16.07.2015 Views

Rhabdomyolysis with Myoglobinuria in Dengue Fever

Rhabdomyolysis with Myoglobinuria in Dengue Fever

Rhabdomyolysis with Myoglobinuria in Dengue Fever

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

224 วิเชียร มงคลศรีตระกูลmia จาก thiazide ตอมา เกิด muscle pa<strong>in</strong> และrhabdomyolysis เชื่อ วา hyponatremia กอ ให เกิดhypoosmolatity และ เกิด ภาวะ cell swell<strong>in</strong>g ตาม มาพบ วา ระดับ CPK สูง ขึ้น ใน เวลา 48-96 ชั่วโมง ภาย หลังการ เกิด hyponatremiaสําหรับ ความ ผิด ปกติ ของ ตอม ไร ทอ ที่ สําคัญ คือhypothyroidism เชื่อ วา การ ขาด thyroid hormoneทําใหขบวน การ glycogenolysis ผิด ปกติ สง ผล ใหเกิดภาวะ post-exertional rhabdomyolysis อาจ เกิด ภาวะนี้ ใน โรค hyperthyroid, diabetes และ pheochromocytoma สวน การ อักเสบ ของ กลาม เนื้อ (Inflammatory myopathy) ที่ทําใหเกิด rhabdomyolysis ไดแกdermatomyositis และpolymyositisยัง มี สาเหตุ อีก หลาย อยาง ที่ ทําให เกิด เชน statusasthmaticus ( เชื่อ วา เปน ผล มา จาก muscular exertion, hypoxemia และ corticosteroid <strong>in</strong>duced myopathy), non-depolariz<strong>in</strong>g muscle block<strong>in</strong>g agents( ใน ผูปวย ที่มีกลาม เนื้อ ผิด ปกติ เชน ไดรับ corticosteroids ขนาด สูง, ผูปวย ที่ มี อาการ หนัก), toxic shocksyndrome จาก Staphylococcal exotox<strong>in</strong>, electricalcurrent ( พบ วา high-voltage electrical <strong>in</strong>jury และ ฟาผา ทําใหเกิด ภาวะrhabdomyolysis),capillaryleaksyndrome ( มีการ เพิ่ม ขึ้น ของ capillary permeabilityทําใหของเหลว เคลื่อนที่จาก <strong>in</strong>travascular compartment ไป ยัง <strong>in</strong>terstitial compartment ทําให เกิดedema, limb swell<strong>in</strong>g และ compartment syndrome, hypovolemia, hypotension และ rhabdomyolysis ยัง ไมทราบ สาเหตุและ กลไก การ เกิด โรค)สําหรับ การ แสดง ออก ทาง คลินิก ของ ภาวะ rhabdomyolysis1-5 โดย ทั่ว ไป การ วินิจฉัย ภาวะ rhabdomyolysis อาศัย ประวัติ ตรวจ รางกาย และ ที่ สําคัญ ไดแก การตรวจ ทาง หอง ปฏิบัติการ อาการ โดย ทั่ว ไป มัก ไมจําเพาะเชน muscular pa<strong>in</strong>, weakness, stiffness และmuscular swell<strong>in</strong>g แต ใน บาง ครั้ง ผูปวย ที่ มี ภาวะmassive muscular necrosis ใน ชวง แรก จะ ตรวจ ไมพบ วา มี อาการ ปวด บวม รอน แต ใน วันที่ 2-3 พบ วา มีอาการ รุน แรง ขึ้น เนื่อง จาก เกิด การ สะสม ของ น้ํา ใน เซลลกลาม เนื้อ โดย เฉพาะ ในtightfascialcompartmentและ ตาม มา ดวย ischemic necrosis เรียก ปรากฏการณนี้วา second wave phenomenon ซึ่ง เปน ลักษณะ ที่พบไดใน thrombophlebitisการ ตรวจ ทาง หอง ปฏิบัติการ ใน ภาวะ rhabdomyolysis และ myoglob<strong>in</strong>uric ARF 1-5 จะ พบ มี myoglob<strong>in</strong>ซึ่ง ใน คน ปกติจะ มีความ เขมขน ของ myoglob<strong>in</strong> ใน กลามเนื้อ ลาย ประมาณ4มก./ กก. ของ กลาม เนื้อ ลาย การ เพิ่มระดับ myoglob<strong>in</strong> ไมทําใหสีซีรัมเปลี่ยน myoglob<strong>in</strong>จับ หลวม ๆ อยูกับ พลาสมาglobul<strong>in</strong> หาก ระดับmyoglob<strong>in</strong> ใน กระแส เลือด มีคา ประมาณ 1.5-23มก./ ดล.แลว พบ วา รอยละ 50 ของ myoglob<strong>in</strong> จะ ถูก กรอง ผานglomerulus อีก รอยละ 50 ที่เหลือ จะ จับ กับα 2 globul<strong>in</strong> และ ถูก ยอย สลาย ไป เปน bilirub<strong>in</strong> อยาง รวด เร็ว จึงทําใหตรวจ วัด myoglob<strong>in</strong> มีคา ครึ่ง ชีวิต 1-3 ชั่ง โมง และหมด ไป จาก กระแส เลือด ใน เวลา 6 ชั่ง โมง มีคา ปริมาตรการ กระจาย (volume of distribution) เทากับ 28.5ลิตร สวน ใหญ ของ ผูปวย ที่ มี ภาวะ muscular <strong>in</strong>juryอาจ ตรวจ ไมพบ myoglob<strong>in</strong> คือ 0.5-1.5มก./ ดล. ถา จะตรวจ พบmyoglob<strong>in</strong> ใน กระแส เลือด ไดจะ ตอง มีความเขมขน ของ myoglob<strong>in</strong> ใน กระแส เลือด มาก กวา 100มก./ ดล. (ใน บาง รายงาน ใหคา1,500-3,000 นาโมกรัม/มล.) ซึ่ง มี ความ หมาย วา เซลล กลาม เนื้อ ถูก ทําลาย อยางมาก ถา วัด ระดับ พลาสมา myoglob<strong>in</strong> ได 28.5มก./ ดล.แสดง วา มีการ ทําลาย muscle cell 7.1 กก.การ ตรวจ ระดับ creat<strong>in</strong>e phosphok<strong>in</strong>ase (CPK)เปน ดัชนี ที่ มี ความ ไว ที่ สุด ใน การ วินิจฉัย ภาวะ muscle<strong>in</strong>jury โดย เฉพาะ CPK isoenzyme MM โดย ทั่ว ไประดับ CPK ขึ้น ถึง สูงสุด ประมาณ 12-24 ชั่วโมง หลังการ เกิด muscle <strong>in</strong>jury และ ลดลง รอยละ 50 ใน 48ชั่วโมง ระดับ ของ CPK ไมสัมพันธกับ การ เกิด ARF แตThai Journal of Hematology and Transfusion Medic<strong>in</strong>e Vol. 16 No. 3 July-September 2006

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!