผาตัดจาก MSBOSเปน Standard blood order (SBO) ซึ่งหมายถึงจำานวนยูนิตเฉลี่ยของโลหิตที่ใหกับผูปวยในแตละหัตถการ ในขณะที่ MSBOSหมายถึงจำานวนยูนิตของโลหิตที่กำาหนดเทากับความตองการใชโลหิตรอยละ 80-90 ของผูปวย 15 ดังนั้นการกำาหนดวาหัตถการใดควรใชการจองโลหิตผาตัดแบบ T&S หรือ MSBOS ควรพิจารณาโดยศึกษาขอมูลการใชโลหิตที่ผานมา และใชตัวชี้วัดการใชโลหิตตางๆเปนเกณฑในการพิจารณา กรณีสั่งจองโลหิตผาตัดแบบ T&S แลวพบวาผูปวยมี antibody screen<strong>in</strong>g positive ตอง identifyเพื่อหาชนิดของ antibody และเตรียมโลหิต antigen-neg<strong>at</strong>iveไวใหผูปวย จำานวนโลหิตที่เหมาะสม คือ 2 ยูนิต 8 การศึกษาของL<strong>in</strong> และคณะ 11 ไดกำาหนดเกณฑพิจารณาสั่งจองโลหิตสำาหรับผาตัด (surgical blood order<strong>in</strong>g criteria) ดังนี้Journal of Hem<strong>at</strong>ology and Transfusion Medic<strong>in</strong>e Vol. 20 No. 2 April-June 20101. หัตถการที่มี Transfusion probability (%T) < 5 และใชเม็ดโลหิตแดงไมเกิน 1 ยูนิต ไมจำาเปนตองสั่ง pretransfusiontest หรือเตรียมโลหิตใหผูปวยกอนผาตัด2. หัตถการที่มี Transfusion probability (%T) > 5 และใชเม็ดโลหิตแดงมากกวา 2 ยูนิต ใหสั่งจองโลหิตผาตัดแบบ T&S3. ควร cross m<strong>at</strong>ch โลหิต กรณีตรวจพบวาผูปวยมีcl<strong>in</strong>ically significant antibodies หรือ หัตถการนั้นมีคาเฉลี่ยการใชเม็ดโลหิตแดง > 2 ยูนิตภายหลังกำาหนดนโนบายการจองโลหิต มีการติดตามประเมินความเหมาะสมในการใชโลหิตโดยใชตัวชี้วัดการใชโลหิต ไดแกC:T r<strong>at</strong>io, %T และ T iเชน การศึกษาของ Muizudd<strong>in</strong> และคณะ 16 ไดศึกษาการใชโลหิตของผูปวยผาตัดนิ่วในถุงน้ำาดี จำานวน132 ราย มีการใชโลหิตเพียงรอยละ 4.9, C:T r<strong>at</strong>io = 20.1,Transfusion probability = 6.8 (คา significant เมื่อ %T >30) และ Transfusion <strong>in</strong>dex = 0.1 (คา significant เมื่อ T i=0.5) ซึ่งหมายถึงมีการใชโลหิตเพียง 0.1 ยูนิตตอรายของผูปวยที่ทำา cross m<strong>at</strong>ch นั่นคือไมจำาเปนตองเตรียมโลหิตไวสำาหรับการผาตัดนิ่วในถุงน้ำาดีธนาคารเลือด โรงพยาบาลตำารวจ ไดศึกษาและพัฒนาการใชโลหิตเพื่อลดการสูญเสียทรัพยากรอยางตอเนื่อง ในป 2545รวมกับคณะกรรมการหองผาตัดกำาหนดแนวทางปฏิบัติสำาหรับจองโลหิตเตรียมผาตัดแบบ elective surgery โดยแบงประเภทการจองโลหิต (c<strong>at</strong>egory) ดังนี้C<strong>at</strong>egory 1 ไมจำาเปนตองจองโลหิตC<strong>at</strong>egory 2 จองโลหิตแบบ T&S และสั่ง cross m<strong>at</strong>chเมื่อใชโลหิต หรือเมื่อ antibody screen<strong>in</strong>gpositiveC<strong>at</strong>egory 3 จองโลหิตแบบ Group & m<strong>at</strong>ch จะ crossm<strong>at</strong>ch ไวใหธนาคารเลือดไดศึกษาและติดตามตัวชี้วัดอยางตอเนื่อง เพื่อดูแนวโนมของปญหาและหาแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาการใชโลหิตสถิติตั้งแตป 2545-2551 มีคา C:T r<strong>at</strong>io = 1.55, 1.51, 1.50,1.55, 1.54, 1.65 และ 1.64 ตามลำาดับ ซึ่ง C:T r<strong>at</strong>io < 2 ตามมาตรฐานของ AABB สวนสถิติโลหิตหมดอายุป 2545-2551 เทากับรอยละ 3.85, 1.62, 1.74, 1.26, 1.02, 1.27 และ 1.89 ตามลำาดับ ซึ่งเกินเปาหมายที่กำาหนดไมเกินรอยละ 1 นอกจากนี้ยังพบวาอัตราคืนโลหิตจากหอผูปวยยังไมลดลงและเกินเปาหมายที่กำาหนดไมเกินรอยละ 7 สถิติป 2546-2551 พบรอยละ 9.97,10.03, 11.53, 8.49, 8.90 และ 9.29 ตามลำาดับ จากผลการ


<strong>Blood</strong> utiliz<strong>at</strong>ion <strong>in</strong> elective surgery <strong>at</strong> <strong>Police</strong> <strong>General</strong> <strong>Hospital</strong>95Transfusion probability (%T)ติดตามตัวชี้วัดแยกตามประเภทผูปวยพบวา C:T r<strong>at</strong>io มีแนวโนมจำานวนผูปวยที่ไดรับการเติมโลหิตตอจำานวนผูปวยที่ทำา cross m<strong>at</strong>ch ประเมินการใชโลหิตมีคา C:T r<strong>at</strong>io = 1.4, %T = 98.7, T i= 1.8เพิ่มขึ้น ยกเวนผูปวยโอพีดีและผูปวยเด็กที่มีการใชโลหิตเหมาะสม=No of p<strong>at</strong>ients transfused X 100ที่สุดมีคา C:T r<strong>at</strong>io ระหวาง 1.1-1.2 และจากการติดตามการจองNo of p<strong>at</strong>ients cross m<strong>at</strong>chedโลหิตสำาหรับผาตัด พบวามีการระบุ c<strong>at</strong>egory ไมครบถวน สวนใหญไมระบุหัตถการ และจำานวนยูนิตของโลหิตที่จองผาตัดแตกตางกันในหัตถการเดียวกัน ทั้งนี้เนื่องจากแนวทางปฏิบัติที่จัดทำาขึ้นเมื่อป 2545 มีการระบุเฉพาะ c<strong>at</strong>egory ของแตละหัตถการแตไมมีการกำาหนดจำานวนยูนิตของโลหิตในการสั่ง cross m<strong>at</strong>chกำาหนดคา Significant ของ %T = 30 หรือ %T ที่เหมาะสมในการทำา cross m<strong>at</strong>ch คือ %T > 303. Transfusion <strong>in</strong>dex (T i) 3 หมายถึง จำานวนยูนิตของโลหิตที่ผูปวยไดรับตอรายของผูปวยที่ทำา cross m<strong>at</strong>ch ทั้งหมดTransfusion <strong>in</strong>dex (T i)อีกทั้งคูมือดังกลาวยังไมไดมีการทบทวน ซึ่งปจจุบันมีหัตถการเพิ่ม=No of units transfusedขึ้นมาก จึงไดทำาการศึกษาการใชโลหิตของหัตถการการผาตัด เพื่อNo of p<strong>at</strong>ients cross m<strong>at</strong>chedพัฒนาการใชโลหิตในการผาตัดใหเหมาะสมกำาหนดคา Significant ของ T iที่เหมาะสมในการทำา cross m<strong>at</strong>ch= 0.5 ยูนิตตอรายวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความเหมาะสมในการใชเม็ดโลหิตแดงของหัตถการในผูปวยประเภท elective surgery ที่จองโลหิตสำาหรับผาตัดผลการศึกษาจากการศึกษาการใชเม็ดโลหิตแดงของผูปวยผาตัดประเภทelective cases ของโรงพยาบาลตำารวจ ระหวางเดือนมกราคม-วัสดุและวิธีการศึกษาโดยการเก็บขอมูลแบบ retrospective study ในกลุมผูปวยประเภท elective surgery ที่จองโลหิตผาตัดทางดานศัลยกรรมทั่วไป ศัลยกรรมทรวงอก ศัลยกรรมประสาท ศัลยกรรมยูโรศัลยกรรมกระดูกและขอ และศัลยกรรมสูตินรีเวชกรรม ที่โรงพยาบาลตำารวจ ระหวางเดือน มกราคม-มิถุนายน 2551 ขอมูลประกอบดวย การจองเม็ดโลหิตแดงสำาหรับผาตัด การเตรียมและใชเม็ดโลหิตแดงของผูปวย โดยคนหาขอมูลเพิ่มเติม จากตารางนัดผาตัดและเวชระเบียนผูปวยการวิเคราะหขอมูลทางสถิติโดยใชโปรแกรมสำาเร็จรูป แจกแจงเปนความถี่ และรอยละของการใชเม็ดโลหิตแดงแยกตามประเภทผูปวยและหัตถการ คำานวณตัวชี้วัดการใชโลหิต 3 รูปแบบ ไดแก1. Cross m<strong>at</strong>ch-to-transfusion (C:T) r<strong>at</strong>io 8 หมายถึงสัดสวนของจำานวนยูนิตของโลหิตที่ cross m<strong>at</strong>ch ตอจำานวนยูนิตของโลหิตที่ผูปวยไดรับCross m<strong>at</strong>ch-to-transfusion (C:T) r<strong>at</strong>ioมิถุนายน 2551 จำานวน 1,204 ราย พบวามีการจองเม็ดโลหิตแดงสำาหรับผาตัดทางดานศัลยกรรมกระดูกและขอมากที่สุด จำานวน360 ราย (รอยละ 29.9) มีคา C:T r<strong>at</strong>io = 1.5 ซึ่งนอยที่สุด หมายถึงผาตัดทางดานศัลยกรรมกระดูกและขอมีการใชโลหิตเหมาะสมมากที่สุด ผูปวยไดรับการเติมโลหิตรอยละ 89.3 ของผูปวยที่ทำาcross m<strong>at</strong>ch ผูปวยไดรับโลหิตเฉลี่ย 2 ยูนิตตอรายของผูปวยที่ทำา cross m<strong>at</strong>ch การผาตัดทางดานศัลยกรรมยูโรมีการจองโลหิตนอยที่สุดเพียง 29 ราย (รอยละ 2.4) มีคา C:T r<strong>at</strong>io =1.7, %T = 77.8 และ T i= 3.2 ผูปวยไดรับโลหิตเฉลี่ย 3.2 ยูนิตตอรายของผูปวยที่ทำา cross m<strong>at</strong>ch เมื่อแยกตามประเภทของการผาตัด พบวาการผาตัดสวนใหญมีคา C:T r<strong>at</strong>io < 2 ยกเวนการผาตัดทางดานศัลยกรรมประสาทที่มีคา C:T r<strong>at</strong>io = 2.5 ซึ่งเกินกวาคามาตรฐานของ AABB แสดงวาการผาตัดทางดานศัลยกรรมประสาทมีการสั่ง cross m<strong>at</strong>ch มากเกินความตองการใชโลหิตดังแสดงในตารางที่ 1ตารางที่ 2 การผาตัดทางดานศัลยกรรมกระดูกและขอ จอง=No of units cross m<strong>at</strong>ched โลหิตใหผูปวย 360 ราย (907 ยูนิต) สั่ง cross m<strong>at</strong>ch 197No of units transfused ราย (584 ยูนิต) ผูปวยไดรับโลหิต 176 ราย (391 ยูนิต) คิดเปนตัวอยางเชน C:T r<strong>at</strong>io = 2.0 แสดงวามีการสั่ง cross m<strong>at</strong>ch2 สวน ตอ transfuse 1 สวน ซึ่งเปนคามาตรฐานของ AABBกำาหนด แตถา > 2 แสดงวามีการสั่ง cross m<strong>at</strong>ch มากเกินความตองการใชโลหิตรอยละ 89.3 ของผูปวยที่ทำา cross m<strong>at</strong>ch เมื่อจำาแนกตามหัตถการพบวาการผาตัด TKR จองโลหิตมากที่สุด 113 ราย (264 ยูนิต)สั่ง cross m<strong>at</strong>ch 78 ราย (192 ยูนิต) ใหโลหิตกับผูปวย 77 ราย(137 ยูนิต) คิดเปนรอยละ 98.7 ของผูปวยที่ทำา cross m<strong>at</strong>ch2. Transfusion probability (%T) 9 หมายถึง อัตรา เฉลี่ยเติมโลหิตใหผูปวย 1.8 ยูนิตตอรายที่ทำา cross m<strong>at</strong>ch ผลวารสาร​โลหิต​วิทยา​และ​เวชศาสตร​บริการ​โลหิต ป​ที่ 20 ฉบับ​ที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2553


96ผกาวรรณ ชนะชัยสุวรรณตารางที่ 1 จำานวนผูปวยที่จองเม็ดโลหิตแดงสำาหรับผาตัด จำาแนกตามประเภทของผูปวย ระหวางเดือน มกราคม – มิถุนายน 2551<strong>Elective</strong> surgeryNumberof casesPercent C:T r<strong>at</strong>io Transfusionprobability(%T)Transfusion<strong>in</strong>dex (T i)Orthopedics 360 29.9 1.5 89.3 2.0Obstetrics and Gynecology 323 26.8 1.6 73.1 1.5Cardiac-thoracic surgery 257 21.3 1.6 76.9 3.4Neurosurgery 145 12.1 2.5 59.1 1.2<strong>General</strong> surgery 90 7.5 1.9 58.9 2.6Urology 29 2.4 1.7 77.8 3.2Total 1,204 100 1.7 77.3 2.2ตารางที่ 2 การใชเม็ดโลหิตแดงของผูปวยผาตัดทางดานศัลยกรรมกระดูกและขอ จำาแนกตามหัตถการsurgicalprocedurePre-oprequestedCrossm<strong>at</strong>chedTransfusedcases units cases units cases unitsC:Tr<strong>at</strong>ioTransfusionprobability(%T)Transfusion<strong>in</strong>dex(T i)Total knee replacement 113 264 78 192 77 137 1.4 98.7 1.8(TKR)Open Reduction 38 93 14 55 13 29 1.9 92.9 2.1Total hip replacement 37 118 31 101 28 78 1.3 90.3 2.5(THR)Pl<strong>at</strong>e and screw fix<strong>at</strong>ion 31 94 12 49 11 29 1.7 91.7 2.4Decompression 23 74 19 57 14 32 1.8 73.7 1.7Revision nail/Nail<strong>in</strong>g 17 27 5 9 4 6 1.5 80 1.2ITD/ITC with dural pl<strong>at</strong>e 14 28 3 6 3 4 1.5 100 1.3Off implant/ remove nail 12 21 2 4 2 4 1 100 2Arthroscopy 11 20 5 9 4 6 1.5 80 1.2Amput<strong>at</strong>ion 11 25 4 12 2 5 2.4 50 1.3Disectomy 10 15 2 3 0 0 3 0 0Scrup and debridement 9 19 4 10 3 4 2.5 75 1Close Reduction 7 14 1 3 0 0 3 0 0Osteotomy 7 11 1 2 1 1 2 100 1Revision of hip eplacement 6 31 6 30 5 21 1.4 83.3 3.5Sp<strong>in</strong>al fusion 6 25 4 20 4 18 1.1 100 4.5Lam<strong>in</strong>ectomy 4 12 4 12 3 7 1.7 75 1.8Corpectomy 2 9 1 4 1 4 1 100 4Revision of knee2 7 1 6 1 6 1 100 6replacementTotal 360 907 197 584 176 391 1.5 89.3 2Journal of Hem<strong>at</strong>ology and Transfusion Medic<strong>in</strong>e Vol. 20 No. 2 April-June 2010


<strong>Blood</strong> utiliz<strong>at</strong>ion <strong>in</strong> elective surgery <strong>at</strong> <strong>Police</strong> <strong>General</strong> <strong>Hospital</strong>97หัตถการที่ใชโลหิตมากเปนอันดับสองคือ การผาตัด THR ใหโลหิตกับผูปวย 28 ราย จำานวน 78 ยูนิต ผูปวยไดรับโลหิตเฉลี่ย 2.5ยูนิตตอรายที่ทำา cross m<strong>at</strong>ch มีคา C:T r<strong>at</strong>io = 1.3, %T =90.3 และ T i= 2.5 เมื่อพิจารณาตามเกณฑตัวชี้วัด พบวาทั้งTKR และ THR เปนหัตถการที่ใชโลหิตเหมาะสม สวนหัตถการที่คา C:T r<strong>at</strong>io > 2 ซึ่งหมายถึงมีการสั่ง cross m<strong>at</strong>ch มากเกินความตองการใชโลหิต ไดแก amput<strong>at</strong>ion, disectomy, scrupand debridement และ close reductionตารางที่ 3 การผาตัดทางดานศัลยกรรมสูตินรีเวชกรรม จองโลหิต 323 ราย (418 ยูนิต) สั่ง cross m<strong>at</strong>ch 26 ราย (62 ยูนิต)ใหโลหิตกับผูปวย 19 ราย (38 ยูนิต) คิดเปนรอยละ 73.1 ของผูปวยที่ทำา cross m<strong>at</strong>ch และมีคา C:T r<strong>at</strong>io = 1.6 หัตถการที่มีผูปวยจองโลหิตมากที่สุดคือ cesarean section 196 ราย (205ยูนิต) สั่ง cross m<strong>at</strong>ch 2 ราย (4 ยูนิต) ใหโลหิตกับผูปวยเพียง1 ราย (1 ยูนิต) มีคา C:T r<strong>at</strong>io = 4, %T = 50 และ T i= 0.5หมายถึงการผาตัด cesarean section มีการ cross m<strong>at</strong>ch มากเกินความตองการใชโลหิต สวนการผาตัดที่ใหโลหิตกับผูปวยมากที่สุดคือ hysterectomy จำานวน 9 ราย (22 ยูนิต) มีคา C:Tr<strong>at</strong>io = 1.3, %T = 90 และ T i= 2.2 หมายถึงการใชโลหิตในการผาตัด hysterectomy มีความเหมาะสม หัตถการที่มีคาC:T r<strong>at</strong>io > 2.0 ไดแก cesarean section, myomectomyและ salp<strong>in</strong>gectomyตารางที่ 4 การผาตัดทางดานศัลยกรรมทรวงอก จองโลหิตใหผูปวย 257 ราย (740 ยูนิต) สั่ง cross m<strong>at</strong>ch 65 ราย (361ยูนิต) ใหโลหิตกับผูปวย 50 ราย (224 ยูนิต) คิดเปนรอยละ76.9 ของผูปวยที่ทำา cross m<strong>at</strong>ch และมีคา C:T r<strong>at</strong>io = 1.6หัตถการที่มีผูปวยจองโลหิตมากที่สุดคือ CAG 199 ราย (401ยูนิต) สั่ง cross m<strong>at</strong>ch 14 ราย (36 ยูนิต) ใหโลหิตกับผูปวย8 ราย (19 ยูนิต) คิดเปนรอยละ 57.1 ของผูปวยที่ทำา crossm<strong>at</strong>ch เฉลี่ยเติมโลหิตใหผูปวย 1.4 ยูนิตตอรายของผูปวยที่ทำาตารางที่ 3 การใชเม็ดโลหิตแดงของผูปวยผาตัดทางดานศัลยกรรมสูตินรีเวชกรรม จำาแนกตามหัตถการsurgicalprocedurePre-oprequestedCrossm<strong>at</strong>chedTransfused C:Tr<strong>at</strong>ioTransfusionprobabilityTransfusion<strong>in</strong>dex (T i)cases units cases units cases units (%T)Cesarean section 196 205 2 4 1 1 4 50 0.5Laparoscopic surgery 62 86 8 16 6 11 1.5 75 1.4Hysterectomy 24 54 10 28 9 22 1.3 90 2.2Ovarian cystectomy 16 29 1 2 1 1 2 100 1Myomectomy 11 18 3 6 1 2 3 33.3 0.7Suction curettage 8 13 1 2 1 1 2 100 1Salp<strong>in</strong>gectomy 6 13 1 4 0 0 4 0 0Total 323 418 26 62 19 38 1.6 73.1 1.5ตารางที่ 4 การใชเม็ดโลหิตแดงของผูปวยผาตัดทางดานศัลยกรรมทรวงอก จำาแนกตามหัตถการsurgicalprocedurePre-oprequestedCrossm<strong>at</strong>chedTransfused C:Tr<strong>at</strong>ioTransfusionprobabilityTransfusion<strong>in</strong>dex (T i)cases units cases units cases units (%T)CAG 199 401 14 36 8 19 1.9 57.1 1.4CABG 29 217 29 217 28 155 1.4 96.6 5.3Lobectomy 13 31 8 21 4 8 2.6 50 1MVR / AVR 10 70 9 68 9 40 1.7 100 4.4Thoracotomy 6 21 5 19 1 2 9.5 20 0.4Total 257 740 65 361 50 224 1.6 76.9 3.4CAG = Coronary arteriography us<strong>in</strong>g two c<strong>at</strong>heters; CABG = Coronary artery bypass graft;MVR/AVR = Mitral valve replacement/<strong>at</strong>rium aortic valve replacementวารสาร​โลหิต​วิทยา​และ​เวชศาสตร​บริการ​โลหิต ป​ที่ 20 ฉบับ​ที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2553


98ผกาวรรณ ชนะชัยสุวรรณcross m<strong>at</strong>ch มีคา C:T r<strong>at</strong>io = 1.9, %T = 57.1, T i= 1.4หัตถการที่ใชโลหิตมากที่สุดคือ CABG จำานวน 155 ยูนิต ใหกับผูปวย 28 ราย จากโลหิตที่ cross m<strong>at</strong>ch ใหผูปวย 29 รายจำานวน 217 ยูนิต ผูปวยไดรับโลหิตเฉลี่ย 5.3 ยูนิตตอรายของผูปวยที่ทำา cross m<strong>at</strong>ch มีคา C:T r<strong>at</strong>io = 1.4, %T = 96.6และ T i= 5.3 หัตถการที่ใชโลหิตมากเปนอันดับสองคือ MVR/AVR จำานวน 40 ยูนิต ผูปวยไดรับโลหิตเฉลี่ย 4.4 ยูนิตตอรายของผูปวยที่ทำา cross m<strong>at</strong>ch มีคา C:T r<strong>at</strong>io = 1.7, %T = 100และ T i= 4.4 หัตถการที่มีการใชโลหิตเหมาะสม ไดแก CAG,CABG และ MVR/AVR สวนหัตถการที่มีคา C:T r<strong>at</strong>io > 2.0ไดแก lobectomy และ thoracotomyตารางที่ 5 การผาตัดทางดานศัลยกรรมประสาท จองโลหิตใหผูปวย 145 ราย (377 ยูนิต) สั่ง cross m<strong>at</strong>ch 66 ราย (203ยูนิต) ใหโลหิตกับผูปวย 39 ราย (82 ยูนิต) คิดเปนรอยละ 59.1ของผูปวยที่ทำา cross m<strong>at</strong>ch มีคา C:T r<strong>at</strong>io = 2.5 ซึ่งมากกวา2 หมายถึงมีการสั่ง cross m<strong>at</strong>ch มากเกินความตองการใชโลหิตหัตถการที่มีผูปวยจองโลหิตมากที่สุดคือ Lam<strong>in</strong>ectomy 59 ราย(175 ยูนิต) สั่ง cross m<strong>at</strong>ch 35 ราย (113 ยูนิต) ใหโลหิตกับผูปวย 27 ราย (57 ยูนิต) คิดเปนรอยละ 77.1 ของผูปวยที่ทำา crossm<strong>at</strong>ch ใหโลหิตกับผูปวยเฉลี่ย 1.6 ยูนิตตอราย มีคา C:T r<strong>at</strong>io= 2, %T = 77.1, T i= 1.6 ซึ่งเปนหัตถการเดียวที่มีการใชโลหิตเหมาะสม สวนหัตถการที่เหลือมีการสั่ง cross m<strong>at</strong>ch มากเกินความตองการใชโลหิต (C:T r<strong>at</strong>io > 2.0) ไดแก disectomy,craniotomy, VP shunt, cranioplasty และ corpectomyตารางที่ 6 การผาตัดทางดานศัลยกรรมทั่วไป จองโลหิตใหผูปวย90 ราย (338 ยูนิต) สั่ง cross m<strong>at</strong>ch 56 ราย (271 ยูนิต) ใหโลหิตกับผูปวย 33 ราย (143 ยูนิต) มีคา C:T r<strong>at</strong>io = 1.9, %T =58.9 และ T i= 2.6 หัตถการที่มีการใชโลหิตมากที่สุดคือ bowelresection จำานวน 71 ยูนิต ใหกับผูปวย 13 ราย มีคา C:T r<strong>at</strong>io= 1.6, %T = 65 และ T i= 3.6 การผาตัด bowel resectionใชโลหิตเฉลี่ย 3.6 ยูนิตตอรายของผูปวยที่ทำา cross m<strong>at</strong>ch การผาตัด hep<strong>at</strong>ectomy เปนหัตถการที่ใชโลหิตมากเปนอันดับสองจำานวน 28 ยูนิต แตเปนหัตถการที่ใชโลหิตตอรายของผูปวยที่ทำาcross m<strong>at</strong>ch มากที่สุดคือ 5.6 ยูนิตตอราย C:T r<strong>at</strong>io = 1.7,%T = 80 และ T i= 5.6 หัตถการทางดานศัลยกรรมทั่วไปที่มีการใชโลหิตเหมาะสม ไดแก bowel resection, Laparotomy,hep<strong>at</strong>ectomy และ pancre<strong>at</strong>ectomy สวนหัตถการที่มีคาC:T r<strong>at</strong>io > 2.0 ไดแก abdom<strong>in</strong>al dra<strong>in</strong>age, thyroidectomy,mastectomy, splenectomy, cholecystectomy, gastrectomyและ adrenalectomyตารางที่ 7 การผาตัดทางดานศัลยกรรมยูโร จองโลหิตใหผูปวย29 ราย (119 ยูนิต) สั่ง cross m<strong>at</strong>ch ใหผูปวย 18 ราย (95ยูนิต) ใหโลหิตกับผูปวย 14 ราย (57 ยูนิต) คิดเปนรอยละ 77.8ของผูปวยที่ทำา cross m<strong>at</strong>ch และมีคา C:T r<strong>at</strong>io 1.7 หัตถการที่ใชโลหิตมากที่สุดคือ cystectomy จำานวน 41 ยูนิต ใหกับผูปวย 5 ราย มีคา C: T r<strong>at</strong>io = 1.3, %T = 100 และ T i= 8.2นอกจาก cystectomy ยังมีหัตถการที่ใชโลหิตเหมาะสม (C:T r<strong>at</strong>io< 2) ไดแก nephrctomy, ureterostomy และ laparostomyสวนหัตถการที่มีการสั่ง cross m<strong>at</strong>ch มากเกินความตองการใชโลหิต (C:T r<strong>at</strong>io > 2.0) ไดแก PNCL, Prost<strong>at</strong>ectomyและ Endoscopeตารางที่ 8 ผลการประเมินความเหมาะสมในการใชเม็ดโลหิตแดงของหัตถการการผาตัด จำานวน 57 หัตถการ ประกอบดวยศัลยกรรมกระดูกและขอ 19 หัตถการ ศัลยกรรมสูตินรีเวชกรรมตารางที่ 5 การใชเม็ดโลหิตแดงของผูปวยผาตัดทางดานศัลยกรรมประสาท จำาแนกตามหัตถการsurgicalprocedurePre-oprequestedCrossm<strong>at</strong>chedTransfused C:Tr<strong>at</strong>ioTransfusionprobabilityTransfusion<strong>in</strong>dex (T i)cases units cases units cases units (%T)Lam<strong>in</strong>ectomy 59 175 35 113 27 57 2 77.1 1.6Disectomy 49 99 11 27 7 11 2.5 63.6 1Craniotomy 19 61 12 43 3 10 4.3 25 0.8VP shunt 10 18 3 6 1 2 3 33.3 0.7Cranioplasty 5 14 2 4 0 0 4 0 0Corpectomy 3 10 3 10 1 2 5 33.3 0.7Total 145 377 66 203 39 82 2.5 59.1 1.2VP shunt = Ventricle peritoneum shuntJournal of Hem<strong>at</strong>ology and Transfusion Medic<strong>in</strong>e Vol. 20 No. 2 April-June 2010


<strong>Blood</strong> utiliz<strong>at</strong>ion <strong>in</strong> elective surgery <strong>at</strong> <strong>Police</strong> <strong>General</strong> <strong>Hospital</strong>99ตารางที่ 6 การใชเม็ดโลหิตแดงของผูปวยผาตัดทางดานศัลยกรรมทั่วไป จำาแนกตามหัตถการsurgicalprocedurePre-oprequestedCrossm<strong>at</strong>chedTransfused C:Tr<strong>at</strong>ioTransfusionprobabilityTransfusion<strong>in</strong>dex (T i)cases units cases units cases units (%T)26 123 20 111 13 71 1.6 65 3.6Bowel resection(large & small)Laparotomy 22 52 10 33 7 18 1.8 70 1.8Abdom<strong>in</strong>al dra<strong>in</strong>age 8 20 3 10 2 3 3.3 66.7 1Hep<strong>at</strong>ectomy 5 48 5 48 4 28 1.7 80 5.6Pancre<strong>at</strong>ectomy 5 24 5 24 3 14 1.7 60 2.8Thyroidectomy 5 12 3 7 0 0 7 0 0Mastectomy 4 14 2 11 1 5 2.2 50 2.5Splenectomy 4 14 3 12 1 2 6 33.3 0.7Cholecystectomy 3 8 1 4 1 1 4 100 1Gastrectomy 2 7 2 7 1 1 7 50 0.5Adrenalectomy 2 4 2 4 0 0 4 0 0Appendectomy 2 4 0 0 0 0 0 0 0Hernia 2 8 0 0 0 0 0 0 0Total 90 338 56 271 33 143 1.9 58.9 2.6ตารางที่ 7 การใชเม็ดโลหิตแดงของผูปวยผาตัดทางดานศัลยกรรมยูโร จำาแนกตามหัตถการsurgicalprocedurePre-oprequestedCrossm<strong>at</strong>chedTransfused C:Tr<strong>at</strong>ioTransfusionprobabilityTransfusion<strong>in</strong>dex (T i)cases units cases units cases units (%T)Nephrectomy 10 25 4 11 3 6 1.8 75 1.5Cystectomy 5 54 5 54 5 41 1.3 100 8.2PNCL 5 15 3 11 3 4 2.8 100 1.3Ureterostomy 3 6 1 2 1 2 1 100 2Prost<strong>at</strong>ectomy 2 8 2 8 1 2 4 50 1Endoscope 2 7 2 7 0 0 7 0 0Laparotomy 2 4 1 2 1 2 1 100 2Total 29 119 18 95 14 57 1.7 77.8 3.2PNCL = Percutaneous nephrolithotrypsy7 หัตถการ ศัลยกรรมทรวงอก 5 หัตถการ ศัลยกรรมประสาท6 หัตถการ ศัลยกรรมทั่วไป 13 หัตถการ และศัลยกรรมยูโร 7หัตถการ การสั่งใชโลหิตมีความเหมาะสมเมื่อคา C:T r<strong>at</strong>io < 2,%T > 30 และ T i> 0.5 จากผลการวิเคราะหตัวชี้วัดการใชโลหิตพบวามีหัตถการที่ใชโลหิตเหมาะสม 31 หัตถการ คิดเปนรอยละ54.4 ในจำานวนนี้เปนหัตถการทางศัลยกรรมกระดูกและขอมากที่สุดคือ 15 หัตถการ มีหัตถการที่สั่ง cross m<strong>at</strong>ch มากเกินความตองการใชโลหิต 24 หัตถการ คิดเปนรอยละ 42.1 สวนอีก2 หัตถการ คือ appendectomy และ hernia ไมสามารถสรุปผลได เนื่องจากไมไดสั่ง cross m<strong>at</strong>ch โลหิต คิดเปนรอยละ 3.5วารสาร​โลหิต​วิทยา​และ​เวชศาสตร​บริการ​โลหิต ป​ที่ 20 ฉบับ​ที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2553


<strong>Blood</strong> utiliz<strong>at</strong>ion <strong>in</strong> elective surgery <strong>at</strong> <strong>Police</strong> <strong>General</strong> <strong>Hospital</strong>101จากการประเมินความเหมาะสมในการใชเม็ดโลหิตแดงของหัตถการ โดยใชตัวชี้วัดการใชโลหิตที่กำาหนดเกณฑความเหมาะสมในการใชโลหิตเมื่อ C:T r<strong>at</strong>io < 2, %T > 30 และ T i>0.5 ผลการวิเคราะหตัวชี้วัดการใชโลหิตพบวาหัตถการสวนใหญมีความเหมาะสมในการใชโลหิต 31 หัตถการ คิดเปนรอยละ 54.4ในจำานวนนี้เปนหัตถการทางศัลยกรรมกระดูกและขอมากที่สุด15 หัตถการ และมีหัตถการที่สั่ง cross m<strong>at</strong>ch มากเกินความตองการใชโลหิต 24 หัตถการ คิดเปนรอยละ 42.1 ในจำานวนนี้เปนหัตถการของศัลยกรรมทั่วไปมากที่สุดคือ 7 หัตถการ หากพิจารณาสัดสวนของหัตถการที่ใชโลหิตเหมาะสมตอหัตถการที่สั่งcross m<strong>at</strong>ch มากเกินความตองการใชโลหิตแยกตามประเภทของผูปวย พบวาการทำาหัตถการทางศัลยกรรมกระดูกและขอมีหัตถการที่ใชโลหิตเหมาะสมมากที่สุดคือ 15 หัตถการ และมีหัตถการที่สั่ง cross m<strong>at</strong>ch มากเกินความตองการใชโลหิต 4 หัตถการ คิดเปนสัดสวนของหัตถการที่ใชโลหิตเหมาะสมตอหัตถการที่สั่ง crossm<strong>at</strong>ch มากเกินความตองการใชโลหิตเทากับ 3.8 ในขณะที่การผาตัดทางดานศัลยกรรมประสาท มีเพียง 1 ใน 6 หัตถการเทานั้นที่มีการใชโลหิตเหมาะสม คิดเปนสัดสวนของหัตถการที่ใชโลหิตเหมาะสมตอหัตถการที่สั่ง cross m<strong>at</strong>ch มากเกินความตองการใชโลหิตเทากับ 0.2 หัตถการทางศัลยกรรมประสาทที่สั่ง cross m<strong>at</strong>chเกินความตองการใชโลหิต มีคา C:T r<strong>at</strong>io ระหวาง 2.5-5, %T= 0-63.6 และ T i= 0-1 การสั่ง cross m<strong>at</strong>ch โลหิตมากเกินอาจเนื่องมาจากการทำาหัตถการทางศัลยกรรมประสาทมีความเสี่ยงสูง จำานวนยูนิตของโลหิตที่สั่ง cross m<strong>at</strong>ch จึงอาจมากขึ้นเพื่อลดความเสี่ยงในการผาตัด แตจากทักษะความสามารถและความเชี่ยวชาญของแพทยศัลยกรรมประสาททำาใหการใชโลหิตของหัตถการนอยกวาการประเมินกอนผาตัดในการประเมินความเหมาะสมของการใชโลหิตนอกจากใชคา C:T r<strong>at</strong>io เปนตัวชี้วัดการใชโลหิตแลว ในการศึกษาครั้งนี้ไดศึกษาตัวชี้วัดการใชโลหิตอื่นรวมดวย ไดแก %T และ T iโดยใชเกณฑพิจารณาความเหมาะสมในการใชโลหิตเมื่อ C:T r<strong>at</strong>io< 2, %T > 30 และ T i> 0.5 ตามเกณฑที่กำาหนดในเอกสารอางอิง อยางไรก็ตาม C:T r<strong>at</strong>io ยังคงเปนตัวหลักในการพิจารณาเนื่องจากเปนตัวชี้วัดการใชโลหิตที่ใชในการศึกษามากกวาตัวชี้วัดอื่นๆ การศึกษาครั้งนี้ไดสรุปผลการวิเคราะหแยกเปนหัตถการที่ใชโลหิตเหมาะสม และหัตถการที่สั่ง cross m<strong>at</strong>ch มากเกินความตองการใชโลหิต จากขอมูลนี้สามารถนำาไปพิจารณาเพื่อจัดทำา MSBOS ของหัตถการได การแปลผลการวิเคราะหตัวชี้วัดการใชโลหิตทั้ง 3 รูปแบบ (C:T r<strong>at</strong>io, %T และ T i) ของหัตถการสวนใหญมีความสอดคลองกัน เชน การผาตัด CABG ซึ่งเปนหัตถการที่ใชโลหิตมากที่สุด จำานวน 155 ยูนิต เฉลี่ยใหโลหิตกับผูปวย 5.3 ยูนิตตอรายของผูปวยที่ทำา cross m<strong>at</strong>ch มีคา C:Tr<strong>at</strong>io = 1.4, %T 96.6, T i= 5.3 หัตถการที่ใชโลหิตมากเปนอันดับสองคือ TKR ใหโลหิตกับผูปวย 137 ยูนิต เฉลี่ยใหโลหิต 1.8ยูนิตตอรายของผูปวยที่ทำา cross m<strong>at</strong>ch มีคา C:T r<strong>at</strong>io = 1.4,%T = 98.7 และ T i= 1.8 หัตถการที่ใชโลหิตมากเปนอันดับสามคือ THR ใหโลหิตกับผูปวย 78 ยูนิต เฉลี่ยใหโลหิต 2.5 ยูนิตตอรายของผูปวยที่ทำา cross m<strong>at</strong>ch มีคา C:T r<strong>at</strong>io = 1.3, %T= 90.3 และ T i= 2.5 ซึ่งผลการวิเคราะหตัวชี้วัดการใชโลหิตแปลผลวาการผาตัด CABG, TKR และ THR มีการใชโลหิตเหมาะสม สวนการผาตัด thoracotomy มีคา C:T r<strong>at</strong>io = 9.5, %T= 20 และ T i= 0.4 ซึ่งแปลผลวามีการสั่ง cross m<strong>at</strong>ch มากเกินความตองการใชโลหิต อยางไรก็ตามมีหลายหัตถการที่มีคาC:T r<strong>at</strong>io > 2 หมายความวามีการใชโลหิตไมเหมาะสม แตกลับมีคา %T > 30 และ T i> 0.5 ที่แปลผลวาเหมาะสมในการทำา cross m<strong>at</strong>ch ซึ่งการแปลผลไมสอดคลองกับคา C:T r<strong>at</strong>ioทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการกำาหนดคา significant ของ %T และT iนั้นคาต่ำากวาที่ควรจะเปนทำาใหผลการวิเคราะหไมสอดคลองกับC:T r<strong>at</strong>io หัตถการเหลานี้ ไดแก amput<strong>at</strong>ion, scrub anddebridement, cesarean section, myomectomy, lobectomy,disectomy, VP shunt, corpectomy, abdom<strong>in</strong>al dra<strong>in</strong>age,mastectomy, splenectomy, cholecystectomy, gastrectomy,PNCL และ prost<strong>at</strong>ectomy นอกจากนี้อาจเนื่องมาจากหัตถการมีจำานวนผูปวยไมเพียงพอทำาใหการวิเคราะหมีความคลาดเคลื่อนได ดังเชนการผาตัด ureterostomy และ laparotomy มีการสั่งcross m<strong>at</strong>ch โลหิตใหผูปวยเพียงหัตถการละ 1 ราย มีคา C:Tr<strong>at</strong>io = 1, %T 100 และ T i= 2 ซึ่งผลตัวชี้วัดแปลผลวามีความเหมาะสมในการใชโลหิต ในขณะที่การผาตัด cholecystectomyทางศัลยกรรมทั่วไปก็มีการสั่ง cross m<strong>at</strong>ch โลหิตใหผูปวยเพียง1 ราย เชนกัน แตมีคา C:T r<strong>at</strong>io = 4, %T 100 และ T i= 1 ซึ่งผลตัวชี้วัดแปลผลวามีสั่ง cross m<strong>at</strong>ch มากเกินความตองการใชโลหิต ดังนั้นหัตถการที่มีจำานวนไมเพียงพออาจทำาใหการวิเคราะหมีความคลาดเคลื่อนได จึงยังไมสามารถนำาผลการประเมินของหัตถการที่มีจำานวนผูปวยไมเพียงพอไปพิจารณาจัดทำา MSBOS ได แตอาจใชผลการศึกษา หรือ MSBOS 7,8,12,13,14 ของโรงพยาบาลอื่นที่จัดทำาไวเปนแนวทางในการพิจารณาได เชน ผลการประเมินการใชโลหิตในการผาตัด cholecystectomy ของ Civil <strong>Hospital</strong> Karachi 16ที่มีคา C:T r<strong>at</strong>io 20.1, %T = 6.8 และ T i= 0.1 สรุปวาไมตองสั่ง cross m<strong>at</strong>ch โลหิตสำาหรับผาตัด cholecystectomyประโยชนที่จะไดรับจากการกำาหนดแนวทางปฏิบัติการจองโลหิตวารสาร​โลหิต​วิทยา​และ​เวชศาสตร​บริการ​โลหิต ป​ที่ 20 ฉบับ​ที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2553


102ผกาวรรณ ชนะชัยสุวรรณสำาหรับผาตัดแบบ T&S หรือ MSBOS คือ สามารถลดคาใชจายจากการ cross m<strong>at</strong>ch โลหิตแลวไมไดใช การศึกษาในครั้งนี้ (ระยะเวลา 6 เดือน) มีการสั่ง cross m<strong>at</strong>ch เม็ดโลหิตแดงแลวไมไดใชจำานวน 641 ยูนิต หากมีการสั่งเตรียมโลหิตแบบ T&S จะสามารถประหยัดคาใชจายได 51,280 บาท เชนเดียวกับการศึกษาอัตราการใชโลหิตของผูปวยศัลยกรรมกระดูกและขอที่จองโลหิตผาตัดของโรงพยาบาลขอนแกน 1 จะประหยัดคาใชจายไดถึง 196,880 บาทและการศึกษาในผูปวยศัลยกรรมกระดูกและขอของ Wansbeck<strong>General</strong> <strong>Hospital</strong> 17 ที่สามารถประหยัดคาใชจายไดมากกวา8,000 ปอนดตอป นอกจากนี้ K<strong>in</strong>g Fahd <strong>Hospital</strong> of theUniversity 18 ไดกำาหนดนโยบายในการใชโลหิตเพื่อลดการสูญเสียคาใชจายของโรงพยาบาล โดยใหสั่ง cross m<strong>at</strong>ch เฉพาะ majorcases หรือการผาตัดที่คาดวาผูปวยจะมีการเสียโลหิตระหวางผาตัด โดยใหเตรียมโลหิตไวเพียง 2 ยูนิต และเมื่อศึกษาเปรียบเทียบกอนและหลังใชนโยบาย สามารถลดการเตรียมโลหิตแลวไมใชไดถึงรอยละ 50 คา C:T r<strong>at</strong>io ลดลงจาก 4.8 เหลือ 2.1 และในทางกลับกันมีการจองโลหิตแบบ T&S เพิ่มขึ้นรอยละ 10.2 (จากรอยละ 23.1 เปน 33.3) นโยบายการจองโลหิตแบบ T&S นอกจากลดการ cross m<strong>at</strong>ch โลหิตแลว ยังสามารถลดจำานวนโลหิตที่ตองสำารองจาก 296 ยูนิตตอวัน ลดลงเหลือ 50 ยูนิตตอวัน 2 โลหิตที่cross m<strong>at</strong>ch แลวไมไดใหผูปวย มีการศึกษาวาโลหิตยูนิตนั้นๆจะถูกนำามา cross m<strong>at</strong>ch ซ้ำาใหผูปวยรายอื่นอีกประมาณ 3-10ครั้ง 19 จึงมีโอกาสหมดอายุมาก ดังนั้นการใชนโยบายจองโลหิตแบบT&S ชวยลดโลหิตหมดอายุได เชนในการศึกษาของ Jensen 20สามารถลดโลหิตหมดอายุจากรอยละ 9 เหลือเพียงรอยละ 3.2ทำาใหประหยัดคาใชจายจากโลหิตหมดอายุไดประมาณ 1,000 ยูนิตตอป นอกจากคิดคาใชจายจากโลหิตหมดอายุแลว ยังมีการคิดคาใชจายของเวลาที่สูญเสียไปในการ cross m<strong>at</strong>ch โลหิตใหผูปวยแลวไมใช เชน ในประเทศสหรัฐอเมริกาไดคำานวณเวลาที่ใชในการ cross m<strong>at</strong>ch ประมาณ 3 ยูนิตตอชั่วโมง จากการคำานวณได wasted technician work<strong>in</strong>g time รอยละ 54.58คิดเปนคาใชจายที่สูญเสียประมาณ 25,000 เหรียญสหรัฐตอป21การพัฒนาการใชโลหิตเพื่อลดการสูญเสียทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพและไดผลตามจุดมุงหมายตองไดรับความรวมมือจากหลายฝายที่เกี่ยวของกับกระบวนการใหโลหิต ดังนั้นหากมีการสั่งเตรียมโลหิตโดยพิจารณาตามขอบงชี้ในการใชโลหิตอยางเหมาะสมและปฏิบัติตามแนวทางที่กำาหนดแลว จะสามารถลดการสูญเสียทรัพยากร ผูปวยมีความปลอดภัยในการใชโลหิต มีโลหิตหมุนเวียนใชไดอยางมีประสิทธิภาพ ลดจำานวนโลหิตสำารองที่เกินความจำาเปน ลดภาระงานที่มากเกินความจำาเปนเพื่อมีเวลาเตรียมJournal of Hem<strong>at</strong>ology and Transfusion Medic<strong>in</strong>e Vol. 20 No. 2 April-June 2010โลหิตให emergency case หาโลหิตที่หายากใหผูปวยและพัฒนาดานการตรวจวิเคราะหทางธนาคารเลือดใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นสรุปการศึกษาทบทวนการใชโลหิตในผูปวยผาตัดแบบ electivesurgery ของโรงพยาบาลตำารวจ โดยจำาแนกตามหัตถการ พบวามีหัตถการที่ใชโลหิตเหมาะสม 31 หัตถการ คิดเปนรอยละ 54.4ในขณะที่มีการสั่ง cross m<strong>at</strong>ch มากเกินความตองการใชโลหิต24 หัตถการ คิดเปนรอยละ 42.1 ทั้งนี้ไดใชเปนขอมูลเสนอตอคณะทำางานบริหารการใชโลหิตพิจารณารวมกับคณะกรรมการทีมนำาทางคลินิก (PCT) กำาหนดนโยบายการสั่งจองโลหิตผาตัดแบบT&S หรือ แบบ MSBOS เพื่อพัฒนาการใชโลหิตใหเหมาะสมลดความแตกตางในการจองโลหิตเตรียมผาตัดในหัตถการเดียวกันและลดการสูญเสียทรัพยากร อีกทั้งสามารถเปนตนแบบใหกับโรงพยาบาลอื่นๆ ดวยกิตติกรรมประกาศขอขอบพระคุณ พล.ต.ต. วีรชัย วุฒิกรสมบัติกุล ที่ใหคำาปรึกษาแนะนำา และเจาหนาที่ธนาคารเลือดที่ใหความรวมมือตอการศึกษาครั้งนี้เอกสารอางอิง1. กาญจนา โถมนาการ, พุทธิชัย ไกรตรี, รำาพิณ โภคา, ปกรณ นาระคล. ผลการใชเลือดแบบ Typ<strong>in</strong>g and Screen<strong>in</strong>g ในหอผูปวยศัลยกรรมกระดูกและขอ โรงพยาบาลขอนแกน. ขอนแกนเวชสาร 2550;31:138-42.2. Wong L, Cheng G. Type and screen of blood units <strong>at</strong> a teach<strong>in</strong>ghospital. HKMJ 1995;1:27-30.3. Friedman BA, Oberman HA, Chadwick AR, K<strong>in</strong>gon KI. Themaximum surgical blood order schedule and surgical blood use<strong>in</strong> the United St<strong>at</strong>es. Transfusion 1976;16:380-7.4. Dodsworth H, Dudley HF. Increased efficiency of transfusionpractice <strong>in</strong> rout<strong>in</strong>e surgery us<strong>in</strong>g pre-oper<strong>at</strong>ive antibody screen<strong>in</strong>gand selective order<strong>in</strong>g with an abbrevi<strong>at</strong>ed crossm<strong>at</strong>ch. Br JSurg 1985;72:102-4.5. Napier JF, Biff<strong>in</strong> AH, Lay D. Efficiency of the use of blood forsurgery <strong>in</strong> south and mid Wales. Br Med J 1985;291:799-801.6. Perrault RA, Barr RA. <strong>Blood</strong> order<strong>in</strong>g str<strong>at</strong>egies. In: Progress<strong>in</strong> Transfusion Medic<strong>in</strong>e, 1(ed Cash J.D.) Churchill Liv<strong>in</strong>gstone,Ed<strong>in</strong>burgh. 1986:95-107.7. British Committee for Standard <strong>in</strong> Haem<strong>at</strong>ology <strong>Blood</strong> TransfusionTask Force. Guidel<strong>in</strong>es for implement<strong>at</strong>ion of a maximum surgicalblood order schedule. Cl<strong>in</strong> lab Haem<strong>at</strong> 1990;12:321-7.8. Brecher ME: Technical Manual, 15 th edn. Bethesda, MD, AmericanAssoci<strong>at</strong>ion of <strong>Blood</strong> Banks, 2005.


<strong>Blood</strong> utiliz<strong>at</strong>ion <strong>in</strong> elective surgery <strong>at</strong> <strong>Police</strong> <strong>General</strong> <strong>Hospital</strong>1039. Mead JH, Anthony CD, S<strong>at</strong>tler M. Hemotherapy <strong>in</strong> electivesurgery: an <strong>in</strong>cidence report, review of liter<strong>at</strong>ure, and altern<strong>at</strong>ivesfor guidel<strong>in</strong>e appraisal. Am J Cl<strong>in</strong> P<strong>at</strong>h 1980;74:223-7.10. Gottschall J. Surgical blood order<strong>in</strong>g practice. In: GottschallJ, ed. <strong>Blood</strong> Ttransfusion Therapy: A Physician’s Handbook, 8 thedition. Bethesda, MD: American Associ<strong>at</strong>ion of <strong>Blood</strong> BanksPress, 2005:57-9.11. L<strong>in</strong> JS, Chen YJ, Tzeng CH, Lyou JY, Lee CH. Revisit<strong>in</strong>g ofPreoper<strong>at</strong>ive blood order<strong>in</strong>g policy- A s<strong>in</strong>gle <strong>in</strong>stitute’s experience<strong>in</strong> Taiwan. J Ch<strong>in</strong> Med Assoc 2006;69:507-11.12. Capital Health. Surgical <strong>Blood</strong> Order<strong>in</strong>g Schedule (SBOS). In:Cl<strong>in</strong>ical Guide to <strong>Blood</strong> Transfusion. 2007:70-3.13. Gre<strong>at</strong> Ormond Street <strong>Hospital</strong> for Children NHS Trust. MaximumSurgical <strong>Blood</strong> Order<strong>in</strong>g Schedule (MSBOS) Cl<strong>in</strong>ical Guidel<strong>in</strong>e. 2007.14. Niagara Health System. Str<strong>at</strong>egy for cre<strong>at</strong>ion and implement<strong>at</strong>ionof a surgical blood order list. 2003.15. Dev<strong>in</strong>e P, L<strong>in</strong>den JV, Hoffstandter L, et al. <strong>Blood</strong> donor, apheresisand transfusion-rel<strong>at</strong>ed activity: Results of the 1991 AmericanAssoci<strong>at</strong>ion of <strong>Blood</strong> Banks Institutional membership Questionnaire.Transfusion 1993;33:779-82.16. Muizudd<strong>in</strong> M, Jawaid M, Alam SN, Soomro SS, Manzar S. <strong>Utiliz<strong>at</strong>ion</strong>of blood <strong>in</strong> elective cholecystectomy. Pak J Med Sci 2007;23:331-3.17. Gower A, Husse<strong>in</strong> AI, Briggs PJ, Dewar MS. <strong>Blood</strong> utiliz<strong>at</strong>ion <strong>in</strong>hip and knee arthroplasty: a cost-m<strong>in</strong>imiz<strong>at</strong>ion study. J R CollSurg Ed<strong>in</strong>b 1998;43:397-9.18. Abdelhadi M, Bashawari L. <strong>Blood</strong> conserv<strong>at</strong>ion <strong>in</strong> elective surgery.Kuwait Medical Journal 2001;33(3):232-4.19. Chawla T, Kakepoto GN, Khan MA. An audit of blood crossm<strong>at</strong>ch order<strong>in</strong>g practices <strong>at</strong> the Aga Khan University <strong>Hospital</strong>:first step towards a Maximum Surgical <strong>Blood</strong> Order<strong>in</strong>g Schedule.J Pak Med Assoc 2001;51(10):379.20. Jensen BA. R<strong>at</strong>ional blood reserv<strong>at</strong>ion for elective surgery. Aprospective evalu<strong>at</strong>ion of blood reserv<strong>at</strong>ion, use of transfusionsand resources. Ugeskr Laeger 1992;154(13):850-5.21. Baraka A, Juma T, Asfar SK, Al-Sayer H. Conserv<strong>in</strong>g blood <strong>in</strong>prepar<strong>at</strong>ion for elective surgery. J R Soc Med 1991;84:600-1.วารสาร​โลหิต​วิทยา​และ​เวชศาสตร​บริการ​โลหิต ป​ที่ 20 ฉบับ​ที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2553


104ผกาวรรณ ชนะชัยสุวรรณ<strong>Blood</strong> <strong>Utiliz<strong>at</strong>ion</strong> <strong>in</strong> <strong>Elective</strong> <strong>Surgery</strong> <strong>at</strong> <strong>Police</strong> <strong>General</strong> <strong>Hospital</strong>Pagawan Chanachaisuwan<strong>Blood</strong> Bank, Department of P<strong>at</strong>hology, <strong>Police</strong> <strong>General</strong> <strong>Hospital</strong>Background : Unnecessary preoper<strong>at</strong>ive blood orders do <strong>in</strong>fact, cause expensive waste of resources. A reviewof preoper<strong>at</strong>ive blood orders for utiliz<strong>at</strong>ion of each certa<strong>in</strong> surgical procedure will improve appropri<strong>at</strong>e use ofblood. The result of this study will be proposed to <strong>Hospital</strong> Transfusion Committee (HTC) for establishment ofpreoper<strong>at</strong>ive blood order guidel<strong>in</strong>es, such as type and screen (T&S) policies and maximum surgical blood orderschedule (MSBOS). Methods : A retrospective review of preoper<strong>at</strong>ive blood orders of elective surgery was studied<strong>at</strong> The <strong>Police</strong> <strong>General</strong> <strong>Hospital</strong> for a six month period, start<strong>in</strong>g from January – June 2008. The blood transfusionof each certa<strong>in</strong> surgical procedure was studied by us<strong>in</strong>g cross m<strong>at</strong>ch-to-transfusion (C:T) r<strong>at</strong>io, transfusionprobability (%T), and transfusion <strong>in</strong>dex (T i). Results : A total of 1,204 elective p<strong>at</strong>ients underwent preoper<strong>at</strong>iveblood orders. Orthopedics surgery had the most appropri<strong>at</strong>e use of blood (C:T r<strong>at</strong>io = 1.5) compared to cardiacthoracicsurgery (1.6), obstetrics and gynecology (1.6), urology (1.7), general surgery (1.9) and neurosurgery (2.5).31 surgical procedures (54.4%) with C:T r<strong>at</strong>io < 2, T i> 0.5, %T > 30 were utilized while 24 surgical procedures(42.1) were not utilized, these surgical procedures should be <strong>in</strong>corpor<strong>at</strong>ed as a part of T&S policies. Coronaryartery bypass graft (CABG) was a surgical procedure, requir<strong>in</strong>g the highest blood transfusion; 155 red bloodcell units with Cross m<strong>at</strong>ch-to-transfusion (C:T) r<strong>at</strong>io = 1.4, Transfusion probability (%T) = 96.6, Transfusion<strong>in</strong>dex = 5.3 <strong>in</strong>dic<strong>at</strong>ed an appropri<strong>at</strong>e use of blood. This study also revealed th<strong>at</strong> if the non-transfusion units ofpreoper<strong>at</strong>ive blood orders (641 units) had undergone T&S <strong>in</strong> stead of cross m<strong>at</strong>ch<strong>in</strong>g, it would save the cost ofcross m<strong>at</strong>ch up to 51,280 b<strong>at</strong>hs dur<strong>in</strong>g a six month period. Conclusions : A review of preoper<strong>at</strong>ive blood ordersof each certa<strong>in</strong> surgical procedure will be proposed to an appropri<strong>at</strong>e use of blood utiliz<strong>at</strong>ion by reduc<strong>in</strong>g theunnecessary demands, labor<strong>at</strong>ory workload of blood bank, ma<strong>in</strong>ta<strong>in</strong><strong>in</strong>g adequ<strong>at</strong>e supply of blood products foremergency, and will also be proposed to blood utiliz<strong>at</strong>ion policy (T&S and MSBOS), and will be able to be orig<strong>in</strong>alreference for other hospitals.Key Words : • <strong>Blood</strong> utiliz<strong>at</strong>ion • C:T r<strong>at</strong>io • MSBOSJ Hem<strong>at</strong>ol Transfus Med 2010;20:93-104.Journal of Hem<strong>at</strong>ology and Transfusion Medic<strong>in</strong>e Vol. 20 No. 2 April-June 2010

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!