16.07.2015 Views

Emergency Transfusion of Group O Red Blood Cells in Additive ...

Emergency Transfusion of Group O Red Blood Cells in Additive ...

Emergency Transfusion of Group O Red Blood Cells in Additive ...

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

224 วราภรณ สุรัตนรังสรรค และคณะการ จัด เตรียม เลือด ใหผูปวย (crossmatched blood)ที่ ถูก ตอง ตาม มาตรฐาน ประกอบ ดวย การ ตรวจ หา หมูเลือด ABO Rh(D) และ ตรวจ กรอง หา แอนติบอดี ในเลือดผูปวย รวม กับ การ ทดสอบ ความ เขากัน ไดระหวางเลือด ผูปวย และ เลือด ที่จะ ให1 การ เตรียม ใชเวลา ทั้ง สิ้นประมาณ 1 ชั่วโมง แต หาก การ ตรวจ กรอง หา แอนติบอดีใหผลบวก ตอง เพิ่ม การ ตรวจ หา ชนิด ของ แอนติบอดีเพิ่ม เติม ดวย ทําใหเสีย เวลา มาก ขึ้น สําหรับ ใน กรณีดวนที่ผูปวย ไมอาจ รอ ได แพทยสามารถ ขอ เลือด un crossmatched blood แทน ซึ่ง มีได3 ประเภท แลว แตความรุน แรง ของ อาการ ผูปวย ไดแก ประเภท ที่ 1 ธนาคารเลือด ตรวจ หา หมู เลือด ABO Rh(D) ของ ผูปวย และจาย เลือด ให เมื่อ การ อาน ผล ปฏิกิริยา crossmatch ที่อุณหภูมิหอง ไดผล ลบ การ ทํา ใชเวลา ประมาณ 20 นาทีซึ่ง เปน วิธีที่นิยม ใชมาก ประเภท ที่2 ใชเวลา ประมาณ 10นาที คือ ธนาคาร เลือด ตรวจ เฉพาะ หมูเลือดABO ของผูปวย และ จาย เลือด ที่มี ABO เหมือน กับ ผูปวย ไดทันทีโดย ไม ตอง ทํา crossmatch ประเภท ที่ 3 ใช สําหรับผูปวย ที่ ดวน มาก โดย แพทย สามารถ ขอ เลือด หมู Opacked redcells (PRC) หรือO,Rhpositiveredcells <strong>in</strong> additive solution (O-AS blood) ไดทันทีโดยไม มี การ ตรวจ ใด ๆ ใช เวลา ประมาณ 5 นาที 2 แต ทั้ง 3ประเภท เมื่อ จาย เลือด ไป แลว ธนาคาร เลือด จะ ตอง ตรวจตอ จน เสร็จ เชน ใน กรณีปกติ ซึ่ง ถา พบ ปญหา ตอง แจง ใหแพทย ทราบ ขอ เลือด ที่ จาย แลว คืน ตรวจ หา สาเหตุพรอม กับ จัดหา เลือด ที่เขากัน ไดใหใหม สําหรับ เวลา ที่ใชทั้ง3 ประเภท นี้ หมายถึง เวลา ที่ธนาคาร เลือด ใชเทานั้น ยังไมไดรวม เวลา ที่เจาหนาที่นํา ตัวอยาง เลือด มา สง ธนาคารเลือด และ เวลา ที่ นํา เลือด จาก ธนาคาร เลือด กลับ ไป ใหผูปวยถึง แมวา ธนาคาร เลือด จะ ไดจัด ระบบ การ ขอ เลือด ดวนดัง กลาว แลว แตยัง มีผูปวย จํานวน หนึ่ง ที่ตองการ เลือดอยาง เร็ว ที่สุด เพื่อ ชวย ชีวิต การ ใหสาร น้ํา หรือ สาร ทดแทนชนิด อื่น ไม อาจ ชวย ชีวิต ได เพราะ มี การ เสีย เลือด จํานวนมาก ภาควิชา เวช ศาสตรการ ธนาคาร เลือด คณะ แพทยศาสตรศิริราช พยาบาล มหาวิทยาลัย มหิดล ไดตระหนักถึง ปญหา ดัง กลาว จึง ไดเริ่ม จัดทํา โครงการ นํา เลือด O-ASblood เตรียม พรอม ไวใหแพทยใชใน กลุม ผูปวย ที่มีความจําเปน จริง ๆ โดย ใน ปพ.ศ. 2542 เริ่ม ที่ หอง ฉุกเฉินอุบัติเหตุ ภาควิชา ศัลยศาสตร และ ปพ.ศ. 2544 เริ่ม ที่หอง คลอด และ หอง ผา ตัด ภาควิชา สูตินา รีเวช วิทยา ทั้งนี้การ ตัดสิน ใจ ใหเลือด ชนิด นี้แกผูปวย ขึ้น อยูกับ แพทยผูดูแลณ ที่นั้นการ ศึกษา นี้เปน การ ศึกษา ขอมูล ยอน หลัง ของ ผูปวยที่หอง ฉุกเฉิน อุบัติเหตุ ระหวาง ปพ.ศ. 2542-2546 และผูปวย ที่ หอง คลอด และ หอง ผา ตัด สูติศาสตร ระหวาง ปพ.ศ. 2544-2546 ที่ไดรับO-ASblood ทันทีที่แพทยสั่งการ ขอ เลือด เทานั้น ไม สามารถ ครอบ คลุม ถึง อัตราการ รอด ชีวิต ของ ผูปวย ซึ่ง ขึ้น กับ ปจจัย ตางๆ อีก หลายประการ ไดแก ความ รุน แรง ของ อาการ ผูปวย ตําแหนงของ บาดแผล จํานวน เลือด ที่สูญเสีย โรค ประจํา ตัว ของผูปวย และ ระยะ เวลา ที่ ใช ใน การ นํา สง ผูปวย มา ยังโรงพยาบาล เปนตน ทั้ง นี้เพื่อ ใชเปน แนว ทาง ที่ธนาคารเลือด จะ สามารถ ให ความ ชวยเหลือ ทําให ผูปวย ไดรับเลือด เร็ว ที่ สุด โดย ที่ มี อันตราย และ ความ เสี่ยง จาก การไดรับ เลือด ชนิด นี้ นอย ที่ สุดวัสดุและ วิธีการตั้งแตปพ.ศ. 2542 ทุก สัปดาหธนาคาร เลือด จะ นําO-AS blood จํานวน4ยูนิต ไป ไวที่หอง ฉุกเฉิน อุบัติเหตุและ ตั้งแตปพ.ศ. 2544 นํา เลือด นี้ไป ไวที่หอง คลอด และหอง ผา ตัด สูติศาสตร โดย เก็บ ใน ตูเย็น เก็บ เลือด (<strong>Blood</strong>Bankrefrigerator) หรือ ตูเย็น ที่มีการ ควบคุม อุณหภูมิอยูระหวาง 4 ±2 ํซ โดย มอบ ใหพยาบาล เปน ผูดูแล การเก็บ ธนาคาร เลือด จะ หมุน เวียน เลือด ใหมใหทุก สัปดาหหาก มี การ ใช เลือด ชนิด นี้ จะ ตอง แจง ให ธนาคาร เลือดทราบ เพื่อ จะ ได นํา เลือด ไป เพิ่ม ใหกอน นํา เลือด ไป ไวที่หอง ฉุกเฉิน อุบัติเหตุ หอง คลอดThai Journal <strong>of</strong> Hematology and <strong>Transfusion</strong> Medic<strong>in</strong>e Vol. 15 No. 4 October-December 2005

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!