08.01.2020 Views

บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ 2489-2559

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

บ้ า น เ รื อ น ถิ่ น ไท ย<br />

ใ น ช่ ว ง เ จ็ ด ท ศ ว ร ร ษ<br />

: พ . ศ . 2 4 8 9 - 2 5 5 9<br />

SEVEN DECADES OF HOUSES<br />

IN THAILAND<br />

: 1946 – 2016 A.D.<br />

84 ปี<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

1


ส า ร บั ญ<br />

8<br />

8<br />

10<br />

12<br />

14<br />

16<br />

18<br />

24<br />

24<br />

52<br />

60<br />

97<br />

127<br />

139<br />

249<br />

265<br />

273<br />

292<br />

คำนำ<br />

ดร.สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา<br />

ยอดเยี่ยม เทพธรานนท์<br />

ศาสตราจารย์ ดร.วีระ อินพันทัง<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์กิจโชติ นันทนสิริวิกรม<br />

กิตติกรรมประกาศ<br />

โครงการวิจัยและจัดทำต้นฉบับหนังสือ<strong>บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ</strong> : พ.ศ. <strong>2489</strong> - <strong>2559</strong><br />

บทความ<br />

ด้านสังคมศาสตร์<br />

— การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและอาคารบ้านเรือนในระหว่าง พ.ศ. <strong>2489</strong> - <strong>2559</strong><br />

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.อานันท์ กาญจนพันธุ์<br />

ด้านรัฐศาสตร์<br />

— “บ้าน” กับความลับของความมั่นคง<br />

ศาสตราจารย์ ดร.ชัยวัฒน์ สถาอานันท์<br />

ด้านเศรษฐศาสตร์<br />

— เศรษฐกิจประเทศไทย : ห้าสิบปีของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ<br />

ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อัมมาร สยามวาลา<br />

— ประเทศไทยหลัง 2540<br />

ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อัมมาร สยามวาลา<br />

— บ้านหลังเก่า<br />

ศาสตราจารย์เกียรติคุณอรศิริ ปาณินท์<br />

— บ้านเรือนในสยาม สมัยรัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ 8 พ.ศ. 2325 - <strong>2489</strong><br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุนนท์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา<br />

— พัฒนาการของเรือนพักอาศัยในประเทศไทยผ่านวัสดุมุงหลังคา<br />

อาจารย์ชัยบูรณ์ ศิริธนะวัฒน์<br />

— ที่ว่างทางสถาปัตยกรรม<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์กิจโชติ นันทนสิริวิกรม<br />

— สนทนา<br />

ศาสตราจารย์ ดร.ชัยวัฒน์ สถาอานันท์<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์กิจโชติ นันทนสิริวิกรม<br />

ประวัติผู้เขียนบทความ<br />

2


CONTENTS<br />

8<br />

8<br />

10<br />

12<br />

14<br />

16<br />

18<br />

24<br />

24<br />

52<br />

60<br />

97<br />

127<br />

139<br />

249<br />

265<br />

273<br />

292<br />

Introduction<br />

Dr. Sumet Jumsai Na Ayudhya<br />

Yodyiam Teptaranon<br />

Professor Dr. Vira Inpuntung<br />

Assistant Professor Quijxote Nuntanasirivikrom<br />

Acknowledgements<br />

Research Project and Making of Original Manuscript of: Seven Decades of Houses in Thailand<br />

: 1946 - 2016 A.D.<br />

Articles<br />

SOCIO<br />

— The Social Changes and Residential Architecture 1946 - 2016 A.D.<br />

Professor Emeritus Dr. Anan Ganjanapan<br />

POLITICO<br />

— Home and the Secret of Security<br />

Professor Dr. Chaiwat Satha Anand<br />

ECONOMICS<br />

— The Thai Economy: Fifty Years of Expansion<br />

Professor Dr. Ammar Siamwalla<br />

— Thailand After 1997<br />

Professor Dr. Ammar Siamwalla<br />

— House in Our Memory<br />

Professor Emeritus Onsiri Panin<br />

— Contexts And Issues Relating To Residential Architecture In Siam From The Period Of Rama I<br />

– Rama Viii (1782 – 1946 A.D.)<br />

Assistant Professor Sunon Palakavong Na Ayudhya<br />

— The Development of Thai Residences Through Roofing Materials<br />

Chaiboon Sirithanawat<br />

— Space in Architecture<br />

Assistant Professor Quijxote Nuntanasirivikrom<br />

— Conversation<br />

Professor Dr. Chaiwat Satha Anand<br />

Assistant Professor Quijxote Nuntanasirivikrom<br />

Author Biographies<br />

3


295<br />

328<br />

330<br />

332<br />

334<br />

336<br />

338<br />

340<br />

342<br />

344<br />

346<br />

348<br />

350<br />

352<br />

354<br />

356<br />

358<br />

360<br />

362<br />

364<br />

366<br />

368<br />

370<br />

372<br />

378<br />

380<br />

382<br />

384<br />

386<br />

388<br />

391<br />

392<br />

395<br />

396<br />

398<br />

400<br />

402<br />

404<br />

410<br />

412<br />

414<br />

416<br />

418<br />

420<br />

422<br />

424<br />

426<br />

429<br />

430<br />

432<br />

434<br />

436<br />

438<br />

440<br />

442<br />

444<br />

446<br />

ตารางแสดงความสัมพันธ์ปัจจัยด้านต่างๆ<br />

บ้านเรือนถิ่นไทย พ.ศ. <strong>2489</strong> - <strong>2559</strong><br />

บ้านผู้ใหญ่ถวิล<br />

บ้านศุขจรัส<br />

โรงรับจำนำ ทองไทย (สามแยก)<br />

เฮินไตลื้อแม่แสงดา<br />

อาคารอินทพานิช<br />

บ้าน 12 (บ้านท่านหม่อมเจ้าประสมสวัสดิ์ สุขสวัสดิ์)<br />

บ้านแห่งชีวิต<br />

บ้านพักพนักงาน การรถไฟแห่งประเทศไทย บ้านพักชั้น 3 ชนิด บ.9 แบบบ้านเดี่ยวแยกครัว<br />

บ้านพักพนักงาน การรถไฟแห่งประเทศไทย บ้านพักชั้นจัตวา แบบบ้านแถว<br />

บ้านพื้นถิ่นล้านนา<br />

บ้านใสยิ่ง<br />

บ้านคำเพชร<br />

บ้านพิบูลวัฒนา<br />

บ้านนางบัวสอน ไชยวงษา<br />

บ้านพรหมคง<br />

บ้านสาสนสิทธิ์<br />

บ้านนายขา ขัดปัญเจริญ<br />

บ้านพักพนักงาน การรถไฟแห่งประเทศไทย ชั้นหัวหน้ากอง<br />

บ้านเหรียญทอง<br />

สถานีวิจัยประมงคลองวาฬ<br />

บ้านไทยยืนยง<br />

บ้านเลขที่ 5 (บ้านรองศาสตราจารย์เลิศ และรองศาสตราจารย์สมถวิล อุรัสยะนันทน์)<br />

การเคหะคลองจั่น<br />

บริษัท เชียงใหม่ ธาราภัณฑ์ จำกัด (ร้านธาราภัณฑ์ วัดเกต)<br />

บ้านคนทำเมี่ยง<br />

อาคารพาณิชย์ ร้านฉัตราภรณ์<br />

อาคารพาณิชย์หัวมุมตลาดประตูเชียงใหม่<br />

บ้านพักรับรองสวนสองแสน อาคารหลังแรกของโครงการหลวง<br />

บ้านสวนสุภาษี<br />

บ้านศาสตราจารย์เกียรติคุณอรศิริ ปาณินท์<br />

อาคารชมพูนุท<br />

หมู่ตำหนักกว๊านพะเยา<br />

บ้านพิกุล<br />

บ้านสุธรีรา<br />

บ้านพักพนักงาน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค<br />

บ้านอาจารย์ ดร. วทัญญู ณ ถลาง<br />

บ้านฝึกนิสิต ภาควิชาคหกรรม<br />

เคหะชุมชนประชานิเวศน์ 3<br />

อาคารเลียววิริยะ<br />

บ้านครูสมชาย<br />

บ้านปุนะเรศ<br />

บ้านพักสืบนาคะเสถียร<br />

สตูดิโอมณเฑียร<br />

ตำหนักประถม<br />

บ้านร้านค้า “สงวนโพธิ์พระ”<br />

บ้านปอกึ๋น-ปออยู่ ยะกิ๋น-ปั๋น-ขาย ฮับฮู้-จ่ายหัน<br />

บ้านเปรมปรีดิ์<br />

บ้านลุงบุญธรรม<br />

บ้านพัก ที่ทำการไปรษณีย์แม่ปิง<br />

บ้านลุงตา<br />

เคหะชุมชนประชานิเวศน์ 4<br />

บ้านตุ๊กตา<br />

บ้านพักข้าราชการ โดยกรมโยธาธิการและผังเมือง<br />

บ้านต้นแก้ว บ้านรัตนพฤกษ์<br />

บ้าน (นอก) เข้ากรุง<br />

4


295<br />

328<br />

330<br />

332<br />

334<br />

336<br />

338<br />

340<br />

342<br />

344<br />

346<br />

348<br />

350<br />

352<br />

354<br />

356<br />

358<br />

360<br />

362<br />

364<br />

366<br />

368<br />

370<br />

372<br />

378<br />

380<br />

382<br />

384<br />

386<br />

388<br />

391<br />

392<br />

395<br />

396<br />

398<br />

400<br />

402<br />

404<br />

410<br />

412<br />

414<br />

416<br />

418<br />

420<br />

422<br />

424<br />

426<br />

429<br />

430<br />

432<br />

434<br />

436<br />

438<br />

440<br />

442<br />

444<br />

446<br />

Table of Relationship Factors<br />

Houses in Thailand : 1946 – 2016 A.D.<br />

Thavil Head of villager’s house<br />

Sookjaras House<br />

Tongthai Pawnshop<br />

Hern Tai Lue Mae Sang Da<br />

Intha Panich Building<br />

House 12 (M.C. Prasomsvasti Sukhsvasti)<br />

Baan Haeng Cheewit (House of life)<br />

Residence Class 3 Type Bo 9 : Single house<br />

3rd rank Residence : Row house<br />

Local Lanna style house<br />

Sai Ying House<br />

Kham Pech’s House<br />

Pibulwatthana House<br />

Mrs. Buasorn Chaivongsa’s House<br />

Phromkong’s House<br />

Sasanasit’s House<br />

Mr.Kha Khudpudcharoen’s House<br />

Railway Residence for Head of Division Official<br />

Rian Thong House<br />

The Researcher Residence, Klongwan Fishery Research Station, Kasetsart University<br />

Thai Yeun Yong House<br />

House No.5 (The residence of Assoc.Prof. Lert Urasyanandana and Assoc.Prof.Somthavil Urasyanandana)<br />

Klong Jun Housing<br />

Chiang Mai Tarapan Co., Ltd. (Tarapan shop, Wat Ket)<br />

Tham Miang House<br />

Chatraporn Shop Commercial Building<br />

Shophouse on the corner of Chiang Mai Gate Market<br />

Suan Song Saen Rest House, first building in the Royal Project<br />

Suan Supasee House<br />

Professor Emeritus Onsiri Panin’s House<br />

Chompoonuch Building<br />

Phayao Lake Palace<br />

Pikul’s House<br />

Sutharera’s House<br />

Staff house, Provincial Electricity Authority (PEA)<br />

Dr.Wadanyu Na Thalang’s House<br />

Student Training house of Food and Nutrition Department<br />

Prachaniwes 3 Public Housing<br />

Liewviriya Building<br />

Kru Somchai’s House<br />

Punarais’s House<br />

Sueb Nakhasthien House<br />

Montien Studio<br />

Villa Prathom, Phetchaboon Palace<br />

Merchant house “Sa-nguan Pho Phra”<br />

“Po Kin-Po Yuu Yakin-Pan-Khai HubHuu-Jai Han” House<br />

Pramepri House<br />

Uncle Boontham’s House<br />

Mae Ping Post office residence<br />

Uncle Ta House<br />

Prachaniwes 4 Public Housing<br />

Dolls House<br />

Government officer house by the Department of Public Works and Town & Country Planning<br />

Ton Kaew House, Rattanapruek House<br />

Ban (Nok) Khao Krung<br />

5


448<br />

450<br />

452<br />

454<br />

456<br />

458<br />

460<br />

464<br />

466<br />

468<br />

470<br />

472<br />

474<br />

478<br />

480<br />

482<br />

484<br />

486<br />

488<br />

490<br />

492<br />

494<br />

496<br />

500<br />

501<br />

บ้านศรีวงพงษ์ไพร<br />

บ้านครอบครัวกงสี<br />

บ้านเอื้ออาทร<br />

บ้านพักพนักงาน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค<br />

บ้านคุณชม<br />

บ้านวสุพันธุ์<br />

เรือนชาวมอแกน หมู่เกาะสุรินทร์<br />

สตูดิโอศรีราชา ดร.สุเมธ<br />

บ้านสี่คอร์ท<br />

บ้านเขาใหญ่<br />

บ้านบางกระเจ้า<br />

บ้านแพ<br />

บ้านจิตสมาน<br />

บ้านคุณทัศนีย์ แก้วแจ่ม<br />

หัวหินฮัท<br />

HAVE A HUG<br />

บ้านท่าต้นกวาว<br />

บ้านสะเทินน้ำสะเทินบก<br />

หัวหินเฮ้าส์<br />

ONCE UPON A TIME IN UDONTHANI<br />

บ้านอาจารย์ขวัญสรวง<br />

บ้านกันตะบุตร<br />

บ้านรองศาสตราจารย์แสงอรุณ<br />

บรรณานุกรม<br />

ขอขอบคุณ<br />

6


448<br />

450<br />

452<br />

454<br />

456<br />

458<br />

460<br />

464<br />

466<br />

468<br />

470<br />

472<br />

474<br />

478<br />

480<br />

482<br />

484<br />

486<br />

488<br />

490<br />

492<br />

494<br />

496<br />

500<br />

501<br />

Sriwongpongprai House<br />

Gong Si’s Family House<br />

Baan Uararthorn (Government Housing Project)<br />

Staff house, Provincial Electricity Authority<br />

Khun Chom House<br />

Wasupan House<br />

Morgan House, Surin Islands<br />

Dr. Sumet’s Sri Raja Studio<br />

4C House<br />

Khao Yai House<br />

Bang Krachao House<br />

Pae House, Kanchanaburi Province<br />

Jitsaman House<br />

Thatsanee Kaewcham’s House<br />

Hua Hin Hut<br />

Have A Hug<br />

Ta Ton Kwao House<br />

Saternnam-Saternbok House (Resilient house)<br />

Hau Hin House<br />

Once upon a time in Udonthani<br />

Arjarn Khwansuang’s House<br />

Kantabutr’s House<br />

Associate Professor Saengarun’s House<br />

Bibliography<br />

Acknowledgement<br />

7


ด ร.สุ เ ม ธ ชุ ม ส า ย ณ อ ยุ ธ ย า<br />

— สถาปนิก<br />

ผมได้รับโอกาสให้เข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชหลายครั้ง ทำให้รู้สึกปิติใน<br />

พระอัจฉริยภาพเกี่ยวกับพระราชวินิจฉัยในหลายๆ เรื่อง ซึ่งผมได้นำมาเป็นข้อคิดในการออกแบบงานสถาปัตยกรรม<br />

ต่างๆ ทั้งในรูปแบบอาคาร การวางผังบริเวณ และการสร้างเมืองบริวาร (นวนคร) ตลอดจนการศึกษาค้นคว้าวิจัยทาง<br />

วิชาการ เนื้อหาหลักที่ผมได้รับจากการที่พระองค์ทรงมีพระราชปฏิสันถารเป็นเนื้อหาเกี่ยวกับความคิดที่รอบคอบ<br />

และการเอาใจใส่ในผลกระทบที่เกิดจากโครงการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการคำนึงถึงกระบวนการในการดำเนินการให้<br />

โครงการบรรลุผลโดยไม่ให้มีผลกระทบในด้านลบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม<br />

เมื่อครั้งเสด็จพระราชดำเนินไปเปิดอาคาร จีโอเดสิกโดม ณ สวนหลวง ร.9 พระเจ้าอยู่หัวได้ทอดพระเนตร<br />

เห็นนิทรรศการเรื่องพลังงานการผลิตไฟฟ้าจากพลังน้ำ จึงมีพระราชปรารภเกี่ยวกับหุ่นจำลองที่แสดงพลังซึ่งได้มา<br />

จากน้ำตกมาผลิตเป็นไฟฟ้าว่า ในกรณีนี้กลับกันเพราะเป็นการนำพลังไฟฟ้ามาทำเป็นน้ำตก เป็นพระราชปรารภ<br />

ด้วยพระอารมณ์ขันและย้ำเตือนให้เห็นถึงพลังที่ไม่ควรฝืนธรรมชาติ<br />

อีกครั้งหนึ่งที่ผมได้มีโอกาสเข้าเฝ้าถวายรายงานในฐานะเป็นผู้ออกแบบกลุ่มอาคารและผังบริเวณของ<br />

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ผมได้กราบบังคมทูลแนวความคิดด้านระบบชลประทานของมหาวิทยาลัย<br />

ซึ่งสอดคล้องกับที่นาและสภาพของน้ำท่วมในฤดูน้ำหลาก ทั้งนี้โดยได้ออกแบบให้โครงการนี้เป็นโพลเดอร์<br />

มีคลองต่างๆ สอดประสานเข้าไปถึงในทุกๆ พื้นที่เพื่อระบายและสูบน้ำออกไปได้จากจุดต่างๆ พระเจ้าอยู่หัว<br />

ทรงมีพระราชปรารภเกี่ยวกับความต่างระหว่างปริมาณของน้ำที่จะเกิดขึ้นจากภายในบริเวณโครงการกับปริมาณ<br />

น้ำในทุ่งนาหรือระบบสาธารณะที่จะรองรับน้ำได้ นอกจากนั้นยังให้คำนึงถึงการสร้างปัญหาและการผลักภาระให้<br />

กับชุมชนที่อยู่โดยรอบ<br />

หนังสือบ้านเรือนถิ่นไทยในรอบเจ็ดทศวรรษซึ่งมีวัตถุประสงค์ที่จะแสดงให้เห็นถึงความเป็นอยู่ของผู้คน<br />

ในเชิงสังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม โดยมีสถาปัตยกรรมที่พักอาศัยเป็นสื่อสัมพันธ์ตลอด<br />

ระยะเวลา 70 ปีแห่งการครองราชย์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อันที่จริงศาสตร์ทั้งสี่ดังกล่าวไม่สามารถแยก<br />

ออกจากกันได้เพราะต่างก็เชื่อมโยงกันจนเป็นเนื้อเดียวกัน มีสถาปัตยกรรมเท่านั้นที่อาจกล่าวได้ว่าเป็นตัวแสดง<br />

ชัดเจนเป็นรูปธรรม การรวบรวมรูปแบบสถาปัตยกรรมประเภทที่พักอาศัยในรอบเจ็ดสิบปีจึงนับได้ว่าเป็นการ<br />

สืบค้นประวัติศาสตร์ของที ่พักอาศัยอย่างชัดเจน เป็นการทบทวนความเข้าใจเกี่ยวกับถิ่นฐานของมนุษย์และการ<br />

เปลี่ยนแปลง ผลที่คาดว่าจะได้รับจากงานครั้งนี้น่าจะเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญสำหรับการศึกษาค้นคว้าเรื่องเมือง<br />

เรื่องเรือนไทยซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมสะเทินน้ำสะเทินบก และจิตใต้สำนึกของชาวไทย<br />

8


DR. SUMET JUMSAI NA AYUDHAYA<br />

— Architect<br />

Many a time, when I was granted permission to be in the presence of His Majesty the<br />

late King Bhumibol Adulyadej, I was impressed by His Majesty’s ingenuity in several matters.<br />

I have later put them to good use in my architecture and physical planning. What I learnt from<br />

His Majesty are the thoughtfulness based on his own experience. He gave special attention to<br />

the communities and the environment which had to be left unaffected around the project.<br />

When the King came to the opening ceremony of the Geodesic Dome at the Rama IX<br />

Park which I helped to design, he saw a small scale replica of a hydro-electrical model with a<br />

waterfall. His comment, full of irony, was that it was interesting to see how electricity was used<br />

to produce a waterfall instead of a water fall generating electricity. It was a comment to remind<br />

people that nature should be respected but harnessed.<br />

On another occasion, I was asked to brief His Majesty when he came to visit the<br />

construction at Thammasat University, Rangsit Campus, which I planned and designed. In this<br />

respect, I described the planning, how it was based on the Dutch polder complete with a canal<br />

network. (I was thinking rather of punting in Cambridge in the halcyon days!) From a network<br />

of canals water was pumped out into the surrounding area and eventually out into the sea.<br />

Thai houses in the past seven decades have gone through a revolution as a response<br />

to new building technologies and political and economic pressure. But the indigenous habitat<br />

remains the hallmark of the late His Majesty. It was part and parcel of the architectural and<br />

cultural denominator.<br />

9


อ า จ า ร ย์<br />

ย อ ด เ ยี่ ย ม เ ท พ ธ ร า น น ท์<br />

— สถาปนิก<br />

เพราะบ้านไม่ใช่กล่องใส่แคตตาล็อค แต่บ้านคือกล่องใส่ชีวิต และชีวิตมีความหลากหลาย โดยเฉพาะอย่าง<br />

ยิ่งชีวิตในประเทศไทยที่มีพื้นที่กว้างขวาง มีภูมิประเทศที่แตกต่างทั้งภูเขา-ท้องน้ำ-ที่ราบ-น้ำท่วม-น้ำแล้ง ฯลฯ<br />

อีกทั้งประเทศไทยมีชนชาติหลายเชื้อพันธุ์อยู่ร่วมกันได้จนทุกคนบอกว่าตนคือคนไทยไม่แยกเชื้อพันธุ์<br />

อีกทั้งเมืองไทยนั้นมีศาสนาที่แตกต่างหลายความเชื่อ แต่อยู่ร่วมกันได้อย่างสงบและมีรอยยิ้ม ไม่เข่นฆ่ากันเพียง<br />

แห่งเดียวในโลก<br />

“บ้าน” ของเมืองไทยจึงมีความหลากหลายน่าสนใจ ยากที่จะเอามาตรฐานใดมาตรฐานหนึ่งมาตัดสินว่า<br />

บ้านหลังใดที่ดีที่สุดสำหรับประเทศไทย เพราะความดีที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ (ซึ่งมีชนชาติ ความเชื่อ สิ่งแวดล้อม<br />

และภูมิปัญญาที่แตกต่าง)<br />

ความน่าชื่นชมและคุณค่าของเอกสารนี้คือ การพยายามรวบรวม “ข้อมูล” ทั้งหลายของบ้านไทยใน<br />

รอบ 70 ปีที่ผ่านมาให้อยู่ร่วมกัน เป็นจุดเริ่มต้นเพื่อบันเทิงปัญญาและสานต่อภูมิปัญญา ถือเป็นเอกสารที่มีความ<br />

หลากหลายของความรู้ ไม่เน้นว่าจะต้องเป็นอาคารที่ได้รางวัลใดหรือเป็นผลงานของนักออกแบบที่มีชื่อเสียง<br />

ทางสังคมใดๆ เพราะบางคุณค่านั้นแฝงอยู่ในบ้านหลังต่างๆ ในเอกสารนี้ และให้โอกาสผู้อ่านเป็นผู้พิจารณาและ<br />

ตัดสินคุณค่านั้น<br />

ขอขอบคุณทีมงานผู้จัดทำหนังสือเล่มนี้ (ทั้งที่อยู่เบื้องหน้าและเบื้องหลัง) และขอเป็นกำลังใจให้ก้าว<br />

เดินต่อไป เพื่อสะสมข้อมูลให้มากขึ้น และวันหนึ่งสังคมจะมีบทสรุปที่มีคุณค่าทางปัญญา<br />

10


YODYIEM THEPTHARANONT<br />

— Architect<br />

Houses are not just a box for catalogues, but a box for life. Lives of people have a lot of diversity<br />

within it, specially, lives of the people living in Thailand. Thailand is wide and consists of geographic<br />

variety: mountains-water areas-flatlands-floods-droughts. There is a mixture of ethnicities that reflects the<br />

naturalization through generations. Many of them became Thai citizen without discrimination. Moreover,<br />

Thailand is the only country in the world where people of many religions and beliefs can live together in<br />

harmony and with smiles on their faces.<br />

Thus, “houses” in Thailand have many interesting different styles. It is difficult to use anything as<br />

a standard to judge which kind of house in Thailand is the best because they all have their own uniquenes<br />

that fit the local area they situated. (This includes factors such as: differences in belief, environment, and<br />

folk wisdom.)<br />

The reason why this document is valuable and admirable is because of its attempt to gather<br />

“information” about Thai houses in the past 70 years together. It is a kick-start for the gathering of folk<br />

wisdom and reflects the evolution of Thai houses. It is a document that gathers variety of knowledge and<br />

recognizes the unsung architectures. The architectures in this document are not specifically have to be<br />

an award winner or be designed by a well-recognized architect because it believes that there are values<br />

within every houses. This enables the readers to consider the value of the architecture on their own.<br />

I would like to thank the crew and the team (whoever contributed heavily to this document) and<br />

encourage them to continue on their research for more information in the future and I hope that, one<br />

day, our society will have the privilege to receive the valuable heritage of wisdom.<br />

11


ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ด ร.วี ร ะ อิ น พั น ทั ง<br />

— คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

ตลอด 7 ทศวรรษแห่งรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร<br />

รัชกาลที่ 9 ประเทศผ่านเหตุการณ์ต่างๆ นานัปการ ทั้งถิ่นฐานบ้านเมืองและชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนมีการ<br />

เปลี่ยนแปลงก้าวไปโดยลำดับ นับเป็นประวัติศาสตร์สำคัญหน้าหนึ่งของพัฒนาการชาติไทยที่น่าบันทึกไว้เป็น<br />

หลักฐานอันควรแก่การจดจำ รำลึก และเรียนรู้<br />

งานสถาปัตยกรรมได้รับการออกแบบอย่างตอบรับกับบริบท เรื่องราวของถิ่นฐานที่แตกต่าง สังคมที่<br />

หลากหลาย บ้านเมืองที่เปลี่ยนไป จักได้รับการผสานผนึกไว้ในงานสถาปัตยกรรมที่สร้างขึ้นในแต่ละกาละแต่ละ<br />

เทศะโดยปริยาย งานสถาปัตยกรรมอาจเปรียบได้กับหนังสือเล่มใหญ่ที่บรรจุสาระต่างๆ ไว้ภายใน รอให้ผู้ใฝ่ใจ<br />

ใคร่รู้มาเปิดอ่านแสวงหาความจริง<br />

แตกต่างจากอาคารหลายประเภทที่เฟื่องฟู เสื่อมถอย ไปตามระลอกกระแสเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง<br />

บ้านเป็นอาคารที่ผุดเกิดคู่ผู้คนในทุกกาละและทุกเทศะ ทั้งยังมีลักษณะที่เป็นพลวัต คือเปลี่ยนแปลงตามเงื่อนไข<br />

ปัจจัยแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ไม่หยุดนิ่ง สถาปัตยกรรมบ้านจึงเป็นภาพสะท้อนความเป็นไปของเหตุการณ์บ้านเมือง<br />

ได้ดีที่สุด<br />

“<strong>บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ</strong> : พ.ศ. <strong>2489</strong> - <strong>2559</strong>” เป็นหนังสือที่มุ่งวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวม<br />

งานสถาปัตยกรรมบ้านที่สร้างขึ้นในช่วง 70 ปี นับแต่ พ.ศ. <strong>2489</strong> ถึง พ.ศ. <strong>2559</strong> จากถิ่นฐานทั่วประเทศ<br />

ทั้งภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคอีสาน และภาคใต้ หมายให้เป็นการบันทึกประวัติศาสตร์ชาติไทยตลอดช่วงเวลา<br />

อันน่าจดจำ โดยอาศัยสถาปัตยกรรมเป็นสื่อเล่าเรื่อง<br />

นอกเหนือจากสาระเชิงสถาปัตยกรรมแล้ว หนังสือเล่มนี้ยังได้ประมวลสาระเชิงวิชาการทั้งด้านสังคม<br />

เศรษฐกิจ การเมือง และการปกครอง จากผู้ทรงคุณวุฒิแต่ละสาขาผนวกรวมเข้าไว้ในรูปของบทความอีกด้วย<br />

บนความคาดหวังว่า ภาพปะติดปะต่อที่เชื่อมโยงสาระเชิงวิชาการเข้ากับสาระเชิงสถาปัตยกรรมจะน้าวนำไปสู่<br />

ความตระหนักรู้และเข้าใจในแก่นสารของงานสถาปัตยกรรมที่สัมพันธ์กับความเป็นไปของบ้านเมืองอย่างแยกกัน<br />

ไม่ออก<br />

นี่คือหนังสือเล่มแรกที่บอกเล่าเรื่องราวของชาติในช่วง 70 ปีที่ผ่านมา ผ่านงานสถาปัตยกรรมบ้านของ<br />

ทวยราษฎร์ทั่วถิ่นแผ่นดินไทย<br />

ตุลาคม 2560<br />

12


PROFESSOR DR. VIRA INPUNTUNG<br />

— Faculty of Architecture, Silpakorn University<br />

Throughout 7 decades reign of King Rama IX, His Majesty King Bhumibol Adulyadej, Thailand<br />

has underwent numerous events. City settlement together with ways of life have evolved and changed<br />

consequently. Considered an important history of Thailand’s development, it is due to be recorded<br />

and passed on as memoir and knowledgeable lesson.<br />

Architecture has been coordinating-designed with its context. The differences of settlement,<br />

diversity of sociology, and transformation of nation, has encrypted within each time and place.<br />

Therefore, architecture acts as a big book full of truth and information, waiting to be read and decoded.<br />

Diverging from other categories of Architecture, that thrive on or recess along with the<br />

economic, social and political changes, houses have remained intact within every time and place,<br />

furthermore, its dynamic characteristic, or the continuously changes according to its condition and<br />

environment. Consequently, houses are the best reflection of nation’s socio and event change.<br />

The book of “Seven Decades of Houses in Thailand : 1946 – 2016 A.D.” has an objective to<br />

consolidate information throughout Thailand, from its central, northern, north-eastern and southern,<br />

about Residential Architecture of the past 7 decades, from 1946 to 2016 A.D. We aim to record<br />

Thailand’s flourishing history through architectural story.<br />

Apart from Architectural knowledge, this book has also incorporated academic information from<br />

professionals in terms of sociology, economically, politically and governmental. Upon our expectancy<br />

to give inwardness of the inseparable Architecture and nation movement, we have created a collage<br />

of academic information and Architectural knowledge to engage understanding and awareness to its<br />

design core.<br />

This book will be the first to ever told the history of Thailand’s via Residential Architectures<br />

throughout the country from the last seven decades.<br />

October 2017<br />

13


ผู้ ช่ ว ย ศ า ส ต ร า จ า ร ย์<br />

กิ จ โ ช ติ นั น ท น สิ ริ วิ ก ร ม<br />

— อุปนายก ปี <strong>2559</strong>-2561 หัวหน้าโครงการวิจัย และบรรณาธิการ<br />

สถาปนิก ทำงานกับสถาปัตยกรรม คิดอย่างสถาปัตยกรรม เห็น มอง และเข้าใจสภาพแวดล้อม<br />

อย่างมีความเป็นสถาปัตยกรรม แต่ในบางโอกาสและภายใต้ข้อจำกัดในบางประการทำให้สถาปนิกละความเป็น<br />

สถาปัตยกรรมไว้ในฐานที่เข้าใจ ในหลายวาระที่สถาปนิกอ้างอิงถึงความเป็นสถาปัตยกรรมผ่านคำสำคัญ ‘ที่ว่างทาง<br />

สถาปัตยกรรม (space)’ แต่ก็ตามมาด้วยคำถามต่างๆ มากมาย แต่มักวนเวียนอยู่กับเนื้อหาที่อยู่กับรูปแบบและ<br />

วิธีการของการออกแบบ ในทางกลับกันยังคงมีผู้คนที่ให้ความสำคัญกับที่ว่างทางสถาปัตยกรรมที่ไม่แตกต่างจาก<br />

สถาปนิก เห็น มอง และเข้าใจสภาพแวดล้อมอย่างมีความเป็นสถาปัตยกรรมไม่ต่างไปจากสถาปนิก มิหนำซ้ำสิ่งที่<br />

ผู้คนดังกล่าวให้ความสำคัญเฉกเช่นสถาปนิกกลับถูกละไว้ว่าเป็นเรื่องที่ยากต่อการทำความเข้าใจและอยู่เกินเลยไป<br />

จากความจำเป็นที่มีต่อการออกแบบสถาปัตยกรรมสำหรับสถาปนิก<br />

โครงการวิจัยและจัดทำหนังสือ<strong>บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ</strong> พ.ศ. <strong>2489</strong>-<strong>2559</strong> มีวัตถุประสงค์<br />

ในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับนัยยะของความเป็นบ้าน ผ่านความเชื่อมโยงกับความเป็นที่ว่างทางสถาปัตยกรรมที่<br />

ถูกขยายฐานออกสู่ศาสตร์ที่ได้รับการยืนยันหนักแน่นว่าอยู่บนฐานเดียวกัน ด้วยเนื้อหาในเชิงสังคมศาสตร์ (socio)<br />

ในเชิงรัฐศาสตร์และปกครอง (politico) ตลอดจนในเชิงเศรษฐศาสตร์ (economics) ที่ล้วนแล้วแต่สัมพันธ์กันอย่าง<br />

เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันบนฐานแห่งการมีนัยยะร่วม ในเชิงที่ว่างทางสถาปัตยกรรมจึงถูกหยิบยกขึ้นมาเป็นเนื้อหา<br />

สำคัญต่อกระบวนการทำการศึกษาเนื้อหาของความเป็นบ้านในช่วงเจ็ดทศวรรษ พ.ศ. <strong>2489</strong>-<strong>2559</strong> ช่วงเจ็ดทศวรรษ<br />

แห่งการครองราชย์ของในหลวงรัชกาลที่เก้าที่พสกนิกรเกือบทั้งหมดล้วนดำรงชีวิตอยู่กับความเป็นบ้านในรัชสมัย<br />

ของพระองค์<br />

จากวัตถุประสงค์ดังกล่าวการรวบรวมฐานข้อมูลเกี่ยวกับบ้านจึงมีขอบเขตที่ครอบคลุมทั้งในแง่ของ<br />

เนื้อหาที่เกี่ยวพันอยู่กับการอยู่อาศัยบนพื้นที่ทำงานที่แตกต่างหลากหลาย ทั้งในแง่มุมของภูมิศาสตร์ครอบคลุม<br />

ในทุกภูมิภาค ทั้งในแง่มุมของรูปแบบการอยู่อาศัยตั้งแต่เพื่อการพำนักตลอดจนการพำนักที่ควบคู่ไปกับการดำรง<br />

ชีวิตในรูปแบบต่างๆ ทั้งพาณิชยกรรม อุตสาหกรรม เกษตรกรรม ทั้งในแง่มุมของผู้ที่ออกแบบตั้งแต่ออกแบบโดย<br />

สถาปนิก ออกแบบโดยช่างฝีมือที่มีความเชี่ยวชาญในการก่อสร้าง ตลอดจนออกแบบและปลูกสร้างขึ้นเองโดยผู้ที่<br />

พำนักในบ้านหลังนั้นๆ เพื่อครอบคลุมความเป็นบ้านให้สามารถถ่ายทอดเนื้อหาของความเป็นบ้านออกมาได้อย่าง<br />

ชัดเจนต่อเนื้อหาในเชิง ‘ที่ว่างทางสถาปัตยกรรม’ ที่มีอยู่ใน<strong>บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ</strong>ที่ผ่านมา<br />

14


ASSISTANT PROFESSOR<br />

QUIJXOTE NUNTANASIRIVIKROM<br />

— Vice President (2016 – 2018) Head of the Research Project and Executive Editor<br />

Architect works on architectural design, processing architecture architecturally, seeing and<br />

experiencing environment architecturally. In some extent and under constraint, the architect leaves<br />

architecture with questioning on critical notion of architecture. Architect declares his/her experiencing<br />

architecture through a jargon which is ‘space’. By a definition of space defined by the architect, in<br />

this matter, there are questions of space that ‘space’ under architect’s common sense could not<br />

cover. In contrast, still, there are other professions who pay a lot of their attentions on space so as<br />

to the architect does. This regards to both the seeing and the experiencing environment that they<br />

are practicing on. Back to architect, this shared issue between architect and the architect’s allies is<br />

assigned by architect to be a burdensome resource and beyond.<br />

The design research project on ‘Seven Decades of Houses in Thailand (1946-2016 A.D.)’ has<br />

an attempt to revisit the houses and to discuss with them on a notion that houses would elaborately<br />

perform. The discussion is done by embedding the notion of space shared by the socio-politico<br />

economics practice into the notion of space practiced by architect for architecture. Once they are on<br />

the same solid platform the critical geography of houses and their spaces are portrayed, providing<br />

the research with a practical research methodology. Therefore, the seven decades of 1946-2016<br />

where most of the citizen who lives in also lives in their houses could be learnt. The houses of which<br />

the houseness of each could also be demonstrated.<br />

With the above objective, the collective data of project has covered the differentiation which are:<br />

1. the geographical conditions, especially on local and regional concern<br />

2. the formation and typology of dwellings from inhabiting to further living conditions<br />

that a house has to live with, commercially, industrially, agriculturally<br />

3. the notions of both architecture with architect and architecture without architect<br />

These are the project’s endeavour. It is to cover notion of house as intelligible as the project<br />

could do so. It is to demonstrate ‘house’ in term of ‘space’ within the seven decades of houses in<br />

Thailand.<br />

15


กิ ต ติ ก ร ร ม ป ร ะ ก าศ<br />

แด่แม่ผู้เป็นบรมครู<br />

ภายใต้การค้นคว้าทดลองวิเคราะห์และสังเคราะห์ ภายใต้โครงสร้างการทำงานและแบบแผนของการ<br />

ทำวิจัยที่ให้ความสำคัญกับเนื้อหาของความเป็นสหวิทยาการ ส่งผลให้โครงการต้องทำงานกับพลวัตที่อยู่บน<br />

ความหลากหลาย ความซับซ้อน ความไม่แน่นอน ความไม่ชัดเจน ตลอดจนทิศทางที่มีอยู่ก็ไม่ใช่บทสรุปรวบยอด<br />

ที่ใช่เสียทั้งหมดตลอดระยะเวลาของการทำงานด้วยความร่วมมือและการร่วมกันทำความเข้าใจไปพร้อมๆ กันของ<br />

คณะทำงานที่ทำหน้าที่เป็นทั้งผู้ช่วยวิจัยและดำเนินการค้นคว้าทดลองรวบรวมข้อมูลวิเคราะห์สังเคราะห์ประมวล<br />

ผลตลอดจนออกแบบรูปแบบในการสื่อสารสำหรับนำเสนอผลที่ได้รับจากการวิจัย โดยที่การออกแบบสำหรับงาน<br />

ทั้งหมดนั้นล้วนมีโครงสร้างการทำงานที่สอดคล้องและตอบรับกันในภาพรวมและในทุกๆ ส่วนมาโดยตลอด<br />

ด้วยตัวเนื้อหาหลักที่เป็นการเพิ่มเติมต่อขยายและการทำความเข้าใจใน ‘ที่ว่างทางสถาปัตยกรรม’ โดย<br />

เฉพาะอย่างยิ่งกับ ‘บ้าน’ ที่เป็นสถาปัตยกรรมที่ใกล้ชิดกับผู้ใช้สอยที่สุด อีกทั้งยังเป็นสถาปัตยกรรมที่สะท้อนตัวตน<br />

ตลอดจนวิถีชีวิตของผู้ที่ได้อยู่ได้อาศัยในสถาปัตยกรรมนั้นๆ ได้อย่างชัดเจนที่สุด การเรียนรู้จากครูความเห็นที่ได้<br />

รับจากครูเป็นหลักคิดเป็นแนวทางที่สำคัญ เป็นการสนับสนุนให้เกิดการขับเคลื่อนตลอดระยะเวลาของการทำงาน<br />

ตั้งแต่จุดเริ่มต้นจนกระทั่งถึงจุดที่โครงการมีความชัดเจนขึ้นตามลำดับ คณะทำงานขอกราบขอบพระคุณ<br />

ศาสตราจารย์เกียรติคุณอรศิริ ปาณินท์<br />

ศาสตราจารย์กิตติคุณผุสดี ทิพทัส<br />

ศาสตราจารย์เลอสม สถาปิตานนท์<br />

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.อานันท์ กาญจนพันธุ์<br />

ศาสตราจารย์ ดร.ชัยวัฒน์ สถาอานันท์<br />

ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อัมมาร สยามวาลา<br />

ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ฉัตรทิพย์ นาถสุภา<br />

ดร.สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา<br />

อาจารย์วนิดา พึ่งสุนทร<br />

รองศาสตราจารย์ยุพยง เหมะศิลปิน<br />

อาจารย์ยอดเยี่ยม เทพธรานนท์<br />

ศาสตราจารย์ ดร.วีระ อินพันทัง<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุนนท์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา<br />

รองศาสตราจารย์สมคิด จิระทัศนกุล<br />

อาจารย์ ดร.สัณฐิตา กาญจนพันธุ์<br />

16


อาจารย์ชัยบูรณ์ ศิริธนะวัฒน์<br />

คุณจิรากร ประสงค์กิจ<br />

คุณสุพินท์ เรียนศรีวิไล<br />

ด้วยเนื้อหาของการทดลองนานัปการที่มีอยู่ในงาน การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเป็นสิ่งสำคัญและนำมา<br />

ซึ่งทางเลือกที่แตกต่างหลากหลาย ช่องทางต่างๆ ในการเข้าถึงแหล่งข้อมูลรวมถึงการสร้างแรงผลักดันต่อการ<br />

ทำงานให้สามารถเคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้เป็นระยะๆ ตามลำดับสร้างทางออกและคำตอบให้กับข้อแม้จนสามารถ<br />

ก้าวข้ามขีดจำกัดต่างๆ ที่เกิดขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง คณะทำงานขอขอบคุณ<br />

ดร.อัชชพล ดุสิตนานนท์<br />

คุณฤกษ์ดี โพธินาวากุล<br />

คุณประพันธ์ ประภาสะวัต<br />

รองศาสตราจารย์ ดร.ต้นข้าว ปาณินท์<br />

รองศาสตราจารย์ ดร. ม.ล.ปิยลดา ทวีปรังษีพร<br />

คุณชาติเฉลิม เกลียวปฏินนท์<br />

คุณรัตน์วนิช เทพา<br />

คุณจักรรินทร์ โกวิทานุพงศ์<br />

คุณจิราภรณ์ อาชวาคม<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สันต์ สุวัจฉราภินันท์<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฏฐินี กาญจนาภรณ์<br />

คุณขวัญชัย สุธรรมซาว<br />

อาจารย์ ดร.ทัชชญา สังขะกูล<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมล จิราพงษ์<br />

อาจารย์นันทพล จั่นเงิน<br />

คุณวิธินันท์ วัฒนศัพท์<br />

ด้วยการสนับสนุนจากองค์กรในด้านทรัพยากรและปัจจัยสนับสนุนต่างๆ ที่เอื้อต่อการทำงาน<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

การเคหะแห่งชาติ<br />

กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย<br />

มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)<br />

ด้วยเนื้อหาของความเป็นบ้านที่มีอยู่ในบ้าน จากท่านเจ้าของบ้านและผู้นำสารทุกท่าน<br />

17


โครงการวิจัยและจัดทำต้นฉบับหนังสือ<br />

<strong>บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ</strong> : พ.ศ. <strong>2489</strong>-<strong>2559</strong><br />

1. หน่วยงานรับผิดชอบ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

2. ที่มาของโครงการ<br />

รัชสมัยแห่งการครองราชย์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร<br />

เป็นรัชสมัยที่มีความสำคัญในด้านของการพัฒนาของประเทศไทย สร้างความเปลี่ยนแปลงเชิงสังคม เศรษฐกิจ และ<br />

วัฒนธรรมที่ส่งผลโดยตรงต่อชีวิตและความเป็นอยู่ของพสกนิกร พระราโชบาย ตลอดจนแนวทางการพัฒนาที่ได้<br />

รับการพระราชทานในวาระต่างๆ บ่งบอกถึงพระวิสัยทัศน์ในการตอบรับกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระดับสากล<br />

สถาปัตยกรรมประเภทอาคารพักอาศัยเป็นดัชนีชี้วัดหนึ่งบนความเปลี่ยนแปลงตลอด 70 ปีแห่งรัชสมัย<br />

วิวัฒนาการและแนวทางการออกแบบสถาปัตยกรรมโดยผู้ออกแบบภายใต้การตอบสนองต่อบริบทและความ<br />

เปลี่ยนแปลงทางสังคมการเมืองการบริหารประเทศและเศรษฐกิจ (socio-politico-economics) นั้น ส่งผลต่อวัฒนธรรม<br />

ของการอยู่อาศัยและการสร้างที่พักอาศัยอย่างมีนัยสำคัญ ผลงานที่เกิดขึ้นผ่านช่วงเวลาดังกล่าวในแต่ละภูมิภาค<br />

ของประเทศ ล้วนสร้างความน่าสนใจแตกต่างกันออกไปตามประเด็นที่เกิดขึ้นในภูมิภาคนั้นๆ โดยที่ผลงานจำนวน<br />

มากมีความละเอียดอ่อนในการตอบสนองต่อบริบทที่กล่าวถึง หากแต่ยังไม่เป็นที่รับรู้และยังไม่ได้รับการเผยแพร่<br />

การเก็บรวบรวมฐานข้อมูลที่ได้รับรวมถึงการแจกแจงผลงานต่างๆ ตามคุณสมบัติของผลงานจะเป็นการนำเสนอ<br />

ผลงานดังกล่าวในด้านคุณสมบัติประสิทธิภาพและวิธีการตอบสนองต่อข้อแม้ต่างๆ ที่ถูกออกแบบขึ้นโดยผู้ออกแบบ<br />

เพื่อการตอบสนองต่อสภาวะที่อยู่รายรอบสถาปัตยกรรมนั้นๆ<br />

3. คณะผู้วิจัย/คณะกรรมการ<br />

3.1 ผู้ทรงคุณวุฒิที่ปรึกษา<br />

3.1.1 ดร.สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา<br />

3.1.2 อาจารย์ยอดเยี่ยม เทพธรานนท์<br />

3.1.3 ศาสตราจารย์ ดร.วีระ อินพันทัง<br />

3.2 ผู้ทรงคุณวุฒิเขียนบทความ<br />

3.2.1 ผู้ทรงคุณวุฒิในด้านสังคมศาสตร์ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.อานันท์ กาญจนพันธุ์<br />

3.2.2 ผู้ทรงคุณวุฒิในด้านรัฐศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร. ชัยวัฒน์ สถาอานันท์<br />

3.2.3 ผู้ทรงคุณวุฒิในด้านเศรษฐศาสตร์การเมือง ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อัมมาร สยามวาลา<br />

3.2.4 ผู้ทรงคุณวุฒิในด้านสถาปัตยกรรมศาสตร์ ศาสตราจารย์เกียรติคุณอรศิริ ปาณินท์<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุนนท์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา<br />

อาจารย์ชัยบูรณ์ ศิริธนะวัฒน์<br />

18


Research Project and Making of Original Manuscript of:<br />

Seven Decades of Houses in Thailand : 1946 - 2016 A.D.<br />

1. Organization in Charge<br />

The Association of Siamese Architecture under Royal Patronage (ASA)<br />

2. Background of the Project<br />

Under the reign of His Majesty King Bhumibol Adulyadej, there have been many significant progress<br />

and development in Thailand. Gigantic leaps of social, economic, and cultural development that are crucial<br />

to the well-being of people in Thailand all happened during his reign, gratefully, because of his royal policy<br />

and development guidelines he always kindly gave to his people in many occasions through his works and his<br />

speeches. This reflects his vision towards Thailand’s adjustment to the challenges of the international community.<br />

The architecture of residential unit is one of the indexes that measures changes and developments<br />

during 70 years of his reign. Evolution of styles and designs of the designers under the context of social, political<br />

and economic changes in Thailand has a significant effect towards the living culture and the culture of residentia<br />

unit construction in the country. The architectural works in each region of the country during this period reflect<br />

different stories and different cultural contexts of each region. However, many of the aforementioned architectures<br />

are not very well acknowledged or recognized. Therefore, the collection of data and the categorization of each<br />

architectural work is crucial to present the works to the public and also helps present the idea behind the design<br />

which are constructed under different context in order to respond to the different environmental surroundings<br />

of the certain architecture.<br />

3. Researchers/ Committees<br />

3.1 Professional Advisors<br />

3.1.1 Dr. Sumet Jumsai Na Ayudhya<br />

3.1.2 Yodyiam Teptaranon<br />

3.1.3 Professor Dr. Vira Inpuntung<br />

3.2 Professional Specialists<br />

3.2.1 Sociology Specialist Professor Emeritus Dr. Anan Ganjanapan<br />

3.2.2 Political Science Specialist Professor Dr. Chaiwat Satha Anand<br />

3.2.3 Political Economy Specialist Professor Dr. Ammar Siamwalla<br />

3.2.4 Architectural Researcher Specialists Professor Emeritus Onsiri Panin<br />

Assistant Professor Sunon Palakavong Na Ayudhya<br />

Chaiboon Sirithanawat<br />

19


3.3 คณะกรรมการที่ปรึกษา<br />

3.3.1 นายกสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

3.3.2 เลขาธิการ<br />

3.3.3 อุปนายกฝ่ายวิชาชีพ<br />

3.3.4 อาจารย์ชัยบูรณ์ ศิริธนะวัฒน์<br />

3.3.5 รองศาสตราจารย์ ดร.ต้นข้าว ปาณินท์<br />

3.3.6 รองศาสตราจารย์ ดร. หม่อมหลวงปิยลดา ทวีปรังษีพร<br />

3.3.7 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฏฐิณี กาญจนาภรณ์<br />

3.3.8 ประธานกรรมาธิการ<br />

3.3.9 รองประธานกรรมาธิการวิชาการ<br />

3.3.10 รองประธานกรรมาธิการวิชาชีพ<br />

3.4 คณะทำงาน<br />

3.4.1 ผู้รับผิดชอบโครงการ/หัวหน้าโครงการ<br />

3.4.2 หัวหน้าคณะทำงาน<br />

3.4.3 นักวิชาการโครงการ<br />

3.4.4 ประสานงานโครงการ<br />

4. แผนการดำเนินงาน<br />

ระยะเวลาดำเนินการ 19 เดือน (พฤศจิกายน <strong>2559</strong> - พฤษภาคม 2561)<br />

4.1 กำหนดวิธีการในการแจกแจงช่วงเวลาของรัชสมัย พ.ศ. <strong>2559</strong>-<strong>2489</strong> ตามปัจจัยทางวัฒนธรรม<br />

ที่มีที่มาเกี่ยวเนื่องกับสังคม การเมืองและการบริหารประเทศ เศรษฐกิจ โดยผู้ทรงคุณวุฒิในด้านสังคมศาสตร์<br />

รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ รวมถึงขอความร่วมมือในการเขียนบทความอันเป็นข้อมูลเชิงวิชาการที่เกี่ยวข้อง<br />

กับการแจกแจงดังกล่าวเพื่อนำไปตีพิมพ์ในหนังสือ<br />

4.2 กำหนดรูปแบบของการเก็บรวบรวมข้อมูลเกณฑ์และวิธีการแจกแจงผลงาน<br />

4.3 ประชาสัมพันธ์เชิญชวนสมาชิกและผู้ที่สนใจร่วมส่งผลงาน<br />

4.4 คณะกรรมการพิจารณาผลงานดำเนินการพิจารณาความสอดคล้องตามเกณฑ์และการแจกแจง<br />

4.5 รวบรวมข้อมูลจากผู้ทรงคุณวุฒิเขียนบทความ<br />

4.6 รวบรวมข้อมูลจัดหมวดหมู่ตามเกณฑ์และการแจกแจง<br />

4.7 แจ้งผู้ที่ร่วมส่งผลงานทราบในข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะตลอดจนประสานติดตามขอข้อมูลเพิ่มเติม<br />

เพื่อปรับปรุงข้อมูลให้เหมาะสมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์<br />

4.8 ดำเนินการรวบรวมให้อยู่ในรูปแบบการเผยแพร่ประเภทต่างๆ<br />

4.9 ดำเนินการจัดทำ<br />

4.10 ดำเนินการเผยแพร่<br />

20


3.3 Advisory Committee<br />

3.3.1 The President of the Association of Siamese Architecture<br />

3.3.2 Secretary<br />

3.3.3 Vice President (Professional)<br />

3.3.4 Chaiboon Sirithanawat<br />

3.3.5 Associate Professor Dr. Tonkhao Panin<br />

3.3.6 Associate Professor Dr. M.L. Piyalada Thaweepransiphorn<br />

3.3.7 Assistant Professor Dr. Nuttinee Karnchanaporn<br />

3.3.8 President of the Committee<br />

3.3.9 Vice President of the Committee (Academic)<br />

3.3.10 Vice President of the Committee (Professional)<br />

3.4 Research Committee<br />

3.4.1 Project Team Leader/ Supervisor<br />

3.4.2 Research Team Leader<br />

3.4.3 Project Academics & Researchers<br />

3.4.4 Project Coordinator<br />

4. Working Plan<br />

Working period of 19 months (November 2016 - May 2018)<br />

4.1 The professional specialists decide on the method of categorization of periods under<br />

the reign of His Majesty King from 1946 - 2016 which are related to the social, politics and public<br />

administration, and economic backgrounds of the architectural works. This includes the process of the<br />

writings of academic journals by the specialists as a reference to be published in the original manuscript.<br />

4.2 The committee decides on the method of data collection and the categorization of the<br />

architectural works.<br />

4.3 Calls for submission to the members of the Association or to those who interested.<br />

4.4 The committee considers each work according to the criteria and the categorization.<br />

4.5 Journal submission from the professional specialists<br />

4.6 Data collection and categorization<br />

4.7 The committee notifies the submitters of comments and annotations and coordinates with<br />

the submitters upon additional data or the amendment of the journals (if necessary) in order to reach<br />

the objectives of the project.<br />

4.8 Transmission of data into the different publication platforms<br />

4.9 Publishing process<br />

4.10 Publication<br />

21


5. ระยะเวลาการดำเนินงาน<br />

พ.ย. 59 ร่างโครงการ<br />

ม.ค. 60 กำหนดวิธีการแบ่งช่วงเวลาเบื้องต้น<br />

เรียนเชิญผู้ทรงคุณวุฒิ<br />

เม.ย. 60 ประชาสัมพันธ์เชิญชวนสมาชิกและผู้ที่สนใจร่วมส่งผลงาน<br />

พ.ค. 60 รวบรวมบทความ และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง<br />

รวบรวมผลงาน แปล ถ่ายภาพเพิ่มเติม<br />

**รับผลงานภายใน วันที่ 12 สิงหาคม 2560<br />

มิ.ย. 60 แบ่งช่วงเวลา Timeline<br />

ก.ค. 60 รวบรวมข้อมูล จัดหมวดหมู่<br />

ม.ค. 61 คณะทำงานติดตามผลงาน<br />

แจ้งผู้ร่วมส่งผลงานทราบในข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติมตลอดจนประสานติดตาม<br />

ขอข้อมูลเพิ่มเติมรวบรวมให้อยู่ในรูปแบบของการเผยแพร่<br />

มี.ค. 61 จัดทำต้นฉบับ พิสูจน์อักษร<br />

เม.ย. 61 จัดพิมพ์<br />

พ.ค. 61 ดำเนินการเผยแพร่ 5 พฤษภาคม 2561<br />

6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ<br />

6.1 เพื่อสร้างฐานข้อมูลให้กับผลงานที่มีคุณภาพ สมควรได้รับการเผยแพร่ มีคุณสมบัติสอดคล้อง<br />

ตามเกณฑ์ แต่ยังยากต่อการเข้าถึงและการรับรู้<br />

6.2 เพื่อพัฒนาการเชื่อมโยงเครือข่ายและศักยภาพของสมาชิกที่ดำเนินกิจกรรมอยู่ในภูมิภาคต่างๆ<br />

ให้ได้มีโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากรที่มีอยู่ของสมาคมฯ ในแง่ของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งที่มี<br />

ต่อตนเองและต่อผู้อื่น<br />

6.3 เพื่อส่งเสริมให้เกิดความตระหนักในความสำคัญของการเอาใจใส่ต่อเนื้อหาที่พึงมีในการออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรม<br />

โครงการจัดทำต้นฉบับหนังสือ<strong>บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ</strong> : พ.ศ. <strong>2489</strong> - <strong>2559</strong><br />

ติดต่อ : house.in.ix@gmail.com<br />

22


5. Working period<br />

Nov 2016 Project planning<br />

Jan 2017 Tentative decision on the method of period categorization<br />

Invitation of the professional specialists<br />

Apr 2017 Calls for submission to the members of Association or to those who interested.<br />

May 2017 Collection of journals and additional data<br />

Collection of work, translation, additional photograph<br />

**Deadline for submission: 12 August 2017<br />

Jun 2017 Decision on timeline planning<br />

Jul 2017 Data collection and categorization<br />

Jan 2018 Working process follow-up<br />

Notification of comments and annotations to the submitters and coordination<br />

with the submitters upon additional data and information<br />

Mar 2018 Making of the manuscript and proofreading<br />

Apr 2018 Publishing<br />

May 2018 Publication (publication date: 5 May 2018)<br />

6. Expected Benefits and Purposes<br />

6.1 to build-up a database on the valuable architectural works that are well-qualified but<br />

remained unacknowledged and unnoticed because of difficulties in accessibility.<br />

6.2 to strengthen connection between the members and enhance capacity of the members<br />

residing in different regions of the country to provide them the access to the resources<br />

of the Association via the learning and the exchange of information.<br />

6.3 to raise the awareness upon the importance and delicacy of the content to be used<br />

in the architectural designing.<br />

The Making of Original Manuscript of: Seven decades of houses in Thailand : 1946 - 2016 A.D.<br />

Contact: house.in.ix@gmail.com<br />

23


ด้านสังคมศาสตร์ – SOCIO<br />

“ผมจะพูดในแง่ของสังคมดูการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ทั้งในแง่ภาพรวมกับชีวิตผู้คนความเป็นอยู่ มันมีการ<br />

เปลี่ยนแปลงตรงนี้”<br />

“เวลาผมนึก ผมก็ conceptualize ลักษณะเด่นๆ ด้านวัสดุ ชีวิตความเป็นอยู่ การเปลี่ยนแปลงชีวิต การเปลี่ยนแปลง<br />

เศรษฐกิจ เรื่องทั่วๆ ไปที่ผมเล่าผมจะโยงภาพใหญ่ลงมา และย่อลงมาจนถึงชีวิตคนในบ้านว่ามีความเชื่อมโยงกัน<br />

อย่างไร มองระดับโครงสร้างลงมาถึงระดับชีวิตความเป็นอยู่ของคนว่าเชื่อมโยงเกาะเกี่ยวกันอย่างไร”<br />

“อาคารที่มันเป็นบ้านและเป็นอาคารที่อาจจะมีการใช้สอยอื่นๆ ผนวกอยู่ด้วยกันมันคล้ายกับรูปแบบชีวิตของคนใน<br />

เมืองที่ไม่ใช่เฉพาะแต่ในกรุงเทพฯ นะ ในเมืองที่เป็นต่างจังหวัดที่เป็นตัวอำเภอหรือตัวจังหวัดมันจะเป็นแบบนี้ทั้ง<br />

นั้นไม่ใช่แค่ในกรุงเทพฯ เราไม่ได้รวมเฉพาะแค่ในกรุงเทพฯ แต่เราจะรวมส่วนที่เราเรียกว่าตัวอำเภอ ผมว่าตัว<br />

อำเภอนี้น่าสนใจนะ คือเมื่อก่อนมันก็มีอาคารแบบนี้ มันเป็นบ้านอีกชนิดหนึ่ง เพราะว่าเวลาผ่านอำเภอเราดูมัน<br />

เห็นชัดกว่าตัวตำบล ตัวจังหวัดยิ่งชัด มันจะมีอาคารอีกชนิดหนึ่งที่มันเกิดขึ้นมา พอเราไปถึงแล้วเราก็จะดูรู้เลย<br />

ว่าถึงแล้วอำเภอ อาคารแบบนี้ได้แค่ในอำเภอ ถ้าเป็นอีกแบบหนึ่งจะเป็นจังหวัด จังหวัดจะมีการผสมผสานหลาย<br />

รูปแบบแต่อำเภอมันจะเป็นอีกแบบขึ้นมาเลยพอให้เห็นภาพได้คร่าวๆ” 1<br />

“Let’s talk about the social aspect, both in the big picture and how people’s lives have changed.”<br />

“I like to conceptualize key elements like people’s livelihood, life changes, or economic changes. I usually start with the<br />

big picture first then boil it down to an individual’s life to see how they’re connected.”<br />

“A house that serves multi purposes is very similar to urban lifestyle. I’m not talking about just Bangkok but also district<br />

and municipal towns. I think district towns are very interesting. There used to be district office buildings that let us know<br />

right away when we see one, that we have arrived the district. Municipal buildings are even more unique.” 1<br />

1<br />

Interview: Professor Emeritus Dr. Anan Ganjanapan, 29 th January 2017, Chiangmai.<br />

24


การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและอาคาร<br />

บ้านเรือนในช่วง พ.ศ. <strong>2489</strong>-<strong>2559</strong><br />

THE SOCIAL CHANGES AND RESIDENTIAL ARCHITECTURE<br />

1946 - 2016 A.D.<br />

— ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.อานันท์ กาญจนพันธุ์1 • Professor Emeritus Dr. Anan Ganjanapan 1


เบื้องหลังสถาปัตยกรรมของอาคารและบ้าน<br />

เรือนเพื่อการอยู่อาศัยในช่วงเวลาหนึ่งๆ มักจะแฝงไว้ด้วย<br />

เรื่องราวที่น่าสนใจอย่างมากมาย ผู้เขียนจะขอมอง<br />

ผ่านประสบการณ์ในช่วงชีวิตของผู้เขียนเองพร้อมกับ<br />

นาเอามิติทางสังคมศาสตร์มาช่วยสอดแทรกความคิด<br />

เพิ่มเติมเพื่อให้การเจาะเข้าไปใต้เรื่องราวเหล่านั้นมีชีวิต<br />

ชีวาตลอดจนสร้างความเข้าใจและเปิดแง่มุมให้เห็นภาพใน<br />

มุมมองที่กว้างขวางมากขึ้น ผู้เขียนจะพยายามถ่ายทอด<br />

เรื่องราวเหล่านั้นในข้อเขียนนี้ เพื่อฉายให้เห็นภาพของ<br />

การเปลี่ยนแปลงสังคมซึ่งเปรียบเสมือนพื้นที่ชีวิตของผู้<br />

อยู่อาศัยในอาคารบ้านเรือนต่างๆ ที ่ถูกสร้างขึ้นมาใน<br />

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช<br />

บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) โดยผู้เขียนจะให้ความ<br />

สาคัญกับภาพรวมของการเปลี่ยนแปลงบริบททางสังคม<br />

เศรษฐกิจ และการเมืองโดยเฉพาะการก่อตัวขึ้นมาของ<br />

คนกลุ่มใหม่ในสังคม วัฒนธรรม และรสนิยมของการ<br />

อยู่อาศัยและการสร้างอาคาร รวมทั้งพัฒนาการของ<br />

สถาปนิก ช่าง และวัสดุก่อสร้าง<br />

ทั้งนี้ผู้เขียนจะพยายามแยกแยะให้เห็นความแตก<br />

ต่างตามช่วงเวลาที่สามารถจาแนกออกมาได้อย่างน้อย<br />

Behind each period of residential architecture lie<br />

numerous hidden interesting stories. The author would<br />

like to investigate through his own life experiences<br />

supplemented by a social science perspective for a<br />

lively probe into those stories as well as broadened<br />

understanding and viewpoint. In this article, the author<br />

attempts to convey narratives and illustrate social<br />

transformation as lived spaces of residents during the<br />

reign of His Majesty King Bhumibol Adulyadej (Rama<br />

IX). Priority is given to contextual overview of social,<br />

economic, political change particularly emergence of<br />

new social groups, cultures and tastes of living and<br />

constructing buildings. This includes development of<br />

architects, craftsmen and construction materials.<br />

At least six temporal periods are classified with<br />

some overlaps throughout the 70-year long reign of<br />

His Majesty King Bhumibol Adulyadej (1946-2016).<br />

The reign had seen changes, continuities as well as<br />

specificities of residential architectural styles particularly<br />

those of early periods. This evolved into<br />

6 ช่วงเวลา ซึ่งอาจจะคาบเกี่ยวกันบ้างตลอดรัชสมัย<br />

อันยาวนานของพระองค์ถึง 70 ปี (พ.ศ. <strong>2489</strong>-<strong>2559</strong>)<br />

ตลอดช่วงเวลาดังกล่าวจึงพบทั้งความเปลี่ยนแปลง<br />

ความต่อเนื่อง และลักษณะรูปแบบเฉพาะของการ<br />

ก่อสร้างบ้านเรือนในบางยุค โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคแรกๆ<br />

แต่ได้พัฒนาไปสู่ความผสมผสานของรูปแบบต่างๆ และ<br />

ผันผวนไปสู่ความหลากหลายมากขึ้นอย่างก้าวกระโดด<br />

ในระยะต่อๆ มา<br />

ช่วงที่ 1 ยุคจารีตแบบแผน (ก่อน พ.ศ. 2500)<br />

สังคมไทยในช่วงก่อน พ.ศ. 2500 นั้นยังตกอยู่<br />

ในภาวะสับสนวุ่นวายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2<br />

(พ.ศ. 2482-2488) เพราะเป็นช่วงที่ได้รับผลกระทบ<br />

ด้านต่างๆ ทั้งทางเศรษฐกิจและการเมือง ประกอบ<br />

กับประเทศไทยเองยังเป็นช่วงผลัดเปลี่ยนรัชกาล เข้า<br />

สู่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล<br />

อดุลยเดช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) อีกด้วย ความ<br />

สับสนวุ่นวายต่างๆ ในสังคมทาให้ผู้คนส่วนใหญ่อาจ<br />

ต้องการแสวงหาทิศทางใหม่ๆ ในการดารงชีวิต แต่<br />

blending of different styles and divergence by leaps<br />

and bounds from then on.<br />

First Period: The Conservativism (Before 1957)<br />

Thai society before 1957 was subject to post-<br />

WWII (1939-1945) chaos due to economic and political<br />

impacts of war. These occurred during the transition<br />

of monarchic reign to the reign of His Majesty King<br />

Bhumibol Adulyadej (Rama IX). Social perturbation<br />

might cause most people to seek new ways of living.<br />

Under social certainties, however, they adhered to<br />

traditional ways of life. Therefore, this period could<br />

be described as the conservative period.<br />

Preservation of the original ways of life might<br />

include gradual changes together with preservation<br />

of traditions or roots. Nevertheless, traditions did not<br />

only limit to Thai tradition, but also include Western,<br />

Chinese and other preexisting traditions. Some<br />

traditions were mixed as seen from such signages of<br />

26


เมื่อสภาวะทางสังคมยังไม่ชัดเจนพวกเขาจึงต้องรักษา<br />

วิถีแบบเดิมๆ อย่างที่เคยเป็นอยู่เอาไว้ก่อน ช่วงเวลานี้<br />

จึงอาจจัดได้ว่าเป็นยุคจารีตแบบแผน<br />

การรักษาวิถีแบบดั้งเดิมไว้ อาจรวมถึงการเปลี่ยนแปลง<br />

อย่างค่อยเป็นค่อยไปด้วยหรือเรียกได้ว่ายึดรากเดิม<br />

หรือจารีตเดิมไว้ แต่คาว่า จารีต มิได้หมายถึง จารีต<br />

ดั้งเดิมแบบไทยอย่างเดียว แต่หมายรวมถึง จารีตอย่าง<br />

ตะวันตก จารีตอย่างจีน หรือจารีตอย่างอื่นๆ ที่เคย<br />

ดารงและซ้อนกันอยู่ บางจารีตอาจมีการผสมผสานกัน<br />

ดังจะพบว่าอาคารพาณิชย์หลายแห่งใช้ลักษณะต่างๆ<br />

ร่วมกัน เช่น ป้ายร้านอาหาร ที่มีทั้งภาษาไทย จีน และ<br />

อังกฤษ เป็นต้น<br />

ในกรณีของอาคารบ้านพักอาศัยในช่วงเวลานั้น<br />

สะท้อนว่า ผู้คนส่วนใหญ่ยังอยู่อาศัยด้วยการยึดโยง<br />

อยู่กับระบบเครือญาติ และครอบครัวขยายเป็นหลัก<br />

การโยกย้ายยังมีไม่มากนัก ลักษณะของบ้านเรือนจึง<br />

ต้องรองรับสมาชิกหลายครอบครัวและคนในแต่ละรุ่น<br />

โดยเฉพาะครอบครัวขยายที่อาศัยในเรือนเดียวกัน<br />

ซึ่งอาจต้องมีจานวนห้องมากดังบ้านเรือนของกลุ่ม<br />

คนที่น่าสนใจเหล่านี้ เช่น กลุ่มข้าราชการคหบดี และ<br />

commercial buildings as restaurant signages being<br />

displayed in Thai, Chinese and English.<br />

The residential architecture of this period indicated<br />

that most residents preferred to live mainly with kins or<br />

extended families. Moving out was minimal. Therefore,<br />

housing styles must accommodate multiple families<br />

and generations, especially extended families living in<br />

single houses probably with many rooms. Houses of<br />

such interesting social groups, for instance, included<br />

those of government officials, wealthy people, and<br />

Chinese residents dwelling in market places.<br />

Important buildings of this period probably<br />

included of regional government offices and houses<br />

of government officials and workers because the<br />

bureaucracy started expanding its power to different<br />

regions. During its early phase of restructuring process,<br />

the bureaucracy focused on such basic organisations<br />

as schools since school teachers were considered<br />

prime symbols of state power. Next symbols were<br />

district office buildings belonging to local governing<br />

กลุ่มคนจีนที่อาศัยอยู่ในย่านตลาดร้านค้า เป็นต้น<br />

อาคารสาคัญในช่วงนี้ น่าจะเป็นอาคารสานักงานของ<br />

หน่วยราชการในส่วนภูมิภาค รวมทั้งบ้านพักข้าราชการ<br />

และเจ้าหน้าที่ เนื่องจากในช่วงเวลาดังกล่าวระบบราชการ<br />

ได้เริ่มขยายออกไปตามท้องถิ่นต่างๆ ในภูมิภาคมากขึ้น<br />

ระบบราชการเองจึงพยายามเริ่มวางโครงสร้างให้มี<br />

ระเบียบแบบแผน แต่ยังถือได้ว่าเป็นช่วงเริ่มต้นเท่านั้น<br />

โดยเริ่มจากหน่วยงานพื้นฐานก่อน เช่น โรงเรียน เพราะ<br />

ข้าราชการครูถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์สำาคัญลำาดับต้นๆ<br />

ของอานาจรัฐในระดับท้องถิ่น ต่อมาน่าจะเป็นอาคาร<br />

ที่ว่าการอาเภอ ของหน่วยงานส่วนปกครองท้องถิ่น<br />

ภายหลังจึงจะเริ่มมีสถานีอนามัยระดับตำาบล อาคาร<br />

ของหน่วยราชการ รวมทั้งบ้านพักเจ้าหน้าที่ของหน่วย<br />

งานเหล่านี้น่าจะเป็นตัวอย่างสาคัญของการก่อสร้างใน<br />

รัชสมัยของรัชกาลที่ 9 ระยะต้นๆ ที่มีสถาปนิกของ<br />

หน่วยงานเป็นผู้ออกแบบ<br />

จากประสบการณ์ของผู้เขียนเมื่อได้มีโอกาสติดตาม<br />

ครอบครัวคุณพ่อ ซึ่งไปรับราชการต่างจังหวัด เริ่มจาก<br />

จังหวัดสกลนครใน พ.ศ 2493 (คุณพ่อของผู้เขียน<br />

ดารงตาแหน่งเป็นป่าไม้จังหวัดคนแรก) พบว่า สานักงาน<br />

bodies. Subsequently establishment included district<br />

health stations, government offices and residences of<br />

government officials. These might be prime examples<br />

of construction during the early period of King Rama<br />

IX reign. Such buildings were designed by architects<br />

working in those organisations.<br />

Based on the author’s experiences, I moved with<br />

the family of my father who served as a government<br />

officer in various provinces starting at Sakon Nakhon<br />

Province in 1950 (My father was the first Provincial<br />

Forestry Chief). At that time there was no forestry office<br />

building yet. ​Initially the forestry officials had to rent<br />

rooms in a commercial building to serve as temporary<br />

office. The building was a two-storey wooden building<br />

with three units. Its construction was completed a little<br />

while before being rented. Its style reflected preference<br />

of that period. The ground-floored frontage with folding<br />

doors for vast opening was utilised as the office space.<br />

The rear of the building and the upper floor were used<br />

as officer’s residence. Many years passed before a<br />

27


1<br />

2<br />

3<br />

4<br />

ป่าไม้จังหวัดที่ถูกจัดตั้งขึ้นยังไม่มีอาคารสานักงานของ<br />

ตนเองที่แน่นอน ในระยะแรกคุณพ่อจึงต้องไปเช่าอาคาร<br />

พาณิชย์แห่งหนึ่งเป็นสานักงานไปพลางก่อน ซึ่งเป็น<br />

อาคารไม้ทั้งหลังสองชั้นสามคูหาที่สร้างขึ้นมาก่อนหน้า<br />

นั้นเล็กน้อย ตามสมัยนิยมของยุคนั้น ชั้นล่างด้านหน้า<br />

มีประตูเฟี้ยมที่สามารถเปิดออกได้กว้าง จึงถูกใช้เป็น<br />

พื้นที่ของสานักงาน ส่วนด้านหลังและชั้นบนใช้เป็นที่พัก<br />

อาศัยของครอบครัวป่าไม้จังหวัด หลังจากนั้นอีกหลายปี<br />

คุณพ่อจึงได้งบประมาณมาก่อสร้างอาคารสานักงานขึ้น<br />

มาอย่างเป็นเอกเทศ<br />

ใน พ.ศ. 2494 เมื่อผู้เขียนเข้าเรียนระดับอนุบาล<br />

ก็ได้เป็นนักเรียนรุ่นแรกของโรงเรียนอนุบาลครูเตี้ยม<br />

(สกลราษฏร์อนุบาล) ซึ่งคหบดีครอบครัวหนึ่ง (บุณยารมย์)<br />

ในจังหวัดสกลนครสร้างขึ้นเป็นอาคารไม้ทั้งหลังยกพื้นสูง<br />

แล้วเสร็จในปีนั้นเอง โดยใช้ทั้งเป็นบ้านพักอาศัย และ<br />

ใช้ใต้ถุนเรือนเป็นโรงเรียนจนถึงทุกวันนี้ แม้จะเป็น<br />

บ้านเรือนของเอกชน แต่สถาปัตยกรรมของอาคารนี้<br />

คงจะถอดรูปมาจากแบบของเรือนทรงปั้นหยาที่หลังคา<br />

ไม่มีหน้าจั่วซึ่งได้รับอิทธิพลของอาคารแบบโคโลเนียล<br />

เพราะในขณะนั้นน่าจะยังไม่มีการจ้างสถาปนิกมา<br />

budget was allocated to build an office building.<br />

In 1951 when I started kindergarten, I was among the<br />

first batch of pupils at Kru Tiam Kindergarten (Sakon Rat<br />

Kindergarten). Built by a Sakon Nakhon wealthy family<br />

(Bunyarom) in the same year, the wooden building was<br />

on raised floors. It has been utilised both as a residence<br />

on the upper floor and a kindergarten on the ground floor<br />

until now. Despite being private residence, the building<br />

was influenced by colonial style with hip roof. At the<br />

time, private buildings were hardly designed by hired<br />

architects. Thus, this colonial hip-roofed building style<br />

became very popular during that time. Most of them<br />

were painted green like custard apple. This inspired a<br />

riddle for children at that time. The riddle was, “What<br />

is a hip-roofed building painted in green where a black<br />

child sleep alone in a white mosquito net?”. And the<br />

answer was “custard apple”<br />

ฺBesides accompanying my father to remote provinces,<br />

I was also familiar with riverside wooden buildings. My<br />

28


7<br />

1 - 2 ป้ายร้านอาหาร<br />

3 บ้านพักพนักงานรถไฟ<br />

4 อาคารพาณิชย์เช่าเป็นสำนักงานพร้อมผู้เขียน (พ.ศ 2493)<br />

5 - 6 ปัจจุบัน (พ.ศ. <strong>2559</strong>) ยังคงใช้เป็นอาคารพาณิชย์ และอาคาร<br />

อนุรักษ์อื่นๆ บนถนนเดียวกัน (ถนนใจผาสุข อำเภอเมือง<br />

จังหวัดสกลนคร)<br />

7 โรงเรียนอนุบาลครูเตี้ยม(สกลราษฏร์อนุบาล) ในปัจจุบัน<br />

(พ.ศ. 2558)<br />

1 - 2 Restaurant signage.<br />

3 Residence of Railway Officer.<br />

4 The rented commercial building as Forestry Office<br />

together with the author (1950)<br />

5 - 6 At present, the building still serves as commercial<br />

building (2016) along with other heritage build-ings on<br />

the same street (Chaiphasuk Road, Mueang District,<br />

Sakon Nakhon Province)<br />

7 The present of Kru Tiam Kindergarten (Sakon Rat<br />

Kindergarten) 2015.<br />

5<br />

6<br />

ออกแบบอาคารบ้านเรือนของสามัญชน เรือนทรงปั้นหยา<br />

นี้จึงได้รับความนิยมสร้างเลียนแบบกันอย่างมากใน<br />

ยุคนั้นและส่วนใหญ่มักจะทาสีเขียวเหมือนลูกน้อยหน่า<br />

จนมีการนามาตั้งเป็นปริศนาเพื่อทายกันของเด็ก ๆ<br />

สมัยนั้น ว่า “อะไรเอ่ย เรือนปั้นหยาทาสีเขียว เด็กดา<br />

นอนคนเดียวในมุ้งขาว” ซึ่งคาตอบก็คือน้อยหน่านั่นเอง<br />

นอกจากติดตามคุณพ่อที่ไปรับราชการต่างจังหวัด<br />

แล้ว ผู้เขียนยังคุ้นเคยกับอาคารไม้ทั้งหลังที่อยู่ริมน้ าอีก<br />

เพราะบ้านคุณปู่คุณย่าอยู่ริมคลองสำาโรง อำาเภอบางพลี<br />

จังหวัดสมุทรปราการ ส่วนบ้านคุณตาคุณยายอยู่ริมคลอง<br />

วัดสัก ซึ่งแยกออกไปจากคลองบางกอกน้อย อาเภอ<br />

บางกรวย จังหวัดนนทบุรี อาคารในส่วนที่เป็นตลาด<br />

มักมีชั้นเดียว ส่วนอาคารบ้านเรือนอาจสร้างสองชั้น<br />

ถ้าเป็นบ้านไม้สองชั้นขนาดใหญ่น่าจะมีช่างคนจีนเป็น<br />

ผู้สร้างหลัก ซึ่งได้รับอิทธิพลของสถาปัตยกรรมแบบ<br />

โคโลเนียล ส่วนบ้านขนาดเล็กอาจใช้ช่างในท้องถิ่นสร้าง<br />

เลียนแบบและปรับลดรายละเอียดลงไปบ้าง<br />

ตามที่กล่าวมาแล้วจะเกี่ยวข้องอาคารในส่วนภูมิภาค<br />

หรือต่างจังหวัด สาหรับอาคารในกรุงเทพฯ นั้น ผู้เขียน<br />

นึกภาพออกได้บ้างจากประสบการณ์ เมื่อได้เข้ามาเรียน<br />

paternal grandparents’ house was situated by Samrong<br />

Canal, Bang Phli District, Samutprakan Province. My<br />

maternal grandparents’ house was situated by Wat Sak<br />

Canal, which branched out of Bangkok Noi Canal, Bang<br />

Kruay District, Nonthaburi Province. Market buildings<br />

were usually one-storied while residential buildings were<br />

two-storied. Most large two-storied residences were<br />

usually built by Chinese craftsmen with colonial style.<br />

Smaller houses were built by local construction workers<br />

imitating such style but much reduced details.<br />

What was previously mentioned concerned provincial or<br />

regional buildings, I was left with little images of Bangkok’s<br />

architecture. My limited experiential recollection was when<br />

I enrolled in an elementary school at Bangkok Christian<br />

College (BCC) in 1954 Back then, Bangkok had seen few<br />

up-country residents. The majority were Bangkokians.<br />

Most residences belonged to Bangkokian families including<br />

government officials as well as wealthy families with long<br />

lineage dubbed as “old noble persons”. Houses were<br />

29


่<br />

ระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน ใน<br />

พ.ศ. 2497 ขณะนั้นกรุงเทพฯ ยังไม่มีคนต่างจังหวัดเข้า<br />

มาอยู่มากนัก บ้านเรือนส่วนใหญ่จึงยังเป็นครอบครัว<br />

ของกลุ่มคนกรุงเดิม โดยเฉพาะข้าราชการ หรือคหบดี<br />

ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่สืบเชื้อสายต่อเนื่องกันมาเป็นเวลานาน<br />

เรียกว่าพวกผู้ดีเก่า การสร้างบ้านมักจะอยู่ในละแวก<br />

เดียวกัน เดิมอาจจะเป็นบ้านหลังใหญ่สร้างด้วยไม้ทั้งหลัง<br />

ซึ่งมักเป็นสองชั้น บ้านรุ่นแรกที่ได้รับอิทธิพลจากอาคาร<br />

แบบโคโลเนียล โดยใช้ช่างคนจีนเป็นหลัก (บางหลังอาจ<br />

จะสร้างก่อน พ.ศ. <strong>2489</strong>) ต่อมาเมื่อลูกหลานออกเรือน<br />

จึงสร้างในพื้นที่ใกล้กัน ยกตัวอย่างเช่น วังเพชรบูรณ์<br />

ย่านราชประสงค์ บ้านตระกูล ณ ป้อมเพชร (ตรงข้าม<br />

ถนนประมวญ ทางเข้าโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน)<br />

ย่านสีลม บ้านตระกูลบุนนาคย่านฝั่งธน หรือบ้านของ<br />

ข้าราชการตามย่านต่างๆ อีก เช่น ย่านสุขุมวิท และ<br />

ย่านบางลาพู (ย่านริมน้า) เป็นต้น ส่วนย่านนางเลิ้งจะ<br />

มีทั้งบ้านผู้ดีและพวกศิลปินเนื่องจากช่วงเวลานี้ยังอยู<br />

ภายใต้ภาวะหลังสงครามที่ผู้คนยังมีรายได้ไม่มาก บ้าน<br />

หลังเดิมจึงจะถูกรักษาไว้ และอยู่ร่วมกันมากกว่าการสร้าง<br />

built in same neighbourhoods. Originally, their houses<br />

might be large two-storied wooden buildings with colonial<br />

influence, but they were built by Chinese craftsmen<br />

(some were built before 1946). After their siblings got<br />

married, new houses were built in nearby compounds.<br />

For example, Petchabun Palace in Ratchaprasong area,<br />

Na Pom Petch family mansion (across from Pramuan<br />

Street, at the entrance of Bangkok Christian School) in<br />

Silom area, Boon Nak family mansion in Thonburi area,<br />

residences of government officials in Sukhumvit area, and<br />

Bang Lam Phu (along the canal). In Nang Lerng area,<br />

houses of old noble people intermingled with those of<br />

artists. During the post-war era, people’s income were<br />

low, so they tended to preserve and shared old houses<br />

rather than moving out and constructing new houses.<br />

House styles were kept traditional with its airiness and<br />

coziness.<br />

Later on, I moved from the boarding school to a<br />

student dormitory at the end of Sathorn Road, Yannawa<br />

District. The dormitory was a two-storied wooden house<br />

with a style similar to houses by the riverside before<br />

8 - 9 บ้านเรือนริมน้ำช่วงก่อน พ.ศ 2490 และช่วงหลังที่<br />

ปรับลดรายละเอียดลงแล้ว<br />

10 วังเพชรบูรณ์(ภายหลังถูกรื้อไปสร้างใหม่ที่จังหวัด<br />

นนทบุรี)<br />

8 - 9 Houses along the river before 1947 and those<br />

after the time with minimal details<br />

10 Petchabun Palace which was later relocated to<br />

Nonthaburi Province<br />

8<br />

9<br />

10<br />

30


บ้านใหม่แยกออกมา ลักษณะของบ้านเอง ก็น่าจะยังคง<br />

รักษาวิถีการอยู่อาศัยแบบจารีตเดิม ด้วยการเน้นความ<br />

โปร่งสบาย เป็นต้น<br />

ต่อมาผู้เขียนย้ายจากการอยู่ประจาในโรงเรียนไปพัก<br />

อยู่กับหอพักนักเรียนที่ตั้งอยู่ช่วงปลายถนนสาทร ย่าน<br />

ยานนาวา ซึ่งเป็นบ้านไม้สองชั้นทั้งหลังคล้ายคลึงกับ<br />

บ้านเรือนริมน้ ำาช่วงก่อน พ.ศ. 2490 ในละแวกเดียวกัน<br />

นั้นก็เป็นบ้านไม้ทั้งหมดเช่นกัน แม้จะไม่ทราบช่วงเวลา<br />

ในการสร้างชัดเจน แต่ผู้เขียนเห็นว่ารูปแบบบ้านไม้<br />

เหล่านั้นไม่ใช่ลักษณะเช่นเดียวกับที่พบในชนบท<br />

ทั้งหมด อาจมีการปรับเปลี่ยนลักษณะบ้านให้มีความ<br />

เรียบง่ายอย่างตะวันตกมากขึ้นบ้างแล้ว บ้านเหล่านี้น่าจะ<br />

ก่อสร้างขึ้นช่วงปลายสมัยรัชกาลที่ 6 – 7 ซึ่งเกี่ยวข้อง<br />

กับช่างฝีมือในขณะนั้น ซึ่งก็เป็นอีกเงื่อนไขหนึ่งที่มี<br />

ความสาคัญ เพราะส่วนมากจะเป็นช่างจีน อาจเป็นไปได้<br />

ว่าช่างเหล่านี้เคยทางานกับชาวตะวันตก และเรียนรู้<br />

ปรับรูปแบบให้เรียบง่ายมากขึ้น จากเดิมที่มีการเข้าไม้<br />

เข้าลิ้น เมื่อเข้าสู่ช่วง พ.ศ. 2490 จะเริ่มลดความสลับ<br />

ซับซ้อนลง เพื่อให้เป็นรูปแบบที่เรียบง่ายมากขึ้น<br />

1947. Neighbourhood residences were of similar style.<br />

Uninformed of the time they were built, I believed that the<br />

styles were not the same as those of rural areas that I<br />

was familiar with. Modification might be made to reflect<br />

western simplicity. Those houses might be constructed<br />

during the reigns of King Rama VI and King Rama VII as<br />

the craftsmanship revealed. This was significant as most<br />

craftsmen might be Chinese who possibly learned from<br />

western craftsmen and made simpler modification, for<br />

instance, from solid wood flooring in 1947 to simplified<br />

joints.<br />

Second Period: Imported Modernism (1957 - 1967)<br />

In B.E. 2490s (1947 - 1956 A.D.), institutes of<br />

higher education expanded substantially in Thailand.<br />

Apart from the Faculty of Architecture at Chulalongkorn<br />

University (1943), for example, there were establishment<br />

of Political Science Faculty, Thammasat University,<br />

Engineering and Medicine Faculties in many universities.<br />

After 1957, there was a noticeable social change caused<br />

ช่วงที่ 2 : ยุคนำาเข้าความเป็นสมัยใหม่<br />

(พ.ศ. 2500 – 2510)<br />

ในช่วงทศวรรษที่ 2490 สถาบันการศึกษาขั้นสูง<br />

ในประเทศได้ขยายตัวอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการตั้ง<br />

คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รวมถึง<br />

การก่อตั้งคณะวิศวกรรมศาสตร์และคณะแพทยศาสตร์<br />

ขึ้นในหลายมหาวิทยาลัย เพิ่มเติมจากคณะสถาปัตย-<br />

กรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งตั้งขึ้นใน<br />

พ.ศ 2486 หลัง พ.ศ 2500 สังคมไทยจึงเริ่มมีการ<br />

เปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างเห็นได้ชัดเพราะการเกิดขึ้น<br />

และขยายตัวอย่างมากของสถาบันการศึกษาเหล่านี้<br />

ได้ช่วยผลิตบุคลากรรุ่นใหม่ขึ้น ต่อมาเมื่อเข้ารับราชการ<br />

ตามกรมกองต่างๆ แล้ว พวกเขาได้กลายเป็นกลุ่ม<br />

ข้าราชการรุ่นใหม่ซึ่งรวมทั้งสถาปนิกที่รับราชการอยู่<br />

ตามกรมกองต่างๆ ด้วย ส่วนอีกกลุ่มหนึ่งคือ สายอาชีพ<br />

เช่น หมอ วิศวกร เป็นต้น ตลอดจนกลุ่มสายอาชีพที่เข้า<br />

ทำางานกับบริษัท และตามห้างร้านแบบตะวันตกที่ตั้งขึ้นมา<br />

ในช่วงนั้น กลุ่มข้าราชการรุ่นใหม่เหล่านี้ไม่เพียงสะท้อน<br />

by establishment and expansion of these educational<br />

institutions producing new generations of personnels.<br />

After graduation, they served in state agencies becoming<br />

new generations of government officials including<br />

architects. This included professionals such as doctors<br />

and engineers in public sector as those in companies<br />

and western-styled department stores. The rise of new<br />

generations reflected not only social change but also<br />

formation of a new middle-class out of the educational<br />

system. Also the growth of professional career path<br />

which evolved from former “recommended” patronage<br />

society in which one needed to be recommended by<br />

high-ranking persons for educational and professional<br />

opportunities, to more co-working society.<br />

The expansion of educational institutions attracted<br />

rural people to move to Bangkok. Numerous people from<br />

the provinces enrolled in such institutions as the Royal<br />

Police Cadet Academy. One of the reasons is insufficient<br />

number of Bangkok residents to serve in rapidly expanding<br />

development especially after the First National Economic<br />

Development Plan was launched in 1961.<br />

31


ให้เห็นความเปลี่ยนแปลงจากเดิม แต่ยังเป็นจุดเริ่มต้น<br />

ของการก่อตัวขึ้นของกลุ่มชนชั้นกลางใหม่ ที่มาจาก<br />

ระบบการศึกษา ตลอดจนเป็นการขยายตัวของสายอาชีพ<br />

จากที่เคยเป็นเพียงสังคมของการฝากฝังผู้ใหญ่ให้เข้ารับ<br />

การศึกษา หรืออบรมเลี้ยงดูกันเอง แนวความคิดเช่นนี้<br />

จะเน้นการอยู่ร่วมกันมากกว่าต้องการแยกออกมา<br />

นอกจากนี้ การขยายตัวของสถาบันการศึกษายัง<br />

เป็นปัจจัยหนุนให้ผู้คนจากส่วนภูมิภาคย้ายถิ่นเข้าสู่<br />

เมืองกรุงมากขึ้นผู้คนจากต่างจังหวัดเหล่านี้เข้าเรียนตาม<br />

สถาบันต่างๆ จานวนมาก เช่น โรงเรียนนายร้อยตารวจ<br />

ที่ส่วนใหญ่เป็นคนต่างจังหวัด เป็นต้น ส่วนหนึ่งเนื่องมา<br />

จากประชากรในกรุงเทพฯ เพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอ<br />

ต่อการขยายตัวและการพัฒนาอันรวดเร็ว โดยเฉพาะ<br />

หลังจากมีแผนการพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับแรก<br />

ใน พ.ศ. 2504<br />

กลุ่มคนจากภาคใต้จะนิยมส่งลูกหลานเข้าสู่ระบบ<br />

การศึกษามากเป็นพิเศษ ส่วนหนึ่งอาจจะเป็นเพราะ<br />

ในพื้นที่ภาคใต้ ผู้คนพึ่งพาภาคเกษตรกรรมได้ไม่มาก<br />

เท่ากับภาคอื่น เนื่องจากพื้นที่ทากินเล็กกว่า และยังพบ<br />

ว่าผู้คนจากต่างจังหวัดบางกลุ่ม ได้เข้ามาศึกษาเล่าเรียน<br />

Thai southerners preferred most to send their<br />

youngsters into educational system. Part of the reasons<br />

might be the fact that agricultural land was smaller,<br />

and they could rely on agriculture less than people<br />

in other regions. Some students were sent to study<br />

in Bangkok as early as elementary level in boarding<br />

schools such as Ban Somdet Chao Phraya School.<br />

After graduation, some of them became government<br />

officials in Bangkok, in their hometowns and in other<br />

localities staying in government residences.<br />

With higher income that enabled these groups<br />

to build their own houses, their ideas of residence<br />

tended to change. There was rising preference to<br />

living separately. Siblings tended to live independently,<br />

That is, a shift from living among relatives to living as<br />

nuclear families in separate houses. After marriage,<br />

couples moved out and built their own houses. It was<br />

during this period that idea of modern houses was<br />

imported.<br />

I would like to exemplify my own experience in<br />

ตั้งแต่ระดับชั้นต้นตามโรงเรียนประจาต่างๆ เช่น<br />

โรงเรียนบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เป็นต้น ต่อมาเมื่อจบ<br />

การศึกษา ส่วนหนึ่งก็กลายเป็นข้าราชการทั้งประจาที่<br />

กรุงเทพฯ และต่างจังหวัดที่เคยเป็นบ้านเกิดตนเองและ<br />

ในท้องที่อื่นๆ โดยพักอาศัยที่บ้านของหน่วยงานนั้นๆ<br />

เมื่อกลุ่มคนเหล่านี้มีรายได้สูงขึ้นก็จะมีกาลังใน<br />

การสร้างบ้านได้มากขึ้น แนวคิดในการอยู่อาศัยก็มักจะ<br />

เปลี่ยนแปลงไปด้วย รสนิยมแยกตัวออกมาอยู่อาศัย<br />

ต่างหากจึงพบเห็นได้มากขึ้นตามไปด้วยเช่นกัน จาก<br />

เดิมที่อยู่อาศัยแบบเครือญาติ ในช่วงนี้จะพบการแยก<br />

ตัวของลูกหลานออกมาเป็นครอบครัวเดี ่ยวมากขึ ้น<br />

พร้อมกับสร้างบ้านของตนเองแยกออกมา โดยเฉพาะ<br />

หลังแต่งงานออกเรือนมาแล้วในช่วงนี้เองจึงเริ่มมีการนำา<br />

เข้าความคิดในการสร้างบ้านสมัยใหม่<br />

ยกตัวอย่างจากประสบการณ์ของผู้เขียนเอง ในราว<br />

พ.ศ. 2500 - 2503 ครอบครัวของคุณน้าที่ดูแล<br />

ผู้เขียนขณะเข้ามาเรียนในกรุงเทพฯ สามีของท่านมี<br />

พื้นเพเป็นคนจังหวัดอยุธยารับราชการเป็นตารวจหลัง<br />

สำาเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยตำารวจ เริ่มแรก<br />

อาศัยอยู่ในบ้านพักของกรมตารวจในบริเวณวัดม่วงแค<br />

1957 - 1960, when I stayed with my aunt’s family<br />

while studying in Bangkok. My uncle-in-law was a<br />

native from Ayutthaya, then served as a police officer<br />

in Bangkok. After he graduated from the Royal Police<br />

Cadet Academy, he lived in the residence of Police<br />

Department near Muang Kae Temple, near Bangkok<br />

General Post Office. Then he moved out to his own<br />

house. It was built as a modern house made of concrete<br />

rather than wood. It was situated in Ratchawat area.<br />

At that time such modern building was popularly called<br />

“tuek”. In Ratchawat vicinity, many new types of houses<br />

were built by new generations of government officials.<br />

Those modern buildings shared such similarities as<br />

being bulky like forts but having wooden windows.<br />

Such early buildings were not as aesthetically slim as<br />

those of later periods. Architects might already begin<br />

to design this early stage of building.<br />

New residential style also diffused to other provinces.<br />

Many houses in Chiang Mai were built like them.<br />

Even though residences were built by new style,<br />

32


ใกล้ๆ กับสานักงานไปรษณีย์กลาง ต่อมาก็สามารถ<br />

แยกตัวออกมาสร้างบ้านของตนเองได้ โดยมีลักษณะ<br />

เป็นบ้านสมัยใหม่ก่อสร้างด้วยปูนซีเมนต์แทนไม้ บริเวณ<br />

ถนนราชวัตร ในสมัยนั้นจะนิยมเรียกว่า “ตึก” (สมัยนั้น<br />

เรียกบ้านสมัยใหม่ว่า ตึก) ในบริเวณราชวัตรเองนั้น<br />

ก็เริ่มเกิดการสร้างกลุ่มบ้านเรือนรุ่นใหม่หลายหลัง<br />

โดยกลุ่มข้าราชการใหม่เหล่านี้ การสร้างอาคารของบ้าน<br />

สมัยใหม่จะมีรูปลักษณ์คล้ายคลึงกัน คือเป็นตึกทึบหนา<br />

ดูแล้วเหมือนป้อมแต่มีหน้าต่างทำาด้วยไม้ ตัวตึกรุ่นแรก<br />

นี้ไม่บางสวยเหมือนกับอาคารยุคหลังจากนั้น แต่น่าจะ<br />

เริ่มมีสถาปนิกมาช่วยออกแบบให้บ้างแล้ว<br />

บ้านสมัยใหม่เช่นนี้ได้กระจายออกไปต่างจังหวัดด้วย<br />

ดังจะพบบ้านรูปแบบนี้ในจังหวัดเชียงใหม่หลายหลัง<br />

แม้ว่าบ้านจะถูกสร้างขึ้นแบบสมัยใหม่ แต่วัสดุใน<br />

การก่อสร้างยังใช้ร่วมกัน ไม้ยังคงค้าขายกันอย่างแพร่<br />

หลายยังไม่มีการเข้ามาของไม้อัด แต่การใช้อาจลดลง<br />

เหลือเป็นองค์ประกอบของบ้านบางส่วน ในส่วนภูมิภาค<br />

ที่ยังพอมีไม้อยู่บ้าง บ้านไม้ก็จะเริ่มเปลี่ยนเป็นไม้ผสม<br />

ตึกปูน ก่อนที่จะเปลี่ยนเป็นบ้านที่สร้างจากปูนซีเมนต์<br />

ทั้งหมดในภายหลัง การคิดค้นและพัฒนาวัสดุก่อสร้าง<br />

construction materials were mixed. Wood remained<br />

widely traded. Plywood was not introduced yet.<br />

Wood usage, however, was probably reduced to some<br />

ornamental components. In regions where some wood<br />

could be found, wooden houses were replaced by<br />

concrete tuek mixedwith wood. They later changed<br />

to all-concrete houses. Research and development of<br />

building materials by Siam Cement Company became<br />

prominent especially in 1961. This might be a major<br />

turning point in residential style prompting widespread<br />

use of new construction materials. This started by<br />

half-wooden and half-concrete house. That is, use of<br />

concrete for the lower part of the houses, and wood<br />

for the upper part.<br />

During this period, another type of residence was<br />

government residence that accommodated and attracted<br />

people to work in specific localities. For example,<br />

houses of governors, district chiefs, and office heads.<br />

This included residences of university professors in<br />

different regions such as Chiang Mai and Khon Kaen<br />

ของบริษัทปูนซีเมนต์ไทย ซึ่งเริ่มชัดเจนมากขึ้นในช่วง<br />

พ.ศ. 2504 อาจเป็นจุดเปลี่ยนที่สาคัญ ทาให้เริ่มมีการใช้<br />

วัสดุใหม่แพร่หลายมากขึ้น เริ่มใช้จากครึ่งบ้าน คือข้างบน<br />

เป็นไม้ ด้านล่างเป็นปูน<br />

ในช่วงเวลานี้ยังมีการก่อสร้างบ้านอีกประเภทหนึ่ง<br />

คือ บ้านพักข้าราชการ ซึ่งถูกสร้างขึ้นเพื่อรองรับและ<br />

ดึงผู้คนให้เข้าทางานที่ท้องที่นั้นๆ เช่น จวนผู้ว่าฯ บ้าน<br />

นายอาเภอ บ้านหัวหน้าหน่วยงาน รวมทั้งบ้านพัก<br />

อาจารย์มหาวิทยาลัย ที่เริ่มจัดตั้งขึ้นในส่วนภูมิภาค เช่น<br />

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และขอนแก่น เป็นต้น บ้านเหล่านี้<br />

ถูกสร้างขึ้นจานวนมาก โดยผ่านองค์ความรู้ทางสถาปัตย-<br />

กรรม ซึ่งเป็นแบบมาตรฐานที่ไม่ใช่ฝีมือช่างท้องถิ่น<br />

จากประสบการณ์ที่ผู้เขียนได้พบเห็นขณะที่มีโอกาส<br />

ติดตามคุณพ่อที่รับราชการและย้ายไปตามจังหวัดต่างๆ<br />

พบว่าลักษณะบ้านพักข้าราชการส่วนใหญ่จะมีรูปแบบ<br />

เดียวกันเกือบทั้งหมด คือ ชั้นบนเป็นที่อยู่อาศัย เป็น<br />

ห้องนอน ส่วนห้องรับแขกห้องน้ ากับห้องครัวอยู่ที่ชั้นล่าง<br />

ทั้งหลายทั้งปวงของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับ<br />

ที่อยู่อาศัยในช่วงเวลานี้น่าจะสะท้อนการนาเข้าความ<br />

เป็นสมัยใหม่ได้เป็นอย่างดี<br />

Universities. Numerous residences were built using<br />

standard styles informed by architectural knowledge<br />

rather than by local craftsmanship. Based on my own<br />

experience while accompany my father who served<br />

as a government official moving from one province to<br />

another, I found that almost all government residences<br />

were of the same styles. The upper floor served as<br />

residential areas particularly bedroom, but the ground<br />

floor consisted of living room, bathroom and kitchen.<br />

Many changes of residences in this period best<br />

reflected how modernism was imported.<br />

Third Period : The Sun and the Wind (1967 - 1977)<br />

During early B.E.2510s (1967 A.D.), Thai society<br />

exhibited continuity from the earlier period. Despite<br />

imported modernism, its diffusion proceeded slowly. Most<br />

houses retained naturalness and localism. Housing styles,<br />

particularly in provinces, were simply designed. This was<br />

limited by uneven distribution of building materials.<br />

33


11<br />

12 13<br />

15<br />

14<br />

11 - 13 บ้านราชวัตรของคุณน้าของผู้เขียน<br />

14 บ้านตึกสมัยใหม่ (เชียงใหม่) ในช่วงทศวรรษแรก<br />

ของ พ.ศ. 2500 (บ้านบนถนนห้วยแก้ว อำเภอเมือง<br />

จังหวัดเชียงใหม่)<br />

15 บ้านครึ่งตึกครึ่งไม้<br />

16 บ้านพักอาจารย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่<br />

16<br />

11 - 13 Ratchawat house belonging to author’s uncle<br />

14 New residence style, ban tuek, (Chiang Mai) in<br />

the early decade of B.E.2500 (1957) (House<br />

on Huay Kaew Road, Mueang District, Chiang<br />

Mai Province)<br />

15 Half wooden-half concrete residence<br />

16 Residence of Chiang Mai University’s professor<br />

34


ช่วงที่ 3 ยุคสายลมแสงแดด (พ.ศ. 2510 – 2520)<br />

ในช่วงทศวรรษที่ 2510 ตอนต้นๆ สังคมไทยยังคง<br />

รักษาความต่อเนื่องจากช่วงก่อนหน้านั ้น แม้จะเริ่มมี<br />

การนาเข้าความคิดการสร้างบ้านสมัยใหม่แล้วก็ตาม แต่<br />

การขยายตัวกลับดาเนินไปอย่างช้าๆ การก่อสร้างบ้าน<br />

เรือนของคนส่วนใหญ่ยังคงดารงความเป็นธรรมชาติ<br />

และความเป็นท้องถิ่นอยู่มาก รูปแบบการสร้างบ้าน<br />

โดยเฉพาะในต่างจังหวัดยังนิยมออกแบบง่ายๆ เพราะ<br />

ข้อจากัดด้านวัสดุก่อสร้างที่ยังไม่สามารถกระจายได้<br />

อย่างทั่วถึง<br />

ต่อมาในช่วงกลางทศวรรษเกิดเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจ<br />

ที่สาคัญ คือ วิกฤตน้ ามันโลก 2 จนเกิดภาวะน้ ามันขาดแคลน<br />

และกลายเป็นวิกฤตพลังงานที่มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจ<br />

ไทย รวมถึงมีส่วนผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง<br />

การเมืองตามมา ดังที่รู้จักกันในนามของช่วงเปลี่ยน<br />

ผ่านเข้าสู่ประชาธิปไตย (หลังจากเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลา)<br />

เมื ่อนักศึกษาและประชาชนสามารถโค่นล้มรัฐบาล<br />

เผด็จการทหารลงได้ แต่อย่างไรก็ตาม รอยต่อทางสังคม<br />

การเมืองช่วงสั้นๆ นี้ ก็ยังไม่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง<br />

In the middle part of this decade, an important<br />

economic phenomenon erupted. That was world oil<br />

crisis 2 causing oil shortage and energy crisis impacting<br />

Thai economy and subsequent political change widely<br />

known as the transition to democracy (after October 14th<br />

Students’ Revolt). Students and lay people toppled the<br />

dictatorial military government. Such brief socio-political<br />

transition, however, did not cause discernible change in<br />

architecture. Middle-income people still lived in wooden<br />

houses. New-styled concrete residences, or tuek, were<br />

small in size.<br />

Democracy released freedom of ideas. It enabled<br />

lateral thinking and reinforced imagination and creativity.<br />

This was discernible in development of modern housing<br />

by efforts of small groups of progressive architects who<br />

added novel concepts of lightness, or the “sun-andwind”,<br />

to append and rectify flat and bulky features of<br />

tuek. Priority was given to naturalness and harmony<br />

with sunlight and wind directions along with surrounding<br />

nature. Beautification of buildings was done by locally<br />

อย่างชัดเจนในแง่ของสถาปัตยกรรมเพราะยังพบว่าคน<br />

ระดับรายได้ปานกลางก็ยังอยู่อาศัยบ้านไม้ ส่วนบ้าน<br />

สมัยใหม่หรือตึกก็จะขนาดไม่ใหญ่โตมากนัก<br />

แต่อย่างน้อยความเป็นประชาธิปไตยก็มีส่วนช่วย<br />

ปลดปล่อยความคิดให้มีอิสระมากขึ้นจนสามารถคิด<br />

นอกกรอบ พร้อมทั้งเสริมสร้างจินตนาการและพลัง<br />

สร้างสรรค์ให้กับผู้คนบางส่วนในสังคมได้บ้าง ดังเริ่ม<br />

ปรากฏให้เห็นพัฒนาการของบ้านสมัยใหม่มากขึ้น จาก<br />

ความพยายามของกลุ่มสถาปนิกหัวก้าวหน้ากลุ่มเล็กๆ<br />

บางส่วน ซึ่งได้เพิ่มมิติใหม่ๆ ให้กับบ้านสมัยใหม่ ด้วย<br />

การนาเอาความคิดแบบ “สายลมแสงแดด” เข้ามาช่วย<br />

เสริมและปรับแก้ลักษณะหนาทึบและแบนเรียบของบ้าน<br />

ตึก โดยเฉพาะการให้ความสาคัญกับความเป็นธรรมชาติ<br />

เพื่อให้เข้าได้กับทิศทางลมและแสงแดด ตลอดจนสภาพ<br />

แวดล้อมทางธรรมชาติรอบๆ ตัวบ้าน รวมทั้งพยายาม<br />

ช่วยเสริมความงามของอาคารด้วยการนาเอาวัสดุ<br />

ธรรมชาติในท้องถิ่นมาใช้ เพื่อเพิ่มความโปร่งสบาย<br />

ตามคติของบ้านไทยสมัยก่อน รวมทั้งเสริมด้วยเทคนิค<br />

การก่อสร้างของท้องถิ่น เช่น มีการประดับด้วยอิฐดินเผา<br />

และการใช้เทคนิคทรายล้างประกอบด้วย เป็นต้น<br />

available natural materials to enhance airiness and<br />

coziness much valued by traditional Thai housing. Added<br />

to this were local construction techniques such as bricks<br />

and washed gravel surface.<br />

One of the examples is the residence of Wadanyu Na<br />

Thalang, Ph.D., who was my father-in-law. He received<br />

his Bachelor degree from the Faculty of Architecture,<br />

Chulalongkorn University, and Master Degree of Architecture<br />

from Cornell University. After a lengthy period of work, he<br />

got the chance to design his own house. He crystallised<br />

his ideas from his working experiences and imagination,<br />

and invented a beautiful creation. He combined modern<br />

house with Thai traditional raised-floored house, leaving<br />

parts of ground floor open.<br />

His daughter recalled what she heard from her father<br />

about this house:<br />

“…The land on which this house was located was a<br />

part of a vast rice-growing area. Later on, the land was<br />

subdivided for sale by the Government Housing Bank.<br />

My father bought a piece of land and built a two-storied<br />

35


ยกตัวอย่างเช่น บ้าน ดร. วทัญญู ณ ถลาง ซึ่งเป็น<br />

พ่อตาของผู้เขียน ท่านสาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี<br />

จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

และได้รับปริญญาโทด้านสถาปัตยกรรมจาก มหาวิทยาลัย<br />

คอร์แนลล์ หลังจากทางานมาอย่างยาวนาน เมื่อต้องมา<br />

ออกแบบบ้านของตนเองในภายหลัง ก็นำาเอาประสบการณ์<br />

ที่สะสมมาช่วยบูรณาการความคิดซึ่งตกผลึกแล้วมา<br />

สร้างสรรค์ได้อย่างลงตัว ด้วยการผสมผสานคติแบบ<br />

บ้านสมัยใหม่ให้เข้ากับบ้านไทยแบบจารีตที่ยกพื้นสูง<br />

และปล่อยให้ใต้ถุนเปิดว่างไว้บางส่วน<br />

บุตรสาวของท่านได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับบ้านหลังนี้<br />

เพิ่มเติมจากความทรงจาที่เคยพูดคุยกับคุณพ่อดังนี้<br />

“…แต่เดิมพื้นที่ที่สร้างบ้านเป็นส่วนหนึ่งของทุ่งนากว้าง<br />

ใหญ่ไพศาล ต่อมาธนาคารอาคารสงเคราะห์ได้เข้ามา<br />

จัดสรรที่ดิน คุณพ่อได้ซื้อที่ดินและสร้างบ้านสองชั้นขึ้น<br />

เนื่องจากบริเวณนี้เป็นที่ราบลุ่มที่น้ ำาอาจท่วมถึงได้<br />

คุณพ่อจึงได้ขุดสระรูปตัวแอล เพื่อจะนำาดินมาถมที่รอบ<br />

บ้านให้สูงขึ้น และออกแบบบ้านเพื่อลดความเสี่ยงต่อ<br />

น้าท่วมเมื่อตอกเสาเข็มและขึ้นคานแล้ว ระเบียงชั้นล่าง<br />

อยู่สูงจากระดับถนนมาก จนผู้คนที่ผ่านไปมาคิดว่าชั้นล่าง<br />

house. Since this area was on a flood plain, my father<br />

had an L-shaped pool excavated, and used dug-up soil<br />

to elevate the house ground. Then he designed the<br />

house to reduce flood risks. After foundation piles and<br />

beams were settled, our house ground terrace was pretty<br />

much higher than the street level. Passer-by thought<br />

that the lower level was the upper level. This house was<br />

completed, and we moved in 1974.<br />

This house is a two-storied house that uses construction<br />

materials commonly available at that time such as steel,<br />

concrete and wood. But my father introduced new types<br />

of building materials such as BPK bricks and washed<br />

gravel surface. The house walls are made of exposed<br />

brick surface. Terrace, pillars, ceiling edges, roof edges<br />

and front stairs are made of washed gravel surface. The<br />

positive effects of bricks and washed gravel surface are<br />

subdued earth-tone colours with no need for paints.<br />

Therefore, it is both economical and hygienic.<br />

On the exterior, this house has ‘Hua Jook’ (a crested<br />

roof top). The sloping roof is topped with a dome. The<br />

exterior colour is earth-toned with three main colours: reddish<br />

brown, beige, and dark brown. Walls manifest reddish<br />

brown brick, breaking with beige colour of washed gravel<br />

surface. Frames of all windows, doors, and balcony show<br />

oak-brown wood. Roof trimming reveals reddish brown<br />

wood. The interior has walls of golden-brown plywood,<br />

and brown parquet wooden floor.<br />

An important innovation that my father started is a<br />

dome on the roof top. This dome is made of opaque<br />

white plastic for the purpose of letting natural light shine<br />

through with minimal need for electric light during the day.<br />

This dome also helps circulate air flows. When doors<br />

and awning windows are open, outside air will flow into<br />

the house, pushing hot air mass inside to float out of the<br />

dome openings, and letting in cool breeze. This dome<br />

also helps release humidity in rainy season too. Another<br />

feature of the house is its ability to circulate. Having a<br />

double-spaced living room also helps creating a feeling<br />

of a spacious house, and also slow down temperature<br />

rise during daytime. If the ceiling is low, the living room<br />

17<br />

18<br />

36


ของบ้านคือชั้นที่สอง บ้านหลังนี้สร้างแล้วเสร็จพร้อม<br />

เข้าอยู่อาศัยใน พ.ศ. 2517<br />

ลักษณะเป็นบ้านสองชั้นที่ใช้วัสดุก่อสร้างทั่วไปที่นิยม<br />

ในช่วงเวลานั้นได้แก่ เหล็ก ปูน ไม้ แต่วัสดุก่อสร้างชนิด<br />

ใหม่ที่คุณพ่อริเริ่มนามาใช้คือ อิฐ บปก. และทรายล้าง<br />

ผนังบ้านก่อด้วยอิฐโชว์แนวทั้งหมด ส่วนชานนอกบ้าน<br />

เสา ขอบเพดาน บันไดหน้าบ้าน และขอบหลังคาใช้<br />

ทรายล้าง ประโยชน์ของอิฐและทรายล้างคือสีสวยขรึม<br />

แบบธรรมชาติ และไม่ต้องทาสี จึงประหยัดงบประมาณ<br />

และไม่ก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพ<br />

รูปลักษณ์ภายนอกของบ้านเป็นบ้านหัวจุกคือ<br />

หลังคาบ้านลาดเอียงโดยรอบและมีโดมอยู่บนสุด สีของ<br />

บ้านสีหลักแนวเอิร์ธโทนสามสีคือ สีน้ าตาลแดง สีนวล<br />

และสีน้ าตาลดา คือ ผนังบ้านด้านก่ออิฐสีน้ าตาลแดง<br />

มีทรายล้างสีนวลมาลดความร้อนแรงของสีอิฐให้นุ่มนวลลง<br />

ประตู กรอบหน้าต่างและระเบียงบ้านชั้นบนเป็นไม้<br />

ทาสีโอ๊คให้ตัดกับสีน้ าตาลแดงของอิฐ ชายคาตีไม้ระแนง<br />

สีน้าตาลแดง ส่วนผนังในบ้านใช้ไม้อัดสีน้ าตาลทอง<br />

พื้นบ้านใช้พื้นสาเร็จปูทับด้วยไม้ปาร์เก้สีน้าตาล<br />

ลักษณะสาคัญประการหนึ่งที่คุณพ่อริเริ่มทาคือ สร้าง<br />

โดมเหนือหลังคาบ้านทาด้วยพลาสติกขาวขุ่น รูปครึ่งวงกลม<br />

จุดประสงค์คือ นอกจากจะเพิ่มแสงสว่างธรรมชาติให้แก่<br />

ห้องรับแขกโดยไม่ต้องพึ่งพาแสงไฟฟ้าแล้ว โดมยังช่วย<br />

ระบายอากาศด้วย ถ้าเปิดประตู หน้าต่างและบานกระดก<br />

เหนือหน้าต่าง อากาศจะเคลื่อนตัวจากภายนอกเข้าไป<br />

ในบ้าน มวลอากาศร้อนในบ้านลอยตัวและลอดใต้โดม<br />

ออกสู่ภายนอก มวลอากาศเย็นนอกบ้านเคลื่อนเข้ามา<br />

ทดแทน ลมที่ผ่านเข้าออกช่วยให้บ้านเย็นในฤดูร้อน และ<br />

ช่วยระบายความชื้นในฤดูฝน ลักษณะสาคัญอีกประการ<br />

หนึ่งของบ้านคือ การระบายความร้อนออกจากบ้าน<br />

โดยออกแบบให้ห้องรับแขกมีเพดานสูงเท่ากับเพดานบ้าน<br />

ชั้นบน เพื่อให้มองดูแล้วเกิดความรู้สึกโล่งโปร่งกว้าง และ<br />

เพื่อให้ระบายอากาศร้อนออกไปจากบ้าน หากเพดานเตี้ย<br />

ห้องรับแขกจะร้อนในเวลากลางวัน<br />

แม้จะเป็นบ้านแบบสมัยใหม่ แต่บ้านหลังนี้มีพื้นที่<br />

นอกชานกว้างมากเป็นรูปตัวยู เพื่อใช้สอยอเนกประสงค์<br />

คุณพ่อปลูกต้นไม้ใหญ่น้อยไว้รอบบ้าน โดยมีจุดประสงค์<br />

หลายประการเช่น เพื่อความสวยงามความสดชื่นและ<br />

ให้ร่มเงา เพื่อพรางสายตาของคนภายนอก เพื่อดักจับ<br />

ปริมาณฝุ่นจากถนน และเพื่อลดอุณหภูมิในบริเวณบ้าน<br />

17 - 18 บ้าน ดร. วทัญญู ณ ถลาง ที่จังหวัดนนทบุรี<br />

19 โดมหัวจุกเหนือหลังคาเพื่อเพิ่มแสงสว่างลงมาจาก<br />

เพดาน พร้อมชั้นลอยในห้องรับแขก<br />

17 - 18 Residence of Wadanyu Na Thalang, Ph.D.,<br />

Nonthaburi Province.<br />

19 Hua Jook Dome on the roof top for light intake<br />

and the living room mezzanine.<br />

19<br />

will be heated up during daytime.<br />

Although this is a modern-styled house, it has an<br />

excessive U-shape terrace area for multi-purpose usage.<br />

My father grew many trees around the house for several<br />

reasons: for beauty, refreshening and shade. Trees<br />

camouflage prying eyes of outsiders, trap roadside dust,<br />

and reduce temperature around the house. My father let<br />

those trees grow freely until they form a tiny urban jungle.<br />

Our small jungle helps reduce temperature nicely. My<br />

father used thermometer to compare temperature inside<br />

our land with that in outside road, and found that they<br />

differed by several degrees.<br />

During rainy season, rainwater flows down the roof<br />

through drainage pipes onto small shallow pools around<br />

the house. The pools are finished with washed gravel<br />

surface, and have pipes linked to underground drainage<br />

system. Rainwater that washes down the sides of the<br />

house will not overflow onto the terrace. This is because<br />

dripping lines near the roof edges prevents rain to overflow<br />

onto the terrace. As for fresh water, my father designed<br />

37


คุณพ่อยังปล่อยให้ต้นไม้ได้เจริญเติบโตอย่างอิสระ<br />

จนกลายเป็นป่าขนาดย่อมในเมือง ป่าเล็กๆนี้ช่วยลด<br />

อุณหภูมิได้พอสมควร คุณพ่อเคยใช้เทอร์โมมิเตอร์<br />

วัดอุณหภูมิที่ถนนและอุณหภูมิในบ้านพบว่าต่างกัน<br />

หลายองศา<br />

ในฤดูฝน น้ ำาฝนไหลจากหลังคาบ้านลอดรางน้ ำาฝน<br />

ลงสู่แอ่งเล็กๆ หลายแอ่งรอบบ้าน แอ่งนี้ก่อด้วยทรายล้าง<br />

มีท่อระบายน้ าลงไปใต้ดิน ส่วนน้ าฝนที่สาดใส่ผนังบ้านและ<br />

ไหลย้อยลงตามผนังบ้านนั้นจะไม่ไหลเข้ามาที่ชานบ้าน<br />

เพราะมีบัวน้าหยดร่องเล็กๆ ใกล้ขอบเพดาน ที่ดักจับ<br />

น้าฝนไม่ให้ย้อยหยดเข้ามาในลานบ้าน ส่วนน้าประปา<br />

ใช้ในบ้านนั้น คุณพ่อออกแบบถังเก็บน้ าประปาถังใหญ่<br />

ไว้ใต้ดิน มีปั๊มสูบน้ าขึ้นไปใช้ในบ้าน บ้านนี้ยังมีชั้นใต้ดิน<br />

ครึ่งชั้น เดิมออกแบบไว้เป็นห้องโล่งเอนกประสงค์ มีร่อง<br />

ระบายน้าโดยรอบ เสาบ้านที่ยกสูงจากพื้นดิน เปิดช่อง<br />

โล่งให้ลมโกรกผ่านเข้าออกห้องใต้ดินได้อย่างสะดวก<br />

บ้านหลังนี้มีข้อจากัดสาคัญที่ไม่ได้คาดคิดมาก่อน<br />

ซึ่งเป็นปัญหาใหญ่ของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล<br />

ที่ค่อยๆ ก่อตัวขึ้นอย่างช้าๆ และส่งผลกระทบรุนแรง<br />

ต่อเนื่องนั่นคือปัญหาแผ่นดินทรุดเป็นบริเวณกว้าง<br />

สาเหตุของแผ่นดินทรุดเกิดจากลักษณะของพื้นที่<br />

ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้าเจ้าพระยาที่เคยเป็น<br />

ทะเลมาก่อน ดินตะกอนเป็นดินเหนียวที่มีคุณสมบัติ<br />

ขยายตัวในฤดูฝนและยุบตัวในฤดูแล้ง การเติบโตอย่าง<br />

รวดเร็วของกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทาให้มี<br />

ความต้องการใช้น้ าเพิ่มขึ้นอย่างมาก นอกจากใช้น้ าจาก<br />

แม่น้าในการทาน้าประปาและการอุปโภคบริโภคแล้ว<br />

ยังมีการสูบน้าบาดาลมาใช้ทาน้าประปาและใช้ในการ<br />

ผลิตภาคอุตสาหกรรมและบริการด้วย ผลคือปริมาณ<br />

น้าบาดาลในชั้นน้าต่างๆ ลดลง นอกจากนั้นน้าหนัก<br />

อาคารและตึกสูงกดทับดินตะกอนในลุ่มน้ าเจ้าพระยา<br />

ส่งผลให้เกิดปัญหาแผ่นดินทรุดเป็นบริเวณกว้างและ<br />

เกิดต่อเนื่องไม่หยุดยั้ง ปัญหาดังกล่าวกระทบบ้าน<br />

ของคุณพ่อเช่นกัน พื้นโรงรถทรุดตัวลงอย่างมาก<br />

จนขั ้นบันไดทรายล้างขั้นล่างสุดลอยสูงจากพื้น<br />

โรงรถ ได้มีการซ่อมแซมหลายครั้งแต่ก็ไม่สามารถ<br />

แก้ปัญหาได้จนถึงทุกวันนี้…” (สัณฐิตา กาญจนพันธุ์<br />

เล่าจากความทรงจา ธันวาคม 2560)<br />

สาหรับบ้านคุณพ่อของผู้เขียนที่จังหวัดสมุทรปราการ<br />

ก็สร้างใน พ.ศ. 2516 และมีสถาปนิกรุ่นหลัง ดร. วทัญญู<br />

20 บ้าน ดร. วทัญญู ณ ถลาง ด้านข้าง พร้อมลานบ้าน<br />

21 - 22 บ้านคุณพ่อของผู้เขียน (สมุทรปราการ)<br />

20<br />

20 Rear image of Wadanyu Na Thalang’s house with its<br />

patio.<br />

21 - 22 Residence of author’s father, Samutprakan Province.<br />

38


ณ ถลาง เป็นผู้ออกแบบบ้านหลังนี้จึงมีรูปแบบคล้ายคลึง<br />

กับบ้านส่วนใหญ่ในยุคนั้นจุดน่าสนใจของบ้านหลังนี้อยู่<br />

ที่สวนเปิดกลางบ้าน ที่ช่วยเพิ่มสายลมและแสงแดดให้<br />

บ้านโปร่งสบายตลอดวัน<br />

อย่างไรก็ตามพัฒนาการด้านสถาปัตยกรรมและความ<br />

ก้าวหน้าของสถาปนิกดังกล่าวก็ยังมีข้อจากัด เพราะ<br />

ต้องใช้ทั้งพื้นที่และงบประมาณมาก ขณะที่เศรษฐกิจ<br />

ในช่วงนั้นยังไม่ดีนัก การก่อสร้างบ้านตึกลักษณะใหม่นี้<br />

จึงจากัดอยู่ในวงแคบๆ แต่กลับถูกมองข้ามไปเมื่อผู้คน<br />

มีฐานะทางเศรษฐกิจดีขึ้นในยุคต่อมาและสามารถเลือก<br />

แบบบ้านอื่นๆ ได้อย่างหลากหลาย หลังจากการเคหะ<br />

แห่งชาติได้เริ่มออกนิตยสาร “บ้านและสวน” ครั้งแรกใน<br />

พ.ศ. 2518 ขณะที่ ดร. วทัญญู ณ ถลาง ยังคงดารง<br />

ตาแหน่งเป็นผู้ว่าการคนแรก และมี ชูเกียรติ อุทกพันธ์<br />

เป็นบรรณาธิการ ซึ่งมีส่วนช่วยเปิดให้เห็นทิศทางใหม่ๆ<br />

ในการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมของแบบบ้าน<br />

ในช่วงท้ายของยุคนี้ ผลพวงจากวิกฤตพลังงาน<br />

ทาให้เกิดการแสวงหาแหล่งพลังงานใหม่ๆ จนพบก๊าซ<br />

ธรรมชาติในอ่าวไทย เมื่อได้พลังงานชนิดใหม่ก็ทาให้เกิด<br />

การพัฒนาอุตสาหกรรมที่ชัดเจนขึ้นในช่วงหลังจากนี้<br />

a big underground tank with pump connection to in-house<br />

usage. A half-storied basement was once designed to be<br />

our multi-purpose room surrounded by water drainage.<br />

Columns were raised off ground to allow air to freely<br />

circulate the basement.<br />

However, this house has seen a major unanticipated<br />

limitation. That is land subsidence which is a major<br />

problem to whole Bangkok and surrounding areas.<br />

The problem slowly formed but its impact continues to<br />

increase drastically. Land subsidence problem is due<br />

to the geography of the Chao Phraya River Delta which<br />

was, in the past, under the sea. Its thick soft alluvial soils<br />

consist of marine clay minerals one of which is more<br />

compressible than other clay minerals. As Bangkok and<br />

its periphery grow rapidly, water supply has been in high<br />

demand. Water from the river has been used for urban<br />

tap water supply. Groundwater from deep wells had been<br />

extracted for use in manufacturing and service sectors<br />

lowering down water that is available in various aquifer<br />

layers. In addition, pressures from weights of buildings<br />

and skyscrapers on alluvial soils of Chao Phraya Delta<br />

cause land subsidence to spread out in wider areas. This<br />

problem affects our house too. The garage level has<br />

sunk so much that the last step of the stair float off the<br />

garage ground. Despite many repair attempts until now,<br />

the problem cannot be fixed…” (Santita Ganjanapan,<br />

December 2017)<br />

The house of the author’s father in Samutprakan<br />

Province was also built in 1973 by an architect who followed<br />

Wadanyu Na Thalang. Therefore, the house style shares<br />

some similarity of the period. An interesting character<br />

this house has is its inner courtyard in the middle of the<br />

house. This help increases air and sunlight to come in<br />

and generate cozy feeling all day.<br />

Nevertheless, development of architecture and<br />

architects’ progress were constrained by massive land<br />

and budget requirements while the economy performed<br />

poorly at that time. Thus, construction of new styles like<br />

tuek was confined in narrow circles. Later, when the<br />

economy improved, the styles were overlooked, and<br />

21<br />

22<br />

39


ช่วงที่ 4 ยุคโชติช่วงชัชวาล (พ.ศ. 2520 - 2530 )<br />

23 ทางเข้าหน้าบ้านคุณพ่อของผู้เขียนจะเห็นสวนเปิดกลางบ้าน<br />

23 Entrance to residence of author’s father showing open-court<br />

in middle of house<br />

people chose other house styles with larger selection.<br />

In 1975, a magazine called “Ban Lae Suan” (House and<br />

Garden) was first introduced by the National Housing<br />

Authority when Wadanyu was still the first governor with<br />

Chukiat Utakapan as its editor. This magazine helped open<br />

up new directions in the creativity of house architecture.<br />

Many other house styles could be chosen instead.<br />

The last part of this period saw energy crisis prompting<br />

search for new sources of energy. Natural gas was<br />

discovered in the Gulf of Thailand. New energy propelled<br />

prominent industrial development thereafter.<br />

Fourth Period : The Flourishing Glory (1977 - 1987)<br />

23<br />

The government led by General Prem Tinsulanonda<br />

intensively stimulated economic recovery and development<br />

plan. 3 After natural gas was found in the Gulf of Thailand,<br />

it was used to drive Thai economy towards industrial<br />

society. Natural gas became major energy source for<br />

industrial machines. Agriculture became less significant<br />

ในช่วงสมัยของรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์<br />

ได้มีการเร่งแผนฟื้นฟูและพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเข้มข้น<br />

ขนานใหญ่3 หลังจากการค้นพบก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทย<br />

ซึ่งเป็นพลังงานชนิดใหม่ที่ถูกนามาใช้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ<br />

ไทยให้พัฒนาเข้าสู่สังคมอุตสาหกรรมได้มากขึ้น เพราะ<br />

ก๊าซธรรมชาติเป็นแหล่งพลังงานสาคัญสาหรับเครื่องจักร<br />

ในโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ในช่วงนี้เองภาคเกษตรกรรม<br />

ก็เริ่มลดความสาคัญลง หลังจากรายได้จากภาคเกษตร<br />

ตกต่าลง ในส่วนของภาคอุตสาหกรรมก็หันมาเน้นการ<br />

ส่งออกสินค้า แทนที่จะผลิตสินค้าอุตสาหกรรมการนา<br />

เข้าดังในช่วงก่อนหน้านั้น จนนาไปสู่การเจริญเติบโตทาง<br />

เศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว ผู้คนส่วนหนึ่งก็มีรายได้มากขึ้น<br />

โดยเฉพาะชนชั้นกลางในสังคมเมือง<br />

อาจกล่าวได้ว่า ช่วงเวลานี้เป็นช่วงที่การปรับตัวทั้ง<br />

ในด้านวิถีชีวิตและการประกอบอาชีพ บริษัทธุรกิจต่าง ๆ<br />

เริ่มเห็นช่องทางมากขึ้นในด้านเศรษฐกิจเชิงบริการ<br />

การท่องเที่ยวโรงแรม ภัตตาคารขนาดเล็ก และร้านค้า<br />

สมัยใหม่ จนทาให้ภาคอุตสาหกรรมและบริการขยายตัว<br />

as it generated lower income. Import substitution industry<br />

of earlier period was replaced by export-oriented industry.<br />

This led to rapid economic growth. Certain social groups<br />

of people received higher income especially urban middle<br />

class.<br />

It could be said that this period saw adaptation in<br />

both livelihoods and occupations. Business companies<br />

saw economic opportunities in such service sector as<br />

tourism and operation of hotels, small restaurants and<br />

modern stores. Consequently, industrial and service<br />

sectors grew rapidly resulting in emergence of a new<br />

social group which consisted of white collar workers with<br />

high income. These people adapted into new urban life<br />

style, and searched for something new. The new way<br />

of life was replacing the old one. For instance, company<br />

employees who worked outside their homes tended to<br />

buy ready-to-eat food rather than cooking their own food.<br />

Western taste also played more role.<br />

As for architecture of detached house, its style stepped<br />

away further from the traditional Thai house. This was<br />

40


“การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมยังเชื่อมโยงไปสู่ภูมิภาค อย่างเช่นที่<br />

เชียงใหม่ อะไรที่เกิดในกรุงเทพฯ ก็จะเกิดที่เชียงใหม่เหมือนกัน เพราะหลังจาก<br />

ปี 2520 ช่วงที่เศรษฐกิจขยายตัวเร็วในกรุงเทพฯ การลงทุนในกรุงเทพฯ ขยายตัว<br />

มาก จึงเริ่มกระจายสู่ท้องถิ่น และมาแทนที่ทุนในท้องถิ่น จนนำไปสู่การเปลี่ยนภาพ<br />

เศรษฐกิจของธุรกิจการค้า ซึ่งส่งผลให้ต้องดึงบุคลากรจากภายนอกเข้ามา จากเดิม<br />

ชาวบ้านต้องทำนา ก็กลายมาเป็นคนงาน และเกิดสถานการณ์ “เปลี่ยนหมู่บ้านเป็น<br />

หอพัก” เพราะชาวบ้านต้องเข้าเมืองมาทำงาน จนไม่มีเวลาร่วมกิจกรรมในหมู่บ้าน<br />

และพูดภาษากลางมากกว่าอู้คำเมือง<br />

ในช่วงก่อนหน้านี้ ร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม (โชห่วย) สามารถครอบครองตลาดได้<br />

มากกว่าห้างร้านสมัยใหม่ แต่ภายหลังเมื่อห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่เข้ามา<br />

การแข่งขันทางการตลาด และระบบธุรกิจแบบใหม่ ทำให้สามารถครอบครองตลาด<br />

ได้มาก ทุนท้องถิ่นจึงเหลือแค่ร้านขนาดเล็ก ภายหลังจึงเริ่มหันกลับมาพัฒนาร้าน<br />

ของท้องถิ่นขึ้นมาใหม่ เช่น ริมปิง (ซุปเปอร์มาเก็ตของทุนท้องถิ่น) ด้วยการปรับตัว<br />

มาสู่การขายสินค้าเฉพาะกลุ่ม เป็นต้น”<br />

“Economic and social change were connected with regions. For example,<br />

Chiang Mai. What happened in Bangkok would happen in Chiang Mai too.<br />

After 1977, Bangkok economic growth accelerated and spread to upcountry<br />

areas replacing local capital, and transforming economic image of trade.<br />

Thus, there was demand for external workers prompting the need to draw in<br />

workers from nearby areas. Rural residents who were previously rice farmers,<br />

became labourers. “Dormitory village” emerged since rural people needed<br />

to work in cities, and were so busy that they could not participate in villages’<br />

activities. They also tended to speak central Thai rather than their Northern<br />

Thai dialect.<br />

Initially, “chow-huay”, or the local grocery shop, commanded more market<br />

share than new department stores. Later, when large department stores entered<br />

the market, competition and new business model helped chow-huay won over<br />

market share. Local capital was reduced to small enterprise. Afterwards,<br />

they started to develop local stores. Rim Ping is an example of a supermarket<br />

invested by local capital serving niche market.”<br />

41


มากขึ้นตามมาจนมีผลให้เกิดคนกลุ่มใหม่ คือชนชั้น<br />

พนักงาน ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่มีรายได้สูง ผู้คนเหล่านี้ต้อง<br />

ปรับตัวเข้าสู่สังคมเมืองสมัยใหม่ โดยเริ่มมองหาสิ่ง<br />

ใหม่ ๆ ซึ่งไปมีส่วนสาคัญในการลดบทบาทความเป็น<br />

ดั้งเดิมลง รวมถึงการไปเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต เช่น<br />

พนักงานบริษัทที่ทางานนอกบ้าน จะซื้ออาหารจาก<br />

นอกบ้านแทนการทำากินเอง ขณะที่รสนิยมแบบตะวัน<br />

ตกก็มีบทบาทมากขึ้นด้วย<br />

ในด้านสถาปัตยกรรมของการสร้างบ้านเดี่ยว รูปแบบ<br />

บ้านเรือนจะค่อยๆ เหินห่างออกจากบ้านแบบไทยเดิม<br />

มากขึ้น เพราะมีกลุ่มนักศึกษาที่เรียนจากต่างประเทศ<br />

กลับเข้ามาทางาน และมีรายได้สูงมาก แนวความคิด<br />

และรสนิยมของพวกเขาจึงเริ่มเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม<br />

ต้องการที่อยู่อาศัยรูปแบบใหม่ๆ ซึ่งผลักดันให้สถาปนิก<br />

ต้องสนองตอบ ด้วยการแสวงหาและเพิ่มเติมความแตกต่าง<br />

หลากหลายให้มากขึ้น แม้กระแสแบบตะวันตกอาจจะ<br />

ยังไม่เข้ามาสู่การสร้างบ้านอย่างเต็มที่ ด้วยข้อจากัด<br />

หลายอย่าง เช่น วัสดุที่เปลี่ยนจากไม้เป็นวัสดุแบบใหม่<br />

อุปกรณ์ที่ใช้ช่างฝีมือแบบเก่า ซึ่งช่างแบบสมัยใหม่<br />

ต้องผลิตบุคลากร และต้องฝึกฝนประสบการณ์เพื่อเป็น<br />

ผู้รับเหมาควบคุมการก่อสร้างรองรับการสร้างบ้าน<br />

รูปแบบใหม่ แต่การสร้างบ้านแบบโมเดิร์นที่มีรูปลักษณ์<br />

สวิงสวายก็เริ่มปรากฏให้เห็นมากขึ้นแล้วในช่วงนี้<br />

ขณะเดียวกันการสร้างบ้านจัดสรรก็เริ่มแพร่หลาย<br />

มากขึ้นในช่วงเวลานี้ด้วยเช่นเดียวกัน ซึ่งมีรูปแบบ<br />

หลากหลายมาก และหลายระดับราคา ทั้งในกรุงเทพฯ<br />

และต่างจังหวัด โดยเฉพาะจังหวัดเชียงใหม่ จาก<br />

ประสบการณ์ของผู้เขียน เมื่อเริ่มมาสอนหนังสือที่<br />

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ใน พ.ศ. 2519 ก็พบว่าเริ่มมี<br />

การสร้างบ้านจัดสรรขึ้นบ้างแล้ว ทั้งด้านหน้าและด้าน<br />

หลังของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งมีราคาไม่สูงมาก<br />

ในช่วงหลังของทศวรรษที่ 2520 บ้านจัดสรรเหล่านี้<br />

มีจานวนเพิ่มมากขึ้น ส่วนหนึ่งจะเป็นบ้านจัดสรรราคา<br />

แพง เพื่อขายคนกรุงเทพฯ (weekend house) ดังเช่น<br />

ในพื้นที่ที่มีวิวทิวทัศน์ดี บริเวณริมถนนติดเชิงดอยสุเทพ<br />

หรือริมแม่น้าปิง ซึ่งรูปแบบของบ้านก็จะรองรับการใช้<br />

ชีวิตแบบคนกรุงเทพฯ ด้วยการจำาลองแบบบ้านกรุงเทพฯ<br />

มาตั้งที่เชียงใหม่ หรือลอกเลียนแบบบ้านจากประเทศ<br />

ต่างๆ ในสังคมตะวันตกมากขึ้น เช่น การสร้างเตาผิง<br />

และปล่องไฟ เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อตอบสนองรสนิยมของ<br />

24<br />

25<br />

26<br />

24 - 25 บ้านเดี่ยวทรงสเปนรูปแบบสวิงสวาย<br />

26 บ้านจัดสรรรุ่นแรกๆ บริเวณหน้ามหาวิทยาลัย<br />

เชียงใหม่<br />

27 - 28 บ้านจัดสรรหรูรุ่นแรกๆ ของเชียงใหม่ที่มีดอยสุเทพ<br />

เป็นฉากหลัง<br />

29 - 31 บ้านจัดสรรหรูหลากหลายรูปแบบรุ่นแรกๆ ริม<br />

แม่น้ำปิงพร้อมวิวดอยสุเทพ<br />

42


24 - 25 Detached residence with lavish Spanish influence<br />

26 Early housing estate development in front of<br />

Chiang Mai University.<br />

27 - 28 One of housing estate development in Chiang<br />

Mai with Doi Suthep (Suthep mountain) as<br />

background<br />

29 - 31 Early luxurious housing estate development along<br />

Ping riverside with Doi Suthep as background.<br />

27 28<br />

29<br />

30<br />

31<br />

because ideas and tastes of high-income workers who<br />

studied abroad, diverted from the traditional. They wanted<br />

to find new house styles causing architects to respond<br />

by exploring and adding more varieties. While western<br />

influence had not fully entered house construction due<br />

to limitations of materials. Use of wooden materials had<br />

to give way to new materials. There were also limitations<br />

concerning equipments and traditional craftsmen. Modern<br />

craftsmen needed to be produced by experiential training<br />

so that they could supervise as contractors in charge of<br />

building new house styles. This period saw emergence<br />

of modern houses with lavish details.<br />

Concurrently, construction of housing estates became<br />

widespread which varied in styles and prices both in<br />

Bangkok and upcountry areas particularly Chiang Mai.<br />

By the author’s experience, when I started teaching at<br />

Chiang Mai University in 1976, I found that development<br />

of housing estates already began in front of and behind<br />

the campus. The prices were reasonable.<br />

In latter part of 1977 decade, housing estate development<br />

increased rapidly. Some of them commanded high-end<br />

pricing for Bangkokians who wanted weekend houses<br />

such as those with scenic landscape on the roadside by<br />

Doi Suthep foothills.<br />

Or, by the Ping riverside, house styles catered<br />

Bangkokian way of life by imitating Bangkok house<br />

styles or those of western countries such as fireplace and<br />

chimney to respond to tastes of multiple social groups<br />

such as government officials and business people.<br />

Although residential styles had drastically diverted<br />

from the original, some housing estate development still<br />

retained traditional sense by decorating rooftop with<br />

“ka lae” (traditional Northern Thai rooftop decoration). In<br />

the same period, some people, especially the wealthy, were<br />

filled with nostalgia for Thai traditional style. Therefore,<br />

they turned to build Thai Traditional houses by renovating<br />

old Thai traditional houses or built new Ruean Thai (Thai<br />

Traditional house). This period was thus a flourishing<br />

and glorious era from both economic and architectural<br />

perspectives.<br />

43


คนหลายกลุ่ม เช่น กลุ่มข้าราชการ และกลุ่มนักธุรกิจ<br />

แม้รูปแบบบ้านอาจจะเริ่มเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม<br />

อย่างมากแต่บ้านจัดสรรบางหลังก็ยังรักษาความดั้งเดิม<br />

เอาไว้ด้วยการติด “กาแล” แทน เป็นต้น ในช่วงเดียวกัน<br />

ก็มีกลุ่มคนบางกลุ่มที่เริ่มจะหวนหาอดีต ด้วยการหัน<br />

กลับมาสร้างบ้านแบบไทย ทั้งปรับปรุงจากบ้านไทย<br />

ของเดิม หรือสร้างเรือนไทยโดยเฉพาะในกลุ่มคนราย<br />

ได้สูงช่วงเวลานี้จึงถือว่าเป็นยุคโชติช่วงชัชวาล ทั้งใน<br />

ทางเศรษฐกิจและสถาปัตยกรรมไปด้วยพร้อมๆ กัน<br />

ช่วงที่ 5 ยุคหลุดจากราก (พ.ศ. 2530 – 2540)<br />

ในช่วงเวลานี้ กระแสของเศรษฐกิจไทยนอกจากจะ<br />

ให้ความสาคัญกับอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออกแล้วยัง<br />

ขยายตัวมาสู่เศรษฐกิจในภาคบริการอย่างกว้างขวาง<br />

(โรงแรม บริษัท ห้างสรรพสินค้า) กลุ่มคนทางานเป็น<br />

พนักงานภาคบริการได้ขยายตัวเพิ่มมากขึ้น คนทางาน<br />

ส่วนใหญ่จึงไม่ใช่ข้าราชการอีกต่อไป กลุ่มพนักงาน<br />

เหล่านี้ทางานในอาคารสานักงานสมัยใหม่ ท่ามกลาง<br />

ความคับคั่งของชุมชน สภาพแวดล้อมที่เสียงดัง ทาให้<br />

คนรับอิทธิพลสมัยใหม่เข้ามาสู่บ้านตัวเองได้ง่าย<br />

ช่วงหลัง พ.ศ. 2530 นี้เองจึงเกิดปรากฏการณ์ที่<br />

ผู้คนเริ่มหลุดออกไปจากความรู้สึกนึกคิดแบบที่เคยมีมา<br />

แต่ก่อน จนเรียกได้ว่าหลุดจากรากฐานเดิม แต่กลับถูก<br />

ครอบงาด้วยความคิดแบบตะวันตกเพิ่มขึ้น ช่วงเวลานี้<br />

จึงเป็นช่วงของการหลุดจากรากแทบจะสมบูรณ์ เมื่อ<br />

สภาพแวดล้อมของเมืองเปลี่ยนแปลงและกลายเป็นป่า<br />

คอนกรีตไปหมดแล้ว จนถูกนามาใช้เป็นชื่อหนังสือนิยาย<br />

ขายดีของ รงค์ วงษ์สวรรค์ เรื่อง “ใต้ถุนป่าคอนกรีต”<br />

การจะสร้างบ้านเดี่ยวให้ลมโกรกคงเป็นไปไม่ได้ เมื่อ<br />

ลมไม่โกรก ต้นไม้ก็ไม่มี ก็ต้องสร้างเป็นบ้านติดแอร์<br />

32<br />

32 หน้าปกหนังสือของรงค์ วงษ์สวรรค์<br />

33 เสาแบบกรีกโรมันที่นิยมนำมาใช้ประดับบ้านสมัยใหม่<br />

34 บ้านจัดสรรขนาดใหญ่ในจังหวัดเชียงใหม่<br />

35 - 36 บ้านจัดสรรทั่วไป (ที่มา : การเคหะแห่งชาติ)<br />

37 - 38 ดอนโดมิเนียมที่นิยมสร้างในช่วงเวลานี้<br />

33<br />

32 Front cover of the Rong Wong Sawan’s book<br />

33 Famous Greek-Roman style columns as new<br />

house decoration<br />

34 Large housing estate development in Chiang Mai<br />

province.<br />

35 - 36 Regular housing estate development (Source :<br />

National Housing Authority)<br />

37 - 38 Popular condominium of this period<br />

44


34<br />

35<br />

36<br />

37 38<br />

45


ขณะที่บ้านเรือนได้รับอิทธิพลตะวันตกอย่างเต็มที่<br />

ในช่วงหนึ่งเสาโรมันแบบตะวันตกจึงได้รับความนิยม<br />

อย่างมาก ลูกกรงเซรามิคแสดงบุคลิกความเป็นยุโรป<br />

ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะการเรียนการสอนที่มุ่งความ<br />

สมัยใหม่มากกว่าการประยุกต์เอาลักษณะแบบไทยมา<br />

ใส่ในสถาปัตยกรรมเท่าที่ควร ผู้คนเริ่มหลุดออกไปจาก<br />

ความรู้สึกนึกคิดแบบที่เคยมีมาแต่เดิมและหันมาเรียน<br />

วิธีการที่ถูกคลี่คลายมาจากตะวันตกแล้ว ทั้งในแง่ของ<br />

การคิดในเรื่องรูปแบบและพัฒนาการการปรับตัวเข้า<br />

กับสภาพแวดล้อมโดยไม่สนใจวิถีชีวิตและภูมิอากาศ<br />

จนไม่สามารถสร้างบ้านให้ลมโกรกอย่างเดิมได้ และ<br />

ไม่สนใจปลูกต้นไม้ ถ้าจะปลูกต้นไม้รอบๆ บ้านก็มักเป็น<br />

ไม้ประดับมากกว่าไม้ผลหรือต้นไม้รอบบ้านอย่างเดิม<br />

เมื่อสภาพแวดล้อมของเมืองกลายเป็นป่าคอนกรีต<br />

อย่างชัดเจนมากขึ้น การสร้างบ้านด้วยคอนกรีต บน<br />

ถนนคอนกรีต ไม่ว่าจะเป็นอาคารที่ทาการต่างๆ หรือ<br />

บ้านเรือนก็เริ่มจะใช้กระจกเพิ่มมากขึ้น รูปแบบบ้าน<br />

พึ่งพาภูมิอากาศตามธรรมชาติน้อยลง เพราะเชื่อมั่นใน<br />

เทคโนโลยีมากกว่าจะทาให้อยู่ได้ด้วยตัวเอง โดยตัวอาคาร<br />

ลดขนาดพื้นที่ห้อง และความสูงของชั้นให้เหมาะกับ<br />

Fifth Period: The Uprootedness (1987 - 1997)<br />

In this period, the growth of Thai economy, which<br />

already prioritized export-oriented industries, expanded<br />

into service sector (hotels, companies, department stores).<br />

Number of employees in service sector escalated. The<br />

majority of them were no longer government officials.<br />

These employees worked in modern offices. Amidst<br />

congested and noisy communities, they tended to easily<br />

adopt modernism into their houses.<br />

After 1987, there was an unprecedented phenomenon<br />

that people felt uprooted from preconceived frames of<br />

mind, and became increasingly dominated by western<br />

ideology. This was the age of almost completed<br />

uprootedness. Urban environment was transformed into<br />

concrete jungle. Even one best selling novel by Rong<br />

Wongsawan was named “Under the Concrete Jungle”.<br />

It was impossible to build an airy residence. Without<br />

air flows, trees could not grow. Then air-conditioned<br />

residence were necessary.<br />

การติดแอร์มากขึ้น ทั้งนี้ทั้งนั้นส่วนหนึ่งก็เกิดจากความ<br />

เคยชินจากการทางานอยู่ในออฟฟิศก็อยู่ในแอร์ทั้งวัน<br />

กลับไปบ้านก็แอร์อีก จนมักคิดกันไปว่าหากไม่นอนแอร์<br />

จะนอนไม่หลับ เพราะกรุงเทพฯ เสียงดังมาก<br />

ในแง่ของการออกแบบบ้าน เดิมอาจเกิดจากการ<br />

เรียนรู้รูปแบบหนึ่งแล้วก็ใช้ตามๆ กันไป ต่อมาเมื่อผู้คน<br />

มีรายได้เพิ่มขึ้น อาจเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ทาให้กลุ่มผู้มี<br />

รายได้สูง พัฒนาการออกแบบให้มีลักษณะเฉพาะตัว<br />

และเป็นไปตามความต้องการของแต่ละบุคคล ที่ต้องการ<br />

ความมีอิสระมากขึ้น นอกจากเรื่องบ้านเดี่ยวแล้ว ค่านิยม<br />

ของผู้คนยังให้ความสนใจอาคารแบบอยู่อาศัยร่วมกัน<br />

หลายคน<br />

การสร้างบ้านเรือนในช่วงนี้จึงอาจแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม<br />

คือ กลุ่มนักธุรกิจ ฐานะดี จะสร้างอาคารขนาดใหญ่มาก<br />

ในขณะที่กลุ่มรายได้ปานกลาง อาจจะเป็นบ้านจัดสรร<br />

ขยายออกนอกเมืองจานวนมาก และอาคารอยู่รวมกัน<br />

นอกจากนั้นยังมีอาคารชุด (คอนโดมิเนียม) เกิดขึ้นจานวน<br />

มาก (property market boom) เนื่องจากเป็นการลงทุน<br />

เพื่อแสวงหาผลกาไรในอนาคต (speculative market)<br />

สร้างเกินกว่าความต้องการของตลาด ทั้งอาคารชุด บ้าน<br />

Residences were greatly influenced by the West<br />

such as highly popular Roman columns, and ceramic<br />

balcony beads showing off European character. One<br />

reason might be the education system that emphasised<br />

modernism rather than integration of Thai characteristics<br />

into architectural work. People were detached from<br />

their usual sense, and turned to adopt western ways of<br />

thinking in terms of environmental adaptation patterns and<br />

processes. Without caring for lifestyles and climate, they<br />

could neither design residences that let in natural air nor<br />

or grow tree around the houses anymore. If trees were<br />

grown around the houses, they tended to be ornamental<br />

plants rather than fruit trees or shade-providing trees.<br />

As urban environment became more of concrete<br />

jungle, there were ongoing construction of concrete<br />

houses on concrete roads. Whether they were office<br />

buildings or residential units, they tended to use more<br />

glass. House styles depended less on natural climate with<br />

more confidence in technology than self-sustainability.<br />

Room sizes and floor heights were much reduced to<br />

46


จัดสรร บ้านเดี่ยว การก่อสร้างอย่างรวดเร็ว ทาให้ขาด<br />

หรือลดทอนคุณภาพลง จนสร้างความเสียหายในภายหลัง<br />

(ภายหลังเมื่อภาวะเศรษฐกิจตก กลายเป็นอาคารทิ้งร้าง<br />

จานวนมาก)<br />

ช่วงที่ 6 ยุคกับดักความขัดแย้ง (หลัง พ.ศ. 2540)<br />

ใน พ.ศ. 2540 เกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจและการเงิน<br />

ครั้งใหญ่ (วิกฤตต้มยากุ้ง) 4 ส่งผลให้เศรษฐกิจไทยเกิด<br />

ภาวะขาดทุนและหนี้สินจานวนมากรวมถึงธุรกิจด้าน<br />

อสังหาริมทรัพย์ด้วยเช่นกัน เพราะการลงทุนแบบเก็ง<br />

กาไรที่เกินความจาเป็นในช่วงก่อนหน้านั้น บางครั้งก็<br />

เรียกสถานการณ์ทางเศรษฐกิจดังกล่าวว่า “ฟองสบู่แตก”<br />

หลังจากนั้นผู้คนในสังคมไทยจึงต้องหันกลับมาทบทวน<br />

ใหม่เพื่อคิดค้นและหาทางเลือกใหม่ๆ ในการเข้าไปมีส่วน<br />

ร่วมในระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมใหม่และโลกาภิวัตน์<br />

ซึ่งช่วยนาเสนอความเป็นไปได้หลากหลายทิศทาง ที่<br />

เกี่ยวข้องกับการสร้างกลไกเชิงสถาบันใหม่ขึ้นมาเพื่อ<br />

กากับดูแลระบบเศรษฐกิจไม่ให้เสรีอย่างไร้ทิศทางเช่น<br />

ที่ผ่านมาแต่ก็ยังไม่สามารถผลักดันให้เป็นรูปธรรมได้<br />

match capacities of air conditioners. This is partly due to<br />

workers being accustomed to working in air-conditioned<br />

offices all day long and wanting to continue doing so at<br />

home. Some even thought that they could not sleep in<br />

rooms without air-conditioners since Bangkok was very<br />

noisy.<br />

From a perspective of house design, one specific<br />

style may be learnt and carried on. When income<br />

increased later, it prompted high-income groups to<br />

develop individualised design that suited their independent<br />

desire. Apart from detached residences, people began<br />

to be interested in multiple-unit living compounds.<br />

House construction in this period were classified<br />

into two groups. The first group was enormous buildings<br />

built by wealthy business people. The second group was<br />

suburban housing estates and multiple-unit buildings<br />

built by middle-income groups. Multiple-unit living<br />

compounds (condominiums) were booming in property<br />

markets since they were future investment in speculative<br />

markets. Supplies of condominiums, housing estates and<br />

อย่างแท้จริง<br />

ปัญหาทางเศรษฐกิจดังกล่าวได้ส่งผลกระทบอย่าง<br />

เป็นลูกโซ่ และนำาไปสู่ปัญหาทางการเมือง ซึ่งกลายเป็น<br />

ลักษณะสาคัญของยุคนี้ด้วย นั่นคือการติดอยู่ในกับดัก<br />

ของความขัดแย้งทางการเมือง ที่สืบเนื่องมาจากความ<br />

หลากหลายทางความคิดที่เกิดขึ้นหลังจากการมีเสรีภาพ<br />

ทางการเมืองมากขึ้นตามรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2540<br />

ที่มีความเป็นประชาธิปไตยมากที่สุดฉบับหนึ่ง จนผู้คน<br />

ในสังคมไทยแบ่งแยกออกเป็นฝักเป็นฝ่าย ส่วนหนึ่งก็คง<br />

เป็นเพราะความต้องการที่แตกต่างกันในการแสวงหา<br />

แนวทางที่จะฉุดเศรษฐกิจไทยให้หลุดพ้นออกจากการ<br />

ติดอยู่ในกับดักของประเทศรายได้ปานกลาง ซึ่งมีสาเหตุ<br />

หลักๆ มาจากความเปราะบางของเศรษฐกิจฐานราก<br />

ความเหลื่อมล้ าของรายได้ และความไม่เป็นธรรมต่างๆ<br />

ที่ดารงอยู่ในสังคมไทยมาอย่างยาวนาน<br />

แต่ความขัดแย้งทางการเมืองก็ได้ช่วยกระตุ้นให้<br />

เกิดความหลากหลายทางความคิดที ่แตกต่างกันอย่าง<br />

มากมายในทางเศรษฐกิจและสังคม นอกจากแนวทาง<br />

ในการพัฒนาเศรษฐกิจกระแสหลักแล้ว ก็ยังมีแนวคิด<br />

ประชานิยม เศรษฐกิจแบบพอเพียง รัฐสวัสดิการนิยม<br />

detached houses exceeded real market demand. Many<br />

condominiums, housing estates, and detached houses<br />

were built quickly resulting in compromise of, or lack of,<br />

construction quality as well as subsequent casualties<br />

(after economy crisis, many buildings were abandoned).<br />

Sixth Period: Trap of Conflicts (After 1997 A.D.)<br />

In 1997, a major economic and financial crisis occurred<br />

(Tom Yum Koong crisis) 4 causing great losses and debts<br />

to Thai economy including real estate business. This<br />

happened because of speculative investment beyond<br />

necessity in earlier period. Such economic crisis was<br />

also called “bubble burst”. Afterwards people in Thai<br />

society needed to figure out alternative engagement<br />

with neoliberal economic globalisation. They offered<br />

many possibilities regarding creation of new institutional<br />

mechanisms to regulate the economy so that it might not<br />

be so free without any directions as in the past. This,<br />

however, had not been tangibly accomplished.<br />

47


39<br />

39 - 40 บ้านแบบย้อนอดีตและแบบโมเดิร์น<br />

40<br />

39 - 40 Residence of old and modern styles<br />

48


และการปฏิรูปเชิงโครงสร้าง เพื่อสร้างกลไกและสถาบัน<br />

ทางสังคมรูปแบบใหม่ๆ มารองรับการเปลี่ยนแปลงทาง<br />

สังคมในอนาคต โดยเฉพาะการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคม<br />

ผู้สูงอายุ อย่างไรก็ตามแนวคิดต่างๆ เหล่านั้นยังไม่<br />

สามารถผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงรูปธรรมได้<br />

มากนัก เพราะสังคมไทยบางส่วนยังคงยึดโยงอยู่<br />

กับวัฒนธรรมอานาจนิยมมากกว่าการผลักดันระบบ<br />

ประชาธิปไตยของประชาชนอย่างแท้จริง<br />

ภายใต้สภาวะชะงักงันทางเศรษฐกิจและการเมือง<br />

ดังกล่าว ผู้คนในสังคมไทยส่วนใหญ่เริ่มหันมาคิดหา<br />

วิธีการที่ตนเองจะอยู่อย่างไร บางส่วนก็เปลี่ยนวิถีชีวิต<br />

ให้มีอิสระมากขึ้น ด้วยการอยู่อาศัยแบบครอบครัวเดี่ยว<br />

ซึ่งมีผลต่อการเลือกที่อยู่อาศัยและการสร้างอาคารบ้าน<br />

เรือนตามมา คนส่วนใหญ่จะเลือกตามกระแสของตลาด<br />

อสังหาริมทรัพย์ ที่นาเสนอรูปแบบที่อยู่อาศัยตามระดับ<br />

ของสถานภาพทางเศรษฐกิจ ตลาดล่าง ตลาดกลาง และ<br />

ตลาดบน ทั้งในด้านของบ้านจัดสรร และคอนโดมิเนียม<br />

ซึ่งขึ้นอยู่กับระดับคุณภาพของวัสดุก่อสร้างและการ<br />

ออกแบบว่าจะวิจิตรพิสดารเพียงใด อาคารที่อยู่อาศัย<br />

ในช่วงนี้จึงมีรูปแบบและราคาแตกต่างกันมาก ตั้งแต่บ้าน<br />

The economic crisis caused profound chain reaction to<br />

political problems which became the significant feature of<br />

this era. That is, being trapped in political conflicts. This is<br />

due to diverse ideas that emerged after increased political<br />

freedom provided by the 1997 constitution which is one of<br />

the most democratic constitution of Thailand. Thai society<br />

are split into different camps, partly because of different<br />

ideas to bring Thai economy out of middle-income traps.<br />

Such trap is caused by fragility of grassroots economy,<br />

income disparity and injustice that persists in Thai society<br />

for a long time.<br />

Nevertheless, political conflicts helps generate<br />

divergent opinions in economic and social aspects.<br />

Beside mainstream economic development concepts,<br />

there are populism, sufficiency economy, welfare state,<br />

and structural reform. The goals are to create new social<br />

mechanisms and institutions to accommodate future social<br />

change especially the transition to ageing society. These<br />

concepts, however, cannot push ahead material changes.<br />

This is because some parts of Thai society still cling to<br />

ราคาเป็นร้อยล้านบาท จนถึงบ้านราคาต่ ำากว่าล้านบาท<br />

แต่บ้านเรือนที่สร้างขึ้นจานวนมาก โดยเฉพาะในช่วง<br />

ที่ได้รับผลกระทบจากก่อนหน้านี้ บางส่วนขาดคุณภาพ<br />

ทั้งๆ ที่วัสดุก่อสร้างได้พัฒนามากขึ้น อย่างไรก็ตาม<br />

การเติบโตของตลาดอสังหาริมทรัพย์ก็ช่วยเพิ่มทางเลือก<br />

มากขึ้น การออกแบบอาคารบ้านเรือนต่างๆ มักเป็นไป<br />

อย่างอิสระ หลากหลายแนว บางส่วนก็อาจจะกลับไป<br />

หลงอดีต บางส่วนก็เป็นโมเดิร์น รูปแบบจึงออกมาอย่าง<br />

หลากหลายมากขึ้น<br />

บทส่งท้าย<br />

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมนั้นเปรียบเสมือนการ<br />

เปลี ่ยนพื้นที่ชีวิตจากช่วงเวลาหนึ่งไปอีกช่วงเวลาหนึ ่ง<br />

ซึ่งครอบคลุมมิติต่างๆ ทั้งเศรษฐกิจ การเมือง และ<br />

สังคม ที่รวมกันเข้ามาเป็นองค์ประกอบที่สัมพันธ์<br />

และเชื่อมโยงกันอย่างแยกกันไม่ออก พื้นที่ชีวิตจึงมี<br />

องค์ประกอบของชีวิตในทุกๆ ด้าน ชีวิตทางสังคมก็<br />

ยึดโยงอยู่กับชีวิตทางเศรษฐกิจ ตลอดจนการคลี่คลาย<br />

หรือเปลี่ยนแปลงของระบบการเมืองการปกครอง<br />

authoritarianism rather than true people’s democracy.<br />

Under such economic and political stagnation, most<br />

people in Thai society begin to think about how they<br />

survive. Some choose more independent lifestyles by<br />

living in nuclear families. This has implications on their<br />

choices of residences and subsequent construction.<br />

Most people choose by real estate market trend that<br />

offer housing models meant for different economic status<br />

ranging from lower market to middle market and upper<br />

market. Housing estates and condominiums vary in quality<br />

of building materials and design. Residential buildings of<br />

this period vary greatly in terms of models and prices.<br />

House prices can range from a hundred million baht to<br />

less than one million baht.<br />

However, a number of houses that are built, especially<br />

after previous economic crisis, are substandard despite the<br />

fact that building materials are improved. The growth of<br />

real estate market provides more alternatives. Residential<br />

designs and styles tend to go freely. Some are nostalgic.<br />

Some are modern. Models are more diverse.<br />

49


การศึกษาการเปลี่ยนแปลงในทางสังคมศาสตร์จึง<br />

เน้นการเจาะลึกเข้าไปในเรื่องราวของพื้นที่ชีวิตในแง่มุม<br />

ต่างๆ เหล่านั้น เริ่มจากสถานภาพของบุคคล ในด้านการ<br />

ศึกษา ลักษณะครอบครัว การรวมกลุ่ม การเคลื่อนย้าย<br />

และยังเชื่อมโยงถึงสถานภาพทางสังคม ทางเศรษฐกิจ<br />

บทบาทในสังคม รสนิยม การเรียนรู้จากประสบการณ์<br />

และการเรียนรู้รูปแบบบางอย่างในช่วงเวลาหนึ่ง<br />

ในแต่ละช่วงเวลาจะบ่งบอกถึงการเปลี่ยนแปลงสาคัญๆ<br />

บางด้านที ่สามารถส่งผลกระทบต่อชีวิตในด้านอื่นๆ<br />

ตามมาอีกด้วย<br />

ตลอดรัชสมัยอันยาวนานของพระบาทสมเด็จ<br />

พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร<br />

(รัชกาลที่ 9) ถึง 70 ปี (พ.ศ. <strong>2489</strong>-<strong>2559</strong>) จึงประกอบ<br />

ไปด้วยช่วงเวลาของการเปลี่ยนแปลงในมิติต่าง ๆ อย่าง<br />

มากมาย ซึ่งสามารถแยกแยะออกมาได้ 6 ช่วงเวลา<br />

ด้วยกัน จากช่วงที่ 1 (ก่อน พ.ศ. 2500) ถือเป็นยุคที่<br />

ยึดโยงอยู่กับจารีตแบบแผน แล้วก็เปลี่ยนมาสู่ช่วงที่ 2<br />

(พ.ศ. 2500 - 2510) ซึ่งสังคมเริ่มเปลี่ยนเข้าสู่ยุคของ<br />

การนาเข้าความเป็นสมัยใหม่ จากนั้นก็เข้าสู่ช่วงที่ 3<br />

(พ.ศ. 2510 - 2520) สังคมไทยได้เปลี่ยนไปเป็นยุค<br />

สายลมแสงแดด เมื่อผู้คนบางส่วนเริ่มหันกลับมามอง<br />

Epilogue<br />

Social change is like changing of lived space from one<br />

period to another. It spans economic, political and social<br />

dimensions that integrate into interconnected elements.<br />

Lived space consists of all aspects of life. Social life is<br />

linked to economic life including transformation of political<br />

system.<br />

Thus, the study of change in social science focuses<br />

on probing into stories of lived space in various aspects,<br />

starting with individual status, education, family, groupings,<br />

and migration as well as socio-economic status, social<br />

roles, taste, experiential learning and other kinds of learning<br />

in a specific time. Each period indicates some important<br />

changes that can affect other aspects of lives later on.<br />

The long reign of His Majesty King Bhumibol Adulyadej<br />

(Rama IX), which spanned 70 years (1946 - 2016), saw<br />

changes in various dimensions. Six periods were classified.<br />

From the first period (before 1957) which clung to tradition<br />

50<br />

ตัวเอง เพื่อปรับตัวกับให้เข้ากับกระแสที่มาจากภายนอก<br />

จึงต้องใช้จินตนาการในการสร้างสรรค์พื้นที่ชีวิตให้ลงตัว<br />

ตามสภาพความเป็นจริงในขณะนั้น<br />

แต่เป็นที่น่าสังเกตว่าการเปลี่ยนแปลงใน 3 ช่วง<br />

เวลาแรกนั้นสามารถดาเนินไปอย่างต่อเนื่องขณะที่ใน<br />

3 ช่วงเวลาหลังจะเกิดเหตุการณ์สาคัญๆ ที่กระทบต่อ<br />

การเปลี่ยนแปลงหลายอย่าง ซึ่งทาให้สังคมไทยต้อง<br />

เผชิญกับความเสี่ยงในโลกไร้พรมแดนมากขึ้น ขณะที่<br />

ช่องว่างทางสังคมกลับขยายกว้างมากขึ้น จึงมีผลให้<br />

สังคมต้องติดอยู่ในกับดักของความขัดแย้งมากมาย เริ่ม<br />

ตั้งแต่ช่วงที่ 4 (พ.ศ. 2520 - 2530 ) ที่เรียกว่า ยุคโชติช่วง<br />

ชัชวาล ซึ่งผู้คนมีความมั่งคั่งในทางเศรษฐกิจมากขึ้น<br />

จึงต้องการการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วจนผลักดันให้<br />

สังคมไทยในช่วงที่ 5 (พ.ศ. 2530 – 2540) เคลื่อนเข้าสู่<br />

ยุคหลุดจากราก ซึ่งถือเป็นช่วงเปลี่ยนผ่าน ที่พื้นที่ชีวิต<br />

เต็มไปด้วยความเสี่ยงนานัปการ และยังไม่สามารถก้าว<br />

ข้ามไปได้ ในช่วงหลังสุด (หลัง พ.ศ. 2540) สังคมไทย<br />

กลับต้องชะงักงันอยู่กับยุคกับดักความขัดแย้ง เพราะ<br />

ในปัจจุบันนี้ (พ.ศ. 2561) สังคมไทยยังไร้เสรีภาพที่จะ<br />

กาหนดก้าวเดินไปข้างหน้าอย่างอิสระ<br />

to the second period (1957- 1967) when modernism was<br />

imported. During the third period (1967-1977), Thai society<br />

in the sun-and-the wind era saw some groups looking<br />

into themselves and adapting to change that comes from<br />

outside the country. Imagination was needed in creation<br />

of appropriate lived space in the specific context.<br />

Noteworthy in the three former periods was continuity,<br />

whereas in three latter periods, after many major crises,<br />

Thai society faced increasing risks of borderless world<br />

while social gaps widened. This resulted in Thai society<br />

being trapped in many conflicts. Starting with the fourth<br />

period (1977-1987) so called the era of flourishing glory<br />

where people were economically wealthy. Thus, they<br />

wanted rapid changes that pushed Thai society into the<br />

fifth transitional period (1987-1997) of uprootedness where<br />

lived space was full of many risks that cannot overcome<br />

yet. In the last period (after 1997) Thai society is trapped<br />

in conflicts because, at the present (2018), Thai society<br />

are not yet free to choose its future.


1 — บทความนี้ปรับปรุงจากการสัมภาษณ์โดย ผศ. กิจโชติ นันทน<br />

สิริวิกรม เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2560<br />

2 — วิกฤตน้ำมันครั้งที่ 1 เกิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2516 เป็นช่วงที่เศรษฐกิจ<br />

โลกเริ่มขยายตัว ทำให้ความต้องการใช้น้ำมันมีมากขึ้น ลดปริมาณการ<br />

ผลิต รวมถึงเงื่อนไขของสงครามเร่งให้ราคาน้ำมันสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว<br />

3 — รัฐบาลสมัยพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ (นายกรัฐมนตรี คนที่ 16<br />

ระหว่าง 3 มีนาคม พ.ศ. 2523 - 4 สิงหาคม พ.ศ. 2531) มีนายสม<br />

หมาย ฮุนตระกูล เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เข้าฟื้นฟูภาวะ<br />

วิกฤตเศรษฐกิจ ทำให้เศรษฐกิจไทยโดยเฉลี่ยเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง<br />

ตั้งแต่ในพ.ศ. 2529 อยู่ในระดับร้อยละ 5.5 และก้าวกระโดดใน พ.ศ.<br />

2530 เป็นร้อยละ 9.5 และกลายเป็นเลข 2 หลัก (double-digit) ในระ<br />

หว่างพ.ศ. 2531 - 2533 เฉลี่ยร้อยละ 12.2 (อ้างถึงใน บริษัท ศูนย์วิจัย<br />

ไทยพาณิชย์ จำกัด (2541) หน้า 1.)<br />

4 — เกิดขึ้น พ.ศ. 2540 เมื่อรัฐบาล ตัดสินใจลอยตัวค่าเงินบาท<br />

ทำให้ค่าเงินบาทลดลงอย่างมาก สาเหตุของวิกฤตทางเศรษฐกิจที่เริ่ม<br />

ก่อตัวมาเป็นเวลาหลายปี ท้ายที่สุดส่งผลให้เกิดการขาดดุลทางบัญชี<br />

ของไทย ปัญหาหนี้ต่างประเทศ การลงทุนเกินตัวในธุรกิจ<br />

อสังหาริมทรัพย์ การดำเนินนโยบายทางการเงินขาดประสิทธิภาพ รวม<br />

ถึงการถูกโจมตีค่าเงินบาทไทย ผลคือทำให้เกิดภาวะหนี้มหาศาล ก่อน<br />

จะเริ่มฟื้นตัวในเวลาต่อมา<br />

1 — This article is based on an interview by Assistant Professor<br />

Quijxote Nuntanasirivikrom on September 22, 2017<br />

2 — The first oil crisis occurred in 1973 when the world economy<br />

began to expand. The demand for oil was increasing. The reduce<br />

in production including the war conditions, accelerated the oil price<br />

to rose rapidly.<br />

3 — In the cabinet of General Prem Tinsulanonda (16th Prime<br />

Minister, during March 3, 1980 - August 4, 1988), Mr. Sommai<br />

Hoontrakun was appointed as Minister of Finance to cope with<br />

economic crisis. On the average, Thai economy grew steadily<br />

since 1986, at 5.5 percent, and in 1987 it rose to 9.5 percent and<br />

reached a double-digits growth. During 1988 - 1990 average<br />

growth rate was 12.2% (Cited in SCB Re-search Center, 1998,<br />

page 1.)<br />

4 — It was in 1997, when the government decided to manipulated<br />

Thai currency. Thai currency weakened significantly. The cause<br />

of Thai economy crisis formed for years culminating in Thailand’s<br />

account deficit, foreign debt problems, excessive investment in<br />

real estate business, ineffective implementation of financial policy<br />

including attack on the Thai currency. This resulted in huge debts<br />

before the economy started to recover later.<br />

51


ด้านรัฐศาสตร์ – POLITICO<br />

“ถามว่าทำไมนักวิชาการใช้คำว่า space เพราะมันมีวงศาวิทยาของตัวคำนี้ซึ่งวิ่งกลับไปที่ conceptual categories<br />

ได้ง่าย แต่เวลาเราพูดกับชาวบ้านชาวบ้านไม่ได้ใช้คำนี้ เพราะในวิชามานุษยวิทยาถ้าถามคำถามเขาว่าที่อยู่ของ<br />

เขาอยู่ไหน เขาไม่ได้ตอบว่า space เป็นอะไร เขาอาจจะตอบว่า place ของเขาเป็นอะไรอยู่ที่ไหน ในคำตอบของ<br />

ชาวบ้านหมายถึง place ไม่ใช่ space เวลาที่นักวิชาการคิด นักวิชาการ transform ของแบบนี้ให้กลายเป็น concept<br />

อย่าง space ผมคิดว่าในวิชาสถาปัตยกรรมก็จำเป็นต้องทำเช่นนั้น เพราะคุณต้องมองเห็นความเป็นไปได้และ<br />

ทำงานกับความเป็นไปได้ พอทำงานกับความเป็นไปได้ในแบบนี้แล้วค่อยกลับไปที่ความจริงในเชิงประจักษ์แล้วดู<br />

ว่าลงตัวไปกันได้หรือไม่ ผมเข้าใจว่าวิชาสถาปัตยกรรมเป็นเช่นนี้และโดยเฉพาะการออกแบบของสถาปัตยกรรม<br />

ก็เลยไม่ใช่ place เป็น space ต้องใช้การจัดวาง การจัดการ การคำนวณเพื่อรับน้ำหนักอะไรต่างๆ สิ่งเหล่านี้ไม่ใช่<br />

คอนเซ็ปต์ของคนทั่วไป แต่เป็นแนวคิดวิชาการที่เรายกมาครอบลงบนสิ่งที่เรากำลังพูดถึงในฐานะหลักวิชา” 2<br />

“Why do scholars like to use the term “space”? Because it contains more conceptual connotation to its subtext.<br />

But everyday people do not use this term. From the socio perspective, when asked where they live, they<br />

do not refer to it as space, but more of a place. But from a scholar’s point of view, they tend to transform<br />

these things into a more conceptual idea. I think in the architectural domain, it’s necessary to do so. Because<br />

architects need to be able to see what the possibilities are and start with that, before evaluating factual<br />

environment to see if the possibilities they have in mind can be realized. That’s my understanding of how<br />

architectural studies work. And that’s why in the architectural world, a place has become space. It takes a<br />

lot of work from design composition, management, weight-bearing calculation and all sorts of thing. People<br />

who are not in the profession usually do not concern themselves with these things. It’s more of an academic<br />

idea that we use to explain the concept.” 2<br />

2<br />

Interview; Professor Dr. Chaiwat Satha Anand, 20 th March 2018, Bangkok.<br />

52


“บ้าน” กับความลับของความมั่นคง<br />

HOME AND THE SECRET OF SECURITY<br />

— ศาสตราจารย์ ดร.ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ • Professor Dr. Chaiwat Satha Anand<br />

53


บ้านเดโช<br />

ข้าพเจ้าเป็นคนแถวสีลม<br />

ประโยคนี ้ในปัจจุบันหมายถึงอะไรได้หลายอย่าง<br />

เช่นคอนโดหรู ย่านธุรกิจ และราคาที่ดินสูงลิบ<br />

แต่เมื่อกว่าหกสิบปีก่อน ประโยคนี้ก็หมายถึงอีก<br />

หลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็น โรงสีลม คลอง รถราง ป่าช้า<br />

ฝรั่ง วัดแขก (คือวัดพระศรีมหาอุมาเทวีในศาสนาฮินดู)<br />

ตลาดสด โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน และ โรงเรียนผดุง<br />

ดรุณี (เป็นโรงเรียนสตรีล้วน ปัจจุบันไม่อยู่แล้ว) เลยไป<br />

จนจดถนนเจริญกรุงอันเป็นถนนสายแรกของกรุงเทพฯ<br />

และบริเวณถนนเจริญกรุงนี้เองเป็นที่ตั้งโรงเรียน<br />

อัสสัมชัญและอาสนวิหารอัสสัมชัญ มีโรงแรมที่ได้ชื่อว่า<br />

ดีที่สุดในโลกแห่งหนึ่งริมลำน ้ำเจ้าพระยาคือ โรงแรม<br />

โอเรียนเต็ล (ปัจจุบันอยู่ในเครือโรงแรมแมนดาริน)<br />

แถวนั้นมีชุมชนย่านโรงภาษีเก่า เป็นชุมชนมุสลิม มี<br />

มัสยิดฮารูณเป็นศูนย์กลางของชุมชน อยู่ใกล้สถานกงสุล<br />

ฝรั่งเศสและโรงภาษีร้อยชักสาม (เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า<br />

ศุลกสถาน) ใกล้มัสยิดฮารูณ มีกุโบร์คือ ที่ฝังศพของ<br />

ชาวมุสลิม<br />

MY DECHO HOME<br />

I was a Silom boy.<br />

This statement could mean a number of things: luxury<br />

condos, posh business area, and exuberant land price.<br />

But more than 60 years ago, this statement could<br />

mean something else completely. It could mean: windmill,<br />

canal, tram, Christian cemetery, Hindu temple, fresh<br />

market, Bangkok Christian College (for boys) and Padung<br />

Darunee (for girls-this school no longer exists.), all the<br />

way to New Road, the very first road in the capital.<br />

In this area stand Assumption Cathedral, Assumption<br />

College, the world-renowned centenarian Oriental Hotel<br />

(now belongs to the Mandarin Group). Next to the French<br />

Embassy lies an old Muslim community with Haroun<br />

mosque as its center, complete with Muslim burial ground.<br />

Most of my relatives including my mom, dad, and<br />

grandmother- who was born in the reign of King Rama V<br />

and lived to be 101, were laid to rest there. People used<br />

to call her: grandma Arun of Decho House.<br />

ในกุโบร์นั้นเป็นที่พ ำนักปัจจุบันของญาติพี่น้องข้าพเจ้า<br />

แทบทั้งตระกูลรวมทั้ง พ่อ แม่ และคุณยายซึ่งเกิด<br />

ในสมัยพระพุทธเจ้าหลวงและจากไปกว่ายี่สิบปีแล้วเมื่อ<br />

ท่านอายุได้ 101 ปี ครั้งคุณยายยังมีชีวิตอยู่ ญาติพี่น้อง<br />

ก็ล้วนเรียกหาท่านเป็น “คุณยายอรุณบ้านเดโช”<br />

“บ้าน” ในฐานะพื้นที่สังคมเมืองที่เต็มไปด้วยความ<br />

หลากหลายทางวัฒนธรรมแสนอัศจรรย์ที่ข้าพเจ้าเกิด<br />

เติบโต และ เล่าเรียนอยู่บนถนนเดโช<br />

จำได้ว่า เมื่อเด็กๆ เวลาวิ่งไปรับโทรศัพท์ และคน<br />

ถามจากปลายสายว่า “ที่ไหนจ๊ะ?” ข้าพเจ้าจะตอบว่า<br />

“บ้านเดโชครับ”<br />

เมื่อเล็กกว่านั ้นเคยถูกอุ้มไปเล่นที่บ้านตรงข้าม<br />

ผู้หลักผู้ใหญ่ในบ้านนั้นที่เป็น “หม่อม” เมตตาอุ้มเห่ เลี้ยง<br />

ดูข้าพเจ้าแต่เล็กแต่น้อย เมื่อไม่สบายก็ไปบ้านหมอที่<br />

อยู่ตรงข้ามในสกุล “วิเศษกุล”<br />

เวลานั้นไม่รู้เลยว่าเดโชซึ่งเป็นถนนสายสั้นตัด<br />

ระหว่างถนนสุริวงศ์และถนนสีลมนั้นที่จริงเจ้าพระยา<br />

สุรวงศ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค) จัดซื้อที่ดินและตัดถนน<br />

ทั้งสองสาย ภรรยาท่านเจ้าคุณคือ ท่านผู้หญิงตลับ<br />

My “home”, as an urban space rich with fantastic<br />

cultural diversity, where I was born, bred and went to<br />

school, is on Decho Road.<br />

I remember that when I was a child and there was<br />

a telephone call asking “where is this, please?”, I would<br />

quickly reply “Decho House Krab.”<br />

When I was even smaller, someone would take me<br />

to play at a house across the road. I would be kindly cared<br />

for by a lady of the court and her family. When I was sick,<br />

my mom would take me to another gracious woman<br />

doctor from the house of “Viseskul”.<br />

At the time, I had absolutely no idea about the history<br />

of the short road connecting Suriwong on one side, and<br />

Silom on another. The land around was appropriated and<br />

two new roads came into being because of Chao Phraya<br />

Surawongwatanasak (Toe Bunnag). His wife, Lady<br />

Talabsiharajdecho went to ask for the names of these new<br />

roads from the then regent, Rama V’s Queen Sripatcharintra<br />

Boromrajineenart. Her Royal Highness gave the names:<br />

Surawong and Decho to them.<br />

54


สีหราชเดโช ได้ขอพระราชทานชื่อถนนจาก สมเด็จ<br />

พระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ เมื่อทรงเป็นผู้สำเร็จ<br />

ราชการแทนพระองค์พระพุทธเจ้าหลวงรัชกาลที่ 5<br />

สมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวงพระราชทานชื่อถนนทั้ง<br />

สองว่า สุรวงศ์ และ เดโช<br />

บ่อยครั้งในชีวิต ข้าพเจ้าคิดถึง “บ้านเดโช”<br />

อาจบางทีเพราะบ้านเป็นมากกว่าอิฐกว่าปูนที่สร้าง<br />

บนที่ดินด้วยสถาปัตยกรรมจากมันสมองสถาปนิก<br />

คนจึงรู้สึก “คิดถึงบ้าน” ไม่ว่าจะเป็นคนธรรมดาหรือ<br />

เจ้าฟ้าเจ้าแผ่นดิน ล้นเกล้ารัชกาลที่ห้าทรงพระราช<br />

นิพนธ์ใน ไกลบ้าน เมื่อจากสยาม “บ้าน” ของพระองค์<br />

เสด็จพระราชดำเนินประพาสยุโรปครั้งที่สอง ในพระ<br />

ราชหัตถเลขาฉบับที่ 1 คืนวันที่สองคือ 28 มีนาคม<br />

2450 ตอนหนึ่งว่า<br />

“ตื่น 5 โมงเช้า กินนมและขนมปังกับลูกไม้ รู้สึก<br />

คิดถึงบ้านจนน้ำตาไหลไม่รู้สึกตัว”<br />

ที่จริง แม้จะตระหนักว่า บางครั้งบางหน คนก็<br />

“คิดถึงบ้าน” กันทั ้งนั้น แต่ที่ว่า “คิดถึงบ้าน” นั้นคือ<br />

อย่างไร? และทำไมคนเราจึง “คิดถึงบ้าน”?<br />

Though staying elsewhere now, there are times when<br />

I miss my Decho home.<br />

Perhaps as a result of the fact that a home is more<br />

than a construction with bricks and wood, built on land in<br />

accordance with some architects’ designs, people- both<br />

ordinary and royal, get “homesick” at times.<br />

In King Rama V’s own writing- Klai Barn (Away from<br />

Home), he wrote on the second night during his second<br />

trip to Europe in his letter dated March 28, 1907 that:<br />

“I woke up at 11 a.m., had bread and milk and fruits.<br />

I miss my home so much that tears silently well in my eyes.”<br />

Though people miss their homes at times, but what<br />

exactly is this “homesickness”? And why such feeling<br />

appears?<br />

“HOMESICKNESS”? 1<br />

Once upon a time, feeling “homesick” was considered<br />

a disease. Johannes Hofer did his research on foreign<br />

students, migrant labors, and Swiss mercenary in his<br />

“คิดถึงบ้าน”? 1<br />

ครั้งหนึ่งนานมาแล้ว ความรู้สึก “คิดถึงบ้าน”<br />

ถูกถือว่าเป็นโรคชนิดหนึ่ง Johannes Hofer ศึกษา<br />

นักศึกษาต่างชาติ แรงงานอพยพ และทหารรับจ้าง<br />

ชาวสวิส ในงานเขียน Medical Dissertation of<br />

Nostalgia (1688) เขาโยง “ความคิดถึงบ้าน” เข้ากับ<br />

ความรู้สึก “โหยหาอดีต” และพบว่าคนที่ “คิดถึงบ้าน”<br />

เหล่านี้มีทั้งอาการเจ็บป่วยทางกายอย่างเวียนศีรษะ<br />

คลื่นไส้ เบื่ออาหาร มีไข้สูงควบคู่กับอาการทางจิตอย่าง<br />

ซึมเศร้าที่แยกอดีตออกจากปัจจุบันไม่ได้ แยกเรื่องจริง<br />

ออกจากจินตนาการไม่ได้ ฝรั่งจึงเรียกความรู้สึกนี้ว่า<br />

“homesick”<br />

แต่คนที่ “คิดถึงบ้าน” เป็นคนป่วยแน่หรือ?<br />

หลังเกิดไฟไหม้ป่าครั้งใหญ่ในออสเตรเลีย Helen<br />

Cox และ Colin Holmes ทำงานวิจัย (“Loss, Healing<br />

and the Power of Place”, 2000) พบว่า แม้ผู้คนที่<br />

สูญเสียบ้านและทรัพย์สินไปในกองเพลิงครั้งนั้นจะรู้แต่<br />

แรกว่า พวกเขาอาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยง แต่เมื่อเกิดภัย<br />

พิบัติขึ้น พวกเขากลับรู้สึกเสียดายและเสียใจยิ่งกว่าที่<br />

Medical Dissertation of Nostalgia (1688) by connecting<br />

“homesick” to “nostalgia”, and found that those suffered<br />

from homesickness faced physical sickness which<br />

included dizziness, nauseating with poor appetite, high<br />

fever alongside feeling depressed. They could not separate<br />

the past from the present, nor could they identify facts<br />

from the imaginary. That’s why it has been called “homesick”.<br />

But do those who feel “homesick” really sick?<br />

After the great Australian forest fire, Cox and Holmes<br />

in their research, “Loss, Healing and the Power of Place”<br />

(2000), found that those who lost their houses and properties<br />

in the fire knew from the beginning that they lived in risk<br />

area. But when disaster struck, they felt more about<br />

the loss of trees, and the deaths of animals in the fire than<br />

their material loss. When asked what they would do after<br />

such disaster, not even one family told the researchers<br />

that they would move elsewhere. After the fire, they began<br />

to rebuild their houses and plant the trees. Why is it that<br />

people who knew, and in fact already went through such<br />

55


เห็นสัตว์ป่าถูกไฟคลอก และต้นไม้ใหญ่เล็กแถวบ้านดำ<br />

เป็นถ่าน เมื่อถามว่าหลังภัยพิบัติใหญ่เช่นนี้จะทำ<br />

อย่างไรต่อไป ปรากฏว่าไม่มีแม้แต่ครอบครัวเดียวที่<br />

อยากจะย้ายไปที่อื่น หลังไฟมอดก็เริ่มต้นปลูกบ้านและ<br />

ปลูกป่ากันใหม่ คำถามก็คือ แม้จะรู้ว่าบริเวณนั้นไม่<br />

ปลอดภัย แต่เหตุใดจึงไม่ย้ายไปอยู่ที่อื่น นักวิจัยสรุปว่า<br />

ที่พวกเขาไม่ย้ายไปไหน เพราะผูกพันกับ “สถานที่”<br />

และในแง่นี้ป่าจึงไม่ใช่เป็นเพียงพื้นที่อันตราย แต่เป็น<br />

ส่วนหนึ่งของ “บ้าน” ของพวกเขาด้วย บ้านที่ไม่มีป่า<br />

ไม่ใช่ “บ้าน” ของพวกเขา และดังนั้นเมื่อจะต้องอยู่ใน<br />

“บ้าน” เช่นนี้ คนกับป่าก็ต้องอยู่ด้วยกันให้ได้แม้จะต้อง<br />

เสี่ยงก็ตาม<br />

หลังเหตุการณ์พายุเฮอริเคนถล่มนิวออร์ลีนส์เมื่อปี<br />

2005 Margaret Farrar ทำงานวิจัยเรื่อง “Home/Sick:<br />

Memory, Place and Loss in New Orleans” (2009)<br />

เธอก็พบเช่นกันว่า ผู้คนจ ำนวนมากซึ่งเคยประหวั่นพรั่น<br />

พรึงกับฤทธิ์ของหายนะภัยก็ไม่ประสงค์จะไปอยู่ที่อื่น<br />

หากอยากกลับไปอยู่นิวออร์ลีนส์ พวกเขา “อยากกลับบ้าน<br />

เพราะ คิดถึงบ้าน” ที่อื่นแม้จะอยู่ได้แต่ก็ไม่ใช่ “บ้าน”<br />

ของเขา<br />

experiences, decided to continue to live in such a risky<br />

environment? The researchers found that they did not<br />

move because they were attached to “place”. The forest<br />

was not only a dangerous place, but it was a part of their<br />

homes. Houses without the forest were no longer their<br />

“homes”. Since one has to live in such a “home”, people<br />

had to find ways to coexist with the forest despite the risks.<br />

After Hurricane Catarina devastated New Orleans<br />

in 2005, Margaret Farrar in her research: “Home/Sick:<br />

Memory, Place and Loss in New Orleans” (2009), found<br />

that those in New Orleans whose lives were uprooted by<br />

the tragedy, and who were so very afraid of the disaster,<br />

did not want to move. They also wanted to return to New<br />

Orleans. They wanted to “go home because they were<br />

homesick.” Though they could stay elsewhere, they felt<br />

“it was not home” for them.<br />

Put another way, “homesick” is a relationship, a contact,<br />

and an attachment between body, material and place<br />

weaved into a delicate experiential human web. In one’s<br />

ทั้งหมดนี้เป็นไปได้ว่า การ “คิดถึงบ้าน” คือความ<br />

สัมพันธ์ สัมผัส และผูกพันระหว่างร่างกายกับวัตถุและ<br />

พื้นที่ซึ่งมีประสบการณ์เป็นประดุจสายใยซับซ้อนเชื่อมโยง<br />

สิ่งเหล่านี้เข้าไว้ด้วยกัน ใน “บ้าน” ของตนเองคนเราเดิน<br />

เหิน จับจ้อง และสัมผัสสิ่งต่างๆ ได้ด้วยความคุ้นเคย<br />

อย่างมั่นคงสบายใจ ในขณะที่สำหรับที่ซึ่งตนรู้สึกว่า<br />

“ไม่ใช่บ้าน” คนเราสัมพันธ์กับที่เหล่านั้นด้วยความไม่<br />

แน่ใจ กังวลใจ กระทั่งจะเดินเหินเมียงมองอะไรอย่างไร<br />

ก็เปลี่ยนไป เช่นอาจเดินช้าลงหรือเร็วขึ้น จะจับจ้องมอง<br />

สิ่งของใดก็ไม่อาจทำได้ดังใจตัว<br />

เช่นนี้ถ้าคนรู้สึกว่าที่ที่ตนอยู่เป็น “บ้าน” ของตน<br />

ความรู้สึกมั่นคง สุขใจก็น่าจะตามมา หรือว่าความรู้สึก<br />

มั่นคงว่าที่นั้นเป็น “บ้าน” ของตนคือ กุญแจแห่งความ<br />

มั่นคงทั้งมวล?<br />

“บ้าน” ของอริสโตเติล<br />

ในโลกอารยธรรมฝรั่งที่ได้รับอิทธิพลจากกรีกและ<br />

โรมันเชื่อกันว่า ตำรารัฐศาสตร์เล่มแรกคือ หนังสือ<br />

own “home”, he/she walks, looks, touches things bathed<br />

in familiarity, and as such attains certain satisfaction. But<br />

for places one does not feel like “home”, the relationship<br />

between the body and the place is marked with uncertainty<br />

and anxiety. His/her walk will be different, either slower or<br />

faster. His/her gaze altered since one could no longer look<br />

at things which do not belong to him/her as one so wishes.<br />

As a result, if people feel that the place they live are<br />

their “homes”, what follows would be a sense of security<br />

emboldened with satisfaction. Perhaps a sense of security<br />

from where one lives, whether it is his/her own home, is<br />

the key to all types of security, national or otherwise?<br />

ARISTOTLE’S HOME<br />

In a world influenced by Greek and Roman civilizations,<br />

it has been long believed that the first political science<br />

textbook was Aristotle’s Politics.<br />

Aristotle (384-322 B.C.) wrote Politics after his significant<br />

56


The Politics ของอริสโตเติล (384-322 ก่อนคริสตกาล)<br />

อริสโตเติลเขียน The Politics ขึ้นภายหลังหนังสือ<br />

สำคัญอีกเล่มหนึ่งของเขาที่ว่าด้วยจริยศาสตร์ คือ<br />

Nicomachean Ethics และในย่อหน้าสุดท้ายของ<br />

หนังสือจริยศาสตร์ (Book X: 9) อริสโตเติลชี้ว่า เมื่อ<br />

ได้พิจารณาเรื่องทางจริยศาสตร์เรียบร้อยแล้ว ก็ถึงเวลา<br />

ของการพิเคราะห์ เรื่องธรรมนูญของสังคมการเมือง<br />

(polis) และการออกกฎหมาย อาจจะเพราะเช่นนี้<br />

บรรทัดแรกในหนังสือ Politics อริสโตเติล จึงเขียนว่า<br />

สังคมการเมืองเป็นชุมชนอย่างหนึ่งที่ปรากฏขึ้นเพื่อ<br />

ความดีงามบางอย่าง และเพราะสังคมการเมืองเป็น<br />

ชุมชนขั้นสูงสุดของมนุษย์ เป้าหมายของสังคม<br />

การเมืองจึงมุ่งไปสู่ความดีงามสูงสุดด้วย (Book I: 1)<br />

แต่ที่น่าสนใจก็คือ เมื่อเริ่มหนังสือ Politics ไปได้<br />

สองบท อริสโตเติลก็พาตำรารัฐศาสตร์ของตนไปสู่การ<br />

อภิปรายปัญหาเรื่อง “บ้าน” (oikos) เพราะเขาเชื่อว่า<br />

สังคมการเมือง (polis) ประกอบกันขึ้นมาจาก “บ้าน”<br />

หรือ “ครัวเรือน” และ “บ้าน” 2 ที่ว่านี้ไม่ใช่ตึกราม แต่<br />

เป็น “บ้าน” ซึ่งมีผู้คนอาศัยอยู่ ดังนั้นจึงต้องมีการ<br />

จัดการ “ครัวเรือน” หรือ “บ้าน” (Book I: 3)<br />

สำหรับอริสโตเติลมีความสัมพันธ์สามชุดที่สำคัญ<br />

สำหรับการจัดการครัวเรือน คือ ความสัมพันธ์ระหว่าง<br />

นายกับบ่าวทาส ระหว่างสามีกับภรรยา และระหว่าง<br />

บิดากับบุตร แม้อาจจะอภิปรายปัญหาเหล่านี้ได้อีกมาก<br />

เช่นอริสโตเติลสนใจเรื่องการใช้อำนาจเหนือทาส หรือ<br />

อริสโตเติลไม่สนใจความสำคัญของมารดา แต่ข้าพเจ้า<br />

คิดว่าที่สำคัญที่สุดในที่นี้คือ การที่อริสโตเติลคิดว่าการ<br />

อภิปรายปัญหาเรื่อง บ้านหรือครัวเรือน หมายถึงการ<br />

ให้ความสำคัญกับสายสัมพันธ์ของคนในบ้านนั้นเอง<br />

และแม้ว่าความยุติธรรมไม่อาจดำรงอยู่โดยสมบูรณ์ใน<br />

บ้านหรือครัวเรือนได้เพราะมีแต่ใน polis หรือ สังคม<br />

การเมืองเท่านั้นที่ความยุติธรรมอาจจะสมบูรณ์ได้ แต่<br />

“บ้าน” ก็ดำรงอยู่ใน “เมือง” และมีหน้าที่ช่วย “เมือง”<br />

พามนุษย์ไปสู่ความดีงามสมบูรณ์<br />

อริสโตเติลมีลูกศิษย์หลายคน มีอยู่คนหนึ่งเป็น<br />

เจ้าชายแห่งมาซิดอนชื่อ อเล็กซานเดอร์ ต่อมากลาย<br />

เป็นมหาราชพิชิตไปทั่วโลก<br />

work on ethics. In the last paragraph of Nicomachean<br />

Ethics, Aristotle wrote that once the issues of ethics have<br />

been discussed, then it is time to examine politics,<br />

constitutions, and legislation (Book X: 9). This is perhaps<br />

why the first sentences of his Politics are about how every<br />

polis (his term) is a community of some kind, established<br />

with a view of the good. Since the polis, or political society,<br />

is the highest human community, its aim is always towards<br />

the highest good (Book I: 1).<br />

But then Aristotle leads his readers into a discussion<br />

of “oikos”- home or household. This is because he argues<br />

that polis (political society) is constituted by “homes” or<br />

“households”. 2 His notion of “household” is inhabited<br />

houses with people living in it. As a result, how a “household”<br />

is managed becomes important (Book I: 3).<br />

Aristotle maintains that three sets of relationship are<br />

crucial for household management. They are: master-slave,<br />

husband-wife, and father-children relationships. Here is<br />

not the place to explore how the philosopher is interested<br />

in issues such as slavery, or his seemingly blindness to<br />

the mother’s role in a household. Most important for the<br />

present discussion is that Aristotle thinks of oikos in terms<br />

of human relationship which exists in that household.<br />

Though for him perfect justice may not exist in a home<br />

since only in a polis could perfection be attainable, it is a<br />

“home” which is a crucial part of the “city” that could<br />

foster how a polis could help realize his/her perfect<br />

goodness.<br />

It goes without saying that Aristotle had many students.<br />

One of them is a prince of Macedon named Alexander<br />

who would later became a great conqueror of the known<br />

world.<br />

ALEXANDER’S CITY<br />

The philosopher Machiavelli (1469-1527) gained his<br />

fame, or some would say notoriety, from his short political<br />

work - The Prince written in 1513. But perhaps his most<br />

57


“เมือง”ของอเล็กซานเดอร์มหาราช (356-323<br />

ก่อนคริสตกาล)<br />

มาคิอาเวลลี (ค.ศ. 1469-1527) เป็นนักปรัชญา<br />

มีชื่อเสียงทั่วโลกจากงานเขียนทางการเมืองเรื่อง<br />

The Prince (1513) หรือ เจ้าผู้ปกครอง อันลือเลื่อง<br />

ของเขา แต่งานเขียนทางปรัชญาการเมืองยิ่งใหญ่ที่สุด<br />

ของเขาอาจคือหนังสืออีกเล่มหนึ่งที่โลกรู้จักน้อยกว่า<br />

หนังสือเล่มนั้นชื่อ The Discourses ที่เขาใช้เวลาเขียน<br />

ราว 6 ปี ในขณะที่ The Prince ใช้เวลาเขียน 6 เดือน<br />

และ หนังสือเล่มนี้ก็ยาวกว่า เจ้าผู้ปกครองราว 6 เท่า<br />

ใน The Discourses (เล่มที่ 1 บทที่ 1 ย่อหน้าที่ 5)<br />

มาคิอาเวลลีเขียนถึงอเล็กซานเดอร์มหาราชไว้ตอน<br />

หนึ่งว่า เมื่อพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ประสงค์จะสร้างนคร<br />

เพื่อเป็นประจักษ์พยานถึงพระสิริรุ่งโรจน์ของพระองค์<br />

สถาปนิกผู้ยิ่งใหญ่แห่งยุคคือ Deinocrates ทูลพระองค์<br />

ว่า เขาสามารถออกแบบสร้างเมืองอันยิ่งใหญ่บนยอดเขา<br />

Athos ซึ่งนอกจากท่านสถาปนิกจะออกแบบให้เมือง<br />

เข้มแข็งสุดยอดแล้ว ยังตั้งใจจะออกแบบเมืองนี้ให้<br />

คล้ายรูปทรงมนุษย์อันแสนอัศจรรย์และจะเป็นเมืองหา<br />

ยากในโลกคู่ควรกับพระอิสริยยศของจอมกษัตริย์อย่างอ<br />

เล็กซานเดอร์ เมื่อได้ฟังความคิดของสถาปนิก มหาราช<br />

จึงทรงถามเขาว่า แล้วประชาชนชาวเมืองเขาจะอยู่กัน<br />

อย่างไร สถาปนิกชะงัก แล้วตอบว่า ยังไม่ได้คิดเรื่อง<br />

นั้น เมื่อได้ทรงฟังค ำตอบ อเล็กซานเดอร์มหาราชทรงพระ<br />

สรวล และไม่มองยอดเขาอีกเลย แต่ทรงสร้างเมืองใหม่<br />

ขึ้นในที่ราบริมทะเล ใกล้ลำน้ำใหญ่โดยมีหัวใจอยู่ที่การ<br />

ดำรงชีวิตที่ดีของผู้คนพลเมือง<br />

และเมือง Alexandria ก็ถูกสร้างขึ้นริมทะเล<br />

เมดิเตอร์เรเนียน ใกล้แม่น้ำไนล์<br />

“บ้าน” กับความมั่นคงของ “เมือง”<br />

อริสโตเติลกล่าวถึงหน่วยทางการเมืองที่เรียกว่า<br />

polis คำนี้มักแปลกันว่า “รัฐ” แต่ข้าพเจ้ามักใช้คำว่า<br />

“สังคมการเมือง” เพราะกล่าวให้ถึงที่สุด “รัฐ” ในความ<br />

หมายที่เข้าใจกันเวลานี้ยังไม่เกิดเมื่อสมัยกรีก ที่จริงค ำ<br />

นี้ใกล้กับคำว่า “เมือง” (city) มากกว่า “รัฐ” เพราะกรีก<br />

significant political philosophy work is The Discourses<br />

(1513-1518) which took him 6 years to write, compared<br />

to 6 months used to write The Prince. It is also lesser<br />

known, among other things, perhaps because of its length<br />

which is 6 times longer than that of The Prince.<br />

In the beginning of The Discourses, Machiavelli told<br />

a story about Alexander the Great (Book I, Chapter 1,<br />

paragraph 5).<br />

When Alexander the Great (356-323 B.C.) wanted to<br />

build a city as an evident of his glory, Deinocrates- the<br />

royal architect told him that he could design a great city<br />

on top of Mount Athos. This city would be extremely strong.<br />

Moreover, he planned to design the city in a human form,<br />

most wondrous and a rarity in the world befitting the<br />

honor of the world conqueror such as Alexander. Hearing<br />

the words of the architect, Alexander asked how his people<br />

would live in such a city. The architect was taken aback<br />

and replied that he had not thought about this.<br />

Hearing the architect’s answer, Alexander laughed<br />

and never looked back at the mountain, nor at the plan<br />

for a city with a human form.<br />

Later a new city was built in his name on a plain, by<br />

the sea and close to a great river. It was to be a city with<br />

the good life of a people as its heart.<br />

And Alexandria was built by the Mediterranean, close<br />

to the River Nile.<br />

“HOME” AND “CITY” SECURITY<br />

Aristotle uses the term polis for his most important<br />

political unit. This term is commonly translated as “state”.<br />

But I would rather use the term “political society” because<br />

strictly speaking the “state” as we know it was a later<br />

invention. The word polis is closer to the term “city”<br />

since the main Greek political formation of the time was<br />

“city-state”. But the point here is that: using Aristotle’s<br />

thought as an entry point, one could think of a “city” or<br />

a “political society” through the role a “home” plays in<br />

it. This would mean that it is human relationship in a<br />

home that is most crucial for sustaining a household,<br />

58


ในเวลานั้นปกครองกันเป็น “นครรัฐ” แต่ไม่ว่าจะเป็น<br />

อย่างไร ถ้าจะลองพิจารณา “เมือง” ผ่านความส ำคัญของ<br />

“บ้าน” เช่นที่อริสโตเติลเริ่มไว้ และให้ความสำคัญกับ<br />

สายสัมพันธ์ของคนที่อยู่กันใน “บ้าน” ว่าเป็นเครื่องช่วย<br />

ให้ “บ้าน” ดำรงอยู่มั่นคงได้ จะกล่าวได้หรือไม่ว่า<br />

ก็สายสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์เช่นนี้เองที่ทำให้คนแล<br />

เห็นว่า “บ้าน” เป็นที่พักพิง เป็นที่คุ้นเคย เป็นที่รักที่<br />

หวง และเป็นที่ที่มนุษย์จะคิดถึงได้<br />

การสร้างเมืองหรือรัฐหรือประเทศให้มั่นคง ไม่อาจ<br />

กระทำได้หากไม่คิดถึงความมั่นคงของสายสัมพันธ์<br />

ระหว่างผู้คนในบ้าน และความมั่นคงชนิดนี้ไม่อาจ<br />

บังคับให้เกิดขึ้นได้ ไม่ว่าจะถืออาวุธร้ายแรง ถืออำนาจ<br />

บังคับยิ่งใหญ่มาแต่ไหน<br />

เพราะความลับของความมั่นคงชนิดนี้แสดงอยู่ใน<br />

ภาษิตสามัญที่ว่า บ้านในความหมายของที่อยู่ทางวัตถุ<br />

อาจสร้างจาก อิฐ จากไม้ แต่บ้านที่เป็น “บ้าน” สร้าง<br />

และดำรงอยู่ได้ก็ด้วยหัวใจและสายสัมพันธ์ระหว่าง<br />

หัวใจของผู้คนเท่านั้น ที่จะจรรโลงความมั่นคงของ<br />

สังคมการเมืองให้ยั่งยืนได้<br />

1 — รายละเอียดงานวิจัยเหล่านี้อ่านเพิ่มได้จาก สายพิณ ศุพุทธ<br />

มงคล, “คนกับภัยพิบัติ: งานวิจัยทางสังคมศาสตร์,” วารสาร<br />

ธรรมศาสตร์ ปีที่ 30 (2554), หน้า 151-183<br />

2 — ในภาษากรีกปัจจุบัน คำว่าบ้าน (home) คือ คำว่า spiti แต่คำ<br />

ว่า oikos ก็ใช้กันมาแต่โบราณแทน “บ้าน” ในความหมายของ home<br />

เช่นกัน เช่นในคัมภีร์ไบเบิ้ล พระวรสารของ Luke 1: 23, Luke 1: 27<br />

and consequently the city/political society. Could it be 1 — See Saipin Suputtamongkol, “Human and Disaster: Social<br />

that it is this human relationship that transforms a dwelling Science Research,” Thammasat Journal. Vol.30 (2011), pp.<br />

into a “home” where one could take comfort in it, be 151-183 (In Thai).<br />

2 — I understand that the word for “home” in Greek can also<br />

familiar with it, love it, and sometimes feeling “homesick” be “spiti”. But oikos was used to denote a sense of “home”<br />

because of it?<br />

since antiquity. Consider how Luke uses the term “oikos” in The<br />

It is not possible to foster a city’s or a country’s security Bible, Luke 1: 23, Luke 1: 27.<br />

without strengthening human relationship inside people’s<br />

homes. This type of security cannot be coerced into<br />

existence, not by dangerous weapons nor with fierce<br />

forces dictated by illegitimate authority.<br />

Perhaps the secret of a sustainable security lies in<br />

a common wisdom:<br />

A house is built from bricks and stones but a home is<br />

built by hearts alone.<br />

59


ด้านเศรษฐศาสตร์ – ECONOMICS<br />

“ผมคิดว่าถ้าคุณจะผูกเรื่องต่างๆ โดยเฉพาะเรื่องเศรษฐกิจเข้ากับเรื่องสถาปัตยกรรม ความคิดเห็นที่ผมมีคือ เวลา<br />

คุณนั่งทำงานคุณได้รับโจทย์มาให้สร้างอะไรต่างๆ คำถามต้นๆ ที่คุณคิดคือมีวัตถุดิบอยู่เท่าไหร่ แล้วคุณก็ดูว่า<br />

วัสดุตลอดจนวัตถุดิบทางการคิด ณ ขณะนั้นมีอะไร มีเท่าไหร่ และเป็นอย่างไร ส่วนสิ่งที่คุณไม่ค่อยได้ให้ความ<br />

สนใจมากนักนั่นคือเทคโนโลยี ณ ขณะนั้นเป็นอย่างไร เทคโนโลยีมันมีความเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ อยู่ตลอดเวลา” 3<br />

“If you’re going to connect economics with architecture, some of the first questions you should ask are these; what are<br />

the materials, how much and how many? And this includes your thinking resources as well. One thing that you don’t<br />

pay attention to is technology. Technology keeps changing all the time.” 3<br />

3<br />

Interview: Professor Dr. Ammar Siamwalla, 16 th January 2018, Thailand Development Research Institute, Bangkok.<br />

60


เศรษฐกิจประเทศไทย :<br />

ห้าสิบปีของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ<br />

THE THAI ECONOMY: FIFTY YEARS OF EXPANSION<br />

— ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อัมมาร สยามวาลา • Professor Dr. Ammar Siamwalla<br />

หมายเหตุ :<br />

บทความฉบับนี้เขียนขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2539 ชื่อเรียกบุคคล สถานที่ และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง<br />

จะอ้างอิงตามเหตุการณ์ในขณะนั้น<br />

61


GDP AT 1988 PRICES, 1950 — 1993<br />

Billion Baht (Log Scale)<br />

100000<br />

10000<br />

1000<br />

100<br />

1950<br />

1952<br />

1954<br />

1956<br />

1958<br />

1960<br />

1962<br />

1964<br />

1966<br />

1968<br />

1970<br />

1972<br />

1974<br />

1976<br />

1978<br />

1980<br />

1982<br />

1984<br />

1986<br />

1988<br />

1990<br />

1992<br />

Year<br />

Source : NESDB<br />

62


เศรษฐกิจประเทศไทย : ห้าสิบปีของการขยายตัว<br />

ทางเศรษฐกิจ<br />

กว่าห้าสิบปีภายใต้ร่มโพธิสมภาร ในรัชสมัยของ<br />

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาล<br />

ที่ 9 เราได้เห็นความเปลี่ยนแปลงกว่าครึ่งศตวรรษใน<br />

ประวัติศาสตร์ของความเป็นชาติไทย เครื่องยนต์หลัก<br />

ของการเปลี่ยนแปลงนั้นคือ เศรษฐกิจ และพลังของ<br />

เศรษฐกิจจึงได้ถักทอความเปลี่ยนแปลงทั่วทั้งสังคมไทย<br />

ตามกระบวนการของการเปลี่ยนแปลงชีวิตพสกนิกรที่<br />

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาล<br />

ที่ 9 ทรงตั้งพระราชหฤทัยไว้ ไม่ว่าในยามบ้านดีเมืองดี<br />

หรือในยามร้าย พระองค์เป็นผู้นำวิถีชีวิตของชาวไทย<br />

ทั้งปวงผ่านยุคเข็ญของสงความโลกครั้งที่ 2 ให้รอดพ้น<br />

ความย่อยยับอับจนมาได้ จนทุกวันนี้แทบไม่หลงเหลือ<br />

ร่องรอยของบาดแผลให้เห็นแม้เพียงเศษเสี้ยว<br />

ยังเป็นครึ่งศตวรรษของความแตกต่างอีกด้วย<br />

เศรษฐกิจของประเทศไทยนั้นขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง<br />

แต่เพียงขาเดียว ต่างกับการเมืองแบบไทยที่มี<br />

วิวัฒนาการแบบเดินหน้าสองสามก้าวแล้วถอยหลังสอง<br />

สามก้าว ผ่านยุคที่เผชิญหน้ากันทางอุดมคติความเชื่อ<br />

The fifty years of His Majesty’s reign has seen more<br />

change than in any other half-century in Thailand’s entire<br />

history. The main engine of change has been the<br />

economy, and its power has rewrought the entire fabric<br />

of Thai society, in the process transforming the lives of<br />

His Majesty’s subjects. For better or for worse, the way<br />

of life that the Thais had led until the eve of the Second<br />

World War is now forever gone.<br />

It has also been a half-century of contrasts. The<br />

almost unilineal economic expansion contrasted against<br />

the few-steps-forward-and-few-steps-back character of<br />

Thai political evolution. Periods of ideological<br />

confrontation punctuated long spells of cold and sometimes<br />

even cynical pragmatism. Economic nationalists vied for<br />

power and influence against those who advocated an open<br />

economy. Whole new classes of people have arisen, while<br />

local communities are fast disappearing as distinct groups<br />

in society. Relationships between Thais and Chinese<br />

veered from animosity to tolerance, and eventually<br />

to assimilation. But, in the long run, the unrelenting<br />

คั่นด้วยช่วงเวลาที่หนาวเหน็บอันยาวนานและในบาง<br />

ครั้งถึงกับปฏิบัตินิยมด้วยความเหยียดหยามกับฝ่ายที่<br />

คิดเห็นต่าง<br />

การดำเนินเศรษฐกิจแบบชาตินิยมนั้นต่อสู้เพื่อ<br />

ช่วงชิงอำนาจและอิทธิพล กับระบบเศรษฐกิจแบบเปิด<br />

ก่อกำเนิดชนชั้นใหม่เอี่ยมขึ้นในสังคมไทย ในขณะที่<br />

สังคมแบบพื้นบ้านเลือนหายไปด้วยความรวดเร็ว เช่น<br />

เดียวกับการแบ่งกลุ่มชาติพันธุ์ที่เคยมีมาในสังคมไทย<br />

ความสัมพันธ์ระหว่างคนไทยและคนจีนในไทยนั้นหันเห<br />

ทิศทางจากความเกลียดชังเป็นยอมรับได้ และสุดท้าย<br />

กลายเป็นเนื้อเดียวกัน แต่ผลในระยะยาวของการที่<br />

เศรษฐกิจขยายตัวอย่างไม่หยุดหย่อนก่อให้เกิดวังวน<br />

ทางสังคมและทางการเมือง และได้ให้ทิศทางที่ทั้งสอง<br />

อย่างนั้นขาดสิ่งที่ปกป้องไม่ให้ประวัติศาสตร์ถูกเล่าอย่าง<br />

ไม่สมเกียรติว่าเป็นประเทศที่เกิด “เรื่องร้ายๆ ขึ้นซ้ ำแล้ว<br />

ซ้ำเล่า” นั่นก็คือการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง<br />

ประเทศไทย พ.ศ. <strong>2489</strong><br />

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช<br />

รัชกาลที่ 9 ได้เถลิงถวัลยราชสมบัติภายใต้สถานการณ์<br />

eco-nomic expansion bore down on the social and political<br />

eddies and gave them a direction which they would<br />

otherwise have lacked. What prevents the history recounted<br />

below from being a story of “one damn thing after another”<br />

is this uninterrupted economic expansion.<br />

THAILAND IN 1946<br />

His Majesty the King ascended the throne under deeply<br />

tragic circumstances. If we survey the conditions of his<br />

subjects, the scene was also quite depressing. A child<br />

born in 1946 had a one in eight chance of dying before it<br />

reached its first birthday (the current figure is less than<br />

one in thirty). If it was born in the countryside – and at<br />

that time more than four-fifths of all Thais were living in<br />

rural areas – its chances would be even poorer. The<br />

mother who gave birth to the child had a good chance of<br />

dying during childbirth, and since the average woman<br />

would be giving birth to about five children over her lifetime<br />

(to make up for the high probability of her losing some of<br />

63


ที่เป็นโศกสลดอย่างสุดซึ้ง หากเราจะสำรวจตรวจสอบ<br />

ถึงบริบทของสถานการณ์ที่พระองค์ท่านต้องเผชิญใน<br />

ขณะนั้น สถานการณ์บรรยากาศนั้นค่อนข้างจะหดหู่<br />

เด็กทารกแรกคลอดที่เกิดใน พ.ศ. <strong>2489</strong> มีโอกาสหนึ่ง<br />

ในแปดที่จะเสียชีวิตก่อนครบวันเกิดของเขาในขวบปี<br />

แรก (ตัวเลขในขณะนี้ ต่ำกว่า 1 ใน 30) หากเกิดใน<br />

ชนบท โดยขณะนั้นประชากรในชนบทนับเป็นสัดส่วน<br />

4 ใน 5 ของประชากรทั้งหมด ในสภาพชนบททุรกันดาร<br />

โอกาสของเด็กนั้นยิ่งน้อยลงไปกว่านี้อีก แม่ผู้ให้กำเนิด<br />

บุตรในยุคนั้นสมัยนั้นมีโอกาสสูงที่จะเสียชีวิตจากคลอด<br />

บุตร โดยเฉลี่ยแล้วในหนึ่งชีวิตของผู้เป็นแม่จะให้<br />

กำเนิดบุตรประมาณ 5 คน (ทั้งนี้เพื่อชดเชยกับโอกาส<br />

ที่จะเสียชีวิตของบุตรบางคนของเธอ) ทำให้อายุขัยที่<br />

คาดหมายของเธอนั้นสั้นกว่าสามีของเธอมากนัก<br />

ประชากรที่เป็นผู้ใหญ่ยังคงเป็นเหยื่อจากภัยที่เกิด<br />

ขึ้นจากโรคระบาดต่างๆ ถึงมันจะเป็นความจริงที่ว่า เขา<br />

สามารถพึ่งพาสิ่งที่หาได้จากทรัพยากรในผืนป่าที่มิได้<br />

ห่างออกไปจากถิ่นที่อยู่ทำให้ชีวิตของเขานั้นง่ายขึ้น ใน<br />

ขณะนั้นผืนดินกว่าครึ่งของประเทศถูกปกคลุมด้วย<br />

ผืนป่า ว่ากันตามจริงแล้วยังมีหลายพื้นที่ที่ไม่สามารถ<br />

those children), her life expectancy would be shorter than<br />

her husband’s.<br />

An adult was still prey to various infectious diseases.<br />

True, he would have at his disposal ample natural resources<br />

culled from the forests that were seldom far away from<br />

his home, making his life that much easier. At that time<br />

more than half of the country’s land area was covered with<br />

forests. It is also true, however, that much of that area was<br />

not accessible or accessible only at the risk of contracting<br />

malaria, which was rampant. The countryside was far from<br />

uniformly tranquil and peaceful places of nostalgia. The<br />

demobilization of the troops at the end of the Second World<br />

War without adequate pay had led to widespread banditry<br />

and insecurity. Little in the way of public services reached<br />

the countryside. It was a rare village that had access to<br />

roads (the central plains villagers however had access to<br />

water transport), and even rarer to have access to electricity.<br />

Then, as today, agriculture was the main livelihood of<br />

the rural population. But people were more dependent<br />

on it than now. As only one crop was grown a year, it<br />

occupied only half a year of a farm family’s available<br />

64<br />

เดินทางเข้าไปถึงได้ แม้จะเดินทางเข้าไปได้ก็จะเป็น<br />

พื้นที่ที่เต็มไปด้วยโรคมาลาเรียที่ดุร้าย ชนบท ณ<br />

เวลานั้นค่อนข้างห่างไกลมากจากคำว่าสงบสุขอย่าง<br />

เท่าเทียมกันตามที่เคยเป็นมาเมื่อครั้งก่อนเก่า การปลด<br />

ประชากรของกำลังพลภายใต้สงครามโลกครั้งที่สองที่<br />

เพิ่งสิ้นสุดไปหมาดๆ โดยขาดการจ่ายค่าตอบแทนที่<br />

เพียงพอนั้น นำไปสู่การขยายตัวของความไม่ปลอดภัย<br />

และโจรผู้ร้ายที่ชุกชุม เจ้าหน้าที่รัฐที่จะมาให้บริการ<br />

ประชาชนในชนบทนั้นก็หาได้น้อยมาก มีไม่กี่หมู่บ้าน<br />

ที่จะมีถนนตัดเข้าไปถึง (ชาวบ้านในที่ราบลุ่มภาคกลาง<br />

ส่วนใหญ่อาศัยการสัญจรทางน้ำในการคมนาคม) แต่ที่<br />

เข้าถึงยากกว่านั้นก็คือการมีไฟฟ้าใช้<br />

แม้ทุกวันนี้ประชากรในชนบทยังคงอาศัยการ<br />

ดำรงชีพด้วยเกษตรกรรมเป็นหลัก แต่ผู้คนในยุคก่อน<br />

พึ่งพาอาศัยเกษตรกรรมมากกว่าผู้คนในยุคนี้ เพราะ<br />

การเพาะปลูกนั้นมีทำได้เพียงปีละครั้ง มันใช้เวลาใน<br />

การทำงานเพียงแค่ครึ่งปีของครอบครัวเกษตรกรรมใน<br />

การทำงานเท่านั้น ในปัจจุบันนี้แรงงานจากภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนืออพยพกันลงมาใช้แรงงานเก็บ<br />

เกี่ยวในพื้นที่ภาคกลางมากขึ้น ในขณะที่งานนอกภาค<br />

working time. As at present, many from the Northeast<br />

would migrate to the Central Plains to obtain work as<br />

harvesters. On the other hand, non-farm work was not<br />

easily available, and therefore many perforce remained<br />

at home. In many areas, people would barter goods and<br />

services, more because of the lack of locally available<br />

cash and the expense of transport than because of an<br />

innate disdain for the use of money.<br />

The commerce of the country was dominated by the<br />

Chinese – then a distinct and separate community from<br />

the Thais. Rice typically provided well over half of the<br />

country’s export earnings, and consequently the great rice<br />

exporting houses were the apex of the local business<br />

community. Teak, tin and rubber provided the rest of<br />

Thailand’s exports. What little industry was there to<br />

process these export commodities, rice-milling and<br />

saw-milling taking up the lion’s share.<br />

The financial prospects for Thailand at the end of<br />

the Second World War looked equally unpromising.<br />

As a result of its involvement with the Japanese during<br />

the war, Thailand was required to pay reparations of 2


่<br />

การเกษตรนั้นมีไม่มากนัก ทำให้มีผู้คนอีกมากที่จำเป็น<br />

ต้องอยู่บ้านเฉยๆ ในหลายพื้นที่ชาวบ้านยังใช้ระบบ<br />

แลกเปลี่ยนข้าวของเครื่องใช้ด้วยแรงงานและการ<br />

บริการ เพราะในพื้นที่เหล่านั้นขาดแคลนเงินสดในท้อง<br />

ถิ่นและค่าใช้จ่ายของการเดินทางที่แพงมาก มากกว่า<br />

ความรังเกียจที่จะใช้ระบบแลกเปลี่ยนด้วยเงินตรา<br />

การพาณิชย์ของประเทศถูกขับเคลื่อนภายใต้<br />

อิทธิพลของชาวจีนที่มีเอกลักษณ์ และแยกตัวชัดเจน<br />

ออกจากกลุ่มคนไทย เป็นแบบฉบับที่ “ข้าว” นั้นจะสร้าง<br />

รายได้ดีกว่าเกินครึ่งของการส่งออกของประเทศ ส่งผล<br />

ให้การค้าข้าวเป็นธุรกิจที่ได้รับการนับหน้าถือตาจาก<br />

บรรดาธุรกิจในแต่ละท้องถิ่น ไม้สัก ดีบุก และยางพารา<br />

พยุงรายได้จากการส่งออกในส่วนที ่เหลือของประเทศ<br />

ซึ่งก็มีธุรกิจกระบวนการแปรรูปอีกจำนวนหนึ่งที่แปรรูป<br />

ผลผลิตเพื่อการส่งออก ได้แก่ ธุรกิจโรงสีข้าว และโรง<br />

ไม้ที่ขยับตัวสนับสนุนการส่งออกอันเป็นที่มาของราย<br />

ได้ของประเทศ<br />

สถานะทางการเงินของประเทศไทยเมื่อสิ้นสุด<br />

สงครามโลกใหม่ๆ นั้น เอาแน่เอานอนอะไรไม่ได้เลย<br />

เป็นผลมาจากการเข้าร่วมสงครามกับฝ่ายญี่ปุ่นใน<br />

million tons of rice to the victorious Allies. True, eventually,<br />

heroic negotiations pared the amount of reparations to<br />

insignificance. But the uncertainty created by the negotiations<br />

and the monopolization of the rice trade caused a great<br />

deal of turmoil in the rice market.<br />

The monetary system was in chaos. During the war,<br />

the Japanese had asked the Thai authorities to issue large<br />

amounts of baht to finance their military expenditures in<br />

Thailand. The baht was supposedly backed by the<br />

issuance of yen credit balances in the Yokohama Specie<br />

Bank. The reserves of course became worthless with the<br />

defeat of Japan, and the baht went into a tailspin. The<br />

inflation of the time, which saw the real value of the currency<br />

depreciate sevenfold toward the end of the war and then<br />

another twenty percent in the first two years after the war,<br />

was the worst ever experienced in Thailand’s economic<br />

history. The inflation did not just erode the real incomes<br />

of the civil servants but almost wiped it out, so that the<br />

incomes of the top echelon among the civil servants was<br />

less than 3 per cent of the level before the war.<br />

The Financial Advisor at the time wrote: “In May 1946<br />

ระหว่างสงคราม ประเทศไทยจำต้องจ่ายค่าปฏิกรรม<br />

สงครามเป็นข้าวจำนวนถึง 2 ล้านตัน เพื่อชดใช้ให้กับ<br />

ฝ่ายพันธมิตรประเทศที่ชนะสงคราม จริงอยู่ที่ผลของ<br />

การเจรจาต่อรองอย่างจริงจังสามารถลดมูลค่าของค่า<br />

ปฏิกรรมสงครามลงจนแทบจะเป็นเรื่องไม่คอขาดบาด<br />

ตาย แต่ถึงกระนั้นความไม่แน่นอนอันเป็นผลมาจาก<br />

การต่อรองต่างๆ ตลอดจนการผูกขาดในการค้าข้าว<br />

ก็ส่งผลความผันผวนอย่างมากมายต่อกลไกทาง<br />

การตลาดของการค้าข้าว<br />

ระบบการเงินนั้นสับสนอลหม่าน ในช่วงสงคราม<br />

ประเทศญี่ปุ่นได้สั่งการให้ไทยผลิตเงินบาทขึ้นมาเพื่อ<br />

สนับสนุนกองทัพพระจักรพรรดิที่ตั ้งฐานทัพอยู่ใน<br />

ประเทศไทย เพื่อทำให้กองทัพญี่ปุ่นนั้นสามารถใช้จ่าย<br />

กันได้อย่างคล่องตัวในช่วงมหาสงคราม เงินบาทนั้น<br />

ควรจะได้รับการประกันเครดิตด้วยเงินเยนตามสัญญา<br />

ที่มีไว้กับ โยโกฮาม่า สปีซี แบงค์ (ปัจจุบันไม่มีอยู่แล้ว<br />

เพราะถูกครอบครองกิจการโดย แบงค์ ออฟ โตเกียว<br />

–ผู้แปล ษิระ น้อยทิพย์) เป็นที่แน่นอนว่าจากการที<br />

ญี่ปุ่นแพ้สงครามนั้น ส่งผลให้เงินทุนสำรองระหว่าง<br />

ประเทศแทบจะไม่เหลือค่าใดๆ ค่าเงินบาทนั้นอยู่ใน<br />

Siam was starting from scratch; the till was completely<br />

empty and the only asset she possessed was her potential<br />

power to acquire stocks of foreign exchange.” 1<br />

The resilience of the Thai economy, that “power to<br />

acquire stocks of foreign exchange”, showed through<br />

quickly. By 1947, inflation had almost disappeared, helped<br />

by the recovery of her exports, soon to be followed by the<br />

commodity boom arising out of the Korean war. The main<br />

reason for this turnaround was the recovery in rice<br />

production from the low levels that prevailed in the highly<br />

insecure conditions in the countryside during the war.<br />

ECONOMIC NATIONALISM AND CORRUPTION: LAYING<br />

THE FOUNDATIONS (1947-1958)<br />

The stabilization achieved by 1947 was based on<br />

a system of multiple exchange rates which generated<br />

considerable foreign exchange profits for the government.<br />

The reverse side of the same coin is that this was an<br />

implicit tax on exports of primary commodities, particularly<br />

rice. The implicit taxation of rice through this mechanism<br />

65


สถานะผันผวนอย่างหนัก ภาวะเงินเฟ้อในขณะนั้น<br />

ต้องเผชิญทั้งกับภาวะการถดถอยลงของค่าเงินลงถึง<br />

เจ็ดเท่าเมื่อสิ้นสุดสงคราม ผนวกกับอีกยี่สิบเปอร์เซ็นต์<br />

ในช่วงสองปีแรกหลังจากสงครามสิ้นสุด ซึ่งนับได้ว่าเป็น<br />

ประสบการณ์ที่เลวร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์ของระบบ<br />

เศรษฐกิจในประเทศไทย ภาวะเงินเฟ้อที่รุนแรงนั้นยังส่ง<br />

ผลให้ข้าราชการทั้งหลายจำต้องลาออกกันเป็นทิวแถว<br />

เพราะรายได้ของตัวเองกลับไม่ได้เพิ่มตามค่าของ<br />

เงินเฟ้อ ในขณะที่รายได้ของข้าราชการระดับสูงนั้นลด<br />

ลงเพียงแค่ 3 เปอร์เซ็นต์จากเมื่อครั้งก่อนสงคราม<br />

ที่ปรึกษาทางการเงินในขณะนั้นได้บันทึกไว้ว่า<br />

“เดือนพฤษภาคม 1946 ประเทศสยามเริ่มต้นประเทศ<br />

ใหม่จากศูนย์ ในคลังนั้นมีแต่ความว่างเปล่า สินทรัพย์<br />

เพียงอย่างเดียวที่ประเทศมีนั้นคือ สิทธิและอำนาจที่จะ<br />

ซื้อและบริหารเงินตราต่างประเทศ”<br />

ศักยภาพในการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยในขณะ<br />

นั้นขึ้นอยู่กับ “อำนาจที่จะซื้อและบริหารเงินตราต่าง<br />

ประเทศ” ออกผลให้เห็นอย่างรวดเร็ว ทำให้ พ.ศ. 2490<br />

เงินเฟ้อในประเทศนั้นเกือบจะหมดไปแล้ว ทำให้การส่ง<br />

ออกนั้นเริ่มฟื้นตัว ตามด้วยราคาพืชผลทางการเกษตร<br />

evolved later on into an explicit tax called the premium.<br />

This taxation of rice exports had a significance beyond<br />

its immediate impact on government finances, because<br />

it depressed domestic rice prices. It thus became a means<br />

by which the government could subsidize the urban<br />

population, among whom the most important group at that<br />

time were the civil servants. In this way, the devastation<br />

that wartime inflation had brought upon their real incomes<br />

was mitigated, some of the burden being shifted to the<br />

rice farmers instead.<br />

But the stability thus achieved did not last long.<br />

In 1952 there was a misguided attempt to try and revalue<br />

the free market rate of the baht, ostensibly to curb inflation.<br />

It is difficult to rationalize this action, since by that time<br />

the commodity price inflation from the Korean war boom<br />

had changed into a price drop. Oral tradition has it that<br />

the government felt that a higher value of the baht would<br />

be prestigious for the country. If so, this concern for<br />

prestige was in keeping with the notions of economic<br />

nationalism that, apart from massive corruption (on which<br />

more below), were the hallmarks of that period.<br />

66<br />

พุ่งทะยานในช่วงสงครามเกาหลี ปัจจัยที่สร้างจุด<br />

พลิกผันให้ประเทศกลับมาฟื้นตัวได้ดีนั้นคือผลผลิตข้าว<br />

ที่ฟื้นตัวได้อย่างรวดเร็วหลังจากสงคราม<br />

เศรษฐกิจแบบชาตินิยม และ การทุจริตคอรัปชั่น<br />

: การวางพื้นฐาน (พ.ศ. 2490 - 2501)<br />

เสถียรภาพทางเศรษฐกิจได้เริ่มต้นตั้งแต่<br />

พ.ศ. 2490 บนพื้นฐานของอัตราการแลกเปลี่ยนเงิน<br />

ตราต่างประเทศเป็นที่มาของผลกำไรอย่างมหาศาลให้<br />

กับรัฐบาล และอีกด้านหนึ่งกลับเป็นการเก็บภาษีที่แฝง<br />

เร้นจากการส่งออกของสินค้าโภคภัณฑ์โดยเฉพาะข้าว<br />

การเก็บภาษีแฝงเร้นจากการส่งออกข้าวนั้นได้พัฒนา<br />

ในภายหลังเป็นภาษีที่เก็บโดยตรงที่รู้จักกันในชื่อของ<br />

“Premium ข้าว” นโยบายเก็บภาษีส่งออกข้าวนั้นสร้าง<br />

ผลกระทบทางการเงินกับรัฐบาลอย่างหนักในทันที<br />

เพราะมันทำให้ราคาข้าวภายในประเทศนั้นตกต่ำ จึงดู<br />

เหมือนว่ารัฐบาลในขณะนั้นกำลังพยายามที่จะช่วย<br />

เหลือเจือจุนประชาชนคนเมืองซึ่งดูจะเป็นกลุ่มบุคคลที่<br />

สำคัญอันได้แก่ข้าราชการเป็นส่วนใหญ่ ถ้ามองในมุม<br />

Traditionally, Thai economic nationalism was directed<br />

at two different sets of foreigners. The first were the<br />

Europeans and Americans. During the nineteenth century,<br />

their governments concluded a series of agreements with<br />

Thailand which considerably limited the fiscal autonomy<br />

of the Thai state, as well as giving their governments<br />

extraterritorial jurisdiction over their citizens and subjects<br />

residing in Thailand. Well before the Second World War,<br />

however, these unequal treaties had been renegotiated<br />

to everyone’s satisfaction.<br />

The second set of foreigners were of a different kind.<br />

They were the Chinese immigrants and their descendants<br />

who had over the years amassed considerable economic<br />

power. Relations between Thais and Chinese had been<br />

reasonably amicable, and many of the Chinese immigrants<br />

had gradually assimilated into Thai society. Beginning<br />

from about 1910, however, these relations deteriorated,<br />

and the Thai state began to impose greater restrictions<br />

on the many freedoms which they used to enjoy. These<br />

restrictions began under the absolute monarchy, and were<br />

continued, indeed intensified, when the People’s Party


นี้ความเสียหายจากในยุคสงครามที่สร้างภาวะเงินเฟ้อ<br />

ก่อกำเนิดรายได้ที่แท้จริงเพื่อแบ่งเบาภาระของรัฐบาล<br />

แต่ผู้แบกรับภาระส่วนหนึ่งกลับไปอยู่กับชาวนา<br />

แต่เสถียรภาพนี้ก็อยู่ได้ไม่นาน เมื่อ พ.ศ. 2495<br />

มีการโน้มน้าวทางความคิดที่ผิดด้วยการพยายามที่จะ<br />

ปรับค่าเงินบาทให้ลอยตัว เพราะมีการโอ้อวดว่า<br />

สามารถควบคุมเงินเฟ้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งไม่มี<br />

มูลเลยเพราะขณะนั้นเป็นช่วงสงครามเกาหลีกำลัง<br />

ลุกลาม กดดันให้ราคาสินค้าเกษตรตกต่ำ มีการพูดกัน<br />

อย่างกว้างขวางว่า ต้องการให้เงินบาทนั้นคงค่าที่สูงเอา<br />

ไว้เพื่อสร้างเกียรติภูมิให้กับประเทศ เราต้องดำเนิน<br />

นโยบายเศรษฐกิจแบบชาตินิยมด้วยการเสริมสร้าง<br />

เกียรติภูมิของประเทศ ในขณะที่มีการฉ้อราษฎร์บัง<br />

หลวงกันขนานใหญ่ (รายละเอียดดังจะกล่าวต่อไป) คือ<br />

ความเด่นของในยุคนั้น<br />

การดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจแบบชาตินิยมนั้น<br />

มีผลกระทบโดยตรงต่อต่างชาติ 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ กลุ่ม<br />

ยุโรป และ อเมริกา ในช่วงระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19<br />

ประเทศเหล่านั้นได้ลงมติให้ทำข้อตกลงเกี่ยวกับการ<br />

จำกัดความเป็นเอกราชในระบบภาษีกับรัฐบาลไทย<br />

assumed power in 1932, and reached a crescendo between<br />

1949 and 1952.<br />

The actions taken by the Thai government in some ways<br />

were a reaction to events in China. Thus the deterioration<br />

in 1910 can be associated with the rise of nationalism in<br />

China. The intensification of the anti-Chinese policies had<br />

as its backdrop the triumph of the Communist Party in<br />

mainland China in 1949. While most Chinese living in<br />

Thailand at first welcomed this event, they soon shifted their<br />

position as the Communists’ land-reform programme took<br />

away their lands in China – many Chinese had invested<br />

their life savings in the land. At the same time, the Thai<br />

authorities took a more strident anti-Communist stance,<br />

and travel between China and Thailand also became more<br />

hazardous politically. Financial remittances also became<br />

more and more restricted.<br />

The upshot of all these events was that the Chinese in<br />

Thailand began to be weaned away from the ties that bound<br />

them to their mother land. As their children grew up, parents<br />

found it more attractive to send their children to Thai schools.<br />

At the time, the pains endured by the Chinese community<br />

พร้อมกันนี้ยังมีข้อตกลงเพื่อให้อ ำนาจนอกรัฐแก่รัฐบาล<br />

ต่างประเทศรวมถึงประชาชนคนชาติยุโรปและอเมริกา<br />

ผู้มีที่พักอาศัยอยู่ในประเทศไทย อย่างไรก็ดีก่อน<br />

สงครามโลกครั้งที่ 2 ก็ได้มีการเจรจาแก้ไขให้มีความ<br />

เท่าเทียมกันเพื่อความสบายใจของทุกฝ่าย<br />

กลุ่มต่างชาติกลุ่มที่สองนั้นมีความต่างจากกลุ่ม<br />

แรกมากเลยทีเดียว กลุ่มนี้เป็นกลุ่มลูกหลานชาวจีน<br />

อพยพที่สั่งสมอำนาจทางเศรษฐกิจไว้อย่างมหาศาล<br />

ด้วยสัมพันธภาพที่แนบแน่นระหว่างไทยและจีนที่เป็น<br />

มิตรกันมาอย่างยาวนาน สองประเทศจึงกลมกลืนกัน<br />

เป็นเนื้อเดียวกัน เป็นส่วนหนึ่งของสังคมไทยได้ในที่สุด<br />

จุดเริ่มต้นนั้นมีมาตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2453 แต่<br />

ความสัมพันธ์ก็เริ่มเสื่อมทรามลงเมื่อไทยริเริ่มที่จะ<br />

จำกัดอิสรภาพที่ชาวจีนเคยได้เพลิดเพลินกันมา การ<br />

จำกัดนี้มีที่มาตั้งแต่สมัยที่เรายังปกครองในระบอบ<br />

สมบูรณาญาสิทธิราชย์ และยังคงความตึงเครียดต่อ<br />

เนื่องมาจนถึงในยุคของคณะราษฎรที่เข้ามามีอำนาจ<br />

ใน พ.ศ. 2475 และความเครียดก็มาถึงจุดสูงสุดในช่วง<br />

พ.ศ. 2492 และ 2495<br />

การกระทำของรัฐบาลไทยในขณะนั้นในบางมุม<br />

were not trivial, and abuses of their civil rights undoubtedly<br />

occurred. It also cannot be denied that through this process<br />

the foundations were laid (almost inadvertently) for the<br />

incorporation of a foreign community containing<br />

Thailand’s wealthiest businessmen into general<br />

Thai society – a task which today can be considered<br />

essentially complete.<br />

However, this assimilation could not have been<br />

predicted in the 1950s, either by the Chinese themselves<br />

or by outside observers. Before that was achieved, the<br />

Chinese had to go through a period when they were<br />

“pariah entrepreneurs” 2 doing their business under the<br />

“protection” of the leading military and police leaders.<br />

Many of these men in uniform were “invited” to join the<br />

boards of leading banks and businesses, which themselves<br />

continued to be run by the original Chinese owners. Thus<br />

was born the alliance between Chinese business leaders<br />

and Thai politicians.<br />

Such an alliance was not without its dangers for the<br />

Chinese: added to the normal uncertainties that attend<br />

business decisions, they had to back the right political<br />

67


คล้ายเป็นการตอบโต้เหตุการณ์ที ่เกิดขึ้นในประเทศจีน<br />

ทำให้สัมพันธภาพของสองประเทศเริ่มเสื่อมทรามลง<br />

ตั้งแต่ พ.ศ. 2453 เพราะเกิดการลุกฮือของจีนชาตินิยม<br />

ในประเทศจีน ความเข้มข้นของนโยบายต่อต้านจีนนั้น<br />

มีพื้นหลังมาจากชัยชนะของพรรคคอมมิวนิสต์จีนใน<br />

แผ่นดินใหญ่ เมื่อ พ.ศ. 2492 เมื่อแรกๆ ชาวจีนที่อาศัย<br />

อยู่ในประเทศไทยก็ต่างดีใจต่อเหตุการณ์นี้ ในระยะ<br />

เวลาไม่นานก็เริ่มที่จะเปลี่ยนข้างความคิด เมื่อพรรค<br />

คอมมิวนิสต์จีนได้ปฏิรูประเทศด้วยการยึดเอาที่ดินของ<br />

พวกเขาในประเทศจีนมีชาวจีนจำนวนไม่น้อยที่ลงทุน<br />

ทั้งชีวิตเก็บหอมรอมริบเพื่อให้ได้ครอบครองที ่ดินเป็น<br />

ของตัวเอง ในขณะเดียวกันทางการไทยก็เริ่มดำเนิน<br />

นโยบายที่แข็งกร้าวต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ ทำให้<br />

การเดินทางไปมาหาสู่ระหว่างประเทศไทย-จีนนั้น<br />

กลายเป็นความอันตรายทางการเมือง การส่งเงิน<br />

ระหว่างประเทศก็เริ่มที่จะถูกจำกัดมากขึ้นตามลำดับ<br />

บทสรุปของเหตุการณ์นี้คือ ชาวจีนในประเทศไทย<br />

เริ่มที่จะลดความผูกพันที่เคยมีมาอย่างเหนียวแน่นต่อ<br />

แผ่นดินแม่ลง เมื่อบรรดาบุตรหลานของพวกเขาเติบ<br />

ใหญ่ขึ้น พ่อแม่ของเด็กชาวจีนเหล่านี้ก็เริ่มสนใจที่จะ<br />

horse. The penalties that attended wrong forecasts were<br />

not trivial, but provided the cards were played right, they<br />

were not fatal either (see the story of Chin Sophonphanich<br />

in Box).<br />

The anti-Chinese policies of the late 1940s and the<br />

1950s had as their stated objective the need for Thais to<br />

take over the levers of economic power. One result<br />

was the peculiar form of the alliance that arose as a<br />

consequence. But this was only one prong in the overall<br />

strategy of economic nationalism. It was supplemented<br />

by another consideration. Until then, the main wealth<br />

acquired by the Thais was through public service, and this<br />

wealth was sharply curtailed by the postwar inflation.<br />

Since no government chose to make good this erosion of<br />

public servants’ salaries, the military-dominated<br />

government that held power between 1947 and 1957 took<br />

measures to acquire access to the country’s wealth by<br />

means other than taxation.<br />

The means they used was through the creation of<br />

public or quasi-public entities. 3 A holding company, the<br />

National Economic Development Corporation (Nedcol)<br />

68<br />

ส่งบุตรหลานเข้าเรียนในโรงเรียนไทย ในยุคนั้นความ<br />

เจ็บปวดที่ชาวจีนต้องแบกรับนั้นไม่ใช่เรื่องเล็กน้อย<br />

และการละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานนั้นมีให้เห็นอยู่<br />

ตลอดเวลา ปฏิเสธไม่ได้เช่นเดียวกันกับกระบวนการ<br />

วางรากฐานของประเทศ (โดยไม่ตั้งใจ) ที่จะสร้างความ<br />

เป็นเนื้อเดียวกันโดยผสมนักธุรกิจที่ร่ำรวยที่สุดใน<br />

ประเทศไทยเข้ามาอยู่ในสังคมไทยเป็นภารกิจที่<br />

ทุกวันนี้ต้องกล่าวว่าเป็นความสำเร็จที่งดงาม<br />

อย่างไรก็ดีการปรับตัวเข้ากันได้ดีแบบนี้มองเห็น<br />

ได้ไม่ชัดในยุคคริสต์ทศวรรษ 1950 (พ.ศ. 2493 - 2502)<br />

ไม่ว่าจะมองจากสายตาของชาวจีนด้วยกันเองแล้วหรือ<br />

จะมองจากสายตาของผู้สังเกตการณ์ ก่อนหน้าที่จะ<br />

ประสบความสำเร็จนั้น ชาวจีนจำต้องข้ามผ่านช่วงเวลา<br />

ที่ถูกมองว่าเป็น “ผู้ประกอบการนอกคอก” ทำธุรกิจ<br />

ภายใต้ “การคุ้มครอง” ของผู้นำทางการทหารและ<br />

ตำรวจหลายท่าน ซึ่งหลายท่านก็ได้ “รับเชิญ” เข้ามา<br />

นั่งเป็นผู้บริหารของธนาคารชั้นนำหลายแห่ง รวมถึง<br />

ธุรกิจหลายที่ซึ่งยังคนดำเนินการภายใต้เจ้าของที่เป็น<br />

ชาวจีนดั้งเดิม ด้วยเหตุนี้จึงเป็นจุดกำเนิดสัมพันธภาพ<br />

ที่แนบแน่นระหว่าง นักธุรกิจจีน กับ นักการเมืองไทย<br />

was created to run some of these enterprises. Private<br />

activities in many areas were banned, and monopoly rights<br />

were conferred on these state enterprises and on the War<br />

Veterans’ Organization which served as a front for the<br />

leading members of the military.<br />

Entities could be created at the stroke of a pen, but<br />

running them was altogether another matter. Here is what<br />

the World Bank later had to say about the investments<br />

made by Nedcol:<br />

“The concept behind each of the projects was probably<br />

sound. … But none of the projects was properly<br />

studied at the beginning. There is little doubt that<br />

each of them has cost much more than it should have,<br />

and that none will be profitable at all until put under<br />

the control of experienced managers.” (IBRD 1966:92)<br />

Nedcol’s problems were unique only in their severity<br />

– the company was eventually closed down, and its debt<br />

taken over by the government. Other enterprises started<br />

by the government suffered from similar problems. The<br />

troubles of these companies played a significant role in<br />

the fall of the Phibun Songgram government and the rise


เป็นพันธมิตรที่อาบไว้ด้วยอันตรายต่อชาวจีน ซึ่งมี<br />

ส่วนผสมของความไม่แน่นอน ความยากที่จะคาดเดาใน<br />

การตัดสินใจในเชิงธุรกิจ พวกเขาถูกบังคับให้เลือกฝ่าย<br />

ทางการเมืองให้ถูกข้าง เพราะค่าความเสียหายของการ<br />

เดาที่ผิดพลาดนั้นหนักหนา ต้องพยายามเล่นไพ่ให้ถูก<br />

หน้า แต่อย่างไรก็ตามมันก็ไม่เลวร้ายจนถึงแก่ชีวิต<br />

(โปรดอ่านเรื่องของ ชิน โสภณพานิชย์ ในกล่องข้อความ)<br />

นโยบายต้านจีนในช่วงปลายๆ ยุคคริสต์ทศวรรษ<br />

1940 (พ.ศ. 2483 - 2492) และคริสต์ทศวรรษ 1950<br />

(พ.ศ. 2493 - 2502) นั้น มาจากนโยบายของรัฐที่มีความ<br />

ต้องการจะเป็นผู้กุมอำนาจทางเศรษฐกิจของประเทศ<br />

หนึ่งในผลที่เกิดขึ้นอย่างประหลาดก็คือ รูปแบบของการ<br />

เป็นพันธมิตรที่มีลักษณะเฉพาะตัว แต่นี่เป็นเพียงแค่<br />

ปลายหนึ่งของยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจแบบชาตินิยม<br />

ยังมีอีกส่วนหนึ่งที่เราควรหยิบยกขึ้นมาพิจารณาเพราะ<br />

ในขณะนั้นความมั่งคั่งถูกครอบครองผ่านข้าราชการ<br />

และความมั่งคั่งนี้ถูกบั่นทอนลงอย่างรวดเร็วจากภาวะ<br />

เงินเฟ้อหลังสงคราม ในขณะที่ไม่มีรัฐบาลไหนเลือกที่<br />

จะแก้ไขปัญหารายได้ที่ถูกกัดกร่อนของข้าราชการ<br />

รัฐบาลทหารที่เรืองอำนาจในช่วง พ.ศ. 2490 และ 2500<br />

of Field Marshal Sarit Thanarat.<br />

It is conventional to think of the policies this period as<br />

an aberration when set against the economic performance<br />

of the later periods. In many ways it was, particularly,<br />

when we look at the country’s macroeconomic performance<br />

(the growth rate of GNP was only 3.9 per cent per annum<br />

between 1951 and 1958), and at the harsh climate of<br />

repression against Chinese businesses – which were<br />

almost all that Thailand had in the way of a commercial<br />

sector. But in another sense, it was a formative period<br />

during which the two elites, military/political and business,<br />

starting from a position of animosity, were forging an<br />

alliance and developing a system of payoffs which would<br />

be perfected in the following period.<br />

THE GOLDEN AGE OF GROWTH (1958-1973)<br />

When Sarit took over full power in 1958, he instituted<br />

extensive economic reforms within the system - the most<br />

extensive in the postwar period. It was nothing less than<br />

a redirection of economic policies. From a vague and<br />

ได้พยายามเข้าถึงความมั่งคั่งของประเทศผ่านช่องทาง<br />

อื่นที่ไม่ใช่ช่องทางภาษีอากร<br />

วิธีที่พวกเขาเลือกคือการสร้างองค์กรที่คล้ายๆ<br />

องค์กรสาธารณะ เป็นบริษัทโฮลดิ้ง ที่ชื่อว่า สภา<br />

เศรษฐกิจแห่งชาติ (Nedcol) ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อขับ<br />

เคลื่อนวิสาหกิจหลายอย่าง กิจกรรมของประชาชน<br />

หลายสิ่งที่ถูกสั่งห้ามกระทำ และมีการให้สิทธิ์ผูกขาด<br />

โดยอาศัยองค์การทหารผ่านศึกที่ทำหน้าที่เป็นหน้าฉาก<br />

ของเหล่าบรรดาผู้นำของกองทัพต่างๆ เข้าประชุมเพื่อ<br />

ขับเคลื่อนองค์กรมหาชนที่ได้รับสิทธิผูกขาดเหล่านั้น<br />

การสร้างขึ้นมานั้นง่ายเพียงแค่ปลายปากกา แต่<br />

การดำเนินการนั้นเป็นอีกเรื่องหนึ่ง ซึ่งต่อมา<br />

ธนาคารโลกได้ออกมาพูดถึงการลงทุนที่ดำเนินผ่าน<br />

สภาเศรษฐกิจแห่งชาติว่า:<br />

“วิธีการคิดและแนวคิดในแต่ละโครงการนั้นสมเหตุ<br />

สมผล…แต่แทบไม่มีโครงการไหนเลยที่มีการทำการ<br />

ศึกษามากพอ มีความสงสัยว่าแต่ละโครงการนั้นมี<br />

ต้นทุนที่สูงกว่าที่ควรจะเป็น และไม่มีโครงการไหนสร้าง<br />

ผลกำไรให้เกิดขึ้นได้นอกเสียจากว่าจะได้ผู้บริหารที่มี<br />

ประสบการณ์เข้ามาควบคุม” (IBRD 1966:92)<br />

haphazard policy of economic nationalism, with doses of<br />

anti-business policies under the guise of anti-Chinese<br />

policies, the reforms clearly pointed the country in the<br />

direction of a more open economy and the promotion of<br />

private businesses, including foreign-owned enterprises.<br />

The key text that guided government policies during this<br />

period was a report (IBRD 1959) from a World Bank<br />

mission. This mission stayed in the country for a full year<br />

and came up with extensive suggestions for changes in<br />

the direction, management and organization of economic<br />

policies. This was the basis of the reforms instituted by<br />

the Sarit regime.<br />

It would be a mistake, however, to think of this episode<br />

as an example of blind subservience to foreign (in particular<br />

US) interests. The mission report itself acknowledged a<br />

close collaboration between the World Bank team and<br />

officials of the Ministry of Finance. That the reforms were<br />

extensively and successfully implemented indicated their<br />

acceptance at critical levels within the bureaucracy, or<br />

more accurately, the technocracy, for the Sarit reforms<br />

marked the birth of the technocracy as we understand it<br />

69


ปัญหาของสภาเศรษฐกิจนั้นหนักหน่วง รัฐวิสาหกิจ<br />

ในรูปบริษัททั้งหลายนั้นสุดท้ายก็ปิดตัวลง และรัฐบาล<br />

ก็จำต้องเข้ามาแบกรับภาระหนี้สิน องค์กรอื่นๆ ที่ตั้ง<br />

ขึ้นโดยรัฐก็อยู่ภายใต้สถาณการณ์เดียวกัน ปัญหาของ<br />

บริษัทเหล่านี้มีบทบาทสำคัญต่อความตกต่ำของรัฐบาล<br />

จอมพล ป. พิบูลสงคราม และการขึ้นมามีอำนาจของ<br />

จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์<br />

ถ้าลองมองย้อนกลับไปแล้วอาจจะดูเหมือน<br />

นโยบายต่างๆ ในยุคนี้นั้นพร่ามัว ไม่ว่าจะมองไปทาง<br />

ไหน โดยเฉพาะถ้าหากเราจะประเมินเศรษฐกิจมหภาค<br />

ของประเทศแล้ว (รายได้รวมมวลประชาชาตินั้นเติบโต<br />

เพียงแค่ 3.9 เปอร์เซ็นต์ต่อปี ในระหว่าง พ.ศ. 2494-<br />

2501) รวมถึงบรรยากาศที ่ไม่เอื้อต่อการค้าขายกับ<br />

ธุรกิจจีนที่แทบจะครอบคลุมทุกส่วนของประเทศไทย<br />

แต่ถ้าจะมองในอีกมุมระยะนี้เป็นช่วงที่มีการจับตัวรวม<br />

กันของสองภาคส่วนคือ ทหาร/การเมือง และ ภาคธุรกิจ<br />

โดยมีสถานะเริ่มต้นจากความเกลียดชังซึ่งกันและกัน<br />

หลอมรวมด้วยการบังคับให้จำต้องอยู่ร่วมกัน และ<br />

สร้างระบบการแบ่งปันผลประโยชน์ที่สมบูรณ์แบบใน<br />

ยุคถัดมา<br />

today.<br />

The key role of macroeconomic management must<br />

be placed in the context of the overall Sarit program. In<br />

his role as a super patron, the prime minister had<br />

pronounced that the country needed to “develop” and to<br />

expand its educational base, in order to join the ranks of<br />

progressive countries. “Development” in his view entailed<br />

extensive government investment in basic infrastructure.<br />

Without careful husbanding of resources, large public<br />

investments could easily lead to inflation and foreign<br />

exchange crises – a common enough pattern in other<br />

developing countries. It is Thailand’s good fortune that<br />

the charismatic leader’s grand vision was effectively<br />

wedded to the cold pragmatism of the country’s financial<br />

officers. The leading civil servants in the Ministry of<br />

Finance at the time, particularly Puey Ungphakorn (see<br />

box) were steeped in the traditions of financial conservatism,<br />

but at the same time were sympathetic to the need of the<br />

country to develop. For them that meant not only<br />

accelerating economic growth, but also spreading of<br />

ยุคทองของการเจริญเติบโต พ.ศ. 2501-2516<br />

เมื่อจอมพลสฤษดิ์ เข้ามามีอำนาจอย่างเต็มรูปแบบ<br />

ใน พ.ศ. 2501 เขาได้ทำการปฏิรูประบบเศรษฐกิจ<br />

ครั้งใหญ่ เป็นการซ่อมแซมเศรษฐกิจครั้งใหญ่ที่สุดใน<br />

ยุคหลังสงครามครั้งที่ 2 ประเทศไทยได้ผันตัวเองจาก<br />

นโยบายทางเศรษฐกิจแบบชาตินิยมที่จัดทำออกมา<br />

แบบไม่มีการวางแผนและคลุมเครือ แถมยังเป็น<br />

ปฏิปักษ์กับธุรกิจ ภายใต้ฉากหน้าของนโยบายต่อต้าน<br />

จีนคอมมิวนิสต์ การปฏิรูปครั้งนั้นกำหนดทิศทางของ<br />

ประเทศให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น และเปิดโอกาสทางเศรษฐกิจ<br />

ให้ภาคเอกชนสามารถเข้ามาทำธุรกิจได้ รวมถึงบริษัท<br />

ของต่างชาติเองก็สามารถที่จะเข้ามาเปิดทำการใน<br />

ประเทศไทยได้ จุดประสงค์หลักของการเปลี่ยนแปลงทาง<br />

นโยบายครั้งนี้ได้รับคำแนะนำเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของ<br />

ธนาคารโลก (IBRD 1959) โดยภารกิจครั้งนี้ธนาคารโลก<br />

ได้ส่งเจ้าหน้าที่เข้ามาสังเกตการณ์เพื่อทำรายงานเป็น<br />

ระยะเวลาหนึ่งปีเต็ม พร้อมทั้งได้ให้คำแนะนำ ในการ<br />

เปลี่ยนแปลงทิศทางการบริหารและการจัดองค์กรเพื่อ<br />

ตอบสนองนโยบายทางเศรษฐกิจ นี่คือประเด็นหลักของ<br />

prosperity to the impoverished rural areas.<br />

The institutions that were put in place during the five<br />

years of Sarit’s premiership to manage the macroeconomy<br />

have withstood the test of time. Ever since, four agencies,<br />

the Budget Bureau, the National Economic Development<br />

Board (later known as the National Economic and Social<br />

Development Board), the Fiscal Policy Office and the Bank<br />

of Thailand would jointly work out the annual budget, and<br />

submit it for approval from the Cabinet. All except the<br />

Bank of Thailand were created during the Sarit period.<br />

Certain rules were written into law limiting the size of the<br />

fiscal deficit and the creation of new debt. Above all,<br />

government guaranteeing of private debt was forbidden<br />

– this was the core problem of the Nedcol debacle. With<br />

these reforms, the management of the Thai macroeconomy<br />

shed the indiscipline of the Phibun regime of the early<br />

1950s and resumed its conservative slant of the prewar<br />

royal governments.<br />

At the same time, the anti-Chinese (and by extension,<br />

the anti-business) policies of the Phibun government were<br />

70


การปฏิรูปสถาบันในยุคของจอมพลสฤษดิ์<br />

ถ้าเรามองว่าการเปลี่ยนแปลงนโยบายทาง<br />

เศรษฐกิจครั้งนี้เป็นการยอมจำนนเพื่อชาวต่างชาติ<br />

(โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา) แล้วละก็ นั้นคงเป็นความคิดที่<br />

ผิดมาก รายงานของภารกิจนี้มีการรับรู้อย่างทั่วกันว่า<br />

มีเป้าหมายในการประสานงานอย่างใกล้ชิดระหว่างทีม<br />

ธนาคารโลกและกระทรวงการคลัง การปฏิรูปที่เกิดขึ้น<br />

นั้นได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางในระบบข้าราชการ<br />

หลายระดับ หรือจะให้พูดตรงๆ แล้ว การปฏิรูปของ<br />

จอมพลสฤษดิ์นั้นให้กำเนิด เทคโนแครต หรือระบบ<br />

นักวิชาการนิยม อย่างที่เราเข้าใจกันในทุกวันนี้<br />

การจัดการแบบมหภาคนั้นเป็นกุญแจสำคัญของ<br />

การปฎิรูปของจอมพลสฤษดิ์ ด้วยบทบาทหน้าที่ของ จอม<br />

พลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ในฐานะผู้นำที่มีอำนาจเด็ดขาดแต่<br />

เพียงผู้เดียว นายกรัฐมนตรีได้ประกาศชัดว่าประเทศนี้<br />

ต้องการ “การพัฒนา และขยายพื้นฐานการศึกษา” เพื่อที่<br />

จะขับเคลื่อนประเทศไปข้างหน้า “การพัฒนา” ในมุมมอง<br />

ของเขาคือการลงทุนภาครัฐในโครงสร้างพื้นฐานทั้งหลาย<br />

ด้วยความไร้การควบคุมในการจัดการทรัพยากร<br />

การลงทุนของรัฐโดยใช้เงินจำนวนมากอาจนำไปสู่ภาวะ<br />

scaled down. True, the new men who came in with the<br />

Sarit coup against Phibun in 1957 kept the old traditions<br />

alive and began to take over chairmanships of key<br />

enterprises, particularly commercial banks. Also, many<br />

of the monopolies, notably for pork supplies to Bangkok,<br />

that were set up under the Phibun government continued<br />

into the Sarit era. However, no new public monopolies<br />

were set up. Indeed, in the new investment promotion<br />

law, there was the stipulation that once a particular activity<br />

has been promoted, the government would not set up its<br />

own enterprise in that activity.<br />

The investment promotion law had been in existence<br />

since the Phibun government, but it was constrained by<br />

a formidable list of conditions. The main message was<br />

conveyed to foreign investors by the Sarit reform of the<br />

law that they were now welcome into Thailand. This<br />

message contrasted with the general attitude of<br />

ambivalence, if not antipathy, that had been prevalent<br />

since the People’s Party came to power.<br />

The new investment promotion law also set up a new<br />

เงินเฟ้อ และวิกฤตการณ์ของค่าเงินได้ ซึ่งเป็น<br />

รูปแบบปกติที่เกิดขึ้นได้ในประเทศที่กำลังพัฒนา<br />

ประเทศไทยในขณะนั้นโชคดีที่มีผู้น ำที่มีคุณสมบัติพิเศษ<br />

ในการดึงดูดใจคนหมู่มาก และมีวิสัยทัศน์กว้างไกล<br />

มีความสามารถในการทำงานร่วมกันได้กับบุคลากร<br />

ทางการเงินของประเทศที่ล้วนแต่เป็นพวกปฏิบัตินิยมที่<br />

แสนจะเย็นชาได้ดี ข้าราชการประจำในกระทรวงการ<br />

คลังในขณะนั้น โดยเฉพาะ ดร.ป๋วย อึ้งภากรณ์ (อ่านใน<br />

กล่องข้อความ) นิยมการดำเนินนโยบายทางการคลัง<br />

แบบอนุรักษ์นิยมอย่างเข้มข้น แต่ในขณะเดียวกันก็มี<br />

ความเข้าอกเข้าใจถึงความต้องการในการพัฒนาของ<br />

ประเทศ สำหรับพวกเขาไม่ใช่เพียงแต่การเร่งการเจริญ<br />

เติบโตของเศรษฐกิจ แต่รวมไปถึงการกระจายความ<br />

เจริญรุ่งเรืองไปยังพื้นที่ที่ยากไร้ด้วยเช่นกัน<br />

การจัดระเบียบสถาบันต่างๆ ที่เกิดขึ้นในระหว่าง<br />

รัฐบาลสฤษดิ์ เพื่อจัดการเศรษฐกิจมหภาคของประเทศ<br />

นั้นมั่นคงตราบกาลเวลาจวบจนบัดนี ้ สี่หน่วยงานอัน<br />

ได้แก่ สำนักงบประมาณ สภาพัฒนาการเศรษฐกิจ<br />

แห่งชาติ (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นสำนักงานสภาพัฒนา<br />

เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ) สำนักงานการออก<br />

agency, the Board of Investment (BOI). This agency did<br />

not just provide a welcome mat for foreign investors; it<br />

also played a more important role as a venue whereby<br />

domesticprivate firms could officially provide feedback to<br />

the government concerning its policies. For its time, this<br />

was a radical departure. The setting up of this bureaucratic<br />

organization, together with the chartering of the Board of<br />

Trade (by an Act of Parliament), marked the final end of<br />

the policy of confrontation and the establishment of a<br />

dialogue between business and government.<br />

Although the BOI was set up to promote investment<br />

in industries, an area in which Thailand was then quite<br />

weak, it did not meet with much success during the period.<br />

True, new industries were set up which in time would grow<br />

to be the leading sectors in the economy, such as in the<br />

textile and automotive sectors, but these results were still<br />

decades away. It is a moot point whether these industries<br />

would ever have come into existence without the protection<br />

and tax breaks, sometimes quite generous, which were<br />

liberally showered on the would-be industrialists. It is also<br />

71


บุรุษสามท่านผู้สร้างความเปลี่ยนแปลง<br />

เป็นเรื่องยากที่จะอธิบายภูมิสภาพเศรษฐกิจที่เป็น<br />

อยู่ในปัจจุบันโดยไม่กล่าวถึงการทำงานของ บุรุษสาม<br />

ท่านที่มีพื้นฐานที่แตกต่างกัน และบ่อยครั้งที่มีความ<br />

ขัดแย้งกันอย่างบาดลึกกับอีกฝ่ายหนึ่ง เราจะเริ่มเรื่อง<br />

นี้จากบุคคลผู้มีอำนาจมากที่สุดในสามคนนี้ จอมพล<br />

สฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีของประเทศไทย ตั้งแต่<br />

พ.ศ. 2501-2506<br />

ท่านผู้นี้เกิดใน พ.ศ. 2451 ในครอบครัวทหาร<br />

สฤษดิ์ รับราชการในกองทัพอย่างไม่โดดเด่นจนกระทั่ง<br />

ถึงวิกฤต พ.ศ. 2490 เกิดขึ้นเมื่อเขารับหน้าที่สั่งการ<br />

กำลังพลกองทหารเข้ายึดสถานที่สำคัญในการทำ<br />

ปฏิวัติรัฐประหาร เขาจึงได้ก้าวเข้าสู่การเป็นตัวเก็งที่<br />

จะสืบทอดอำนาจต่อจาก จอมพล ป. พิบูลสงคราม<br />

แข่งกับ พลเอก เผ่า ศรียานนท์ ที่มีตำรวจเป็นกอง<br />

กำลัง ใน พ.ศ. 2500 เขายึดอำนาจจากจอมพล ป. ได้<br />

โดยง่ายและมีอำนาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาดในฐานะ นายก<br />

รัฐมนตรี หลังการทำปฏิวัติรัฐประหาร<br />

หลังจากที่มีอำนาจ ท่านจอมพลได้หันเหทิศทาง<br />

ของแผนงานรัฐบาลไปทางพัฒนาเศรษฐกิจประเทศ<br />

และได้ปรับแผนพัฒนาที่ได้รับคำแนะนำจาก<br />

ธนาคารโลก แผนพัฒนานี้เป็นตัวเปิดเศรษฐกิจประเทศ<br />

การลงทุนหลักของภาครัฐในโครงสร้างพื้นฐาน และลด<br />

สัดส่วนการลงทุนในระบบอุตสาหกรรมอย่างช้าๆ โดย<br />

ในระบบอุตสาหกรรมภาคเอกชนจะเป็นตัวขับเคลื่อน<br />

ด้วยตัวเอง แทนที่จะสร้างกำแพงกั้นนักธุรกิจ เขากลับ<br />

เริ่มที่จะส่งเสริมสนับสนุนการลงทุน เขายังเป็นผู้นำใน<br />

การปฏิรูประบบการคลังซึ่งโครงสร้างหลักในขณะนั้น<br />

และยังคงมีให้เห็นได้และใช้อยู่ในปัจจุบัน<br />

นอกเหนือจากความสำเร็จที่สร้างผลบวกให้กับ<br />

ประเทศ จอมพลสฤษดิ์ เป็นนักการเมืองที่ห่างไกลจาก<br />

คำว่าสุจริตมากมายนัก เมื่อเขาถึงแก่อสัญกรรม พบ<br />

ว่าเขามีสินทรัพย์กว่า 2.8 พันล้านบาท ซึ่งเรื่องนี้ดูขัด<br />

กันในตัว เป็นเพราะจอมพลสฤษดิ์เป็นทหารรุ่นแรกใน<br />

วงศ์ตระกูลที่ไม่เคยได้รับการศึกษาจากต่างประเทศ ไม่<br />

เคยได้รับแนวความคิดแบบตะวันตกที่ได้สร้างความ<br />

เจ็บปวดให้กับตระกูลพิบูลสงคราม แนวความคิดใน<br />

การบริหารประเทศของจอมพล สฤษดิ์ เป็นแบบ<br />

อำนาจอุปถัมภ์ แทรกซึมผ่านไปในสังคมจนกลายเป็น<br />

ความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์คล้ายก๊อดฟาเธอร์ ที่ให้<br />

รางวัลกับลูกน้องที่สนับสนุนตัวเองและใช้กำลังจัดการ<br />

THREE MEN WHO MADE A DIFFERENCE<br />

It is difficult to describe the present Thai economic<br />

landscape without being reminded of the work of three<br />

men of vastly different backgrounds and occasionally<br />

sharply in conflict with one another.It is natural to begin<br />

with the most powerful of them, Field Marshal Sarit<br />

Thanarat, prime minister from 1958 to 1963.<br />

Born in 1908 to an army family, Sarit had an<br />

unexceptional military career until the critical year of<br />

1947 when he happened to be commanding an infantry<br />

battalion in Bangkok in one of the landmark coups.<br />

He rapidly rose to be a contender for the succession to<br />

Phibun Songgram, in rivalry to GeneralPhao Sriyanon,<br />

whose power base was the Police Department. In 1957,<br />

he easily removed Phibun from power, and after a year<br />

took over full dictatorial power as prime minister, after<br />

a coup d’etat.<br />

After taking over power, the marshal redirected the<br />

course of the government to a program of economic<br />

72<br />

development, and adopted a plan proposed by the World<br />

Bank. This program of development entailed the opening<br />

of the economy, major investments in public infrastructure,<br />

and a gradual withdrawal of the government from the<br />

industrial investments, the latter being put in the hands of<br />

the private sector. Far from putting barriers against<br />

the business-men, he began an active program of investment<br />

promotion. He also presided over a reform of the<br />

government fiscal system, whose main features are still in<br />

place today.<br />

For all these positive achievements, Sarit was far from<br />

an honest politician. At his death, he was found to have<br />

amassed a fortune worth 2.8 billion baht. The paradox<br />

could perhaps be reconciled if one bears in mind that he<br />

was the first generation of army officers who was never<br />

educated abroad, and were thus untainted by western<br />

ideas that afflicted those of the Phibun generation. His<br />

concept of leadership was that of the most powerful patron


กับผู้ที่เข้ามาขวางทาง แต่ก๊อดฟาร์เธอร์ไม่ใช่นักเลง<br />

หัวไม้ เขานิยมชมชอบที่จะแบ่งปันความรู้ให้ทุนการ<br />

ศึกษา และพัฒนาประเทศของเขา เพราะนั่นคือระบบ<br />

อุปถัมภ์ขั้นสูงสุด เขาต้องให้ประเทศของเขาเติบโตมี<br />

อำนาจมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ในเวทีโลก<br />

หนึ่งในผู้ที่ได้รับโอกาสจากเขาคือ ป๋วย อึ้งภากรณ์<br />

ผู้ที่เจริญเติบโตขึ้นมาจากบริบทที่ต่างกันออกไปโดย<br />

สิ้นเชิง พ่อแม่เป็นไทยจีนในครอบครัวที่มัธยัสถ์ เขา<br />

จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยในประเทศ ก่อนจะได้<br />

รับทุนการศึกษาไปเรียนต่อยังประเทศอังกฤษที่ที่เขา<br />

สำเร็จการศึกษาดุษฎีบัณฑิตทางด้านเศรษฐศาสตร์<br />

การเรียนของเขาจำต้องชะงักลงไปพักหนึ่งเพราะเกิด<br />

สงครามโลกครั้งที่ 2 ระหว่างนั้นเขาได้เข้าร่วมกับเสรี<br />

ไทยซึ่งเป็นขบวนการต่อต้านกลุ่มอักษะ เคยกระโดด<br />

ร่มกลับมายังประเทศไทยด้วยเครื่องบินของอังกฤษ<br />

เขาได้กลับมาอีกครั้งเมื่อสิ้นสุดสงครามพร้อมปริญญา<br />

เอกทางด้านเศรษฐศาสตร์ และเข้ารับราชการในสังกัด<br />

กระทรวงการคลัง ได้แสดงผลงานที่โดดเด่นในฐานะ<br />

รองผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยด้วยอายุเพียง 37<br />

ปีเท่านั้น เขาได้ลาออกจากตำแหน่งเพราะขัดแย้งกับ<br />

รัฐบาลในขณะนั้น และได้กลับเข้าทำงานอีกครั้งใน<br />

กระทรวงการคลังโดยประจำที่สหราชอาณาจักร ความ<br />

มีศีลธรรมจรรยาของเขาเข้าตาสฤษดิ์ (ซึ่งดูแล้วขัดแย้ง<br />

ในตัวเองเช่นกัน เพราะท่านจอมพลเองก็เกี่ียวพันกับ<br />

กิจกรรมมากมายที่ผิดกฎหมาย) เมื่อจอมพลสฤษดิ์<br />

เรืองอำนาจขึ้นมา ดร.ป๋วยได้ถูกวางตัวไว้เป็นผู้อำนวย<br />

การหน่วยงานใหม่เอี่ยมที่สฤษดิ์ได้ตั้งขึ้นนั่นคือ<br />

สำนักงานเศรษฐกิจกระทรวงการคลัง ต่อมาเขาก็ได้<br />

นั่งเป็นผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยตลอดระยะ<br />

เวลาห้าปีของการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของ<br />

จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์<br />

ห้าปีที่ดำรงตำแหน่ง ดร.ป๋วยมีบทบาทเป็นอย่าง<br />

มากในการปฏิรูปการบริหารจัดการกระทรวงการคลัง<br />

ให้เหมาะสมกับนโยบายเศรษฐกิจแบบมหภาค ใน<br />

ฐานะผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยนั้น เขาได้ใช้<br />

ความพยายามอย่างมากในการควบคุมธนาคาร<br />

พาณิชย์ไม่ให้สร้างสายสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกันหรือเอื้อผล<br />

ประโยชน์ให้กับนักการเมือง แม้ว่านักการเมืองในสมัย<br />

นั้นจะเป็นนักการทหารด้วยซ้ำ เป็นคนที่ไม่ต้องรับคำ<br />

สั่งจากใคร เป็นคนที่สามารถไล่เขาให้พ้นจากตำแหน่ง<br />

in a society permeated by patron-client relationships.<br />

A less flattering but just as accurate a portrayal is that of<br />

a Mafia godfather dispensing favours to those who<br />

supported him and the full force of power for those who<br />

stood in the way. But the godfather was not a mere<br />

gangster. He appreciated the contributions of academics<br />

and scholars to the development of the country, because<br />

as a great patron, he must have his country grow to be a<br />

powerful force in the world arena.<br />

One of these scholars was Puey Ungphakorn, who<br />

came from a very different background. Born of Thai<br />

Chinese parents of modest economic means, he graduated<br />

from a local university before obtaining a scholarship to<br />

study in England where he obtained a Ph.D. in economics.<br />

His education was interrupted by the Second World War,<br />

during which he served in the Seri Thai resistance<br />

movement, having been dropped by parachute onto Thai<br />

soil by British planes. When he returned with the degree<br />

after the Second World War, he joined the Ministry of<br />

Finance, and had a sufficiently distinguished career to be<br />

appointed Deputy Governor of the Bank of Thailand at<br />

the age of 37. He soon resigned from that post because<br />

of a conflict with the government, and rejoined the<br />

Ministry of Finance to be posted to the U.K. His integrity<br />

in conducting the affairs of the government became known<br />

to Sarit (ironically, it was in connection with an illegal<br />

activity of the field marshal himself). When Sarit took<br />

power, he was placed as the first director of the newly<br />

formed Budget Bureau. He later became the first director<br />

of the Fiscal Policy Office at the Ministry of Finance and<br />

then the Governor of the Bank of Thailand, all of these<br />

within the five years of Sarit’s prime ministership.<br />

During these five years, Puey was instrumental,<br />

together with colleagues at the Ministry of Finance in<br />

instituting various reforms by which the macroeconomic<br />

management of the country was transformed. As Governor<br />

73


ได้ตลอดเวลา<br />

ที่สำคัญในขณะที่เขากำลังพยายามสร้างความ<br />

แข็งแกร่งให้กับระบบธนาคาร นักการเมืองก็ไม่กล้าที่<br />

จะแตะต้องเขา แต่กลับเกิดเรื่องในระยะหลังๆ ของ<br />

ชีวิตเขา เมื่อเขาทุ่มเทเวลาของเขาเองให้กับการพัฒนา<br />

ชนบทเป็นปากเป็นเสียงให้กับคนยากคนจนในถิ่น<br />

ทุรกันดาร ก็ถึงวันที่กองทัพสบโอกาสที่จะเอาคืน คนๆ<br />

นี้เป็นคนที่มีเหตุผล และมีศีลธรรมจรรยา ผู้ซึ่งมีความ<br />

สามารถเกินกว่านักการทหารคนไหนจะทำได้ด้วยการ<br />

สร้างระบบทุนนิยมให้กับประเทศไทย กลับถูกกล่าวหา<br />

ว่าเป็น คอมมิวนิสต์ และ ถูกบังคับให้ออกจากประเทศ<br />

ไปใน พ.ศ. 2519 เมื่ออุดมการณ์ทางความคิด (ของทั้ง<br />

สองฝ่าย) ต่างถึงจุดที่ไม่ทนกันอีกต่อไป<br />

ธนาคารกรุงเทพ เป็นธนาคารที่มีอำนาจมากที่สุด<br />

ในสมัย ดร.ป๋วยดำรงตำแหน่งผู้ว่าการธนาคารแห่ง<br />

ประเทศไทย ซึ่งบริหารโดย ชิน โสภณพานิชย์ผู้ที่เกิด<br />

ในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2453 ในครอบครัวชาวจีนที่<br />

ยากจน เขาเรียนหนังสือในประเทศจีนโดยไม่เคยได้รับ<br />

การศึกษาในมหาวิทยาลัยเลยแม้แต่น้อย ชิน นั้นมี<br />

คุณสมบัติครบถ้วนของเศรษฐีพันล้านที่สร้างด้วยก ำลัง<br />

ตัวเอง จากการทำงานหนักและมีไหวพริบทางธุรกิจ<br />

of the central bank, he tried to exert greater control over<br />

the commercial banks, weaning them away from a close<br />

connection with politics and politicians, even though<br />

the politicians at the time were military men who are<br />

accountable to noone, and could have sacked him.<br />

Significantly, when he was strengthening the banks,<br />

the politicians did not touch him. It is only toward the<br />

later period in his life, when he increasingly devoted his<br />

time to promote rural development and giving a voice to<br />

Thailand’s poor that the military had their revenge. This<br />

man of reason and integrity, who probably did more than<br />

any military man to build up Thai capitalism, was accused<br />

of being a Communist and was forced to leave the country<br />

in 1976, when ideological fervour (on both sides) was at<br />

its peak.<br />

Bangkok Bank, the most powerful commercial bank<br />

at the time Puey was governor of the central bank, was<br />

run by Chin Sophonphanich. Born in Thailand in 1910<br />

to a poor Chinese family, but schooled in China without<br />

any university education, Chin fitted the stereotype of the<br />

74<br />

ก่อนที่เขาจะมีธนาคารกรุงเทพนั้น เขาเริ่มชีวิตด้วย<br />

การเป็นคนรับจ้างทั่วไปที่ประสบความสำเร็จ และผัน<br />

ตัวเองเป็นเสมียน และผู้ช่วยผู้จัดการของโรงไม้<br />

แห่งหนึ่ง เขาจึงได้ตั้งร้านขึ้นเป็นของตัวเอง (ต่อมามี<br />

สามร้าน) ขายวัสดุก่อสร้าง<br />

ในช่วงสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้เข้าหุ้น<br />

กันกับนักธุรกิจชาวจีนก่อตั้งธนาคารกรุงเทพขึ้น เขาจึง<br />

ได้เป็น “นายหน้าที่ติดต่อกับคนต่างชาติ หรือ กัมปะโด”<br />

หมายถึงนายหน้าอิสระที ่ชักชวนธุรกิจให้กับธนาคาร<br />

และทำการรับประกันสินเชื่อที่ได้รับจากธนาคาร เมื่อ<br />

พ.ศ. 2495 ธนาคารได้ประสบวิกฤตการทางการเงิน<br />

เขาได้เข้ามาคุมบังเหียนธนาคารเองในตำแหน่ง<br />

กรรมการผู้จัดการ ไม่แปลกใจเลยที่เขาสามารถต่อรอง<br />

ให้กระทรวงเศรษฐการอัดฉีดทุนเข้าช่วยเหลือธนาคาร<br />

หลังจากนั้น พลตรี ศิริ สิริโยธิน ผู้เป็นหนึ่งในสาย<br />

ราชครู ผู ้สนับสนุนรัฐบาลของจอมพล ป. เข้านั่งใน<br />

ตำแหน่งประธานบอร์ดบริหาร<br />

เมื่ออำนาจในกลุ่มราชครู และ กลุ่มพิบูลสงครามถูก<br />

โค่นใน พ.ศ. 2500 โดย สฤษดิ์ เขาได้ลี้ภัยตัวเองชั่วคราว<br />

ไปยังต่างประเทศ ธนาคารได้เชิญจอมพล ประภาส<br />

จารุเสถียร มือขวาของ สฤษดิ์ เข้ามานั่งแทนที่<br />

Chinese who rose from poverty to become a billionaire<br />

by sheer dint of hard work and business acumen.<br />

Before his association with the Bangkok Bank, he was<br />

successively an odd-job man, then a clerk and then assistant<br />

manager at a lumberyard in Bangkok. He then set<br />

up his own shop (later three shops) that sold general<br />

merchandise.<br />

Toward the end of the Second World War, he joined up<br />

with a number of Thais and other Chinese businessmen to<br />

establish Bangkok Bank. He then became its “compradore”,<br />

that is, an independent agent who brought business to the<br />

bank and guaranteed the loans given by the bank. In 1952,<br />

after the bank faced a liquidity crisis, he took over as the<br />

Managing Director, no doubt helped by the fact that he<br />

could negotiate an injection of capital from the Ministry<br />

of Economic Affairs. General Siri Siriyothin, a member<br />

of the Rajakru faction, which then supportedthe Phibun<br />

government, took over as the Chairman of the Board.<br />

When Phibun and the Rajakru faction were<br />

overthrown by Sarit in 1957, he went into temporary


ตำแหน่งของพลตรี ศิริ ที่กลายเป็นภาระ หลังจากนั้น<br />

ไม่นาน ชิน จึงได้เดินทางกลับมายังประเทศไทย<br />

เพราะเครือข่ายที่กว้างขวางของเขาในกลุ่มนัก<br />

ธุรกิจชาวจีน บวกกับความสามารถในการเป็นผู้แทน<br />

นายหน้าให้กับต่างชาติที่โดดเด่น จึงทำให้ธนาคาร<br />

กรุงเทพนั้นเป็นธนาคารแถวหน้าของบรรดาผู้ส่งออก<br />

ที่จะเลือกใช้ เมื่อการส่งออกนั้นเฟื่องฟูในยุคคริสต์<br />

ทศวรรษ 1970 (พ.ศ. 2513-2522) ตลาดสินค้า<br />

โภคภัณฑ์เฟื่องฟูและหลากหลาย ซึ่งชินก็ให้การ<br />

สนับสนุนอย่างต่อเนื่อง วิธีการสนับสนุนของเขานั้น<br />

เขาไม่ได้เล่นบทบาทของนักการธนาคารผู้ให้กู้ยืมเงิน<br />

เท่านั ้น ในหลายเหตุการณ์เขาขยับเข้ามาถือหุ้นและ<br />

ช่วยเหลือในด้านธุรกิจอีกด้วย และด้วยผลพวงของ<br />

การกระทำนั้นจึงถือกำเนิดกลุ่มบริษัทของชาวไทย-จีน<br />

ในประเทศไทย (เช่น ซีพี, สหพัฒนพิบูลย์, สหยูเนียน)<br />

ที่ไม่เคยเหลียวหลังกลับไปมองถึงความช่วยเหลือที่ตัว<br />

เองเคยได้รับเมื่อครั้ง ที่ ชิน โสภณพนิช และธนาคาร<br />

ของเขาเอื้อมมือเข้ามาช่วยเหลือเมื่อครั้งเก่าก่อน<br />

อำนาจของธนาคารก็เป็นเช่นนั้น มีขึ้นมีลง และ<br />

ถูกเข้าแทรกแซงได้หลายครั้งหลายคราจากรัฐบาล<br />

เป็นเหตุให้ในช่วง พ.ศ. 2523 เมื ่อเกิดปัญหาสิ่งทอ<br />

exile. The bank then negotiated to have General Prapas<br />

Charusathien, Sarit’s right hand man, as Chairman to<br />

replace General Siri, who had become a liability. Soon<br />

after, Chin returned to Thailand.<br />

Because of his wide contacts among the Chinese<br />

businessmen in his capacity as the compradore, Chin was<br />

able to establish Bangkok Bank as the premier bank<br />

among the exporters during the export boom of the 1970s.<br />

More than that, when these commodity traders diversified,<br />

Chin was able to continue to give support. In doing so,<br />

he did not merely play the role of the banker providing<br />

the loan. In many instanceshe also took up the equity in<br />

the businesses as well. The consequence is that, there are<br />

few Thai-Chinese conglomerates of the 1980s (such as<br />

CP, Saha Patana, Saha Union) that did not look back to<br />

support that they at one time or another received from<br />

Chin and his bank.<br />

The bank’s power and influence were such that it<br />

could step in and occasionally take over a regulatory<br />

function from the government. Thus in the the early<br />

ล้นตลาด และกระทรวงอุตสาหกรรมของไทยนั้นไม่<br />

สามารถควบคุมการขยายตัวของสิ่งทอ ก็ตกมาเป็น<br />

ภาระของธนาคารที่ต้องใช้กลไกทางการเงินเข้ามาจัด<br />

ระเบียบในอุตสาหกรรม<br />

ชายทั้งสามคนนี้ใช้อำนาจในการจูงใจให้คนหันมา<br />

จัดระเบียบสังคมที่มีผลกระทบต่อประเทศในรัชสมัย<br />

ของรัชกาลที่ 9 ด้วยวิธีที่ต่างกันออกไป ในส่วนแนวคิด<br />

การจัดระบบของสฤษดิ ์ผู้ที่ทำงานในแวดวงการเมือง<br />

นั้นคงอยู่ได้เพียงแค่ 10 ปี นับจากเขาถึงแก่อนิจกรรม<br />

คาดว่าเป็นเพราะระบบที่เขาสร้างขึ้นมานั้นเป็นระบบ<br />

อุปถัมภ์โดยอาศัยตัวบุคคลเป็นหลัก ระบบงานของ<br />

ดร.ป๋วย ที่ได้วางรากฐานให้กับกระทรวงการคลัง และ<br />

ธนาคารแห่งประเทศไทย รวมถึงการสร้างกลุ่มคนที่มี<br />

ศีลธรรมจรรยานั้นมีอายุยืนยาวกว่ามากเพราะเขา<br />

ยืนยันแนวคิดในการสร้างความเป็นมืออาชีพและลด<br />

การพึ่งพาอาศัยจากนักการเมือง ชิน นั้นพยายาม<br />

จัดการกับข้อจำกัดทางการเมืองที่ส่งผลกระทบกับนัก<br />

ธุรกิจที่มีเชื้อสายจีน แต่ท้ายสุดแล้วเขาเป็นผู้ที่ได้รับ<br />

ผลประโยชน์มากที่สุดจากความสำเร็จของ ดร.ป๋วยที่<br />

มุ่งมั่นที่จะสร้างระบบการธนาคารที่เชื่อถือได้ของ<br />

ประเทศไทย<br />

1980s, when the surplus capacity in the textiles trade<br />

threatened its future, and after the Ministry of Industry<br />

had failed to control the expansion, it fell to the bank to<br />

use its financial muscle to impose order on the industry.<br />

The three men used their power, influence and<br />

charisma to build up different parts of the social order<br />

that came to dominate Thailand during the ninth reign.<br />

Of these, the parts that were built up by Sarit in the<br />

political arena lasted only ten years after his death.<br />

Probably that is to be expected of a system that was built<br />

on personal patronage. Puey’s institution-building<br />

within the bureaucracy and of the central bank –<br />

including its remarkable ethos of absolute integrity –<br />

survived far longer. Of more significance was his insistence<br />

on making banks more professionally and less politically<br />

oriented. Chin, weaved in and out of the political<br />

constraints that bound a businessman of Chinese origin,<br />

but eventually lived to reap the full benefits of Puey’s<br />

success at building up a sound banking system for<br />

Thailand.<br />

75


นโยบายทางด้านภาษีอากร และธนาคารแห่ง<br />

ประเทศไทยได้ร่วมกันจัดทำงบประมาณรายปีของ<br />

ประเทศ และการขออนุมัติจากคณะรัฐมนตรี<br />

ทุกสถาบันที่กล่าวมายกเว้นธนาคารแห่งประเทศไทย<br />

ถูกสร้างขึ้นในสมัยของ จอมพลสฤษดิ์ กฎบางกฎก็ได้<br />

ถูกตราเป็นกฎหมายเพื่อลดการขาดดุลงบประมาณ<br />

ประเทศ หรือการก่อหนี้ก้อนใหม่ ประเด็นที่สำคัญที่สุด<br />

ของกฎหมายฉบับนี้คือการรับประกันหนี้สินให้กับ<br />

เอกชนนั้นถือเป็นสิ่งต้องห้าม สิ่งนี้คือรากเหง้าของ<br />

ปัญหาของการล่มสลายของรัฐวิสาหกิจด้วยการปฏิรูป<br />

และด้วยการบริหารจัดการประเทศแบบเศรษฐกิจ<br />

มหภาคนี้ จึงช่วยบดบังความขาดวินัยทางการบริหาร<br />

งานของ จอมพล ป. ในช่วงก่อนยุคคริสต์ทศวรรษ<br />

1950 (พ.ศ. 2493 - 2502) และ นำประเทศกลับมาสู่<br />

เสถียรภาพดังยุครัฐบาลของเจ้าขุนนางก่อนสงคราม<br />

ในขณะเดียวกันนโยบายต่อต้านจีน (ไม่ให้มีการ<br />

ขยายและการต่อต้านธุรกิจ) ของรัฐบาลหลวงพิบูลเริ่ม<br />

เบาบางลง ข้อเท็จจริงก็คือเมื่อรัฐบาลใหม่เข้ามาหลัง<br />

ปฏิวัติหลวงพิบูลเมื่อ พ.ศ. 2500 นั้นยังคงระบบ<br />

ธรรมเนียมปฏิบัติแบบเดิม และเริ่มครอบงำตำแหน่ง<br />

ใหญ่ๆ ของวิสาหกิจใหญ่ๆ โดยเฉพาะธนาคารพาณิชย์<br />

debatable whether the costs incurred by the taxpayers<br />

and consumers were worth the distant benefits. It was<br />

however widely felt at that time that the promotion policy<br />

was a success, in the narrow sense that government<br />

offers were made which were taken up by businessmen,<br />

both domestic and foreign.<br />

With the government and business elites thus coming<br />

to a modus vivendi, the stage was set for an era of<br />

continuous economic expansion. The economy grew at<br />

7.2 per cent per annum between 1958 and 1973. The<br />

main engine of this growth was the phenomenal expansion<br />

of the agricultural sector, and this was made possible<br />

because of a conjunction of events and policies.<br />

Thailand, like its neighbours in mainland Southeast<br />

Asia started the postwar period blessed by a relatively<br />

abundant land resource. Much of this land was under<br />

forest, but a large proportion could be cultivated. Most<br />

of the 17 million Thais living in 1946 occupied strips of<br />

land near the rivers, mostly of the Chao Phraya system,<br />

in the Northeast along the Mun and Chi rivers, and along<br />

76<br />

รวมถึงกิจการผูกขาด ดังจะเห็นได้จากการส่ง<br />

เนื้อสุกรเข้ากรุงเทพนั้นมีการจัดตั้งภายใต้รัฐบาลของ<br />

จอมพล ป. พิบูลสงคราม สืบเนื่องมาถึงการปกครอง<br />

ในยุคของรัฐบาลสฤษดิ์ อย่างไรก็ดีไม่มีกิจการผูกขาด<br />

เกิดขึ้นมาใหม่เลยแม้แต่เพียงแห่งเดียวในยุคของ<br />

สฤษดิ์ แท้จริงแล้วกลับมีกฎหมายที่สนับสนุนการลงทุน<br />

ซึ่งก่อนหน้านี้ต้องมีกิจกรรมบางสิ่งที่ตอบสนองเพื่อให้<br />

ได้รับการสนับสนุน แต่รัฐบาลนี้ไม่ได้กำหนดองค์กรใด<br />

เพื่อการนั้นเลยแม้แต่น้อย<br />

กฎหมายสนับสนุนการลงทุนนั้นมีมาตั้งแต่สมัย<br />

รัฐบาลหลวงพิบูลนั้น เต็มไปด้วยข้อห้ามและเงื่อนไข<br />

ต่างๆ มากมาย<br />

แต่เนื้อหาสาระหลักของการปฏิรูปของรัฐบาล<br />

สฤษดิ์นั้น คือการต้อนรับต่างชาติให้เข้ามาลงทุนใน<br />

ประเทศไทย ทัศนคติโดยทั่วไปที่แตกเป็นสองฝักสอง<br />

ฝ่าย ถ้าไม่เกลียดมากก็รักมาก ดังจะเห็นได้ตั้งแต่พรรค<br />

ประชาธิปัตย์เข้ามาสู่อำนาจ<br />

กฎหมายส่งเสริมการลงทุนใหม่ให้กำเนิดหน่วย<br />

งานใหม่ที่ชื่อว่า สำนักงานส่งเสริมการลงทุน หรือ<br />

(BOI) หน่วยงานนี้ไม่เพียงแต่ปูพรมต้อนรับนักลงทุน<br />

ต่างชาติ แต่ยังมีหน้าที่สำคัญในการสะท้อนความคิด<br />

the railway lines. They had gradually expanded away<br />

from the river and the rail lines. Forested lands were<br />

cleared and converted into paddy fields. The upland<br />

areas had been left unoccupied, much of it on account of<br />

the malaria.<br />

The actions of the government quickly opened up<br />

these unoccupied uplands. The DDT program made the<br />

clearing of malaria-infested forests less hazardous. Above<br />

all, the road building program made these lands attractive<br />

to settlers, because when they started producing, the<br />

output could be easily marketed. The government also<br />

unintentionally promoted the clearing of the forests by<br />

giving large logging concessions to private companies.<br />

In theory, these required the concessionaires to replant<br />

the trees that they cut down, but enforcement was lax,<br />

with the result that the cleared forests were quickly<br />

occupied, sometimes by the people who were hired by<br />

the concessionaires to clear the land. In addition,<br />

considerable illegal logging outside these concessions<br />

also took place, with the same consequences.


เห็นของภาคเอกชนกลับมายังรัฐบาลอีกด้วย ยุคนั้นถือ<br />

เป็นการออกตัวที่แรง ด้วยการจัดตั้งองค์กรนี้ขึ้นมา<br />

รวมไปถึงการจัดตั้งสภาหอการค้าไทย (ออกโดย<br />

รัฐสภา) เป็นจุดสิ้นสุดของนโยบายเผชิญหน้าระหว่าง<br />

ภาคธุรกิจและภาครัฐบาล<br />

แม้ว่าการจัดตั้ง BOI เพื่อส่งเสริมการลงทุนใน<br />

อุตสาหกรรมในจุดที่ประเทศไทยกำลังอ่อนแอ ไม่ได้<br />

ประสบความสำเร็จมากนักในขณะนั้น จริงที่ว่า<br />

อุตสาหกรรมใหม่นั้นเกิดขึ้นเรื่อยๆ และทำให้เราเป็น<br />

ผู้นำทางด้านอุตสาหกรรมทางเศรษฐกิจ เช่น ภาคสิ่งทอ<br />

และภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ แต่กว่าจะเห็นผลของ<br />

สิ่งเหล่านี้ใช้เวลานานนับสิบปี มันเป็นเรื่องที่น่าสงสัย<br />

อยู่เหมือนกันว่าอุตสาหกรรมที่เกิดขึ้นเหล่านี้จะเกิดขึ้น<br />

ได้หรือไม่ถ้าไม่มีการสนับสนุนทางด้านภาษี และ การ<br />

คุ้มครองจากรัฐบาล บางครั ้งทางภาครัฐก็สนับสนุน<br />

ค่อนข้างจะเต็มที่ด้วยการป้อนทุกสิ่งอย่างให้กับเจ้าของ<br />

อุตสาหกรรม และเป็นเรื่องที่น่าถกเถียงกันจริงๆ ว่า<br />

ต้นทุนที่เกิดขึ้นนั้นมันคุ้มหรือไม่กับการนำภาษีของ<br />

ประชาชนออกไปแจกจ่ายขนาดนั้น แต่อย่างไรก็ดีใน<br />

ขณะนั้นก็ได้สร้างความสำเร็จอย่างเป็นรูปธรรมให้<br />

สังคมได้เห็น ถ้ามองกันแบบแคบๆ มันทำให้นักธุรกิจ<br />

Thai farmers, like agriculturists the world over, had<br />

been clearing whatever land was available for centuries.<br />

However the land clearing movement of the 1960s and<br />

the 1970s proceeded at an unprecedented tempo.<br />

Population growth intensified the pressure on the land.<br />

At 3.1 per- cent per annum during the 1960s it was higher<br />

than ever previously recorded. Further, the modern<br />

land-clearing practice was aided by machinery – in this<br />

case, the machinery was provided by the loggers. After<br />

the land was cleared, tractors could be used to cultivate<br />

the land. Whereas before, with animal power, a farmer<br />

could cultivate at most 4-5 hectares, with tractor power<br />

that limit was lifted and a farm size of tens and even<br />

hundreds of hectares became manageable.<br />

Once the land was cleared and farmed, the product<br />

could be easily sold, aided by the access to the new roads<br />

that were built in a burst of expansion during the 1960s.<br />

The result was a continuous growth of agricultural exports<br />

during the 1960s. Sugarcane acreage expanded continuously.<br />

Other crops which were grown in small quantities before<br />

ทั้งในและต่างประเทศเห็นว่ารัฐบาลกำลังช่วยเหลือ<br />

อะไรบางอย่างให้กับพวกเขา<br />

เมื่อรัฐบาลและนักธุรกิจระดับแนวหน้าของประเทศ<br />

มาถึงจุดที่ “แสวงจุดร่วม สงวนจุดต่าง” เวทีของการ<br />

ขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องก็เปิดฉากขึ ้น<br />

เศรษฐกิจขยายตัวที่ 7.2 เปอร์เซ็นต์ต่อปีอย่างต่อเนื่อง<br />

ตั้งแต่ พ.ศ. 2501-2516 โดยตัวขับเคลื่อนหลักของการ<br />

ขยายตัวอย่างเป็นปรากฏการณ์ในครั ้งนี้คือการขยาย<br />

ตัวของภาคเกษตรกรรม ปัจจัยที่ทำให้สำเร็จเพราะมี<br />

การเชื่อมต่อระหว่างภาคนโยบายและภาคการปฏิบัติ<br />

ประเทศไทยเฉกเช่นเดียวกันกับเพื่อนบ้านใน<br />

ภูมิภาค เริ่มต้นยุคหลังสงครามได้ด้วยผืนดินอันอุดม<br />

สมบูรณ์ที่กว้างใหญ่ไพศาล แผ่นดินโดยมากเคยถูก<br />

ปกคลุมด้วยผืนป่าเป็นส่วนใหญ่ แต่ก็มีผืนดินจำนวน<br />

ไม่น้อยที่สามารถทำการเพาะปลูกได้ ชาวไทยกว่า 17<br />

ล้านคนอาศัยอยู่ในพื้นที่ราบลุ่มริมฝั่งต้นน ้ำและสาขา<br />

ของแม่น้ำเจ้าพระยา ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือนั้น<br />

ก็อยู่แถบลำน้ำมูลและลำน้ำชีตามเส้นทางรถไฟ และ<br />

ค่อยๆ ขยายออกไปจากแม่น้ำและทางรถไฟ ผืนป่าได้<br />

ถูกถางออกเปลี่ยนเป็นไร่นา อย่างไรก็ตามดินแดนที่อยู่<br />

ในที่ห่างไกลนั้นยังคงไม่มีใครเข้าไปแตะต้องเพราะ<br />

became major export items, first maize, then kenaf,<br />

followed by cassava. Thai farmers adopted these crops<br />

one by one, and produced them largely for the export<br />

markets. The output expansion was achieved almost<br />

entirely by means of area expansion, rather than by an<br />

intensification in the cultivation of existing lands. Yields<br />

remained low.<br />

Aside from the construction of infrastructure, these<br />

pioneers received little help from the government.<br />

The promotion of the sugar industry was the sole exception.<br />

In one case (cassava), the government even actively<br />

discouraged the crop on the grounds that it is destructive<br />

of the soil. This abstention from intervention was not<br />

detrimental to farmers. It could even be argued that it<br />

had been to their benefit, given the general ineffectiveness<br />

of the government in adopting sensible sectoral policies.<br />

In one area, however, the neglect of the government was<br />

storing up problems for the future.<br />

As the farmers were clearing and occupying new lands,<br />

they did not receive any clear titles to them. The law in<br />

77


เป็นที่ที่มาลาเรียยังคงชุกชุม<br />

รัฐบาลได้ลงมือจัดสรรที่รกร้างให้เป็นที่ทำกิน<br />

โครงการ DDT นั้นไล่โรคร้ายมาเลเรียออกไปและช่วย<br />

ลดความอันตรายในพื้นที่ลงไปได้มาก ยิ่งไปกว่านั้น<br />

โครงการตัดถนนของรัฐนั้นช่วยดึงดูดความสนใจให้คน<br />

มาตั้งรกรากทำกินมากขึ้น เพราะการสร้างถนนทำให้<br />

ประชาชนเข้าถึงการค้าขายได้ง่ายขึ้น รัฐบาลยัง<br />

สนับสนุนการรุกป่าอย่างไม่ตั้งใจด้วยการให้สัมปทาน<br />

กับเอกชน โดยทฤษฎีแล้วผู้รับสัมปทานนั้นต้องปลูก<br />

ต้นไม้ทดแทนต้นไม้ที่พวกเขาได้โค่นมันลงไป แต่การ<br />

บังคับใช้นั้นค่อนข้างอ่อนแอ จึงทำให้มีผู้เข้ามาจับจอง<br />

พื้นที่ป่าไม้อย่างรวดเร็ว บางก็เป็นลูกจ้างของผู้ที่ได้รับ<br />

สัมปทานตัดไม้ นอกจากนี้การรุกป่าไม้โดยไม่ได้รับ<br />

สัมปทานก็มีเพิ่มมากขึ้นเช่นกัน<br />

เกษตรกรไทยนั้นไม่ต่างจากเกษตรกรทั่วโลก คือผู้<br />

บุกเบิกที่ดินที่ว่างมานับร้อยปี อย่างไรก็ดีการ<br />

พัฒนาที่ดินในยุคคริสต์ทศวรรษ 1960 (พ.ศ. 2503-<br />

2512) จวบจนถึง ช่วงยุคคริสต์ทศวรรษ 1970<br />

(พ.ศ. 2513-2522) นั้นเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วอย่าง<br />

ไม่เคยมีมาก่อน การเพิ่มของประชากรกดดันให้เกิด<br />

การครอบครองที่ดิน เพิ่มขึ้นถึง 3.1 เปอร์เซ็นต์ ในช่วง<br />

this respect was completely at variance with the practice<br />

on the ground. For example, it stated that any land which<br />

was not occupied was government land. Large parcels<br />

of this supposedly unoccupied land were put under forest<br />

reserves, to be looked after by the Royal Forestry Department,<br />

which had relatively little manpower to look after all<br />

the lands that were put in its charge. Even for those lands<br />

which were not under forest reserves, the issuance of the<br />

titles was proceeding at an extremely slow pace.<br />

Consequently, many farmers (in fact the majority of the<br />

upland crop farmers) were farming on lands which in the<br />

eyes of the law did not belong to them. Owing to the<br />

absence of legal recognition, settlers in many areas had<br />

to seek protection from local strong men, and the basis<br />

was created for a new rural elite. The availability of land<br />

had the potential of creating an egalitarian social order,<br />

but sadly, that opportunity was missed, and it was a<br />

major policy failure of that period.<br />

At that time, this shortcoming was not noticed.<br />

The farmers also did not seem to have been adversely<br />

78<br />

ยุคคริสต์ทศวรรษ 1960 (พ.ศ. 2503 - 2512) ซึ่ง<br />

สูงกว่าสถิติใดที่เคยบันทึกเอาไว้ เครื่องจักรสมัยใหม่<br />

ถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการโค่นป่า ในกรณีนี้<br />

เครื่องจักรนั้นถูกจัดหามาให้โดยผู้รับสัมปทาน<br />

ป่าไม้นั้นเอง หลังจากที่พื้นป่าถูกตัดต้นไม้จนหมดแล้ว<br />

รถแทรคเตอร์ก็มีหน้าที่เข้ามาปรับหน้าดิน ซึ่งแต่ก่อน<br />

ใช้แรงงานสัตว์ ชาวนาจะสามารถปลูกพืชได้ประมาณ<br />

4-5 เฮคเตอร์ (24-30 ไร่) แต่ด้วยแทรคเตอร์นั้น ที่ดิน<br />

ขนาด 10 หรือ 100 เฮคเตอร์ (60-600 ไร่) ก็สามารถ<br />

จัดการได้ (1 เฮคเตอร์ = 10,000 ตารางเมตร หรือ<br />

ประมาณ 6 ไร่ กับ 1 งาน – ษิระ น้อยทิพย์ ผู้แปล)<br />

เมื่อผืนดินนั้นถูกปรับ และเริ่มทำการเกษตรได้<br />

สินค้าเกษตรก็ขายได้โดยไม่ยาก เพราะมีการตัดถนน<br />

เส้นทางใหม่ๆ อย่างมากมายในช่วงยุคคริสต์ทศวรรษ<br />

1960 (พ.ศ. 2503 - 2512) ผลลัพท์ที่ได้คือการเจริญ<br />

เติบโตของการส่งออกพืชผลทางการเกษตรในยุคนั้นเกิด<br />

ไร่อ้อยขึ้นนับร้อยนับพันไร่อย่างต่อเนื่อง พืชอื่นที่นิยม<br />

ปลูกกันในปริมาณมากกลายเป็นสินค้าส่งออกหลักของ<br />

ประเทศ เริ่มจาก ข้าวโพด ปอ ตามมาด้วย มันส ำปะหลัง<br />

เกษตกรไทยเริ่มรับเอาพืชเหล่านี้มาทำการเกษตรตัว<br />

แล้วตัวเล่า ผลิตและส่งออกไปยังตลาดส่งออก ผลจาก<br />

affected, except perhaps in their access to credit. It was<br />

only in the 1980s, as the land frontier was closed, that the<br />

problems created by government negligence began to<br />

assume a larger profile in the political and social agenda.<br />

The most dynamic part of the agricultural sector was<br />

in new upland crops and in rubber. But even in rice, the<br />

traditional crop for Thai farmers, output grew, although in<br />

this case there was also an intensification, particularly in<br />

the Central Plains. In this case, the long history of irrigation<br />

investments going back to the fifth reign was at long last<br />

beginning to pay off. In the first decade of the twentieth<br />

century, the Dutch engineer van der Heide originally<br />

conceived of having a diversion dam across the main<br />

channel of the river, supplemented by one storage dam<br />

further upstream. With the construction of the Chao Phraya<br />

irrigation dam in the early 1950s, and the storage dam at<br />

Yanhee (which now bears His Majesty’s name), van der<br />

Heide’s conception became reality. The lower Chao Phraya<br />

system now has flood prevention capability and<br />

supplemental irrigation during the wet season, as well as


การส่งออกที่ได้นั้นสัมพันธ์กันกับการขยายที่ดิน<br />

แต่ผลผลิตของภาคการเกษตรยังคงอยู่ในอัตราที่ต่ำ<br />

นอกเหนือไปจากการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน<br />

ผู้บุกเบิกเหล่านี้ได้รับความช่วยเหลือเล็กๆ น้อยๆ<br />

จากรัฐ การสนับสนุนอุตสาหกรรมน้ำตาลนั้นเป็นข้อ<br />

ยกเว้นเพียงหนึ่งเดียว ในอีกกรณีหนึ่งคือมันสำปะหลัง<br />

แม้รัฐบาลจะไม่ให้การสนับสนุนเกษตรกรให้เพาะปลูก<br />

มันสำปะหลังเพราะจะเกิดการทำลายความอุดม<br />

สมบูรณ์ของดิน การที่รัฐบาลไม่เข้าไปแทรกแซงการ<br />

ทำสวนมันสำปะหลังนั้นก่อให้เกิดความเสียหายต่อ<br />

เกษตรกร รัฐสามารถอ้างได้ว่าเราทำเพื่อผลประโยชน์<br />

ของพวกเกษตรกร ทำให้รัฐบาลขาดเสถียรภาพในการ<br />

วางนโยบายบริหารจัดการเพาะปลูกในพื้นที่ต่างๆ การ<br />

เพิกเฉยต่อเรื่องเหล่านี้ทำให้ปัญหาของรัฐบาลเริ่ม<br />

สะสมและส่งผลให้เห็นในอนาคต<br />

ในขณะที่เกษตรกรกำลังรุกพื้นที่ทำกินใหม่ๆ พวก<br />

เขาไม่ได้เป็นเจ้าของพื้นที่ทำกินนั้นๆ กฎหมายที่<br />

เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้มักผันแปรขึ้นอยู่กับว่าจะน ำพื้นที่ไป<br />

ทำอะไร เช่น กฎหมายระบุไว้ว่าถ้าพื้นที่ได้ไม่ได้รับการ<br />

จับจองให้ถือเป็นพื้นที่ของรัฐ มีพื้นที่มากมายนั้นอยู่ใน<br />

เขตป่าสงวนที่ได้รับการดูแลโดยกรมป่าไม้ ซึ่งก็มีกำลัง<br />

the capability to provide water during the dry season to a<br />

substantial proportion of the command area. By the end<br />

of the 1960s, dry season cultivation in the Central Plains<br />

began to take off, helped by the new varieties of rice that<br />

were developed in the Philippines by the International Rice<br />

Research Institute. 4<br />

A consequence of agricultural expansion was the<br />

continual growth of the exports and the increasing strength<br />

of the baht internationally. We shall return to an<br />

assessment of whether the growth eventually benefitted<br />

the men and women who labored to clear the forests and<br />

farm the lands. There was no doubt however that the<br />

agricultural sector ended up absorbing a considerable<br />

number of people, and kept Thailand rural for the time<br />

being. This availability of land and the growth in agricultural<br />

production kept the Thai rate of urbanization low, compared<br />

to other countries at the same level of income. Also, almost<br />

uniquely among its Asian neighbours, each Thai farmer<br />

had, on average, a larger parcel of land to work with in<br />

1980 that he had in 1960.<br />

คนน้อยมากที ่จะติดตามดูแลพื้นที่ทั้งหมด แม้พื้นที่<br />

เหล่านั้นไม่ได้เป็นพื้นที่ป่าสงวน การออกเอกสารสิทธิ์<br />

นั้นเป็นไปด้วยความล่าช้าอย่างมาก ผลที่ตามมาก็คือ<br />

มีเกษตรกรหลายราย (จริงๆ คือผู้ที่ปลูกพืชตามพื้นที่<br />

ห่างไกล) ทำการเกษตรภายใต้การคุ้มกันดูแลจากผู้มี<br />

อิทธิพลในท้องถิ่นแทนที่จะเป็นรัฐบาล ด้วยความ<br />

บกพร่องทางการใช้กฎหมายทำให้ชาวบ้านต้องมองหา<br />

เกาะคุ้มกันจากผู้ที่ทรงอิทธิพลในชุมชน เราหวังว่าการ<br />

มีพื้นที่ทำกินมากมายนั้นจะช่วยสร้างความเสมอภาค<br />

ให้กับคนในสังคม แต่เป็นเรื่องที่น่าเศร้าที่เราปล่อยให้<br />

โอกาสนั้นหลุดลอย เพราะนโยบายที่ใช้จัดการเกี่ยวกับ<br />

พื้นที่ป่าไม้ค่อนข้างล้มเหลวในเวลานั้น<br />

ในยุคนั้นความล้มเหลวที่เกิดขึ้นนั้นยังไม่เป็นที่<br />

รับรู้ของคนทั่วไป เกษตรกรก็ดูเหมือนจะไม่ได้รับ<br />

ผลกระทบอะไรที่เป็นรูปธรรมชัดเจน ยกเว้นการนำ<br />

ที่ดินไปกู้เงิน ในยุคคริสต์ทศวรรษ 1980 (พ.ศ. 2523<br />

- 2532) เมื่อการจับจองพื้นที่ดินมาถึงจุดสิ้นสุด ปัญหา<br />

ที่เกิดขึ้นจากความเพิกเฉยของรัฐบาลนั้นเริ่มใหญ่โตขึ้น<br />

ในบริบททางการเมืองและประชาสังคม<br />

ภาคเกษตรกรรมที่มีบทบาทสำคัญคือพืชผล<br />

ทางการเกษตรที่ถูกเก็บเกี่ยวจากพื้นที่ห่างไกล เช่น<br />

Agricultural growth was ultimately responsible for the<br />

overall growth of the economy. But the rapid expansion<br />

of the economy during the 1960s eventually undid the<br />

Sarit system of government. This system rested on the<br />

exercise of absolute power, first by Sarit, and on his death<br />

by his milder successor, Field Marshal Thanom Kittikachorn.<br />

But the very economic growth that this regime fostered<br />

led to the emergence of a middle class as well as a class<br />

of intellectuals that did not feel beholden to the government.<br />

This class of intellectuals was also a creation of the reforms<br />

and expansion of the universities, which saw a considerable<br />

growth in the number of full-time lecturers. They viewed<br />

the Thanom regime as increasingly anachronistic. In<br />

retrospect, the collapse of the regime in the student uprising<br />

in October 1973 looks inevitable, but at the time the surprise<br />

was in its suddenness.<br />

THE OIL SHOCKS: TEETERING ON THE BRINK<br />

(1973-1985)<br />

79


สวนยางพารา แม้แต่ข้าวก็ตาม ผลผลิตข้าวเริ่มเจริญ<br />

เติบโตโดยเฉพาะภาคกลาง ในกรณีนี้เป็นเพราะการ<br />

ลงทุนสร้างและพัฒนาชลประทานที่ใช้เวลาอย่าง<br />

ยาวนานต่อเนื่องตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ที่เริ่มส่งผลให้<br />

เห็นได้ชัดเจน ในช่วง พ.ศ. 2443 - 2453 วิศวกรชาวดัชท์<br />

แวน เดอร์ ไฮด์ Van de Heide คิดสร้างวิธีการกักน้ำ<br />

ที่เรียกว่าเขื่อนทดน้ำกลางแม่น้ำหลัก โดยได้รับการ<br />

สนับสนุนน้ำจากเขื่อนกักน้ำใหญ่ที่ต้นน้ำ กล่าวคือมี<br />

การสร้างเขื่อนเจ้าพระยาในคริสต์ทศวรรษ 1950 (พ.ศ.<br />

2493 - 2502) และ เขื่อนกักเก็บน้ำที่ ยันฮี (ซึ่งปัจจุบัน<br />

คือ เขื่อนภูมิพล) แนวความคิดของ แวน เดอ ไฮด์ นั้น<br />

ถูกทำให้เป็นจริง ลุ่มเจ้าพระยาตอนล่างนั้นได้รับการ<br />

ปกป้องอย่างดีจากอุทกภัยจากเขื่อนเจ้าพระยาในช่วง<br />

ฤดูน้ำหลาก เช่นเดียวกันกับในฤดูแล้งก็สามารถผันน้ำ<br />

ไปยังพื้นที่ที่ต้องการได้ ช่วงท้ายๆ ของคริสต์ทศวรรษ<br />

1960 (พ.ศ. 2503 - 2512) การเพาะปลูกพืชในฤดูแล้ง<br />

ในที่ราบลุ่มภาคกลางเริ่มมีผลผลิตมากขึ้นเพราะพันธุ์<br />

ข้าวที่ได้รับการพัฒนาในประเทศฟิลิปปินส์โดย<br />

สถาบันวิจัยข้าวนานาชาติ<br />

ผลพวงของการขยายตัวทางเกษตรกรรม คือการ<br />

เจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องของการส่งออก และ การแข็ง<br />

The Thanom regime was brought down in the same week<br />

as the six-day war and the Arab boycott which brought<br />

about the first oil shock. 1973 was thus also a watershed<br />

year globally. Two decades of unprecedented expansion<br />

for the rich industrialized countries had come to an end.<br />

The confidence and optimism which seemed to pervade<br />

global economic issues also died with it.<br />

For Thailand, this marked another end. The opening<br />

up of politics created by the rising of 1973 was a permanent<br />

achievement. Since then, generals came and went as<br />

heads of governments or of juntas, but they had to seek<br />

to win legitimacy by getting the approval of elected<br />

parliaments. This more competitive style of politics can<br />

only be of long term benefit for the country, but in the<br />

immediate aftermath, particularly in the years from 1973<br />

to about 1980, Thai politics became quite divisive.<br />

The system of macroeconomic management that<br />

was created during the Sarit era continued without major<br />

changes. Two assumptions which underlay this system<br />

were no longer valid. Domestically, it was predicated on<br />

80<br />

ค่าของเงินบาทในต่างประเทศ เราต้องกลับมาประเมิน<br />

ว่าการเจริญเติบโตทางภาคเกษตรกรรมนี้ส่งผลดีกับผู้<br />

ใช้แรงงานไทยชายหญิงในไทยหรือไม่ ภาคเกษตรกรรม<br />

นั้นเป็นภาคที ่ดูดซับแรงงานไว้ได้ในปริมาณมาก และ<br />

ทำให้ประชากรไม่ทิ้งถิ่นฐาน การแจกจ่ายที่ทำกินและ<br />

สร้างความเจริญเติบโตทางเกษตรกรรมนั้นทำให้การ<br />

ขยายตัวเมืองอยู่ในระดับต่ำ เมื่อเทียบกับประเทศที่อยู่<br />

ในระดับรายได้เดียวกัน ดังนั้นในกลุ่มประเทศเพื่อน<br />

บ้านอาเซียนโดยเฉลี่ยแล้ว เกษตรกรไทยนั้นมีตัวเลข<br />

ที่ทำกินทางการเกษตรกรรมเฉลี่ยสูงกว่าใน พ.ศ. 2523<br />

เมื่อเทียบกับ ช่วง พ.ศ. 2503<br />

การเจริญเติบโตทางด้านเกษตรกรรมเป็นปัจจัย<br />

หลักของความเจริญเติบโตของเศรษฐกิจของประเทศ<br />

แต่การเจริญเติบโตที่รวดเร็วของเศรษฐกิจในช่วงคริสต์<br />

ทศวรรษ 1960 (พ.ศ. 2503 - 2512) ก็ทำให้เกิดโชคที่<br />

ไม่ดีได้เช่นกัน เพราะสิ่งที่สฤษดิ์ได้ทำมาทั้งหมดนั้นถูก<br />

ทำให้สลายไปด้วยระบอบของตัวสฤษดิ์เอง เนื่องจาก<br />

ระบอบนั้นคือการใช้อำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาดแต่<br />

เพียงผู้เดียวโดยเริ่มต้นจาก สฤษดิ์ ต่อมาผู้สืบทอด<br />

อำนาจคือ จอมพล ถนอม กิตติขจร เป็นเพราะการ<br />

เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ก่อให้<br />

an authoritarian political system, not subject to populist<br />

pressures to overspend and undertax. Internationally,<br />

it was predicated on a degree of stability in the world<br />

economic and financial system, which as we have seen,<br />

no longer held true. To navigate between the shoals of<br />

domestic political pressures and international instability<br />

required considerable skills. The Thai macroeconomic<br />

leadership – technocrats almost to a man – managed<br />

the transition rather better than most other developing<br />

countries. However, it was by no means plain sailing all<br />

the way. Thailand very nearly became a problem debtor<br />

in the 1980s.<br />

As mentioned, the domestic political scene during the<br />

period saw a degree of polarization between left and right<br />

which was unprecedented for Thailand. The democratization<br />

between 1973 and 1976 and the sharp reaction<br />

which followed in 1976-1977 exerted great demands on<br />

the budget. Even a government as authoritarian as that<br />

in power in 1976-1977 felt compelled to buy off various<br />

groups within the country. In 1976, with the military


เกิดการก่อตัวของชนชั้นกลางขึ้นในสังคม รวมถึง<br />

ชนชั้นปัญญาชนที่รู้สึกว่าตัวเองได้รับความเมตตาจาก<br />

รัฐบาล คนชั้นปัญญาชนนี้เป็นผู้ก่อตั้งและปฏิรูป และ<br />

ขยายมหาวิทยาลัยต่างๆ สังเกตได้จากการที่มีอาจารย์<br />

มหาวิทยาลัยทำงานเต็มเวลาเพิ่มมากขึ้น คนเหล่านี้<br />

มองว่าระบอบการปกครองแบบถนอมนั้นเริ่มไม่เข้ากับ<br />

ยุคสมัย หากมองย้อนกลับไปการล่มสลายของระบอบ<br />

การปกครองแบบถนอมนั้น ก็เกิดจากการลุกฮือของ<br />

นักเรียนนักศึกษาหรือคนชั้นปัญญาชนที่ออกมาขับไล่<br />

เมื่อ พ.ศ. 2516 ดูเหมือนจะเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้<br />

แต่ในขณะนั้นมันก็ดูน่าประหลาดใจในความกะทันหัน<br />

ของเหตุการณ์<br />

วิกฤตน้ำมัน : การเล่นกระดานหกบนขอบผา<br />

(พ.ศ. 2516 - 2528)<br />

ยุคของถนอมนั้นล่มสลายลงในสัปดาห์เดียว และ<br />

การคว่ำบาตรของกลุ่มประเทศอาหรับ ซึ่งทำให้เกิด<br />

วิกฤตการน้ำมันครั้งแรก พ.ศ. 2516 นั้นเป็นปีที่โลก<br />

ระส่ำระสาย กว่าสองทศวรรษของการขยายตัวของ<br />

ประเทศอุตสาหกรรมทั้งหลายมาถึงจุดสิ้นสุด ความ<br />

triumphant, a loan of 20 billion baht to purchase arms to<br />

fight the Communists was approved by the Cabinet. This<br />

was followed by further loans which were easily enough<br />

obtained. Recall that this was a period when foreign<br />

commercial banks were awash in petro-dollars, and the<br />

famous statement made by one of their managers:<br />

“Nations do not go bankrupt”. In the early stages, in fact,<br />

Thailand was from their point of view quite an attractive<br />

borrower, having previously been following a conservative<br />

borrowing policy, and whose stock of debt owed to<br />

foreigners was almost balanced by its healthy reserves.<br />

By 1985, the combined public and private sector<br />

indebtedness to foreign lenders had ballooned to 39 per<br />

cent of GDP from less than one per cent in 1973. 5 Both<br />

public and private sectors (particularly the commercial<br />

banks) expanded their indebtedness, but the public sector’s<br />

debt grew at a faster rate, so that by 1985, it stood at 60<br />

per cent of the total stock of net debt.<br />

Foreign debt as high as 40 per cent of GNP was not<br />

excessive. Had the funds borrowed during this period<br />

มั่นใจในเศรษฐกิจโลกนั้นเริ่มเสื่อมสลายลง<br />

สำหรับประเทศไทยแล้วเป็นปลายทางของฝั่งหนึ่ง<br />

การเปิดกว้างทางการเมืองก่อให้เกิดการเรืองอำนาจ<br />

ของระบอบรัฐสภา ตั้งแต่นั้นมาเหล่าบรรดานายพลทั้ง<br />

หลายที่เข้ามาเป็นรัฐบาล หรือยึดอำนาจเข้ามาต่างก็<br />

ต้องผ่านการเห็นชอบจากสมาชิกรัฐสภาก่อนถึงจะได้<br />

ขึ้นเป็นผู้นำได้ ระบบการแข่งขันทางการเมืองเช่นนี้ก็<br />

สร้างผลดีให้กับประเทศในระยะยาว แต่เพียงไม่นานใน<br />

ช่วงตั้งแต่ พ.ศ. 2516 ถึง ประมาณ พ.ศ. 2523<br />

นักการเมืองไทยกลับแบ่งเป็นฝักแบ่งเป็นฝ่ายอีกครั้ง<br />

ระบบการจัดการแบบมหภาคนั้นได้ถูกสร้างขึ้นมา<br />

ในยุคสฤษดิ์ และยังคงดำเนินต่อเนื่องโดยไม่มีการ<br />

เปลี่ยนแปลงโครงสร้างมากนัก มีสมมติฐาน 2 ประการ<br />

ที่แสดงให้เห็นว่าระบบนี้ใช้ไม่ได้ดีอีกต่อไปคือ เมื่อมอง<br />

ในมุมภายในประเทศโครงสร้างของระบบการเมืองแบบ<br />

เบ็ดเสร็จนี้ที่ไม่ขึ้นอยู่กับหลักประชานิยม ผลักดันให้<br />

เกิดการใช้จ่ายฟุ่มเฟือยโดยมีระบบภาษีควบคุมอยู่<br />

ส่วนมุมของระหว่างประเทศนั้นจะเห็นได้ว่าระดับของ<br />

เสถียรภาพของเศรษฐกิจโลกและระบบการเงินของโลก<br />

นั้นไม่ได้มั่นคงอย่างที่เคยเป็นมาอีกต่อไป ในการที่จะก้าว<br />

ข้ามและหาทิศทางของประเทศให้ผ่านอุปสรรคทั้งจาก<br />

been used for productive investments, the increased<br />

indebtedness would have been sustainable. However,<br />

this was not the case. Arms purchases with borrowed<br />

money have already been alluded to. With the second<br />

oil shock, further loans were contracted to finance the<br />

public sector deficits – deficits which were incurred<br />

because of the government reluctance to adjust domestic<br />

prices of energy and of many public utilities to reflect the<br />

new configuration in the world markets. Furthermore, the<br />

tying of the baht to the dollar which was rapidly appreciating<br />

between 1978 and 1985, stimulated imports, reduced<br />

export competitiveness (particularly for industrial goods),<br />

and brought in high interest rates as a consequence of<br />

the tight money policies of the Federal Reserve Bank in<br />

the US. The high interest rate in turn discouraged<br />

investment and resulted in higher payments to service<br />

existing loans. All of this played havoc with the current<br />

account of the balance of payments, the deficit on which<br />

rose to more than 6 per cent of GNP in 1978-1980 and<br />

in 1982.<br />

81


แรงกดดันภายในประเทศ และ ความไร้เสถียรภาพของ<br />

เศรษฐกิจโลก ต้องอาศัยทักษะในการบริหารอย่างสูงมาก<br />

การจัดการในระยะเปลี่ยนผ่านของประเทศนั้นเราท ำได้ดี<br />

กว่าประเทศกำลังพัฒนาส่วนใหญ่ แต่อย่างไรก็ดีก็ไม่ได้<br />

หมายความว่าประเทศไทยจะไม่มีอุปสรรคอะไรอีกเลย<br />

เพราะต่อมาประเทศไทยได้ประสบปัญหาหนี้สินในช่วง<br />

คริสต์ทศวรรษ 1980 (พ.ศ. 2523 - 2532)<br />

ดังที่ได้กล่าวมา การเมืองภายในประเทศในยุคนั้น<br />

มีการจับขั้วซ้ายขวากันอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อนใน<br />

ประเทศไทย ประชาธิปไตยวิวัฒน์ ในช่วง พ.ศ. 2516<br />

และ 2519 และรวมถึงปฏิกิริยาลูกโซ่ในช่วง พ.ศ. 2519<br />

- 2520 แสดงให้เห็นว่ามีความต้องการงบประมาณสูง<br />

มาก แม้รัฐบาลในฐานะที่ทรงอำนาจในช่วง พ.ศ. 2519<br />

ด้วยชัยชนะทางด้านการทหารได้ผ่านคณะรัฐมนตรี<br />

อนุมัติเงินกู้ 2 หมื่นล้านบาทเพื่อซื้ออาวุธยุทโธปกรณ์<br />

ไว้ใช้ต่อสู้กับระบอบคอมมิวนิสต์ แล้วก็ตามด้วยการกู้<br />

อีกหลายระลอก เพราะขณะนั้นมันเป็นเรื่องง่าย เมื่อ<br />

มองย้อนกลับไปในยุคนั้นเมื่อธนาคารพาณิชย์ของต่าง<br />

ประเทศนั้นถูกกระทบด้วย ปิโตร-ดอลล่า จนมีคำกล่าว<br />

ที่มีชื ่อเสียงอยู่คำหนึ่งจากหนึ ่งในเหล่าบรรดาผู้จัดการ<br />

ธนาคารว่า “ประเทศไม่มีวันล้มละลาย” ในระยะแรกๆ<br />

By 1982, just before the Mexican default, the<br />

technocrats were again taking charge of macroeconomic<br />

policies, and the old conservative policy stance resumed.<br />

Over the four years between 1982 and 1985, the Thai<br />

government sweated the imbalances out of the economy.<br />

Fiscal discipline was reimposed, better controls were<br />

placed on foreign borrowing by the public sector, and on<br />

the financesof the public enterprises. The baht had already<br />

been devalued because of a speculative attack in 1981<br />

by 15 percent. It was again devalued in 1984 by roughly<br />

the same percentage, but this time more as an act of<br />

policy than out of necessity. In addition, the government<br />

made a decision in 1984, no longer to tie the baht solely<br />

to the dollar, but to an unannounced basket of currencies.<br />

The consequence of this policy of austere demand<br />

management was that the growth rates dipped to an<br />

average of 4.6 per cent between 1980 and 1985.<br />

The instability generated first by laxness and then by<br />

austerity also took its toll on the financial sector. Beginning<br />

in 1979 and continuing on till 1984, many finance companies<br />

82<br />

จากมุมมองของต่างชาติประเทศไทยนั้นเป็นผู้กู้ที่น่า<br />

สนใจ เพราะเรามีนโยบายการคลังแบบอนุรักษ์นิยม<br />

ทำให้ตัวเลขดุลบัญชีเดินสะพัดนั้นแข็งแรงด้วยกองทุน<br />

สำรองระหว่างประเทศที่มากพอ<br />

พอมาถึง พ.ศ. 2528 เมื่อดูหนี้ภาครัฐและภาค<br />

เอกชนแล้ว มูลค่าหนี้นั้นสูงถึง 39 เปอร์เซ็นต์ของ GDP<br />

น้อยกว่า พ.ศ. 2516 เพียงแค่ 1 เปอร์เซ็นต์ ทั้งภาค<br />

รัฐและภาคเอกชน (โดยเฉพาะธนาคารพานิชย์) กำลัง<br />

เป็นหนี้มากขึ้นเรื่อยๆ<br />

โดยหนี้ในภาครัฐนั้นโตในอัตราที่เร็วกว่า โดยใน<br />

พ.ศ. 2528 สัดส่วนหนี้ของประเทศไปยืนอยู่ที่ 60<br />

เปอร์เซ็นต์ของหนี้สินสุทธิ<br />

หนี้ต่างประเทศนั้นสูงถึง 40 เปอร์เซ็นต์ของ GNP นั้น<br />

ยังไม่เท่าไหร่ ถ้าการกู้ยืมกองทุนในช่วงนั้นน ำเงินไปใช้กับ<br />

การลงทุนที่ต่อยอดมันก็จะเป็นการสร้างเสถียรภาพที่ยั่งยืน<br />

แต่ในกรณีนี้ไม่ได้เป็นอย่างนั้น การซื้ออาวุธด้วยเงินที่กู้นั้น<br />

ดูจะไม่เหมาะสม แล้วเมื่อเกิดวิกฤตน้ ำมันครั้งที่ 2 รัฐบาล<br />

จำเป็นต้องกู้ยืมเพิ่มขึ้นเพื่อชดเชยการขาดดุลของรัฐบาล<br />

ที่เข้าไปแทรกแซงราคาพลังงานภายในประเทศและราคา<br />

สาธารณูปโภคภาครัฐให้สอดคล้องกับตลาดโลก รวมถึงการ<br />

ผูกค่าเงินบาทเอาไว้กับค่าเงินดอลล่า ท ำให้ค่าเงินบาทแข็ง<br />

and one commercial bank collapsed. A few more commercial<br />

banks were brought back from the brink of collapse by<br />

government assistance. Mismanagement and sometimes<br />

outright fraud were no doubt responsible for many of these<br />

failures, but the economic slowdown also precipitated<br />

them where otherwise a strong growth of the economy<br />

would have camouflaged the poor returns on their<br />

investments.<br />

Developments in the global economy affected not only<br />

the macroeconomy and its management, but also on the<br />

various sectors as well. Dominating the scene were the<br />

two oil shocks. Their impact however differed significantly.<br />

The first shock 1973 was accompanied by a substantial<br />

rise in food and commodity prices worldwide as well.<br />

Thailand’s major exports at that time happened to be<br />

commodities, mostly food. The adverse effect of the increase<br />

in the prices of imported oil was therefore mitigated to<br />

some extent by the increased food prices.<br />

The sharp increases in the price of food during 1972<br />

to 1974 eventually petered out, but even then, the prices


ขึ้นอย่างรวดเร็วในระหว่าง พ.ศ. 2521 และ 2528 กระตุ้น<br />

การนำเข้าสินค้าและลดประสิทธิภาพในการส่งออกของ<br />

ประเทศ (โดยเฉพาะสินค้าอุตสาหกรรม) ก่อให้เกิดภาวะ<br />

ดอกเบี้ยสูงซึ่งส่งผลมาจากการบังคับใช้นโยบายทางการ<br />

เงินที่เข้มข้นของสหรัฐ ด้วยดอกเบี้ยที่สูงทำให้การ<br />

ลงทุนลดลง และลูกหนี้ต้องจ่ายเงินคืนในอัตราที่สูงขึ้น<br />

อีกด้วย เมื่อรวมกันแล้วมันก็เป็นส่วนผสมของหายนะ<br />

ของกระแสเงินสด ประเทศขาดดุลเดินสะพัดเพิ่มขึ้น<br />

กว่า 6 เปอร์เซ็นต์ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติใน<br />

พ.ศ. 2521-2523 และ ใน พ.ศ. 2525<br />

พ.ศ. 2525 ก่อนที่จะเกิดวิกฤตการณ์ทางการเงิน<br />

ในประเทศเม็กซิโก บรรดานักวิชาการเข้ามาควบคุม<br />

ดูแลนโยบายเศรษฐกิจมหภาค และนำนโยบายแบบ<br />

อนุรักษ์นิยมแบบเดิมกลับมาใช้กว่า 4 ปี ในช่วง พ.ศ.<br />

2525 - 2528 รัฐบาลไทยต้องต่อสู้อย่างหนักกับ<br />

เศรษฐกิจที่ไม่สมดุล วินัยทางการเงินที่เข้มงวดถูกนำ<br />

กลับมาใช้ การควบคุมการกู้เงินต่างประเทศของภาค<br />

เอกชนเริ่มดีขึ้น รวมถึงวิสาหกิจขนาดใหญ่ทั ้งหลาย<br />

ค่าเงินบาทนั้นถูกลดค่าไปเป็นที่เรียบร้อยถึง<br />

15 เปอร์เซ็นต์จากการโจมตีค่าเงินใน พ.ศ. 2524 และ<br />

ลดค่าเงินบาทอีกครั้งเมื่อ พ.ศ. 2527 ในเปอร์เซ็นต์ที่<br />

of most agricultural commodities remained somewhat<br />

above trend through the rest of the 1970s. The expansion<br />

of land areas observed during the 1960s therefore<br />

continued through most of the 1970s – if anything, there<br />

was an acceleration of that trend. The Northeast in<br />

particular experienced a cassava boom. Between 1968<br />

and 1980, cassava production doubled every four years.<br />

Dry-season cultivation of rice in the Central Plains<br />

continued to expand to the point where the water stored<br />

in the Bhumiphol and Sirikit dams during the rainy season<br />

was insufficient to meet dry-season demand.<br />

The agricultural boom of the 1970s proved to be an<br />

Indian summer however. By 1980, forest lands available<br />

for clearance became increasingly difficult to find. The<br />

worldwide expansion in agricultural production capacity<br />

(particularly though investments in irrigation) as a result<br />

of the food scare of the early 1970s led to continual surpluses<br />

and a depression of agricultural prices throughout much<br />

of the 1980s. The removal of various export taxes proved<br />

insufficient to insulate the farmers from the effects of this<br />

เท่าๆ กัน แต่คราวนี้มีรัฐบาลตัดสินใจไม่ผูกค่าเงินไว้<br />

กับดอลล่าเพียงแค่ค่าเงินสกุลเดียว แต่หันมาใช้ระบบ<br />

ตะกร้าเงินแทน<br />

ผลลัพธ์ของนโยบายที่เคร่งครัดนี้ ยังส่งผลให้<br />

อัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยลดลงเหลือแค่เพียง 4.6<br />

เปอร์เซ็นต์ ในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2523-2528<br />

ความไร้เสถียรภาพที่เกิดขึ้นจากความไม่เข้มงวด<br />

ซึ่งเปลี่ยนมาเป็นความเคร่งครัดนั้นได้ให้บทเรียนครั้ง<br />

ยิ่งใหญ่กับภาคการเงิน เริ่มต้นจากช่วง พ.ศ. 2522 และ<br />

ต่อเนื่องมาถึง พ.ศ. 2527 สถาบันทางการเงินหลาย<br />

แห่งและธนาคารพาณิชย์ล้มลง มีธนาคารพาณิชย์เพียง<br />

ไม่กี่แห่งเท่านั้นที่ได้รับการยื่นมือเข้าช่วยเหลือจาก<br />

รัฐบาล การบริหารจัดการที่ผิดพลาดและการบิดเบือน<br />

หลักฐานบางอย่างเป็นสาเหตุของการล้มเหลวครั้งนี้<br />

อย่างไม่ต้องสงสัย แม้ว่าอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจ<br />

จะช้าลงแต่ก็แสดงให้เห็นถึงความมั่นคงแข็งแรงของ<br />

การเติบโตทางเศรษฐกิจในอนาคต ถึงแม้ว่าผล<br />

ตอบแทนการลงทุนจะอยู่ในระดับต่ำก็ตาม<br />

การพัฒนาเศรษฐกิจโลกนั้นมีผลกระทบไม่เพียงแต่<br />

เศรษฐกิจมหภาค และระบบการจัดการเท่านั้น แต่ยังส่ง<br />

ผลกระทบไปถึงทุกภาคส่วน โดยจะเห็นได้ชัดจาก<br />

depression. For the first time since the statistics on poverty<br />

were collected, its incidence increased during the first half<br />

of the 1980s. Until the early 1980s, outmigration from<br />

the rural areas was mostly seasonal, with most migrants<br />

returning to farm their lands during the rainy season. With<br />

shrinking agricultural opportunity, migrants stayed longer<br />

in more permanent factory jobs.<br />

With these market conditions, the comparative<br />

advantage which Thailand used to enjoy in agricultural<br />

production (and which it still does) had suddenly become<br />

a liability. It was a liability because it dictated that Thailand<br />

continue to export products whose international prices<br />

were declining. At the same time, however, she was<br />

acquiring a new comparative advantage in products of<br />

light labour-intensive manufacturing, notably garments,<br />

gems and jewellery, canned tuna fish and assembly of<br />

electronic products. Rapid expansion in these new areas<br />

was however hampered between 1980 and 1984 by the<br />

high value of the baht. Once the exchange rates were<br />

realigned, the boom in exports of manufactured goods<br />

83


วิกฤตการณ์น้ำมันใหญ่ทั้งสองครั้ง แต่ผลกระทบของทั้ง<br />

สองครั้งนั้นต่างกันโดยสิ้นเชิง วิกฤตการณ์น้ ำมันในครั้ง<br />

แรกเมื่อ พ.ศ. 2516 สร้างผลกระทบอย่างมาก ท ำให้ราคา<br />

อาหารและโภคภัณฑ์ในตลาดโลกสูงขึ้น การส่งออกของ<br />

ประเทศไทยหลักๆ ในขณะนั้นส่วนใหญ่เป็นโภคภัณฑ์และ<br />

อาหาร เนื่องจากเราเป็นประเทศนำเข้าพลังงาน ผลกระ<br />

ทบต่อประเทศที่เกิดขึ้นคือ การทำให้ต้นทุนในการผลิต<br />

อาหารสูงขึ้น และราคาอาหารนั้นขยับตัวขึ้น<br />

การก้าวกระโดดขึ้นของราคาอาหารช่วง พ.ศ. 2515<br />

- 2517 นั้นค่อยๆ จางลงไป ราคาสินค้าเกษตรยังคงมี<br />

แนวโน้มเพิ่มขึ้นตลอดช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 (พ.ศ.<br />

2513 - 2522) การขยายพื้นที่ทำกินที่เริ่มมาตั้งแต่<br />

คริสต์ทศวรรษ 1960 (พ.ศ. 2503 - 2512) ต่อเนื่องมา<br />

จนถึงคริสต์ทศวรรษ 1970 (พ.ศ. 2513 - 2522) โดย<br />

เฉพาะในภาคอีสานที่เกษตรกรหันมานิยมปลูก<br />

มันสำปะหลังกันอย่างแพร่หลาย ตั้งแต่ พ.ศ. 2511 - 2523<br />

ผลผลิตมันสำปะหลังนั้นเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าทุกๆ 4 ปี<br />

ในช่วงฤดูแล้งเกษตรกรในที่ราบลุ่มภาคกลางนั้นได้น้ำ<br />

เพื่อทำการเพาะปลูกข้าว โดยใช้น้ำที่กักเก็บไว้จากเขื่อน<br />

ภูมิพล และ เขื่อนสิริกิติ์ ที่ได้เก็บกักน้ำเอาไว้ใน<br />

ช่วงฤดูฝนมาใช้ในฤดูแล้ง<br />

began.<br />

A great deal of the economic travails of this period<br />

arose from the reluctance of the government to adjust the<br />

domestic price structure fully to the increase in energy<br />

prices, particularly after the second oil shock in 1979.<br />

This failure to adjust was part and parcel of the macroeconomic<br />

policy failure discussed above. Against this policy failure<br />

must be set the formation of a new institutional framework<br />

for the energy sector. A new Petroleum Authority of Thailand<br />

was formed and put under professional management.<br />

It became the keystone of different public enterprises<br />

dealing with energy. Similarly two refineries which were<br />

granted as concessions to private firms in Sri Racha and<br />

Bangchak were taken over by the government on the<br />

expiry of their contracts, and also put under professional<br />

management.<br />

The country experienced a windfall in the discovery<br />

in 1978 of large natural gas deposits in the Gulf of Thailand,<br />

which helped to reduce the dependence of this sector on<br />

imports. In the eyes of the technocrats, the gas reserves<br />

84<br />

ความเจริญรุ่งเรืองทางด้านเกษตรกรรมของ<br />

ประเทศในคริสต์ทศวรรษ 1970 (พ.ศ. 2513 - 2522)<br />

นั้นทำให้ประเทศไทยคล้ายกับประเทศอินเดียในฤดูร้อน<br />

เข้าไปทุกขณะ ภายใน พ.ศ. 2523 พื้นที่ป่าที่จะนำมา<br />

จัดสรรให้เป็นที่ทำกินนั้นเริ่มหายากขึ้น เนื่องจาก<br />

เหตุการณ์การขาดแคลนอาหารในคริสต์ทศวรรษ 1970<br />

โลกเกิดการขยายตัวทางด้านเกษตรกรรมอย่าง<br />

กว้างขวางมากขึ้น โดยการลงทุนทำฝายกั้นน้ำ ซึ่งก่อ<br />

ให้เกิดภาวะผลผลิตล้นตลาดอย่างต่อเนื่อง ราคาพืชผล<br />

และอาหารนั้นตกต่ำในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 (พ.ศ.<br />

2523 - 2532) การลดภาษีส่งออกนั้นไม่เพียงพอที่จะ<br />

ช่วยเกษตรกรให้ผ่านวิกฤตจากราคาพืชผลทางเกษตร<br />

ที่ตกต่ำครั้งนี้ได้ นี่เป็นครั้งแรกที่สถิติของคนยากจนที่<br />

เข้ามาหางานในทำในเมืองนั้นเพิ่มขึ้น ในขณะที่แต่ก่อน<br />

นั้นจะขึ้นลงตามฤดูการเพาะปลูก เมื่อถึงฤดูเพาะปลูก<br />

แล้วแรงงานเหล่านี้ก็จะกลับไปทำการเพาะปลูกใน<br />

ถิ่นฐานของตัวเอง แต่เพราะสาเหตุของการหดตัวของ<br />

ความต้องการสินค้าเกษตรในตลาดโลกทำให้เหล่า<br />

บรรดาแรงงานนี้เริ่มเข้ามาหางานที่มั่นคงกว่าใน<br />

โรงงานและเริ่มอยู่ในเมืองนานมากขึ้น<br />

เพราะเงื่อนไขทางการตลาดที่เป็นอยู่ในขณะนี้<br />

were also to be the foundation of Thailand’s heavy industry<br />

on the Eastern Seaboard. A petrochemical project was<br />

launched. There was also to be a fertilizer plant, but that<br />

was shelved amid great controversy.<br />

From the vantage point of the present, with our<br />

knowledge of the boom of the late 1980s, the dozen years<br />

covered in this section appear as a period of transition<br />

between the agriculture-driven growth of the golden age<br />

of 1958-1973 and the industry-driven boom of the last ten<br />

years. Many of the painful episodes were adjustments<br />

towards what would become a better future.<br />

Those who lived through the period, however, could<br />

not have the foresight to be so sanguine. Politically, the<br />

situation was one of foreboding, even alarm, as the<br />

Communists took over power in the Vietnam, Laos and<br />

Cambodia. The domestic political polarization was fierce<br />

enough to preclude sound management of the economy.<br />

The problems plaguing the financial sector, particularly in<br />

the latter half of this period, also dampened investments<br />

considerably. The public sector, in its push for austerity


ทำให้ประเทศไทยที่เคยรื่นรมย์กับผลผลิตทางการ<br />

เกษตรของตัวเอง (และยังคงมีล้นเหลือ) ผลผลิต<br />

เหล่านี้กลับกลายมาเป็นภาระของประเทศ เพราะ<br />

ประเทศไทยจำเป็นต้องส่งออกผลผลิตเหล่านี้ออกไปใน<br />

ตลาดโลกในราคาตกต่ำลงทุกที ขณะเดียวกันประเทศ<br />

ก็พบโอกาสชิ้นใหม่นั่นคือ การผลิตสินค้าที่ใช้แรงงาน<br />

ไม่เยอะ เช่น ธุรกิจสิ่งทอ อัญมณี และ เครื่องประดับ<br />

ทูน่ากระป๋อง หรือการผลิตชิ้นส่วนสินค้าอิเล็กทรอนิกส์<br />

ที่ขยายตัวอย่างรวดเร็ว แต่แล้วก็ถูกทำให้ชะงักในช่วง<br />

พ.ศ. 2523 - 2527 เพราะค่าเงินบาทที่สูง เมื่อปัญหา<br />

ค่าเงินได้ถูกแก้ไขแล้ว การเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว<br />

ของการส่งออกผลผลิตอุตสาหกรรมจึงได้เริ่มต้นขึ้น<br />

ความยากลำบากทางเศรษฐกิจของรัฐบาลช่วงนี้<br />

เกิดขึ้นเพราะความลังเลของรัฐบาลที่จะปรับโครงสร้าง<br />

ราคาภายในประเทศให้สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นราคา<br />

พลังงานโลกโดยเฉพาะหลังจากเกิดวิกฤตน้ำมันครั้งที่ 2<br />

ใน พ.ศ. 2522 เพราะความผิดพลาดครั้งนี้เกิดจาก<br />

นโยบายเศรษฐกิจมหภาคที่ล้มเหลวดังที่ได้กล่าวมา<br />

ข้างต้นแล้ว เพื่อไม่ให้มีการดำเนินนโยบายที่ผิดพลาด<br />

อีกครั้ง รัฐจึงเห็นควรให้มีการสร้างสถาบันทางด้าน<br />

พลังงานขึ้นมาใหม่ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยจึง<br />

beginning in 1982, also had to postpone many infrastructural<br />

investments, with consequences that were to be felt in<br />

the 1990s.<br />

THE INDUSTRIAL BOOM (1985-1995)<br />

By 1985, the worst of the adjustment pains were over.<br />

In addition, Thailand received two unexpected bonuses<br />

from the rest of the world. The first was the sharp drop in<br />

petroleum prices in the beginning of 1986. The second<br />

was the reversal of the trend in exchange rates with the<br />

dollar beginning to depreciate. The government then made<br />

a critical decision, setting the stage for the boom that<br />

followed: it decided to tamper with the basket of currencies<br />

that determined the value of the baht, and increased the<br />

share of the dollar in that basket from about a half to 90<br />

per cent. The baht consequently went down in value with<br />

the dollar.<br />

The consequence was a boom of unprecedented<br />

proportions. Thailand experienced double-digit growth<br />

ได้ถือกำเนิดขึ้นมาภายใต้การบริหารงานของมืออาชีพ<br />

โดยเป็นส่วนหลักที่เชื่อมเอาทุกองค์กรที่มีความเกี่ยวข้อง<br />

กับพลังงานเข้าไว้ด้วยกัน เช่นเดียวกันกับโรงกลั่นที่ได้<br />

สัมปทานให้กับเอกชนที่ศรีราชาและบางจาก เมื่อหมด<br />

สัญญาสัมปทานกับรัฐบาลแล้วรัฐก็นำกลับมาทำเอง<br />

ภายใต้การบริหารงานของมืออาชีพ<br />

เป็นโชคดีของประเทศไทยที่ได้พบกับแหล่งก๊าซ<br />

ธรรมชาติขนาดใหญ่ในอ่าวไทยอย่างคาดไม่ถึงเมื่อมี<br />

การสำรวจ ใน พ.ศ. 2521 ซึ่งช่วยลดการพึ่งพาพลังงาน<br />

นำเข้า ซึ่งในสายตาของนักวิชาการทั้งหลายมองว่า<br />

ก๊าซธรรมชาตินั้นยังเป็นพื้นฐานของอุตสาหกรรม<br />

ขนาดใหญ่ของประเทศ<br />

ในนิคมอุตสาหกรรมภาคตะวันออก โครงการที่<br />

เกี่ยวเนื่องกับปิโตรเคมีนั้นผุดขึ้นมากมาย โรงงานผลิต<br />

ปุ๋ยให้กับพืชผลเกษตร แต่อุตสาหกรรมเหล่านี้ก็ถือ<br />

กำเนิดท่ามกลางความขัดแย้งอย่างหนัก<br />

จากจุดที่มองเห็นได้กว้างขวางในขณะนี้ เรื่องที่เรา<br />

ได้เรียนรู้ในช่วงบูมของปลายคริสต์ทศวรรษ 1980<br />

(พ.ศ. 2523 - 2532) หลายสิบปีของการเปลี่ยนแปลง<br />

ของประเทศจากประเทศที่ขับเคลื่อนด้วยเกษตรกรรม<br />

ในช่วงยุคทอง พ.ศ. 2501 - 2516 และการเจริญเติบโต<br />

rates in three consecutive years beginning in 1987. This<br />

spurt was fuelled initially by an export boom in which<br />

manufactured goods now played an overwhelming role,<br />

shunting aside agricultural exports altogether as the main<br />

engine of growth that they had been until 1980. The<br />

expansion of industrial production and exports was<br />

sustained by increasing investment, particularly from<br />

Japan, Taiwan and Hong Kong, largely because these<br />

economies were faced with the need to realign their<br />

production in the wake of rapid appreciation of their<br />

currencies. During these years, Thailand was the “flavor<br />

of the month” among stock brokers worldwide, and a great<br />

deal of portfolio investment also flowed in, fuelling in turn<br />

a huge stock market boom. Beginning in 1988, the<br />

speculative fever spilled over into the real estate market,<br />

and led to a construction boom and large increases in<br />

land prices.<br />

Despite the heady atmosphere that these various<br />

booms generated, Thailand in these years provided a good<br />

object lesson of the adverse consequences of excessively<br />

85


อย่างมากของภาคอุตสาหกรรมในช่วง 10 ปีสุดท้าย<br />

ช่วงเวลาที่ผ่านมานั้นมีเหตุการณ์ที่เต็มไปด้วยความ<br />

เจ็บปวดมากมาย มีการแก้ไขหลายสิ่งเพื่อให้ประเทศ<br />

ชาติมีอนาคตที่ดีกว่าเดิม<br />

สำหรับคนที่ได้ใช้ชีวิตผ่านช่วงเวลานี้คงไม่ใช่เวลา<br />

ที่น่าอภิรมย์มากนัก โดยทางการเมืองแล้วสถานการณ์<br />

เต็มไปด้วยความรู้สึกว่าจะมีเหตุร้ายเกิดขึ้นได้อยู่ตลอด<br />

เวลา ไม่ว่าจะเป็นการที่ฝ่ายคอมมิวนิสต์เข้ามามีอ ำนาจ<br />

ในประเทศเวียดนาม ลาว และ กัมพูชา การแบ่งขั้วกัน<br />

ทางการเมืองนั้นรุนแรงมากจนสร้างผลกระทบในการ<br />

บริหารเศรษฐกิจ และบั่นทอนการลงทุนอย่างมาก ภาค<br />

เอกชนที่ถูกบังคับให้มัธยัสถ์รัดเข็มขัดตั้งแต่ พ.ศ. 2525<br />

เป็นต้นมา จำให้ต้องงดการลงทุนทางด้านโครงสร้าง<br />

พื้นฐานจำนวนมาก ซึ่งจะส่งผลกระทบในช่วงคริสต์<br />

ทศวรรษ 1990 (พ.ศ. 2533 - 2542)<br />

อุตสาหกรรมเจริญ (พ.ศ. 2528 - 2538)<br />

หลังจาก พ.ศ. 2528 การปรับเปลี่ยนที่แสนจะเจ็บ<br />

ปวดนั้นสิ้นสุดลง ประเทศไทยได้รับโบนัสที่ไม่ได้คาด<br />

หวังสองสิ ่งจากประเทศต่างๆ ทั่วโลก ของขวัญ<br />

rapid growth. The enormous expansion in the stock and<br />

property markets diverted a great deal of entrepreneurial<br />

talents into activities which, by its very nature, could not<br />

be sustained. This diversion of human resources was<br />

particularly burdensome, because it was becoming clear<br />

that while Thailand had a comparative advantage in<br />

producing labor-intensive manufactures that it was exporting<br />

during this period, it could not hope to continue in these<br />

sorts of activities for much longer. Domestic wages were<br />

going up, gradually at first, but sharply by the end of the<br />

1980s, and as other developing countries were adopting<br />

an export-based development strategy, it was a matter of<br />

time before countries with lower wages than Thailand<br />

could out-compete Thai suppliers. Thailand’s industrial<br />

future depended upon the ability to upgrade continually<br />

the technology and skills possessed by its firms and its<br />

workers. A system which awarded speculative skills was<br />

unlikely to generate that ability.<br />

Thailand was and is fortunate in attracting foreign<br />

investors. They play a strategic role in expanding<br />

86<br />

ชิ้นแรกคือการลงของราคาปิโตรเลียมอย่างรวดเร็วใน<br />

ช่วงเริ่มต้น พ.ศ. 2529 และของขวัญชิ้นที่สองนั้นได้แก่<br />

การกลับตัวของอัตราแลกเปลี่ยน โดยค่าเงินดอลล่ามี<br />

แนวโน้มเริ่มลดค่าลง รัฐบาลได้ตัดสินใจครั้งสำคัญอย่าง<br />

ยิ่งเพื่อทำให้เศรษฐกิจเจริญเติบโต โดยการเข้า<br />

แทรกแซงตะกร้าเงินที่กำหนดค่าเงินบาท โดยเพิ่ม<br />

อัตราส่วนของดอลล่ากว่าครึ่งถึง 90 เปอร์เซ็นต์ จึงท ำให้<br />

ค่าเงินบาทนั้นลดค่าลงไปพร้อมกันกับค่าเงินดอลล่า<br />

ผลก็คือมีการเจริญเติบโตอย่างที่ไม่เคยคาดคิดมา<br />

ก่อน ประเทศไทยจึงได้สัมผัสกับตัวเลขการเจริญเติบโต<br />

ทางเศรษฐกิจด้วยตัวเลขสองหลักต่อเนื่องกันเป็นเวลา<br />

3 ปี โดยเริ่มต้นใน พ.ศ. 2530 การเจริญเติบโตแบบ<br />

ไอพ่นนี้ได้แรงขับเคลื่อนมาจากการระเบิดของการ<br />

ส่งออกสินค้าที่มีบทบาทอย่างมาก เสริมแรงด้วยการ<br />

ส่งออกสินค้าเกษตรก็ยังคงเป็นเครื่องยนต์หลักในการ<br />

ขับเคลื่อนการเจริญเติบโตตั้งแต่ พ.ศ. 2523 การขยาย<br />

ตัวของการผลิตในภาคอุตสาหกรรมและการส่งออก นั้น<br />

ได้รับการสนับสนุนจากการเพิ่มขึ้นของการลงทุนจาก<br />

ต่างประเทศโดยเฉพาะจากประเทศ ญี่ปุ่น ไต้หวัน และ<br />

ฮ่องกง เพราะความได้เปรียบทางด้านอัตราแลกเปลี่ยน<br />

ของเรา ในช่วงระหว่างปีนี้ประเทศไทยขึ้นชื่อว่าเป็น<br />

Thailand’s technological skills and particularly in training<br />

its workers, but a near total reliance on what these firms<br />

provide is clearly not in Thailand’s long term interests.<br />

While the first few years of expansion rested on the<br />

spare capacity that was available because of the growth<br />

recession in the early 1980s, very soon that spare capacity<br />

was used up. Severe strains were building up on Thailand’s<br />

infrastructure, particularly in transport and telecommunications.<br />

At this point the government made a fateful<br />

decision to begin privatizing the provision of these basic<br />

services. It did not do so by selling off the state enterprises<br />

that were in charge, and letting them face competition.<br />

Rather, their monopoly was kept intact, but they were<br />

made to give “concessions” to private companies to<br />

undertake major new investment projects. This was the<br />

route followed for the expansion of the telephone network<br />

and the urban transport system.<br />

If truth is the first casualty of war, public interest was<br />

the first casualty of the system of concessions that were<br />

granted during this period. While the system of piecemeal


“เนื้อหอมแห่งเดือน” จากนักค้าหุ้นทั่วโลก มีการโยก<br />

เงินมาลงทุนอย่างมากมาย ทำให้เกิดการเจริญเติบโต<br />

อย่างมหาศาลในตลาดหุ้น โดยเริ่มต้นเมื่อ พ.ศ. 2531<br />

ตลาดอสังหาริมทรัพย์นั้นร้อนแรงเป็นอย่างมาก ทำให้<br />

เกิดการก่อสร้างอย่างมหาศาลและทำให้ราคาที่ดินนั้น<br />

สูงขึ้นเป็นเงาตามตัว<br />

อย่างไรก็ดีแม้จะมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเจริญ<br />

เติบโตอย่างมากมาย ประเทศไทยในยุคนั้นก็ได้สร้าง<br />

บทเรียนให้เห็นถึงผลกระทบของการเจริญเติบโตที่<br />

รวดเร็วเกินไป<br />

จากการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของตลาดค้าหลัก<br />

ทรัพย์ในประเทศไทยและตลาดอสังหาริมทรัพย์ก่อให้<br />

เกิดผู้ประกอบการใหม่ๆ ที่มีความสามารถเข้ามาเล่น<br />

การเปลี่ยนแปลงที่ดูดีในครั้งนี้กลับกลายเป็นภาระ<br />

เพราะมันชัดเจนมากที่ประเทศไทยนั้นได้เปรียบในเรื่อง<br />

ของการผลิตที่ใช้แรงงานเป็นหลักในช่วงส่งออกบูม ซึ่ง<br />

กิจกรรมเหล่านี้ก็ไม่สามารถคาดเดาได้ว่าจะอยู่ได้ยั่งยืน<br />

เพียงใด ค่าแรงขั้นต่ำภายในประเทศนั้นเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ<br />

ในระยะแรก และพุ่งสูงขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วยท้ายของ<br />

คริสต์ทศวรรษ 1980 (พ.ศ. 2523 - 2532) เนื่องจาก<br />

ประเทศกำลังพัฒนาอื่นๆ ก็ปรับใช้กลยุทธสร้างฐานการ<br />

privatization of the public services has a great deal to<br />

recommend it, the contractual arrangements that underlay<br />

these concessions required considerable sophistication<br />

and integrity among the negotiators. The negotiation<br />

process in turn had to be fair and the results transparent<br />

to the public. None of these conditions was met. The<br />

implementation of these concessions seems to have<br />

combined the delays, inefficiencies and political<br />

interference of the public enterprises with the greed of the<br />

private sector. The consequence can be seen in the<br />

notoriously chaotic traffic of Bangkok, for which no solution<br />

appears to be in sight.<br />

The “good times” came to an end with the Iraqi invasion<br />

of Kuwait in August 1990, and with the coup d’etat by the<br />

army against the elected prime minister, General Chatichai<br />

Choonhavan in February 1991. The speculative bubble<br />

burst, but fortunately, the rest of the economy had a soft<br />

landing, and growth in production continued albeit at the<br />

more moderate pace of 7 to 8 per cent per cent, again<br />

with the industrial sector leading the way.<br />

ผลิตเพื่อส่งออกเพื่อมาเป็นคู่แข่งกับประเทศไทย<br />

มันเป็นแค่เงื่อนไขของเวลาเท่านั้นที่ประเทศที่มีค่าแรง<br />

ขั้นต่ำที่มีราคาถูกกว่าประเทศไทยจะเข้ามาฉกชิง<br />

ส่วนแบ่งตลาดส่งออกของประเทศไทย อนาคตของ<br />

ประเทศไทยขึ้นอยู่กับความสามารถในการพัฒนาเพิ่ม<br />

ขีดความสามารถทางเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง และ<br />

ทักษะที่มีอยู่ของวิสาหกิจ และคุณภาพฝีมือแรงงาน<br />

ระบบที่ให้รางวัลกับทักษะที่ดูคลุมเครือนั้นไม่ใช่ค ำตอบ<br />

ประเทศไทยเคยและมีโอกาสที่ดีในการดึงดูดนัก<br />

ลงทุนต่างชาติ พวกเขาเหล่านั้นมีบทบาทสำคัญใน<br />

กลยุทธ์ขยายทักษะทางด้านเทคโนโลยีโดยเฉพาะการ<br />

ฝึกหัดพนักงาน แต่ถ้าจะพึ่งแต่ต่างชาติเพียงอย่างเดียว<br />

คงไม่ใช่คำตอบทั้งหมดของอนาคตของประเทศชาติ<br />

ในระยะแรกของการเติบโตของประเทศในยุคนั้นเรา<br />

ใช้ทุนสำรองที่พอจะมีเหลืออยู่บ้าง แต่ก็ใกล้หมดเต็มที<br />

เพราะประเทศเพิ่งผ่านจากวิกฤตเศรษฐกิจเมื่อช่วง<br />

คริสต์ทศวรรษ 1980 (พ.ศ. 2523 - 2532) อาการตึงตัว<br />

อย่างรุนแรงเกิดขึ้นให้เห็นโดยทั่วไปในระบบโครงสร้าง<br />

พื้นฐานของประเทศ โดยเฉพาะภาคการขนส่งและภาค<br />

การสื่อสาร จุดนี้เป็นจุดที่รัฐบาลตัดสินใจผิดพลาดอย่าง<br />

รุนแรงด้วยการแปรรูปองค์กรรัฐวิสาหกิจที่ให้บริการขั้น<br />

Industry in Thailand has traditionally been concentrated<br />

in Bangkok and its environs. The government has made<br />

many attempts to reduce the concentration of economic<br />

activities in Bangkok, the two main instruments deployed<br />

being the spread of infrastructural services to the countryside,<br />

and differential tax treatment through the BOI privileges.<br />

The spread of the physical infrastructure has been a<br />

long process. The road network was built up in the 1960s<br />

and the early 1970s. During the 1980s, electricity was<br />

made available to nearly all villages in Thailand. What still<br />

needs to be done is to make the telephone system also<br />

available in the rural areas, but then Bangkok itself still<br />

suffers from a shortage of lines.<br />

The BOI’s generous tax privileges to investors who<br />

located their plants in the outer provinces had been of<br />

long standing. In their way, they have been effective<br />

particularly during the last few years. Unfortunately, BOI<br />

has had a habit of defining Bangkok and its environs (the<br />

area to be discriminated against) quite narrowly, and then<br />

gradually widening it. Firms would locate their plants just<br />

87


พื้นฐานเหล่านี้เป็นผู้ให้บริการสาธารณะ มันไม่ใช่แค่<br />

แปรรูปวิสาหกิจของรัฐแล้วปล่อยให้ไปแข่งขันกับตลาด<br />

หรือเก็บเป็นบริษัทผูกขาดแล้วทำเอง แต่ควรมีการให้<br />

สัญญา “สัมปทาน” ในส่วนของการลงทุนใหม่ๆ แก่<br />

ภาคเอกชน นี่คือวิธีการขยายระบบเครือข่ายโทรศัพท์<br />

และ ระบบการขนส่งในเมือง<br />

ถ้าความจริงนั ้นคือสิ่งที่สูญเสียไปเป็นสิ่งแรกของ<br />

สงคราม สาธารณประโยชน์คือสิ่งที่สูญเสียไปเป็นสิ่ง<br />

แรกในสัญญาสัมปทานในยุคนี้ ในขณะที่การแปรรูปการ<br />

ให้บริการสาธารณะนั้นควรทำกันอย่างเป็นขั้นเป็นตอน<br />

ทีละเล็กทีละน้อยนั้นคือคำแนะนำอย่างยิ่ง และการทำ<br />

สัญญาสัมปทานนั้นควรจะมีความซับซ้อนอย่างมาก<br />

และสนับสนุนให้มีความซื่อสัตย์ในหมู่ผู้ประสงค์จะเข้า<br />

รับสัมปทานกระบวนการเจรจาต่อรองนั้นควรจะเป็น<br />

ธรรมและโปร่งใสให้สาธารณชนตรวจสอบได้ ซึ่งแทบ<br />

ไม่มีเงื่อนไขข้อใดดังที่ได้กล่าวมานั้นถูกทำให้เป็น<br />

รูปธรรมเลยแม้แต่เพียงข้อเดียว การดำเนินการแปรรูป<br />

ให้สัมปทานในครั้งนี้ ดูเหมือนจะมีสูตรของความล่าช้า<br />

ความไร้ซึ่งประสิทธิภาพและการแทรกแซงทางการ<br />

เมืองในภาควิสาหกิจเอกชนที่เต็มไปด้วยความโลภ<br />

โมโทสัน ผลพวงที่ตามมาให้เห็นเป็นตัวอย่างที่เป็น<br />

over the border. With each widening of the definition of<br />

Bangkok, the urban sprawl would expand some more, but<br />

there was little effect on the more distant parts of the<br />

country.<br />

The failure of industry to move to the countryside was<br />

particularly unfortunate when set against the crisis that<br />

was hitting the countryside. Farmers were facing low<br />

prices (the years 1985-1987 were particularly bad), and<br />

their productivity was not rising. The main explanation<br />

for the stagnation in productivity seemed to be the decline<br />

in public investments, particularly in irrigation. Large scale<br />

irrigation projects were no longer pursued, and the impact<br />

of small-scale projects was at best doubtful. Under these<br />

circumstances, with industrial jobs beckoning them, it is<br />

hardly surprising that farmers’ sons and especially daughters<br />

were streaming to the new factories. This led in turn to<br />

a shortage of agricultural labour and worsened that sector’s<br />

crisis. Rural population is being hollowed out by this<br />

process, with its most vigorous members away in the<br />

factories. The full social consequences of this have yet<br />

88<br />

รูปธรรมคือวิกฤตจราจรในกรุงเทพมหานคร ที่แทบจะ<br />

มองไม่เห็นทางแก้เลยแม้แต่น้อย<br />

“ช่วงเวลาที่ดี” เดินทางมาถึงจุดจบ เมื่อประเทศ<br />

อิรักบุกคูเวต เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2533 และใน<br />

ประเทศเกิดการปฏิวัติรัฐประหารโดยทหารโค่นล้ม<br />

นายกรัฐมนตรี พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณที่มาจาก<br />

การเลือกตั้ง ในเดือนกุมภาพันธุ์ พ.ศ. 2534 มีสัญญาณ<br />

ที่แสดงออกถึงสภาพฟองสบู่แตก แต่โชคดีที่ส่วนที่<br />

เหลืออยู่ในระบบเศรษฐกิจนั้นหาทางลงได้อย่างไม่เจ็บ<br />

ตัวมาก และการเจริญเติบโตในภาคการผลิตนั้นยังคง<br />

เดินหน้าในอัตรากลางๆ คือ 7-8 เปอร์เซ็นต์ต่อปี<br />

อีกครั้งโดยมีภาคอุตสาหกรรมเป็นผู้เดินนำ<br />

อุตสาหกรรมในประเทศไทยโดยปกติแล้วจะ<br />

หนาแน่นอยู่บริเวณกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล<br />

รัฐบาลพยายามหลายวิธีที่จะลดความเข้มข้นใน<br />

กิจกรรมทางเศรษฐกิจในกรุงเทพมหานคร เครื่องมือ<br />

สองสิ่งที่จะนำพาอุตสาหกรรมไปสู่ต่างจังหวัดได้คือ<br />

การให้บริการโครงสร้างพื้นฐานในต่างจังหวัด และอัตรา<br />

พิกัดภาษีที่แตกต่างโดยผ่านการสนับสนุนของ BOI<br />

การขยายตัวของโครงสร้างพื้นฐานนั้นเป็นกระบวน<br />

การที่ใช้เวลายาวนาน เครือข่ายถนนหลวงนั้นเริ่มขึ้น<br />

to be addressed by policy-makers.<br />

THE LONG VIEW: AN ASSESSMENT OF ECONOMIC<br />

CHANGES<br />

Between 1950 and 1995, the total output of goods and<br />

services grew by more than seventeen times. The best<br />

guess for the previous fifty years (1900-1950) was that<br />

output grew by less than three times, barely more than<br />

the growth in population.<br />

Two questions arise from this simple fact. How was<br />

this growth possible? And, what are the consequences?<br />

Simple questions tend to have complicated answers. Take<br />

the question of causation first. It is wrong to assign a<br />

single cause to a very complex process. What would be<br />

more in the realm of possibility is to stress the preconditions<br />

which generated this process and allowed them to<br />

continue.<br />

Recall that the high economic growth of the postwar<br />

years really began with the Sarit reforms of the late 1950s.


เมื่อคริสต์ทศวรรษ 1960 (พ.ศ. 2503 - 2512) และ<br />

ช่วงแรกของคริสต์ทศวรรษ 1970 (พ.ศ. 2513 - 2522)<br />

ในขณะที่คริสต์ทศวรรษ 1980 (พ.ศ. 2523-2532) เกือบ<br />

ทุกหมู่บ้านในประเทศไทยเข้าถึงการใช้ไฟฟ้า แต่สิ่งที่<br />

ควรจะมีก็คือการทำให้ระบบโทรศัพท์พื้นฐานมีใช้ใน<br />

พื้นที่ห่างไกลเพื่อให้ได้ใช้ประโยชน์ แต่ในขณะนั้น<br />

แม้แต่กรุงเทพมหานครเองก็ยังมีคู่สายไม่เพียงพอ<br />

การให้สิทธิพิเศษทางด้านพิกัดอัตราภาษีอากรของ<br />

BOI แก่นักลงทุนที่ลงทุนสร้างโรงงานในจังหวัดรอบ<br />

นอกนั้นจะยั่งยืนกว่า ซึ ่งก็ดูจะมีประสิทธิผลในช่วงปี<br />

หลังๆ มานี้ แต่โชคไม่ดีที่ BOI นั้นมักจะมีนิสัยในการ<br />

จำกัดความคำว่า กรุงเทพและปริมณฑล (พื้นที่โดยรอบ<br />

ที่ได้รับการกำหนดโดยนัยยะของความแตกต่างจาก<br />

พื้นที่กรุงเทพฯ พื้นที่ที่ถูกกำหนดขึ้นมาด้วยเกณฑ์ที่<br />

แสดงถึงความแตกต่างจากความเป็นพื้นที่เมืองของ<br />

กรุงเทพฯ) ค่อนข้างแคบ แล้วค่อยๆ ขยายขึ้น จึงทำให้<br />

การสร้างโรงงานนั้นกระจุกตัวอยู่แค่ชายขอบของ<br />

กรุงเทพมหานคร ด้วยแต่ละครั้งที่มีการให้คำจำกัด<br />

ความของคำว่ากรุงเทพมหานคร ระยะเมืองขยายกว้าง<br />

ออกไปเรื่อยๆ แต่กลับมีผลกระทบน้อยมากในพื้นที่ที่<br />

ห่างไกลของประเทศ<br />

The single most important achievement of those reforms<br />

was the establishment of economic stability. Without this<br />

achievement, Thai entrepreneurs would be easily diverted<br />

to speculative activities which from a long-term point of<br />

view are unproductive, to themselves and certainly to the<br />

national economy.<br />

But, let it be emphasized, economic stability by itself,<br />

while necessary, was insufficient to generate growth.<br />

Before the Second World War, Thailand had enjoyed<br />

economic stability, but not much growth. Indeed, some<br />

argue that the quest for stability was then so obsessive<br />

as to be detrimental to growth.<br />

Economic stability after the Sarit reforms was however<br />

allied with another process, that of capital formation, and<br />

it is here that some real changes have taken place.<br />

Key to this change was the incorporation of the Chinese<br />

entrepreneurs as a class into Thai society. It is true that,<br />

in the past descendants of Chinese immigrants had<br />

gradually assimilated and become Thais, but they did so<br />

as individuals. More to the point, they did so after<br />

ความล้มเหลวในการเคลื่อนย้ายอุตสาหกรรมไปยัง<br />

พื้นที่ต่างจังหวัดถือว่าเป็นเรื่องที่ไม่น่าพอใจนัก เมื่อเกิด<br />

ปัญหาราคาพืชผลตกต่ำ(ในช่วง พ.ศ. 2528 - 2530 อย่าง<br />

รุนแรง) และผลผลิตก็ไม่เพิ่มขึ้น ท ำให้เกิดความซบเซา<br />

ในพื้นที่ชนบท ซึ่งเกิดจากการลงทุนภาครัฐลดลง โดย<br />

เฉพาะการทำฝายกั้นน้ำ โครงการสร้างฝายกั้นน้ำใหญ่ๆ<br />

นั้นไม่ถูกผลักดันให้เกิด ด้วยเหตุนี้ งานทางภาค<br />

อุตสาหกรรมจึงดึงดูดแรงงานเข้าไป ไม่น่าแปลกใจที่จะ<br />

เกิดการหลั่งไหลของบรรดาทายาทในภาคเกษตรกรรม<br />

โดยเฉพาะผู้หญิงเข้าสู่ระบบของการทำงานในบรรดา<br />

โรงงานอุตสาหกรรมที่เกิดขึ้นมาใหม่ ทำให้เกิดความ<br />

ขาดแคลนแรงงานในภาคเกษตรกรรม เกิดวิกฤต<br />

ประชากรที่อยู่ตามชนบทนั้นต้องทนรับกับผลร้ายจาก<br />

เหตุการณ์ครั้งนี้ สมาชิกครอบครัวส่วนใหญ่ต้องจาก<br />

ถิ่นฐานมาอาศัยโรงงาน ผู้ออกนโยบายนี้ยังมองไม่เห็น<br />

ผลกระทบทางด้านสังคมอย่างเต็มรูปแบบที่ก ำลังตามมา<br />

มองไปข้างหน้า : การประเมินความเปลี่ยนแปลง<br />

ทางเศรษฐกิจ<br />

ในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2493 และ 2538 ผลิตผลทั้ง<br />

accumulating wealth as tax farmers or monopoly traders<br />

on behalf of the monarchs, and when their children<br />

assimilated, they became part of the officialdom.<br />

The expansion of rice production for exports and the heavy<br />

immigration of Chinese in the first half of this century,<br />

as well as more aggressive Chinese and Thai nationalism<br />

had made the process of assimilation somewhat more<br />

difficult. But Chinese entrepreneurs continued to<br />

accumulate wealth, primarily from rice processing and<br />

trade. Although no reliable estimates exist, it was widely<br />

assumed that the bulk of this wealth flowed back to China.<br />

The closing off of mainland China after 1949 and the<br />

modus vivendi achieved with the Thai political leadership<br />

set the stage for Chinese entrepreneurs to redirect their<br />

energies to the Thai economy. In the process, they set<br />

up commercial banks which helped focus those energies<br />

much more profitably, certainly to themselves, and as<br />

a byproduct, to the national economy as well.<br />

We have thus far focused on developments in Thailand<br />

and to some extent in China, but of course the rest of the<br />

89


ทางด้านสินค้าและบริการนั้นเพิ่มขึ้น 17 เท่า เมื่อเทียบ<br />

กับ ช่วง 50 ปีก่อนหน้านั้น พ.ศ. 2443-2493 ที่มีการ<br />

เติบโตของผลผลิตของประเทศต่ำกว่ากันถึง 3 เท่า และ<br />

เกือบจะต่ำกว่าอัตราการเพิ่มของจำนวนประชากรเสีย<br />

ด้วยซ้ำ<br />

คำถามสองข้อที่เกิดขึ้นจากประเด็นนี้คือ การเจริญ<br />

เติบโตแบบนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร? และผลที่ตามมานั้น<br />

คืออะไร?<br />

เป็นคำถามที่ดูจะง่ายแต่มีคำตอบที่ซับซ้อน ลอง<br />

มาดูคำถามเรื่องสาเหตุก่อน มันคงจะผิดมากที่จะใช้<br />

สมการง่ายๆ แก้ไขปัญหาที่ซับซ้อนเช่นนี้ แล้วอะไรคือ<br />

ขอบเขตของความเป็นไปได้ที่เป็นประเด็นของเงื่อนไข<br />

ต่างๆ ที่สร้างแรงขับดันให้เกิดกระบวนการที่ทำให้<br />

สิ่งเหล่านี้เดินหน้าไปได้<br />

ยังจำช่วงเวลาที่เศรษฐกิจเติบโตในยุคหลังสงคราม<br />

ที่เริ่มต้นด้วยการปฏิรูปของ สฤษดิ์ ช่วงท้ายๆ ของ<br />

คริสต์ทศวรรษ 1950 (พ.ศ. 2493-2502) ได้ใช่ไหม<br />

สิ่งที่สำคัญที่สุดเพียงสิ่งเดียวของการปฏิรูปในครั้งนั้นคือ<br />

การสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ถ้าไม่มีความสำเร็จ<br />

ครั้งนั้นผู้ประกอบการไทยก็อาจจะไม่สามารถมาไกลได้<br />

ถึงเพียงนี้และจะไม่มีผลผลิตให้กับประเทศชาติได้เช่นนี้<br />

world was not standing still during this period. It is alleged<br />

that the Thai economy has only recently been caught up<br />

by the “globalization” of the world economy, and that is<br />

the explanation for the recent rapid expansion. But surely,<br />

Thailand had joined the world economy since it signed the<br />

Bowring Treaty in 1855, which limited the import duty on<br />

general merchandise to 3 per cent ad valorem, later 5<br />

percent. This remained in force until 1935, when fiscal<br />

autonomy was returned to Thailand. How much more<br />

open could an economy be? Yet, at one time, it was<br />

argued that it was precisely the inability to protect its<br />

industry which kept the Thai economy from industrializing<br />

and from growing.<br />

This is not to say that the rest of the world has had<br />

no impact on the Thai economy. The impact came largely<br />

through the technology that became accessible. Being<br />

backward in this area, Thai entrepreneurs could draw on<br />

considerable technology almost available “off the shelf”.<br />

Almost, but not quite. To acquire such technology itself<br />

requires skill on the part of Thai factory workers and<br />

90<br />

แต่ลองมาเจาะลึกและให้ความสำคัญต่อคำว่า<br />

เสถียรภาพทางเศรษฐกิจสักหน่อย เสถียรภาพทาง<br />

เศรษฐกิจเพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอต่อการสร้างความ<br />

เจริญเติบโต ก่อนสงครามโลกครั้งที่สองประเทศไทยมี<br />

ความสุขกับเสถียรภาพทางเศรษฐกิจที่ไม่ได้เติบโต<br />

มากนัก จริงๆ ก็มีคนบางกลุ่มมองว่าวิธีการสร้าง<br />

เสถียรภาพทางเศรษฐกิจที่ดีนั้น คือ การสร้างความ<br />

เจริญเติบโต<br />

เสถียรภาพทางเศรษฐกิจในยุคหลังปฏิรูปของ<br />

สฤษดิ์นั้นขึ้นอยู่กับกระบวนการหนึ่งคือ การสะสมทุน<br />

และนื่คือการเปลี่ยนแปลงที่แท้จริง คือการรับเอาชนชั้น<br />

ผู้ประกอบการชาวจีนเข้ามารวมในสังคมไทย เป็น<br />

ความจริงที ่ว่าบุตรหลานชาวจีนที่อพยพนั้นเริ่มที่จะ<br />

กลืนไปกลายเป็นชาวไทยแล้ว แต่มันก็เป็นเพียงบาง<br />

ครอบครัวเท่านั้น เพื่อให้เห็นถึงประเด็นที่กล่าวคือ<br />

หลังจากที่พวกเขาสร้างเนื้อสร้างตัวด้วยการเป็นนาย<br />

อากรเก็บภาษี หรือนักการค้าที่ผูกขาดในสินต้าบาง<br />

ประเภทโดยทำงานให้กับราชสำนัก และเมื่อบุตรหลาน<br />

ของพวกเขาเริ่มเติบใหญ่ บุตรหลานชาวจีนเหล่านี้ก็ได้<br />

รับพระมหากรุณาธิคุณให้รับราชการ จึงเกิดการ<br />

ขยายตัวของการส่งออกข้าว การอพยพเข้ามาของชาว<br />

managers – and, lest it be forgotten, of Thai farmers<br />

using the tractors and threshers as well. Without<br />

investments made in schools and universities over this<br />

period, the acquisition of such technology would have<br />

been much more difficult. Despite the large investments<br />

made, they are proving insufficient for Thais to keep up<br />

with the pace of technology worldwide, and our ability to<br />

acquire and master new technology is a matter of serious<br />

concern.<br />

What then are the consequences of this enormous<br />

economic expansion? Two divergent answers are given,<br />

reminiscent of the dispute between those who see half<br />

a glass of water as half-full and those who see it as<br />

half-empty.<br />

Thais are on average five times richer than they were<br />

fifty years ago. Of course, this increase in the average<br />

hides a great deal of disparity in the gains to economic<br />

expansion, but it is mere sloganeering to say that, as<br />

a result of the growth, “the rich has gotten richer, and the<br />

poor poorer”. Economic growth has indeed trickled down


จีนในช่วงครึ่งศตวรรษแรก และการเกิดการต่อต้าน<br />

ระหว่างชาวจีน และชาวไทยชาตินิยมที่ทำให้การหลอม<br />

รวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันนั้นเป็นไปได้ยากขึ้น แต่<br />

วิสาหกิจชาวจีนยังคงสะสมความมั่งคั่ง หลักๆ คือการ<br />

ผลิตข้าวและการทำการค้า แม้ว่าจะไม่มีการประมาณ<br />

การที่เป็นตัวเลขที่แน่ชัด แต่ก็มีการส่งเงินทองจำนวน<br />

ไม่น้อยกลับไปยังจีนแผ่นดินใหญ่เช่นกัน<br />

การปิดประเทศของจีนภายหลัง พ.ศ. 2491 และ<br />

การบรรลุข้อตกลงชั่วคราวระหว่างนักการเมืองไทยกับ<br />

วิสาหกิจชาวจีนคือโยกขุมกำลังมาไว้ที่เศรษฐกิจของ<br />

ประเทศไทย ในกระบวนการนั้นมีการตั้งธนาคาร<br />

พาณิชย์ที่ช่วยเน้นให้เกิดการสร้างผลกำไรให้มากขึ้น<br />

ซึ่งผลดีต่อตัวพวกเขา ทำให้เศรษฐกิจโดยรวมของ<br />

ประเทศชาติพลอยได้รับอานิสงส์จากการนี้ด้วยเช่นกัน<br />

เรากำลังพุ่งเป้าความสนใจไปยังการพัฒนาใน<br />

ประเทศไทย และมีบางส่วนที่เกี่ยวกับประเทศจีน แต่<br />

เป็นที่แน่นอนว่าประเทศอื่นๆ ทั่วโลกก็ไม่ได้หยุดนิ่ง<br />

เช่นกัน นี่คือสิ่งที่เศรษฐกิจไทยเพิ่งได้รู้จักกับคำว่า<br />

“โลกาภิวัฒน์” ของเศรษฐกิจโลก เราใช้คำๆ นี้เพื่อ<br />

อธิบายถึงการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว แต่<br />

แท้จริงแล้วประเทศไทยได้เข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของ<br />

to the poor. If we define the poor as those receiving less<br />

income than is needed to maintain adequate nutrition,<br />

then the poor have been reduced from 57 per cent of the<br />

population, or 15 million persons, in 1963 to 25 per cent<br />

of the population, or 13.8 million persons in, 1988. The<br />

fall in the number of people who are poor would have been<br />

more dramatic had the trend not been interrupted and<br />

indeed reversed in the first half of the 1980s – the number<br />

of poor in fact stood at 10 million in 1980. Since 1985,<br />

the downward trend in the number of poor has continued.<br />

It is difficult to imagine how the decline in poverty would<br />

have taken place without economic growth.<br />

It is not only in terms of incomes that people have<br />

become better off. The physical quality of life has also<br />

improved. Not only has infant mortality declined, but the<br />

picture holds true of health care generally. Without the<br />

scourge of AIDS, the picture would be even more triumphant.<br />

True, the wonders of Western medicine sometimes come<br />

at a heavy price, but the rural poor at least have the option<br />

of paying that price to buy good health. Their situation is<br />

เศรษฐกิจโลกตั้งแต่เราได้เซ็นสนธิสัญญา เบาว์ริ่ง เมื่อ<br />

พ.ศ. 2398 ซึ่งจำกัดภาษีนำเข้าสินค้าทั่วไปลงเหลือ 3<br />

เปอร์เซ็นต์ โดยใช้วิธีการประเมินพิกัด และ ล่าสุดคือ<br />

5 เปอร์เซ็นต์ กฎหมายนี้ยังคงบังคับใช้จนถึง พ.ศ. 2478<br />

เมื่อเราเป็นอิสระในการทำงบประมาณรายจ่ายได้<br />

เองแล้ว การเปิดประเทศแค่ไหนถึงจะพอ? แต่ก็เคยมี<br />

อยู่ครั้งหนึ่งที่มีการถกเถียงกันว่าการเปิดประเทศไม่ได้<br />

มีผลต่อภาคอุตสาหกรรมซึ่งเป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ<br />

ไทยให้มีความก้าวหน้าในระบบอุตสาหกรรมและจาก<br />

การเจริญเติบโตของประเทศได้<br />

สิ่งที่ได้กล่าวมานี้ไม่ได้หมายถึงว่าเศรษฐกิจโลกไม่<br />

ได้มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย ผลกระทบนั้นเริ่มเห็น<br />

ผลในวงกว้างเมื่อเทคโนโลยีนั้นกลายเป็นสิ่งที่เข้าถึงได้<br />

ในกรณีนี้ดูจะกลับกันที่ผู้ประกอบการไทยนั้นสามารถ<br />

ดึงเอา “เทคโนโลยีล่าสุด” ที่เรียงรายรอไว้ให้เลือกใช้<br />

แต่ในการได้มาซึ่งเทคโนโลยีนั้นต้องอาศัยทักษะและ<br />

ความรู้ในการใช้งานของผู้จัดการ และแรงงานในสถาน<br />

ประกอบการอุตสาหกรรมของไทยด้วย อย่างน้อยก็ต้อง<br />

ไม่ลืมว่าเกษตรกรไทยใช้รถแทรคเตอร์และรถนวดข้าว<br />

เช่นเดียวกัน ถ้าปราศจากการลงทุนในการสร้างโรงเรียน<br />

และมหาวิทยาลัยในยุคนี้แล้ว การได้มาซึ่งเทคโนโลยีนั้น<br />

of course not a pretty one, but compare this to the situation<br />

of a hundred years ago, when even princes and princesses<br />

could not be prevented from dying of cholera. Measured<br />

against this, the sheer availability of that option, however<br />

expensive, should not be sneezed at.<br />

The AIDS problem of course is a standing indictment<br />

of the type of economic system that we have developed.<br />

It is hard to imagine its spread without the rampant<br />

prostitution that we now have, and there are grounds to<br />

believe that the prostitution is itself a consequence partly<br />

of the unequal distribution of income that has accompanied<br />

our growth. But before we go on to attribute all the blame<br />

to economic growth, let us remind ourselves that Central<br />

Africa is also experiencing rampant AIDS (also propagated<br />

through the sex industry) without experiencing much in<br />

the way of economic growth.<br />

Other than health care, the provision of public services<br />

to the rural population has continued apace. The 1960s<br />

and the 1970s saw the extension of the road network, the<br />

1980s of electricity and the the 1990s of household water<br />

91


จะเป็นไปด้วยความยากลำบาก แม้ว่าจะมีการลงทุน<br />

อย่างมหาศาลในเรื่องต่างๆ ที่ได้กล่าวมาแล้ว ก็ยังพบ<br />

ว่าชาวไทยนั้นยังคงก้าวตามเทคโนโลยีในโลกที่กว้างไกล<br />

ไม่ทัน ความสามารถของคนไทยในการนำเทคโนโลยี<br />

มาเพื่อใช้ประโยชน์นั้น เป็นประเด็นที่ต้องขบคิดและให้<br />

ความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง<br />

แล้วผลกระทบจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจ<br />

ขนาดใหญ่ล่ะ? ซึ่งคำตอบนั้นขึ้นอยู่กับว่าเรามองด้านใด<br />

เหมือนกับแก้วที่มีน้ำอยู่ครึ่งแก้ว บางคนอาจมองว่า<br />

แก้วใบดีมีน้ำอยู่ครึ่งแก้ว ในขณะที่อีกคนอาจมองว่า<br />

แก้วใบนี้มีที่ว่างอีกครึ่งแก้ว<br />

ประเทศไทยในยุคนี้เฉลี่ยแล้วเรารวยกว่าเมื่อห้าสิบ<br />

ปีที่แล้วถึงห้าเท่า แน่นอนในการเพิ่มขึ้นของค่าเฉลี่ยนี้<br />

ซุกซ่อนความไม่เสมอภาคกันซึ่งมีผลทำให้เกิดการ<br />

เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่ก็ไม่เกินไปกว่า สโลแกน<br />

ที่บางคนได้เคยกล่าวไว้ว่า “คนรวยก็รวยขึ้น คนจนก็<br />

จนลง” การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจนั้นจริงๆ แล้วก็<br />

ทำให้คนจนซึมลงได้ แต่ถ้าเราจำกัดความของคนที่จน<br />

คือคนที ่มีรายได้น้อยไม่เพียงพอต่อความต้องการ<br />

อาหารที่จำเป็นในการประทังชีพ ถ้ามองมุมนี้แล้วความ<br />

ยากจนจะลดลงจาก 57 เปอร์เซ็นต์ของประชากร หรือ<br />

supply. The formal agricultural credit system was greatly<br />

expanded in 1975, and now makes up the bulk of the<br />

credit supplied to farmers, compared to their dependence<br />

on informal lenders at exorbitant interest rates in earlier<br />

times.<br />

Each of these gains has introduced much convenience<br />

and reduced the isolation of rural life, but each of these<br />

gains comes with question marks hanging over it.<br />

Road-building has facilitated migration, and according to<br />

some, the breakup of families. Those who see this as a<br />

new phenomenon overlook the history of Northeastern<br />

villages which is replete with accounts of migration of<br />

whole villages to escape war, pestilence and starvation.<br />

Electricity has encouraged a consumerist society, it is<br />

alleged, usually by Bangkokians speaking in the comforts<br />

of an air-conditioned room. The availability of credit is<br />

also alleged to have encouraged indebtedness, overlooking<br />

the peculiar needs of agricultural production.<br />

It would be absurd to deny that in too many areas and<br />

to too many people, economic growth has introduced real<br />

92<br />

15 ล้านคนใน พ.ศ. 2496 เหลือเพียง 25 เปอร์เซ็นต์<br />

ของประชากร หรือ 13.8 ล้านคน ใน พ.ศ. 2531 การ<br />

ลดลงของจำนวนตัวเลข ของประชากรที่ยากจนนั้นจะ<br />

รวดเร็วขึ้นถ้าหากไม่ถูกขัดจังหวะในช่วงครึ่งแรกของ<br />

คริสต์ทศวรรษ 1980 (พ.ศ. 2523-2532) ทำให้ตัวเลข<br />

ประชากรที่ยากจนมีรายได้น้อยนั้นยืนอยู ่ที่10 ล้านคน<br />

ใน พ.ศ. 2523 และเมื่อถึง พ.ศ. 2528 จำนวนตัวเลข<br />

ของประชากรที่ยากจนและมีรายได้น้อยนั้นลดลง<br />

อย่างต่อเนื่อง มันเป็นเรื่องยากที่จะนึกภาพถึงการ<br />

ลดลงของประชากรที่ยากจนโดยไม่มีการเจริญเติบโต<br />

ทางเศรษฐกิจ<br />

นี่ไม่ใช่เพียงแค่รายได้ของประชาชนที่ดีขึ้นเท่านั้น<br />

แต่คุณภาพชีวิตของประชาชนก็ดีขึ้นด้วย ไม่เพียงแต่<br />

ทารกที่เกิดใหม่มีอัตรามรณะที่ลดลง แต่เป็นภาพโดย<br />

รวมที่แท้จริงของการสาธารณสุข หากเราไม่นับการ<br />

ระบาดของโรคเอดส์ ภาพโดยรวมนั้นยิ่งกว่าได้รับ<br />

ชัยชนะเสียอีก จริงที่ยาและเวชภัณฑ์จากโลกตะวันตก<br />

นั้นมีราคาแพง แต่คนชนบทก็ยังมีโอกาสเลือกที่จะจ่าย<br />

เพื่อซื้อสุขภาพที่ดีขึ้น สำหรับพวกเขาทางเลือกอาจจะ<br />

มีไม่มากนัก แต่ถ้าเทียบกับเมื่อร้อยกว่าปีที่แล้วที่<br />

แม้แต่จะเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ก็ยังสวรรคตจากโรค<br />

pain and hardship. There is no excuse for two hundred<br />

factory workers dying in a fire – and this is merely the<br />

most dramatic episode that threw into relief daily occurrences<br />

in unsafe factories. There is no excuse for many Bangkok<br />

families having to have breakfast in their cars to “beat the<br />

traffic”. There is no excuse for the air quality over Bangkok.<br />

There is no excuse for so many Thais living in poverty<br />

while the country continue to increase its fleet of Mercedes<br />

cars. There is no excuse in all these cases because<br />

Thailand can afford to solve, or at least ameliorate many<br />

of these problems with the wealth that economic growth<br />

has generated. The failure is a failure of collective will.<br />

Surely the most telling criticism against economic growth<br />

is that it has dissolved traditional social bonds and<br />

communities, without forging new bonds and new<br />

organizations to understand and tackle the problems that<br />

it has created.<br />

Measured against the reality of the past, much has<br />

been accomplished and Thais can be proud of these<br />

achievements. Measured against what is possible to


NUMBER AND PERCENT OF PEPLE WITH INCOMES BELOW<br />

POVERTY LINE 1962 — 1988<br />

16.00 60<br />

Million<br />

15.00<br />

14.00<br />

13.00<br />

12.00<br />

11.00<br />

Percent Poor<br />

Number of Poor<br />

People<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

Percent Poor People<br />

10.00<br />

0<br />

1962 1968 1975<br />

1980 1985 1988<br />

Year<br />

Source : Somchai Jitsuchon,1989<br />

93


อหิวาตกโรคได้เช่นกัน เมื่อเปรียบเทียบกันแล้ว<br />

คนสมัยนี้ก็ยังมีโอกาส ยังมีทางเลือกแม้จะแพงแต่ก็มี<br />

ทางเลือก<br />

ปัญหาโรคเอดส์แน่นอนเป็นปัญหาถูกพิพากษาว่า<br />

เกิดจากการพัฒนาเศรษฐกิจ คงเป็นเรื่องยากที่ปฏิเสธ<br />

ว่ามันขยายตัวได้ด้วยตัวเองโดยปราศจากการค้า<br />

ประเวณีที่เรามีอยู่ เนื่องจากการเกิดขึ้นของการค้า<br />

ประเวณีนั ้นก็คือผลพวงของความไม่เท่าเทียมกันใน<br />

การกระจายรายได้ ซึ่งเป็นผลมาจากการเจริญเติบโต<br />

ทางเศรษฐกิจ แต่ก่อนที่เราจะนำคำตำหนิทั้งหมดไป<br />

ทุ่มใส่ความเจริญทางเศรษฐกิจนั้น เราต้องเตือนตัวเอง<br />

ว่า แอฟริกากลางนั้นก็มีประสบการณ์ของการแพร่<br />

กระจายของเชื้อเอดส์ (และถ่ายทอดผ่านอุตสาหกรรม<br />

ทางเพศ) โดยปราศจากประสบการณ์ความเจริญทาง<br />

เศรษฐกิจเหมือนอย่างเรา<br />

นอกเหนือจากการดูแลสุขภาพ การสาธารณสุขเป็น<br />

หน่วยงานบริการของรัฐที่นำความรู้การดูแลรักษาไปสู่<br />

ประชากรในถิ่นทุรกันดารอย่างต่อเนื่อง ในคริสต์<br />

ทศวรรษ 1960 ถึงคริสต์ทศวรรษ 1970 (พ.ศ. 2503 -<br />

2522) ที่เรามองเห็นการขยายตัวของถนนอย่าง<br />

achieve with the wealth generated by five decades of<br />

growth, much is wanting. Critics of economic growth are<br />

won’t to paint the past in rosy colors in order to put in<br />

relief the shortcomings of the present. Such a tactic may<br />

be effective propaganda but it is bad history. It denigrates<br />

the achievements of the past five decades, but far more<br />

importantly, it detracts from the task of finding real solutions<br />

to the real problems of today.<br />

Bangkok, Thailand<br />

October 1995<br />

มากมาย ในช่วงปี คริสต์ทศวรรษ 1980 (พ.ศ. 2523 -<br />

2532) ไฟฟ้า และน้ำประปาในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1990<br />

(พ.ศ. 2533 - 2542) ระบบประกันราคาพืชผลเกษตร<br />

ขยายตัวอย่างมากใน พ.ศ. 2518 และปัจจุบันได้มีการ<br />

ให้สินเชื่อแก่เกษตรกร ซึ่งแตกต่างจากสมัยก่อนที่ต้อง<br />

กู้ยืมเงินนอกระบบที่ดอกเบี้ยสูงเกินไปจากนายทุนเงินกู้<br />

สิ่งที่เราได้มาทั้งหมดนี้ ความสะดวกสบาย และ<br />

อิสรภาพของชาวชนบท สิ่งที่เราได้มาทั้งหมดทั้งมวล<br />

นี้มาพร้อมกับเครื่องหมายคำถาม การสร้างถนนนั้นก็<br />

ช่วยให้มีการอพยพย้ายถิ่นฐานมากขึ้น และการเกิด<br />

ปัญหาครอบครัวแตกแยกในบางกรณี แต่คนที่มองเห็น<br />

แต่มุมมองด้านนี้ ก็คงมองข้ามไปว่าเมื่อก่อนนี้คนภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือก็อพยพย้ายถิ่นฐานเช่นเดียวกัน<br />

แต่เป็นการอพยพกันทั้งหมู่บ้าน หนีสงคราม หนีโรค<br />

ติดต่อ และความอดอยาก ไฟฟ้านั้นอาจมองว่าเป็น<br />

เครื่องอำนวยความสะดวกสบายของชาวกรุงเทพด้วย<br />

ห้องแอร์คอนดิชั่นเย็นฉ่ำ การให้สินเชื่อนั้นก็อาจจะมอง<br />

ว่าเป็นการส่งเสริมให้เกิดความเป็นหนี ้ โดยลืมมอง<br />

ความต้องการที่จำเป็นทางด้านการเกษตรไป<br />

คงจะเป็นเรื่องที ่ไร้สาระหากเราจะปฏิเสธว่ามี<br />

1 — Cited in Ingram ( James C. Ingram, Economic Change in<br />

Thailand, 1850-1970 (Stanford, CA: Stanford University Press,<br />

1971), 166.)<br />

2 — The phrase is from Riggs (Fred W. Riggs, Thailand: the<br />

Modernization of a Bureaucratic Polity (Honolulu, HI: East-West<br />

Center Press, 1966), 249.)<br />

3 — In this the military group that came to power in 1947 was<br />

not original, but continued the policies of both the left and right<br />

wings of the People’s Party.<br />

4 — These new varieties are essential for dry-season cropping<br />

because they are photoperiod nonsensitive. The traditional<br />

varieties are photoperiod sensitive, which means that the rice<br />

plant will never flower during the dry season, and can be grown<br />

only during the wet season.<br />

5 — The figures are net of foreign assets held by the Bank of<br />

Thailand and financial institutions. The source is TDRI (Thailand<br />

Development Research Institute), Financial Resources<br />

Management (Bangkok: Thailand, 1986), n. pag.<br />

94


หลายพื้นที่ หรือมีหลายคนที่ต้องเจ็บปวดจากการเจริญ<br />

เติบโตทางเศรษฐกิจและได้รับความยากลำบาก ไม่มี<br />

คำอธิบายสำหรับคนงานสองร้อยคนต้องสังเวยชีวิตใน<br />

อัคคีภัย และนี่คือผลพวงจากโรงงานที่ไม่ได้มาตรฐาน<br />

ไม่มีความปลอดภัย ไม่มีคำแก้ตัวที่ว่ามีชาวเมืองกรุง<br />

หลายครอบครัวต้องรับประทานอาหารเช้าในรถเพื่อ<br />

“เอาชนะสภาพการจราจร” ไม่มีคำแก้ตัวสำหรับอากาศ<br />

เสียในเมืองหลวง ไม่มีคำอธิบายที่ดีสำหรับชาวไทยที่<br />

ต้องใช้ชีวิตอย่างยากจนในขณะที่ประเทศก็มีรถ<br />

เมอร์ซิเดส เบนซ์ เพิ่มขึ้นอย่างไม่รู้จบ มันไม่มี<br />

คำอธิบายสำหรับเรื่องพวกนี้ เพราะประเทศไทย<br />

สามารถแก้ปัญหาเหล่านี้ หรืออย่างน้อยก็ทำให้ดูดีขึ้น<br />

ด้วยที่ความร่ำรวยอันเป็นผลพวงมาจากการเจริญทาง<br />

เศรษฐกิจ ความล้มเหลวก็คือความล้มเหลว แน่นอน<br />

เรื่องราวด้านไม่ดีที่คัดค้านความเจริญทางเศรษฐกิจนั้น<br />

ก็คือความเจริญทำให้ประเพณีที่ดีงามของสังคมไทย<br />

และแรงยึดเหนี่ยวในชุมชนนั้นเบาบางลงโดยปราศจาก<br />

ความพยายามที่จะสร้างความเชื่อมโยงใหม่ๆ ระหว่าง<br />

ชุมชน และการสร้างองค์กรใหม่ๆ เพื่อที่จะสร้างความ<br />

เข้าใจ และเข้าไปจัดการกับปัญหาทางสังคมที่เกิดขึ้น<br />

อันเกิดมาจากความเจริญทางเศรษฐกิจ<br />

เมื ่อประเมินสถาณการณ์ความจริงในอดีต<br />

ประเทศไทยนั้นประสบความสำเร็จอย่างมากมาย และ<br />

คนไทยทุกคนต่างภาคภูมิใจกับความสำเร็จลุล่วงที่ผ่าน<br />

มา ถ้าจะเปรียบเทียบกับโอกาสความน่าจะเป็นในการ<br />

สร้างความสำเร็จของการเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง<br />

ถึงห้าทศวรรษแล้ว นักวิจารณ์ที่ไม่ชอบความเจริญทาง<br />

เศรษฐกิจ ก็มักจะวาดภาพหวานในอดีตด้วยสีชมพู<br />

แทนที่จะถอนหายใจด้วยความโล่งอก แล้วคิดว่านี่เรา<br />

รอดกันมาได้อย่างฉิวเฉียด การใช้ลูกเล่นด้วยการทำ<br />

โฆษณาชวนเชื่อบิดเบือนความจริงนั้นได้ผลเสมอ แต่<br />

มันเป็นประวัติศาสตร์ที่เลว มันคือการบิดเบือนเบื้อง<br />

หลังความสำเร็จที่ลุล่วงมาตลอดระยะเวลาห้าสิบปีที่เรา<br />

ได้เดินผ่านมา แต่ที่สำคัญไปกว่าสิ่งอื่นใด มันก่อให้เกิด<br />

การเบี่ยงเบนไปจากการค้นพบวิถีทางแก้ปัญหา<br />

ที่แท้จริง ของปัญหาที่เกิดขึ้นจริงๆ ในปัจจุบัน<br />

กรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย<br />

ตุลาคม พ.ศ. 2538<br />

REFERENCES<br />

Ammar Siamwalla. “The Thai Economy—Fifty Years of<br />

Expansion.” In Thailand: King Bhumibol Adulyadej, the<br />

Golden Jubilee 1946-1966, Anand Panyarachun, Chairman<br />

of the Editorial Advisory Board, 137-157. Singapore:<br />

Archipelago Press, 1996.<br />

IBRD (International Bank for Reconstruction and Development).<br />

A Public Development Program for Thailand. Baltimore MD:<br />

Johns Hopkins University Press, 1959.<br />

Ingram, James C. Economic Change in Thailand, 1850-1970.<br />

Stanford, CA: Stanford University Press, 1971.<br />

Riggs, Fred W. Thailand: the Modernization of a Bureaucratic<br />

Polity. Honolulu, HI: East-West Center Press, 1966.<br />

Somchai Jitsuchon. Alleviation of rural poverty in Thailand.<br />

Bangkok: Thailand Development Research Institue<br />

Foundation, 1989.<br />

TDRI (Thailand Development Research Institute). Financial<br />

Resources Management. Bangkok: Thailand, 1986.<br />

95


96


ประเทศไทยหลัง 2540<br />

THAILAND AFTER 1997<br />

— ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อัมมาร สยามวาลา • Professor Dr. Ammar Siamwalla<br />

97


ประเทศไทยหลัง พ.ศ. 2540 นั้นอาจแบ่งได้คร่าวๆ<br />

เป็นสามช่วง ช่วงแรกคือการฟื้นตัวอย่างยากลำบากจาก<br />

เหตุการณ์ฟองสบู่ในวิกฤติเศรษฐกิจ อันเกิดจากการที่<br />

เศรษฐกิจของประเทศพึ่งพาการส่งออกมากเกินไป ช่วง<br />

ที่สองคือการเข้ามาบริหารประเทศของรัฐบาลทักษิณ<br />

ชินวัตร ซึ่งในช่วงนี้สภาพแวดล้อมภายนอกหลาย<br />

อย่างเอื้อประโยชน์ให้รัฐบาลสามารถดำเนินนโยบาย<br />

ประชานิยมได้อย่างต่อเนื่อง แต่ในที่สุดก็ถูกกองทัพยึด<br />

อำนาจ โดยมีรัฐบาลทหารเข้ามาบริหารประเทศเป็นการ<br />

ชั่วคราว และหลังจากนั้นก็มีอีกหลายรัฐบาลผลัดเปลี่ยน<br />

กันเข้ามาเป็นช่วงระยะเวลาสั้นๆ โดยรัฐบาลสุดท้ายต้อง<br />

รับมือกับวิกฤติการเงินที่สะพัดไปทั่วโลก ซึ่งนำไปสู่<br />

เศรษฐกิจที่ตกต่ำลงมาก แต่ก็ฟื้นตัวอย่างรวดเร็ว<br />

1. ก่อนทักษิณ<br />

1.1 ความเป็นมา<br />

ใน พ.ศ. 2501 จอมพลสฤษดิ์ ธนรัชต์ ก้าวขึ้นมา<br />

เป็นผู้นำประเทศภายหลังยึดอำนาจจากนายกรัฐมนตรี<br />

คนก่อน ที่ใช้นโยบายเศรษฐกิจแบบชาตินิยมที่ค่อนข้าง<br />

The years following 1997 divide themselves into three<br />

roughly equal periods. The first was the painful period of<br />

deleveraging from the excesses of the bubble before the<br />

crisis, from which the economy emerged with more<br />

dependence on exports. The second period covered the<br />

government under Thaksin Shinawatra, who faced<br />

a mostly favorable external environment, and was therefore<br />

able to pursue many populist policies. Eventually, he was<br />

brought down by the military. The brief military government<br />

was followed by a number of short-lived governments, the<br />

last one of which was left to tackle the consequences of<br />

the global financial crisis, which led to a very deep downturn<br />

but a quick recovery.<br />

1. BEFORE THAKSIN<br />

1.1 Background<br />

In 1958, Field Marshal Sarit Thanarat embarked on<br />

a course to develop Thailand after toppling an earlier prime<br />

minister who was pursuing policies based on a muddled<br />

สับสน ในช่วงห้าปีหลังจากนั้นเขาได้ทำให้การบริหาร<br />

เศรษฐกิจของประเทศทันสมัยขึ้นไปในทิศทางเดียวกับ<br />

นโยบายของธนาคารโลก และหันมาสนับสนุนธุรกิจ<br />

เอกชน ซึ่งแตกต่างจากนโยบายของรัฐบาลเดิมที่เน้น<br />

สนับสนุนผู้ประกอบการชาวจีนในประเทศมากกว่า<br />

ตลอดสามทศวรรษต่อมา การบริหารประเทศถูก<br />

ควบคุมโดยกองทัพ เศรษฐกิจระดับมหภาคตกอยู่ภายใต้<br />

การชี้นำของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญที่เน้นความรอบคอบและ<br />

มั่นคงเป็นหลัก และใช้นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนคงที่เป็น<br />

ตัวควบคุมระดับเงินเฟ้อ ผลที่ได้คือยอดเงินฝากกับ<br />

ธนาคารพาณิชย์เพิ่มขึ้นมากจนธนาคารเหล่านี้เติบโตขึ้น<br />

และมีบทบาทสำคัญในฐานะผู้จัดสรรเงินทุนรายใหญ่ และ<br />

ในบางครั้งเป็นผู้ประสานงานการลงทุนเสียเลย<br />

ยุคเรืองอำนาจของกองทัพ (และกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ<br />

ทั้งหลาย) มาถึงจุดสิ้นสุดใน พ.ศ. 2531 ในยุคนี้ ประเทศ<br />

เติบโตอย่างรวดเร็วที่อัตราเฉลี่ย 6.8 เปอร์เซ็นต์ แน่นอน<br />

ว่าเศรษฐกิจที่เติบโตอย่างต่อเนื่องแบบนี้ย่อมสร้างรอย<br />

จำหลักลึกในโครงสร้างเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ<br />

อย่างเลี่ยงมิได้ เราเปลี่ยนจากผู้ส่งออกวัตถุดิบ เป็นผู้ส่ง<br />

ออกสินค้า อัตราความยากจนลดลงมากและต่อเนื่องถึง<br />

version of economic nationalism. In the next 5 years,<br />

he modernized the economic management of the country,<br />

more or less along the lines proposed by a World Bank<br />

economic mission, as well as pursuing a pro-private<br />

business policy in contrast to the earlier policies that<br />

targeted local Chinese enterprises. Over the next three<br />

decades, Thailand’s government was dominated by the<br />

military, and its macroeconomic management was under<br />

the guidance of technocrats who pursued policies that<br />

stressed prudence and stability, with a fixed exchange<br />

rate regime as an inflation anchor. High savings rates were<br />

achieved, which were collected by the commercial banks<br />

which grew up to a preeminent position in the economy<br />

as the main allocators of capital, and, to some extent, as<br />

investment coordinators.<br />

The long period of military (and technocratic)<br />

dominance came to an end in 1988. Under this regime,<br />

Thailand managed to grow rapidly at the average rate of<br />

6.8%. Such a long period of consistently high economic<br />

growth cannot but leave a deep imprint on the structure<br />

98


แม้ความไม่เท่าเทียมกันของรายได้จะเพิ่มขึ้นก็ตาม<br />

กองทัพและพันธมิตรผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจกลับ<br />

คืนสู่อำนาจในช่วงสั้นๆ ระหว่าง พ.ศ. 2534 - 2535<br />

โดยมีนายอานันท์ ปันยารชุนขึ้นมาเป็นผู้นำรัฐบาลและ<br />

เสนอให้มีการปฏิรูปเศรษฐกิจทั้งหมด โดยนำภาษีมูลค่า<br />

เพิ่มมาใช้ และเปิดเสรีเศรษฐกิจในหลายภาคส่วน ตั้งแต่<br />

เรื่องของภาษีจนถึงอัตราภาษีศุลกากร รวมถึงเขต<br />

เศรษฐกิจเสรีอาเซียน เรียกได้ว่านี่เป็นยุครุ่งเรืองที่สุด<br />

ของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ หลังจากนั้นอิทธิพลของพวกเขา<br />

ก็ลดลงอย่างต่อเนื่อง (ใน พ.ศ. 2549 - 2550 มีอีกหนึ่ง<br />

รัฐบาลลูกผสมระหว่างกองทัพและผู้เชี่ยวชาญรุ่นหลัง<br />

เกิดขึ้น แต่มีอิทธิพลน้อยกว่ารัฐบาลของนายอานันท์<br />

ซึ่งเราจะอธิบายต่อไปในภายหลัง)<br />

หลังจากหมดยุครัฐบาลนายอานันท์เข้าสู่การกลับ<br />

คืนของระบอบรัฐสภา ประเทศไทยกลับมาเติบโต<br />

อีกครั้งในอัตราที่สูงขึ้นกว่าเดิม จนกระทั่งเข้าสู่ช่วง<br />

ฟองสบู่ก่อนวิกฤติเศรษฐกิจ<br />

1.2 วิกฤติ พ.ศ. 2539 - 2540<br />

นโยบายต่างๆ ที่นำไปสู่ฟองสบู่ ตามด้วยการล่ม<br />

of the economy. Thailand moved from being a primary goods<br />

exporter to an exporter of manufactured goods. The level of<br />

poverty declined steadily and significantly throughout the<br />

period, despite a marked increase in income inequality.<br />

There was a brief period when the military and their<br />

technocratic allies returned to power in 1991–1992, when<br />

the technocrats, in charge of the government headed by<br />

Anand Panyarachun, proposed a whole slew of reform<br />

legislation, most notably introducing a value-added tax,<br />

and generally liberalizing the economy in very many areas,<br />

ranging from taxis to tariffs, and launching the Association<br />

of Southeast Asian Nations (ASEAN) Free Trade<br />

Area. In a sense, this period marked the technocrats’ high<br />

point. Afterward, their influence declined steadily. (In<br />

2006–2007, there was another bout of military-technocrat<br />

government with a later generation of technocrats, but<br />

their impact was less than the Anand government’s, as<br />

will be discussed below.)<br />

After the departure of the Anand government and the<br />

return of a parliamentary regime, growth resumed, and<br />

สลายของค่าเงินบาท จนทำให้ระบบเศรษฐกิจทั้งหมด<br />

ของประเทศเกือบจะพังพินาศตามไปนั้น มีการอธิบาย<br />

โดยละเอียดอยู่แล้ว (วอรร์ 2005; น.3-104) ดังนั้น<br />

เราจะสรุปเพียงคร่าวๆ<br />

ความผิดพลาดหลักคือนโยบายที่ปล่อยให้มี<br />

การเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีโดยยังคงอัตราแลก<br />

เปลี่ยนคงที่เอาไว้ นอกจากจะยกเลิกการตรึงอัตรา<br />

ดอกเบี้ยแล้ว ธนาคารพาณิชย์ยังได้รับอนุญาตให้เปิด<br />

กิจการวิเทศธนกิจของตนเองเพื่อลดค่าใช้จ่ายในการกู้<br />

เงินจากต่างประเทศ เมื่อผู้ประกอบการไทยเห็นว่าอัตรา<br />

ดอกเบี้ยจากต่างประเทศถูกกว่ามาก บริษัทใหญ่ๆ<br />

จึงพากันไปกู้เงินจากต่างประเทศโดยตรง หรือบาง<br />

บริษัทก็กู้ผ่านกิจการวิเทศธนกิจของธนาคารในประเทศ<br />

เงินกู้ส่วนใหญ่ถูกนำไปใช้ในภาคอสังหาริมทรัพย์ ก่อ<br />

ให้เกิดฟองสบู่จำนวนมากในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์<br />

และตลาดหุ้น เมื่อถึง พ.ศ. 2539 หนี้ต่างประเทศของ<br />

ไทยพุ่งขึ้นสูงถึง 109,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในจำนวน<br />

นั้น 92,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐเกิดจากภาคเอกชนโดย<br />

แบ่งเป็นเป็นหนี้จากธนาคารพาณิชย์และธุรกิจที่ไม่ใช่<br />

ธนาคารอย่างละครึ่ง<br />

indeed accelerated, until it merged into the precrisis bubble.<br />

1.2 The crisis of 1996 –1997<br />

The series of policy decisions that eventually led to<br />

the bubble and then the collapse of the baht and of almost<br />

the entire Thai financial system is well documented (Warr,<br />

2005; pp. 3 –104), so only a summary account will be<br />

given here.<br />

The key policy misstep was to liberalize the capital<br />

account without giving up the fixed exchange rate regime.<br />

Not only were the controls on interest rates lifted, but<br />

the banks were allowed to open their own International<br />

Banking Facility whose main effect was to reduce the<br />

transaction costs of borrowing abroad. Thai firms, seeing<br />

a substantial difference between domestic and international<br />

interest rates, began to borrow dollars heavily either<br />

directly overseas (if they were big firms), or alternatively<br />

from the local banks through the Bangkok International<br />

Banking Facility. A significant proportion of these loans<br />

were invested in the local property market, and bubbles<br />

99


เมื่อถึง พ.ศ. 2540 ทุกฝ่ายเริ่มไม่มั่นใจว่าแบงก์ชาติ<br />

จะตรึงอัตราแลกเปลี่ยนคงที่เอาไว้ได้ เมื่อตัวเลขการ<br />

ส่งออกซึ่งเคยแตะอยู่ที่ 18.8 เปอร์เซ็นต์ต่อปีมาตลอด<br />

ตั้งแต่ พ.ศ. 2534 - 2538 ตกฮวบเหลือ - 0.4 เปอร์เซ็นต์<br />

ใน พ.ศ. 2538 - 2539 ในปีเดียวกันนั้นฟองสบู่ในธุรกิจ<br />

อสังหาริมทรัพย์เริ่มลดลง สร้างความกดดันแก่ธนาคาร<br />

ขนาดเล็กและบริษัทไฟแนนซ์ (องค์กรการเงินที่<br />

ทำหน้าที่คล้ายกับธนาคาร เพียงแต่ไม่ได้รับอนุญาตให้<br />

เปิดบัญชีเงินฝากที่รองรับการจ่ายเช็ค) ที่กู้เงินจาก<br />

ต่างประเทศก้อนใหญ่มาลงทุนในภาคธุรกิจนี้ เมื่อ<br />

พื้นฐานทางเศรษฐกิจอ่อนแอถึงขีดสุด บรรดากองทุน<br />

ความเสี่ยงสูงและธนาคารเพื่อการลงทุนจากต่างประเทศ<br />

จึงเริ่มโจมตีค่าเงินบาทเป็นสามระลอกในเดือนพฤศจิกายน<br />

พ.ศ. 2539 แบงก์ชาติตอบโต้ด้วยการใช้ทุนส ำรองเงินตรา<br />

ต่างประเทศ โดยเทขายเงินดอลลาร์ในตลาดแลก<br />

เปลี่ยนเพื่อรักษาทุนสำรองเงินตราต่างประเทศไม่ให้ต่ำ<br />

เกินไป หลังจากใช้ทุนสำรองจนเกือบหมดเกลี้ยง<br />

ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้ประกาศลอยตัวค่าเงิน<br />

บาทในวันที่2 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 และนั่นคือจุดเริ่ม<br />

ต้นของวิกฤติการณ์ทางการเงินในเอเชีย<br />

developed in that market as well as in the local stock<br />

exchange. By the end of 1996, Thailand’s total external<br />

debt rose to US$109 billion, of which $92 billion was owed<br />

by the private sector, split roughly equally between<br />

commercial banks and nonbank businesses.<br />

The ability of the central bank to maintain the fixed<br />

exchange rate began to be questioned in 1996, when<br />

Thailand saw its export growth rate which had been<br />

coasting along at the annual rate of 18.8% between 1991<br />

and 1995, collapse to a rate of -0.4% between 1995 and<br />

1996. In the same year, the bubble in the local property<br />

market also began to subside, putting pressure on the<br />

smaller banks and the finance companies (entities that<br />

function similarly to the banks, except that they are not<br />

allowed to open checking accounts) that had invested<br />

heavily in that market, using dollar funds for the purpose.<br />

With such weak fundamentals, hedge funds and foreign<br />

investment banks began to attack the baht in three waves<br />

starting in November 1996. The central bank fended off<br />

these attacks by drawing down its net reserves – it kept<br />

นอกจากต้องต่อสู้กับการโจมตีค่าเงินบาท ธปท.<br />

ยังต้องรับมือกับความกดดันที่มีต่อสถาบันการเงินต่างๆ<br />

ซึ่งเริ่มจะส่งผลกระทบกับธนาคารพาณิชย์ขนาดเล็ก<br />

ในเดือนมีนาคม ธปท.ออกคำสั่งให้สถาบันการเงิน<br />

สิบแห่งเพิ่มเงินทุน แต่ไม่ประสบความสำเร็จ หลังจาก<br />

นั้นจึงสั่งให้บริษัทเหล่านั้นรวมถึงสถาบันการเงินอีก<br />

หกแห่งปิดกิจการลงในวันที่ 27 มิถุนายน มาตรการนี้<br />

ได้ขยายผลจนรัฐบาลสามารถควบคุมธุรกิจสถาบันการ<br />

เงินทั้งหมดรวมถึงธนาคารพาณิชย์ขนาดเล็กได้<br />

บทสรุปของปีที่เลวร้ายทางเศรษฐกิจมาในรูปของ<br />

การพัฒนาทางการเมืองครั้งสำคัญนั่นคือ การบังคับใช้<br />

รัฐธรรมนูญใหม่ในช่วงปลาย พ.ศ. 2540 การมี<br />

รัฐธรรมนูญใหม่ไม่ใช่เรื่องใหญ่สำหรับประเทศไทย เรา<br />

มีรัฐธรรมนูญมาแล้ว 15 ฉบับในเวลา 65 ปี นับจากก่อ<br />

ตั้งรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญครั้งแรกใน พ.ศ. 2475<br />

รัฐธรรมนูญฉบับนี้น่าสนใจตรงที่มันไม่เพียง เป็นครั้ง<br />

แรกในประวัติศาสตร์ชาติไทยที่รัฐธรรมนูญใหม่ถูกร่าง<br />

และบังคับใช้ภายใต้กรอบของรัฐธรรมนูญเดิม แต่ยังเป็น<br />

รัฐธรรมนูญที่ไร้ซึ่งอิทธิพลของกองทัพ อีกทั้งเนื้อหาใน<br />

รัฐธรรมนูญยังน่าสนใจอย่างยิ่ง ซึ่งจะอธิบายกันต่อไป<br />

its (publicly announced) gross reserves intact only by<br />

selling dollars forward in the swap market. After nearly<br />

exhausting its net reserves, the Bank of Thailand floated<br />

the baht on July 2, 1997, and thereby launched the Asian<br />

financial crisis.<br />

While the Bank was busy fending off the attacks on<br />

the baht, it also had to attend to the pressure on the financial<br />

institutions, at this stage confined mostly to the finance<br />

companies, but also beginning to affect the smaller<br />

commercial banks. After ordering 10 finance companies to<br />

increase their capital in March, which met with little success,<br />

the Bank of Thailand suspended the operations of these<br />

companies plus six more finance companies on June 27.<br />

These cautious piecemeal steps succeeded in generating<br />

runs that gradually expanded to cover the entire finance<br />

company sector as well as some commercial banks.<br />

A coda to the annus horribilis on the economic front is<br />

an important political development, namely, the promulgation<br />

of a new Constitution at the end of 1997. Having a new<br />

Constitution is not a big deal in Thailand: Thailand has had<br />

100


ภายหลัง โดยรวมแล้วรัฐธรรมนูญฉบับนี้จะคานอำนาจ<br />

นักการเมืองที่อยู่ในสภา โดยนักการเมืองเหล่านี้เองที่<br />

โหวตให้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ผ่าน หากไม่เกิดวิกฤติ<br />

เศรษฐกิจเมื่อต้น พ.ศ. 2540 รัฐธรรมนูญฉบับนี้คงไม่มี<br />

วันผ่าน แต่มันก็ผ่านออกมาแล้ว และเราจะได้เห็นผล<br />

ของรัฐธรรมนูญฉบับนี้กันแบบเต็มๆ ใน พ.ศ. 2544<br />

ซึ่งเราจะพูดถึงกันในช่วงที่สองของบทความ<br />

1.3. การลดหนี้ภาคเอกชนใน พ.ศ. 2540 - 2545<br />

จากหนี้ทั้งหมดของประเทศ 109,000 ล้านดอลลาร์<br />

ในปลายพ.ศ. 2539 จำนวน 38,000 ล้านเป็นหนี้ระยะ<br />

สั้น (กำหนดชำระหนี้ภายในหนึ่งปี) ท่ามกลางหนี้กอง<br />

มหึมา ณ วันที่ 2 กรกฎาคม หลังจากต่อสู้ป้องกันค่า<br />

เงินบาท ประเทศเหลือเงินทุนสำรองเพียง 2,800 ล้าน<br />

ดอลลาร์ ภารกิจแรกของแบงก์ชาติหลังลอยตัวค่า<br />

เงินบาทคือ หาแหล่งเงินกู้ใหม่เพื่อชำระให้เจ้าหนี้<br />

ต่างประเทศที่ปล่อยกู้ให้ธนาคารและผู้ประกอบการ<br />

ในประเทศไทย จึงจำเป็นต้องหันไปหากองทุนการเงิน<br />

ระหว่างประเทศหรือไอเอ็มเอฟ โดยเริ่มเข้าโครงการ<br />

ของไอเอ็มเอฟในวันที่ 20 สิงหาคม และกู้เงินจากทั้ง<br />

15 constitutions in 65 years since the constitutional<br />

government was introduced in 1932.What was remarkable<br />

about the 1997 Constitution is that it was the only time in<br />

Thai history that a new constitution was drafted and<br />

promulgated entirely within the framework of the then<br />

existing constitution, that is, without being accompanied<br />

by a military coup. Its content was also remarkable, as<br />

will be discussed below. In general, the new Constitution<br />

would work against old-line politicians then sitting in<br />

parliament, the very same people who voted in the new<br />

Constitution.Had there not been the economic debacle in<br />

the earlier part of 1997, the new Constitution would not<br />

have had a chance of being passed. But there was, and<br />

it did. The full unintended consequences of this Constitution<br />

would be reaped in 2001, as will be discussed below in<br />

the second part of the paper.<br />

1.3 Deleveraging in the private sector 1997–2002<br />

Of the $109 billion dollar debt that Thailand owed at<br />

the end of 1996, $38 billion was short-term (of less than<br />

ไอเอ็มเอฟเองและอีกหลายประเทศในเอเชีย แต่เงินกู้<br />

17,800 ล้านดอลลาร์ที่รวบรวมได้นั้นไม่เพียงพอเมื่อ<br />

เทียบกับสภาพคล่องที่ต้องการ และตลาดเองก็ส่ง<br />

สัญญาณความไม่มั ่นใจด้วยการกดค่าเงินบาทลงอย่าง<br />

ต่อเนื่องอีกหกเดือน จาก 26 บาทต่อหนึ่งดอลลาร์ใน<br />

เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2540 เป็น 56 บาทในเดือน<br />

มกราคม พ.ศ. 2541 ที่เงินบาทไม่ตกลงไปกว่านั้นเป็น<br />

เพราะเศรษฐกิจโลกหดตัวอย่างหนัก ก่อให้เกิดความ<br />

ผันผวนของดุลบัญชีเดินสะพัดและดุลการชำระเงิน<br />

จาก -1.9 เปอร์เซ็นต์ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ<br />

(GDP) ในไตรมาสแรกของ พ.ศ. 2540 เป็น 12.4<br />

เปอร์เซ็นต์ในไตรมาสสุดท้ายของปี โดยสรุปแล้ว<br />

ประเทศไทยสามารถลดหนี้กับเจ้าหนี้ทั่วโลกลงได้ หนี้<br />

ต่างประเทศลดลงจาก 109,000 ล้านดอลลาร์เมื่อปลาย<br />

พ.ศ. 2539 เหลือ 60,000 ล้านดอลลาร์ใน พ.ศ. 2545<br />

ขณะที่เงินตราต่างประเทศสำรองเพิ่มขึ้นจากเกือบศูนย์<br />

เมื่อกลาง พ.ศ. 2540 เป็น 38,000 ล้านดอลลาร์<br />

ตอนปลาย พ.ศ. 2545<br />

หนี้ต่างประเทศไม่ใช่ปัญหาเดียวในตอนนั้น มี<br />

การลงทุนเกินตัวมากมาย ธนาคารและสถาบันการเงิน<br />

1 year maturity).Against this mountain of debt, there was<br />

on July 2 a residue of $2.8 billion in net reserves left from<br />

the central bank’s defense of the baht. The first order of<br />

business for the central bank after the flotation of the baht<br />

was to find the liquidity to fend off the run by the foreign<br />

creditors that had lent to Thai banks and businesses.<br />

Recourse to the International Monetary Fund (IMF) was<br />

inevitable, and Thailand duly entered its program on August<br />

20, obtaining funding not only from the Fund, but also from<br />

a collection of Asian countries. Relative to the immediate<br />

liquidity needs of Thailand, the amount obtained ($17.4<br />

billion) was quite inadequate, and the market signaled that<br />

perception by pushing the baht down over the next 6 months,<br />

from 26 baht to the dollar in July 1997 to 56 baht in<br />

January 1998, before the baht rebounded and stabilized<br />

at around 40 baht in April 1998. That the baht did not fall<br />

further was on account of the severe contraction of the<br />

economy, which led to a swing in the current account of<br />

the balance of payments from -1.9% of gross domestic<br />

product (GDP) in the first quarter of 1997 to 12.4% of GDP<br />

101


ปล่อยกู้มหาศาลจนปริมาณสินเชื่อต่อยอดเงินฝากพุ่งสูง<br />

ถึง 150 เปอร์เซ็นต์ การถอนตัวของแหล่งเงินทุนต่าง<br />

ประเทศหลังลอยตัวค่าเงินบาททำให้ยอดสินเชื่อหด<br />

ตัวอย่างรวดเร็ว เมื่อค่าเงินบาทตก หนี้ต่างประเทศของ<br />

บริษัทต่างๆ ก็เพิ่มสูงขึ้น จากสถานการณ์ในตอนนั้น<br />

(บริษัทไทยที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์มีอัตราหนี้<br />

สินต่อส่วนผู้ถือหุ้นที่ 2.8 ใน พ.ศ. 2540) ลำพังยอด<br />

หนี้ที่ทวีขึ้นหลังค่าเงินบาทตกฮวบก็เพียงพอจะทำให้ผู้<br />

ประกอบการตกอยู่ในภาวะล้มละลายแล้ว แต่ธนาคารที่<br />

ถูกกดดันจากการที่นักลงทุนต่างประเทศถอนเงินออก<br />

ไปยิ่งไม่อยากปล่อยกู้ให้ ผลลัพธ์คือระบบเศรษฐกิจ<br />

ทั้งหมดขาดสภาพคล่องโดยฉับพลัน ยิ ่งประจวบกับ<br />

นโยบายรัดเข็มขัดของไอเอ็มเอฟ ก็ยิ่งแย่หนักขึ้น อัตรา<br />

ดอกเบี้ยที่สูงขึ้นในสองปีแรกหลังลอยตัวค่าเงินบาทมี<br />

ผลกระทบกับกระแสเงินสดของผู้ประกอบการ จึงไม่น่า<br />

แปลกใจที่หนี้จำนวนมากกลายเป็นหนี้ด้อยสภาพ และ<br />

ทำให้สถานการณ์ของธนาคารและสถาบันการเงินแย่ลง<br />

1.4. ผลลัพธ์จากการชำระหนี้<br />

ในพ.ศ. 2541 GDP ของประเทศตกลง 10.5<br />

in the last quarter of the same year. Over the whole cycle,<br />

Thailand managed to deleverage itself vis-à-vis the rest<br />

of the world – its external debt fell from $109 billion dollars<br />

at the end of 1996 to $60 billion in 2002, while its net<br />

foreign exchange reserves rose from near zero in the<br />

middle of 1997 to a respectable $38 billion at the end of 2002.<br />

Foreign debt was not the only problem with the Thai<br />

economy. The domestic economy had been highly leveraged,<br />

with the banks and finance companies extending an<br />

excessive amount of credit until it stood at 150% of deposits.<br />

The withdrawal of funds from foreign sources following<br />

the collapse of the baht led to an immediate contraction of<br />

bank credit. The value of the dollar debt owed by businesses<br />

also shot up as the baht fell. Given the high leverage of<br />

Thai firms (listed companies had a debt/equity ratio of 2.8<br />

in 1997), just the increase in the value of the debt due to<br />

the devaluation of the baht was enough to push them into<br />

technical bankruptcy, so that local banks, pressed as they<br />

were by the departure of foreign money, had less incentive<br />

to extend credit to businesses. The consequence was<br />

เปอร์เซ็นต์ และอยู่ในช่วงขาลงโดยตลอดถึง 18 ไตรมาส<br />

นับแต่ไตรมาสที่สองของ พ.ศ. 2540 จนถึงไตรมาสที่<br />

หนึ่งของ พ.ศ. 2545 ชั่วโมงการทำงานต่อสัปดาห์ของ<br />

แรงงานไทยลดลง 9.8 เปอร์เซ็นต์เมื่อเทียบกันระหว่าง<br />

ไตรมาสสาม พ.ศ. 2540 และไตรมาสหนึ่งของพ.ศ.<br />

2541 และตกลงจนถึงไตรมาสสามของ พ.ศ. 2543 1 ใน<br />

บรรดาประเทศที่เผชิญวิกฤติการณ์การเงินหลัง<br />

สงครามโลกครั้งที่สอง อัตราการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ<br />

นับว่าใกล้เคียงกันหมด แต่ประเทศไทยและอินโดนีเซีย<br />

เป็นสองประเทศที่ได้รับผลกระทบหนักที่สุดจาก<br />

วิกฤติการณ์การเงินเอเชีย พ.ศ. 2540 (ไรน์ฮาร์ทและ<br />

ร็อกออฟ 2009 น.236) ปัญหาเศรษฐกิจครั้งนี้นับว่า<br />

หนักหนาสาหัสและยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์<br />

ชาติไทยนับจากที่ประเทศเข้าสู่การพัฒนายุคใหม่ใน<br />

พ.ศ 2501 โดยเกิดจากการดำเนินนโยบายการเงินการ<br />

คลังที่ผิดพลาดมากกว่าเป็นผลจากฟองสบู่<br />

ตอนเผชิญกับวิกฤติการณ์นี้ ประเทศไทยมีหนี้สาธารณะ<br />

น้อยมาก ยอดหนี้สาธารณะ (ไม่รวมตราสารหนี้) อยู่ที่<br />

6 เปอร์เซ็นต์ของ GDP เท่านั้น จึงน่าจะเป็นโอกาสให้<br />

รัฐบาลกู้เงินมาบรรเทาสถานการณ์ได้ แต่ความผิดพลาด<br />

an acute shortage of liquidity throughout the system,<br />

a situation that was not helped by the very tight monetary<br />

policy imposed by the IMF. The resulting high interest<br />

rates, at least in the first 2 years following the collapse of<br />

the baht, in turn increased the burden on the businesses’<br />

cash flows. Unsurprisingly, the banks and finance companies<br />

began to see their loans become increasingly nonperforming,<br />

which in turn increased the financial institutions’ own<br />

vulnerability.<br />

The Thai financial crisis of 1997–2000 is best<br />

characterized as a balance-sheet crisis, which affected<br />

the entire private sector. The entire financial system and<br />

vast swathes of the corporate sector had to be restructured.<br />

Because the government had guaranteed all deposits and<br />

credits to financial institutions on August 5, 1997, it now<br />

had to be heavily involved in this restructuring process,<br />

at the very least of the financial institutions. As others and<br />

I have discussed the process elsewhere (Ammar, 2001;<br />

Veerathai, 2003), I shall not dwell on the lengthy process<br />

of restructuring but shall proceed directly to the outcome<br />

102


เกิดจากนโยบายการคลังที่ไม่เด็ดขาดในตอนแรกและ<br />

ตามมาด้วยไอเอ็มเอฟ ในช่วงต้นของวิกฤติ เงินกู้ที่<br />

รัฐมนตรีคลังได้มานั้นทำให้งบดุลของประเทศที่คาดว่า<br />

จะขาดดุล 1.5 เปอร์เซ็นต์ของผลิตภัณฑ์มวลรวมกลาย<br />

เป็นเกินดุล 1 เปอร์เซ็นต์ มีเพียงต้น พ.ศ. 2541 เท่านั้น<br />

ที่รัฐบาลส่งจดหมายแสดงเจตจำนงไปยังกองทุน คาด<br />

การณ์ว่าจะขาดดุล 2 เปอร์เซ็นต์และ 3 เปอร์เซ็นต์ของ<br />

GDP<br />

ความผิดพลาดที่หนักข้อกว่านั้นคือนโยบายแก้ปัญหา<br />

เศรษฐกิจที่เข้มงวดเกินไปของรัฐบาล หลังจากสั่งปิด<br />

และยึดทรัพย์สินบริษัทไฟแนนซ์ 68 แห่ง ปัญหาต่อไป<br />

คือการบริหารสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ (NPA) ที่ยังค้างอยู่<br />

กับธนาคารเอกชนและบริษัทไฟแนนซ์ที่เหลือรอด ซึ่ง<br />

รัฐบาลเลือกใช้กลไกตลาดนั่นคือ ทิ้งทรัพย์สินเหล่านั้น<br />

ให้ธนาคารบริหารจัดการไป โดยหวังว่าผลประกอบการ<br />

จะดีขึ้น จริงๆ แล้วมีอีกวิธีหนึ่งนั่นคือซื้อสินทรัพย์ NPA<br />

จากสถาบันการเงิน เอาไปไว้ในบริษัทบริหารจัดการ<br />

สินทรัพย์ของรัฐ ราคาซื้อคือหลักประกันในตัวเองเมื่อ<br />

เทียบกับสินเชื่อ ซึ่งแน่นอนว่าต่ำกว่ามูลค่าสินเชื่อมาก<br />

โดยธนาคารที่ขายสินทรัพย์เหล่านี้ออกไปจะตกอยู่ใน<br />

of that process, before evaluating the policies followed by<br />

the government during the deleveraging.<br />

1.4 Outcome from deleveraging<br />

In 1998, GDP fell by 10.5%, and output remained<br />

below the peak attained in 1997 Q2 until 2002 Q1, 18<br />

quarters later. Seasonally adjusted total number of hours<br />

worked per week by the Thai labor force fell by 9.8%<br />

between the peak at 1997 Q3 and 1998 Q1, and stayed<br />

below the peak until 2000 Q3. 1 Compared to all countries<br />

that had financial crises after the SecondWorldWar, the<br />

depth of the fall in output is par for the course: however,<br />

Thailand and Indonesia shared top positions for the duration<br />

of the crisis among the countries affected by the Asian<br />

crises of 1997 (Reinhart & Rogoff, 2009; p. 236).<br />

Nonetheless, this economic depression was the deepest<br />

and the longest in Thai history since the coming of the<br />

modern developmental state in 1958. It was due as much<br />

to the policy mistakes in the response to the depression<br />

as to the excesses of the preceding bubble.<br />

ภาวะขาดแคลนเงินทุนทันที และต้องอาศัยเงินอัดฉีด<br />

จากรัฐบาล ถึงแม้การเก็บ NPA ไว้กับบริษัทบริหาร<br />

จัดการของรัฐจะมีความเสี่ยงว่าสินทรัพย์เหล่านั้นจะ<br />

ราคาตกเร็วขึ้น แต่ก็ยังมีความเป็นไปได้ว่าธนาคารที่ยัง<br />

เหลือรอดอยู่จะดำเนินงานต่อไปและช่วยกู้สถานการณ์<br />

ได้2 แต่ท้ายที่สุดรัฐบาลนายชวน หลีกภัยไม่เลือกวิธีนี้<br />

แต่เลือกใช้กลไกตลาด (วีรไทย, 2546) วิธีนี้ทำให้ระบบ<br />

การเงินของประเทศและเศรษฐกิจที่ตกต่ำฟื้นตัวช้าลง<br />

เมื่อเข้าสู่ปีการเลือกตั้ง พ.ศ 2544 เศรษฐกิจตกต่ำกว่า<br />

ช่วงแย่ที่สุดของวิกฤติการณ์เสียอีก และรัฐบาลนายชวน<br />

หลีกภัยก็แพ้การเลือกตั้งไปตามคาด<br />

นโยบายการปฏิรูปธนาคารที่ระมัดระวังจนเกินไป<br />

บวกกับเศรษฐกิจที่ตกต่ำอย่างหนักและยาวนาน ทำให้<br />

ผลของวิกฤติครั้งนี้รุนแรงกว่าที่ควรจะเป็น ใน พ.ศ. 2545<br />

เมื่อเงินที่ทุ่มอัดฉีดให้กับธนาคารในช่วงวิกฤติการณ์มา<br />

รวมกับหนี้สาธารณะ สัดส่วนหนี้ต่อ GDP สูงขึ้นถึงห้า<br />

เท่าเมื่อเทียบกับก่อนวิกฤติการณ์ (ตามแผนผังที่ 1)<br />

ผู้ประกอบการไทยได้รับบทเรียนราคาแพงจาก<br />

กระบวนการชำระหนี้จึงเลิกกู้เงินเกินตัว และหันไป<br />

พึ่งพากระแสเงินสดของตัวเอง นั่นคือเหตุผลที่ตัวเลข<br />

Thailand entered into the crisis with remarkably low<br />

public debt: total public debt (excluding guaranteed public<br />

enterprise bonds) was only 6% of GDP. There was therefore<br />

considerable room for the government to step in and fill<br />

in the massive gap in aggregate demand opened up by<br />

the crisis. An early policy mistake was the timid fiscal<br />

policy followed by the IMF. Indeed, in the first flush of the<br />

crisis, the Fund extracted from the Thai Minister of Finance<br />

a commitment that fiscal policy would be shifted from the<br />

expected deficit of 1.5% of GDP to a surplus of 1%. Only<br />

in the beginning of 1998 did the government’s letters of<br />

intent to the Fund begin to foresee deficits of 2% and<br />

later 3% of GDP.<br />

A more damaging error was the excessive caution<br />

shown in the government’s attitude toward the rehabilitation<br />

of the financial system. After closing down some 68 finance<br />

companies and 6 banks, and taking over their entire assets,<br />

the next problem was to manage the nonperforming assets<br />

(NPAs) that still remained with the surviving private banks<br />

and finance companies. For these, the government opted<br />

103


การปล่อยสินเชื่อน้อยลงมากถึงแม้อัตราดอกเบี้ยจะ<br />

ต่ำลง และตัวเลขการลงทุนก็ชะลอตัวต่อไปอีกนาน<br />

ระบบการธนาคารทั้งหมดถูกปฏิรูปใหม่ การที่รัฐบาล<br />

ลุกขึ้นมาซื้อธนาคารที่กำลังจะล้มหรือล้มไปแล้วนั้น<br />

ทำให้สัดส่วนการลงทุนของภาครัฐในธุรกิจธนาคารเพิ่ม<br />

ขึ้นมาก ธนาคารที่ไม่ถูกซื้อมีการเปลี่ยนรูปแบบการ<br />

ดำเนินธุรกิจ ก่อนวิกฤติการณ์กฎหมายกำหนดให้<br />

ธนาคารพาณิชย์ที่มีสาขามากมายมีผู้ถือหุ้นเป็นคนไทย<br />

เท่านั้น แต่ความต้องการระดมเงินทุนทำให้ธนาคาร<br />

แห่งประเทศไทยจำเป็นต้องอนุญาตให้ธนาคารทุกแห่ง<br />

มีผู้ถือหุ้นต่างชาติได้ เมื่อเริ่มมีนายทุนต่างชาติ บวกกับ<br />

กฎระเบียบที่เข้มงวดขึ้นของธนาคารแห่งประเทศไทย<br />

ความสนิทสนมเป็นกันเองระหว่างธนาคารกับลูกค้า<br />

อย่างที่เคยปฏิบัติกันมาลดน้อยลงมาก เรียกได้ว่าระบบ<br />

การทำงานพัฒนาขึ้น (ทั้งสำหรับธนาคารและลูกค้า)<br />

แต่บทบาทการเป็นผู้จัดสรรเงินทุนและประสานงาน<br />

การลงทุนที่ธนาคารเคยทำกลับหายไป โดยธนาคาร<br />

เปลี่ยนบทบาทมาเป็นตลาดเงินทุนที่มีประสิทธิภาพ<br />

มากขึ้นแทน<br />

การบริหารเศรษฐกิจระดับมหภาคของประเทศมี<br />

to use the so-called market-driven approach,which was to<br />

leave these assets where they were, and let the banks<br />

nurse these assets back to health, hoping that this would<br />

yield better results. The alternative option was to carve out<br />

all the NPAs from all the financial institutions and warehouse<br />

them in a state-owned asset management company. The<br />

buying price would be the value of the collateral against<br />

the loans, which is of course substantially less than the<br />

face value of the loan. The banks selling these dud assets<br />

would then suddenly be capital short, which would be filled<br />

by capital injection from the government. Although there<br />

is a risk that warehousing the NPAs in a state-owned<br />

asset-management company would make them depreciate<br />

far more rapidly, there is, on the other hand, the possibility<br />

that the remaining “good banks”would function effectively<br />

right away, and thus assist in a faster recovery. 2 In the<br />

end, the Chuan government ruling at the time decided<br />

against this approach in favor of the market-oriented<br />

approach (Veerathai, 2003). By being cautious, the<br />

government slowed down the recovery of the financial<br />

การเปลี่ยนโฉมหน้าครั้งใหญ่ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญรุ่นเก่าที่<br />

เคยทำหน้าที่ประสานแผนการเงินการคลัง อันทำให้<br />

นโยบายเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศเป็นไปอย่าง<br />

สอดคล้องในระดับหนึ่งนั้นไม่มีอีกต่อไป พรรคการเมือง<br />

มีบทบาทมากขึ้นในการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจ<br />

การบริหารเศรษฐกิจทั้งหมดในช่วงวิกฤติการณ์นั้นอยู่ใน<br />

มือของนายธาริน ส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ผู้ดำรง<br />

ตำแหน่งรัฐมนตรีคลัง แต่ปรากฏว่าเขาหัวเก่ายิ่งกว่า<br />

กลุ่มผู้เชี่ยวชาญเดิมเสียอีก เพิ่งจะในยุคทักษิณนี่เองที่<br />

เราเริ่มเห็นแนวทางการบริหารเศรษฐกิจเชิงรุกแบบใหม่<br />

จากนักการเมือง ข้อดีหนึ่งของแผนการเงินการคลังแบบ<br />

อนุรักษ์นิยมเมื่อเกิดวิกฤติการณ์คืออัตราเงินเฟ้อที่ต่ำ<br />

หลังเหตุการณ์ค่าเงินบาทอ่อนตัวหลัง พ.ศ. 2540 ทำให้<br />

อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทที่แท้จริงตกลง 20 เปอร์เซ็นต์<br />

เมื่อเทียบกับก่อนหน้า พ.ศ. 2540 และนั่นทำให้ภาคการ<br />

ส่งออกขยายตัวมากขึ้นจนสูงถึง 70 เปอร์เซ็นต์ของ<br />

GDP ถึงแม้อัตราการสร้างมูลค่าเพิ่มในประเทศจะอยู่ที่<br />

30-35 เปอร์เซ็นต์ของ GDP แต่ก็ถือว่าเพิ่มขึ้นมากเมื่อ<br />

เทียบกับก่อนวิกฤติการณ์ (Chaipat และอื่นๆ 2552)<br />

ตั้งแต่นั้นเศรษฐกิจของไทยมีความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจ<br />

system and lengthened the economic depression. It entered<br />

the 2001 general elections with the economy below the<br />

pre-depression peak and was duly defeated.<br />

Because of the cautious policy on bank restructuring,<br />

and the consequent length and depth of the depression,<br />

the cost of the crisis was probably larger than it could have<br />

been. By 2002, when the losses from the support of the<br />

banks during the crisis were consolidated into the public<br />

debt, the debt-to-GDP ratio had jumped five-fold from the<br />

level before the crisis (Figure 1).<br />

Thai businesses took a severe punishment during the<br />

deleveraging process, and harsh lessons were learned.<br />

Afterward, they have shied away from over borrowing and<br />

relied more on their own cash flows, another reason why<br />

there has been little use of bank credit since then despite<br />

the low interest rate, and also for the low level of investment<br />

that prevailed for a very long time. This slow pace of<br />

investment relative to saving enabled Thailand to<br />

accumulate foreign exchange reserves continuously (despite<br />

the flexible exchange rate system), making Thailand a small<br />

104


35.00 2.00<br />

30.00 1.00<br />

25.00 0.00<br />

20.00 -1.00<br />

15.00 -2.00<br />

10.00 -3.00<br />

5.00 -4.00<br />

0.00<br />

97 98 99 2000 01 02 03 04 05 06 07 08 09<br />

-5.00<br />

หนี้สาธารณะทั้งหมด<br />

(% จาก GDP) (แกนซ้าย)<br />

Total Public Debt (% of GDP)<br />

(left hand side axis)<br />

ยอดขาดดุลการคลังของรัฐบาล<br />

(% จาก GDP) (แกนขวา)<br />

Government Fiscal Deficit (% of GDP)<br />

(right hand side axis)<br />

แผนผัง 1 ยอดงบขาดดุลของรัฐบาลไทยและหนี้ของรัฐบาล<br />

ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย<br />

Figure 1 Thai government budget deficits and government debt.<br />

Source : Bank of Thailand.<br />

105


่<br />

โลกมากขึ้นกว่าเดิม และผันแปรไปตามสภาพเศรษฐกิจ<br />

โลกตลอดช่วง พ.ศ. 2543<br />

แม้พรรคการเมืองจะแผ่อำนาจเข้าสู่องค์กรต่างๆ<br />

แต่ธปท.เป็นข้อยกเว้น หลังซวนเซจากวิกฤติเศรษฐกิจ<br />

พ.ศ. 2540 มีผู้ว่าการมากความสามารถสองท่านขึ้นมา<br />

รับตำแหน่งต่อเนื่องกัน และปรับเปลี่ยนธปท.ให้เป็น<br />

องค์กรอิสระในทางพฤตินัย ส่วนในทางนโยบายการเงิน<br />

นั้นเน้นเรื่องเงินเฟ้อเป็นหลัก ใน พ.ศ. 2543 มีการจัด<br />

ตั้งคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.)มาทำหน้าที<br />

กำหนดเป้าหมายและแนวนโยบาย กนง.นั้นจัดตั้งขึ้นมา<br />

ตามคำสั่งของผู้ว่าการธปท.โดยประกอบด้วยสมาชิกที่<br />

เป็นผู้เชี่ยวชาญจากองค์กรอิสระ และเจ้าหน้าที่บริหาร<br />

ระดับสูงของธนาคารต่างๆ ใน พ.ศ. 2550 สภา<br />

นิติบัญญัติแห่งชาติที่ได้รับการแต่งตั้งจากกองทัพได้<br />

ผ่านพระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไทยที่ประกาศ<br />

ให้เงินเฟ้อเป็นเป้าหมายหนึ่งของนโยบายการเงินของ<br />

ธปท. และให้ธปท. เป็นองค์กรที่เป็นอิสระจากรัฐมนตรี<br />

คลังมากขึ้นในทางนิตินัย 3<br />

ซึ่งเรายังต้องรอดูว่านโยบายที่เน้นเรื่องเงินเฟ้อนี้จะ<br />

ได้ผลและมีประโยชน์มากน้อยแค่ไหน เพราะอัตราเงิน<br />

contributor to Bernanke’s famous worldwide saving glut.<br />

The banking system was completely transformed.<br />

Government takeovers of many of the failing or failed banks<br />

enlarged the share of the state in the banking system. Those<br />

that were not taken over changed their business model.<br />

Commercial banks that had extensive networks of branch<br />

were by regulation exclusively Thai-owned before the crisis.<br />

The need to recapitalize the banks forced the Bank of<br />

Thailand to allow foreign participation in all the banks.As a<br />

consequence of this foreign participation, as well as tougher<br />

regulations by the Bank of Thailand, the old cozy relationship<br />

between banks and their business customers which used<br />

to be the norm became much less so. This is an improvement<br />

in governance (for both the banks and their customers);<br />

however, the role of capital allocators and investment<br />

coordinators that the banks used to play has been lost,<br />

without their being an effective capital market to take over<br />

that function.<br />

The macroeconomic management of the country<br />

underwent a major transformation. The old technocracy that<br />

เฟ้อทั่วโลกยังอยู่ในระดับต่ำและราคาน้ำมันก็ยังทรงตัว<br />

จนถึง พ.ศ. 2551<br />

2. ยุคทักษิณ<br />

2.1 ผลลัพธ์ทางการเมืองของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540<br />

ความที่ประเทศอยู่ในมือรัฐบาลที่ไม่ได้ผ่านการเลือก<br />

ตั้งมาหลายยุคหลายสมัย ทำให้รัฐไทยอยู่สถานะที่มี<br />

ความมั่นคงสูง ในแง่ที่ว่าหากไม่นับระบบศาลสถิต<br />

ยุติธรรม ทุกองค์ประกอบของรัฐขึ้นตรงกับคณะ<br />

รัฐมนตรีทั้งสิ้นโดยปราศจากระบบการตรวจสอบและ<br />

ถ่วงดุลจากภายใน ขณะเดียวกันประชาชนคนธรรมดา<br />

ก็ไม่รู้จะพึ่งพาใครเมื่อถูกเจ้าหน้าที่รัฐใช้อำนาจในทาง<br />

มิชอบ เพราะผู้ที่อยู่ในระบอบยุติธรรมมักจะเข้าข้าง<br />

ฝ่ายรัฐและแทบไม่ให้ความคุ้มครองประชาชน เมื่อหมด<br />

ยุคทหารครองเมือง คณะรัฐมนตรีในระบบรัฐสภาก็คือ<br />

ผู้สืบทอดอำนาจสูงสุด และเนื่องจากอำนาจนำมาซึ่ง<br />

ผลประโยชน์มหาศาล การต่อสู้เพื่อแย่งชิงเก้าอี้ในสภา<br />

จึงเป็นไปอย่างดุเดือด แต่อำนาจนั้นจำต้องกระจัด<br />

กระจายกันไป เพราะไม่มีพรรคไหนสามารถมีเสียงข้าง<br />

used to coordinate fiscal and monetary policies, and thus<br />

give a degree of coherence to economic policies was gone.<br />

Political parties now play a much bigger role in economic<br />

policies. The management of the economy during the crisis<br />

was firmly in the hands of Finance Minister Tarrin, a<br />

Democratic Party member. It turns out in this case that<br />

he is more conservative than the technocrats ever were. It<br />

is only with the advent of the Thaksin regime that we saw<br />

a new, aggressive style of economic management by<br />

the politicians. One immediate benefit of the conservative<br />

monetary policy in the immediate aftermath of the crisis was<br />

the low inflation pass through of the considerable nominal<br />

devaluation after 1997. As a result, the real effective<br />

exchange value of the baht dropped by 20% from the<br />

pre-1997 level after its stabilization which took place from<br />

mid-1998 onward. This set the stage for the expanded<br />

role of exports until they took up as much as 70% of GDP.<br />

Although the domestic value-added content was only<br />

30–35% of GDP, this was still a sizable jump from the<br />

20% level before the crisis (Chaipat et al., 2009). From<br />

106


มากเพียงพรรคเดียวในสภา ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้<br />

ในช่วงนานๆ ครั้ง (พ.ศ. 2487 - 2490, 2518 - 2519,<br />

2535 - 2540) ที่ประเทศมีการปกครองแบบ<br />

ประชาธิปไตยโดยรัฐสภาและไม่ถูกแทรกแซง ตัวแทน<br />

ส่วนใหญ่ในสภามักเป็น “คนใหญ่คนโต” ในต่างจังหวัด<br />

ที่สร้างอิทธิพลในพื้นที่ของตนจากเครือข่ายอุปถัมภ์<br />

เนื่องจากการเลือกตั้งนั้นต้องใช้เงินมาก การสนับสนุน<br />

ทางการเงินและเครือข่ายอุปถัมภ์จึงมีความสำคัญ<br />

อย่างยิ ่ง “คนใหญ่คนโต” เหล่านี้จึงกลายมาเป็นผู้มี<br />

อิทธิพลทางการเมืองในระดับท้องถิ่น สำหรับในระดับ<br />

ประเทศ “คนใหญ่คนโต” และพันธมิตรจากจังหวัดต่างๆ<br />

จะร่วมกันจัดตั้งพรรคการเมืองขนาดเล็ก บ้างก็รวมตัว<br />

กันเป็น กลุ่มก้อนภายในพรรคการเมือง เมื่อการเลือกตั้ง<br />

เสร็จสิ้นกลุ่มและพรรคเหล่านี้จะจับมือเป็นพันธมิตรกัน<br />

จัดตั้งรัฐบาลผสม เมื่อได้เป็นรัฐบาลแล้ว ก็คือโอกาส<br />

ตักตวงผลประโยชน์ด้วยการทุจริตคอรัปชั่นเพื่อชดเชย<br />

เงินที่เสียไปในการเลือกตั้ง ในความเห็นส่วนตัวของผู้<br />

เขียน ทำไมไม่บอกไปเลยว่าที่นั่งในรัฐบาลนั้นมีค่าเช่า<br />

เท่าไร นักการเมืองจะได้รู้ว่าต้องจ่ายค่าเก้าอี้เป็นเงิน<br />

เท่าไร<br />

that point on, the Thai economy became much more<br />

tightly linked to the international economy than before,<br />

and its vicissitudes throughout the 2000s reflected closely<br />

the ups and downs of the world economy.<br />

The exception to the pervasive political party influence<br />

was the Bank of Thailand which, after a period of demoralization<br />

following the debacle of 1997, was run by two<br />

exceptional governors in succession who reestablished<br />

the Bank as a de facto independent unit. On monetary<br />

policy, the Bank focused on inflation targeting. In 2000, it<br />

established a Monetary Policy Committee (MPC) to set the<br />

target and direct the policy. The MPC was first established<br />

by an order of the Governor and included as members<br />

outside independent experts as well as senior executives<br />

of the Bank. In 2007, the military-appointed National<br />

Legislative Assembly enacted a new Bank of Thailand Act,<br />

mandating inflation targeting as an objective of the Bank’s<br />

monetary policy, as well as making it de jure much more<br />

independent of the Finance Minister than before. 3<br />

The usefulness and credibility of the inflation-targeting<br />

ปัญหาของ “คนใหญ่คนโต” จากต่างจังหวัดเหล่านี้<br />

คือไม่มีใครใหญ่พอจะได้เสียงข้างมากในประเทศ และ<br />

จัดตั้งรัฐบาลได้เองโดยไม่ต้องร่วมมือกับ “คนใหญ่คนโต”<br />

กลุ่มอื่น ผลที ่ได้คือกลุ่มพันธมิตรที่เปลี่ยนหน้ากันไป<br />

เรื่อยๆ และรัฐบาลที่คิดถึงแต่ชัยชนะระดับท้องถิ่น<br />

(เพื่อสร้างถนน โรงพยาบาล และสนามบิน) แทน<br />

กลยุทธ์ชนะการเลือกตั้งระดับประเทศเพื่อให้ได้<br />

คะแนนเสียงมากพอจัดตั้งรัฐบาลและดำเนินการตาม<br />

แผนงานที่วางไว้ ก่อนยุคทักษิณอาจมีบางคนที่คิดทำ<br />

แบบนี้ แต่คนคนนั้นคงต้องร่ำรวยมหาศาลจึงจะคว้า<br />

ที่นั่ง ส.ส.ครึ่งประเทศได้<br />

รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ทำให้นายทักษิณมีโอกาส<br />

แทรกตัวเข้ามา รัฐธรรมนูญฉบับนี้มีหลายมาตราที่ช่วย<br />

ให้การได้เสียงข้างมากในประเทศเป็นไปได้ง่ายขึ้น เช่น<br />

กำหนดจำนวนส.ส.เขตละหนึ่งคนและผู้ที่ได้คะแนน<br />

สูงสุดเป็นผู้ได้รับการเลือกตั้ง เป็นที่รู้กันว่าระบบนี้เอื้อ<br />

ต่อการมีพรรคการเมืองใหญ่เพียงสองพรรค (ค็อกซ์<br />

2540) ในอดีตจนถึงตอนนี้นายทักษิณเป็นนักธุรกิจที่<br />

ร่ำรวยมากจากสัมปทานมือถือและดาวเทียม รวยพอจะ<br />

ซื้อตัวหรือชักชวนบรรดา “คนใหญ่คนโต” มาเป็นพวก<br />

policy remains to be tested, as inflation worldwide was<br />

low and oil prices stable until 2008.<br />

2. THE THAKSIN ERA<br />

2.1 The political consequences of the 1997 Constitution<br />

From its long history of undemocratic governments,<br />

the Thai state was somewhat monolithic, in the sense that,<br />

with the exception of the judiciary, all the organs of the<br />

state are subject to the Cabinet, with no checks and balances<br />

from within. At the same time, people outside the<br />

government had no recourse against abuse of power by<br />

state officials, as the judiciary tended to side with the state<br />

and offered little protection to citizens. With the departure<br />

of the military, the parliament-based Cabinet inherited that<br />

supreme power, and because possession of that power<br />

conferred substantial opportunity to profit, the contest to<br />

capture the Cabinet was fierce. However, the distribution<br />

of power within the parliament was quite diffuse, with no<br />

party able to command a majority on their own or to capture<br />

107


ไม่ใช่เท่านั้น นายทักษิณยังมีแนวทางการหาเสียงที่<br />

หลักแหลม ขณะที่นักการเมืองรุ่นเก่ามีแต่คำสัญญาใน<br />

ระดับท้องถิ่น ส่วนนโยบายระดับชาติล้วนแล้วแต่คลุมเครือ<br />

และไม่ชัดเจน นายทักษิณกลับชูนโยบายที่ชัดเจนและ<br />

จับต้องได้ เช่น 30 บาทรักษาทุกโรค การผ่อนผันหนี้<br />

จัดตั้งกองทุนหมู่บ้านละหนึ่งล้านบาท 4 ให้ชาวบ้านหยิบ<br />

ยืม ที่น่าขันคือเขาอดไม่ได้ที่จะสัญญาว่าจะกวาดล้าง<br />

การทุจริตคอรัปชั่นด้วย แต่ความน่าทึ่งอยู่ตรงที่<br />

นอกจากเรื่องนี้แล้วเขาทำตามนโยบายที่รับปากไว้ได้<br />

เกือบทุกข้อ จึงสมควรอยู่ที่เขาจะได้รับความนิยมจาก<br />

ประชาชนอย่างล้นหลาม นอกจากนโยบายที่เป็นรูป<br />

ธรรม เขายังเพิ่มสีสันด้วยกระแสความรักชาติ (ต่อต้าน<br />

ไอเอ็มเอฟ ต่อต้านบริษัทค้าปลีกต่างชาติยักษ์ใหญ่) ซึ่ง<br />

เป็นที่ถูกใจประชาชนคนหมู่มาก<br />

แต่กรอบรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ก็ตระหนักถึง<br />

อันตรายของรัฐบาลที่แข็งแกร่งจึงเพิ่มแนวทางป้องกัน<br />

ขึ้นมา นั่นคือองค์กรอิสระต่างๆ เพื่อทำหน้าที่ตรวจสอบ<br />

และถ่วงดุลอำนาจของคณะรัฐมนตรี คณะกรรมการ<br />

การเลือกตั้งจึงเป็นผู้จัดการเลือกตั้งแทนรัฐบาลซึ่งเคย<br />

ทำหน้าที่นี้ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต<br />

entirely the Cabinet, for the following reasons.<br />

In the rare intervals (1944–1947, 1975–1976, 1992–<br />

1997) when Thailand had had untrammeled parliamentary<br />

democracy, the majority of the National Assembly members<br />

were rural “big men,” who dominated their localities through<br />

their own patronage networks. Since elections cost<br />

money – a great deal of money sometimes – financial<br />

and patronage support was essential, rural “big men” came<br />

to dominate politics at the local level. At the national<br />

level, these “big men” and their allies from other provinces<br />

would typically come together to form loose political parties,<br />

sometimes factions within political parties. After a general<br />

election, a number of these parties would come together<br />

to form a coalition, which would then capture the<br />

government. After capturing the government,they would<br />

reap the benefits through corruption to recoup the costs<br />

of the election. Alternatively, a better model, in my view,<br />

is to state that the expected rents from being in government<br />

determined the cost that politicians were willing to spend<br />

to capture the office.<br />

แห่งชาติมีอำนาจมากขึ้นในการสืบสวนคดีความทุจริต<br />

และยื่นฟ้องต่อศาล นอกจากนั้นยังจัดตั้งศาลปกครอง<br />

เพื่อคุ้มครองประชาชนจากการใช้อ ำนาจหน้าที่โดยมิชอบ<br />

ของเจ้าหน้าที่รัฐ<br />

ในการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544<br />

พรรคของนายทักษิณกวาดคะแนนเสียงไป 248 จาก<br />

500 ที่นั่งในสภา เมื่อบวกกับจำนวน ส.ส. จากพรรค<br />

พันธมิตร ทำให้เขาได้คะแนนเสียงส่วนใหญ่และสามารถ<br />

จัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได้สำเร็จ หลังจากได้ผลประโยชน์<br />

จากรัฐธรรมนูญใหม่ เขากลับพยายามทำลายส่วนที่<br />

เหลือของรัฐธรรมนูญด้วยการติดสินบนองค์กรอิสระ<br />

ต่างๆ ที่ก่อตั้งขึ้นมาควบคุมการใช้อำนาจของรัฐบาล<br />

2.2 ยุทธศาสตร์การพัฒนาแบบทวิวิถีของนายทักษิณ<br />

นายทักษิณมองว่าตนเป็นผู้มี “วิสัยทัศน์” ไม่เหมือน<br />

นักการเมืองทั่วไป หลังจากรับตำแหน่งได้สามเดือน<br />

เขาได้กล่าวสุนทรพจน์กับคณะกรรมการเศรษฐกิจและ<br />

สังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (ESCAP) (ทักษิณ, 2544)<br />

โดยนายทักษิณแสดงความไม่เห็นด้วยที่ประเทศใน<br />

เอเชียตะวันออกเอาการเติบโตของเศรษฐกิจไปผูกติด<br />

The problem with these rural “bigmen” was that none<br />

of them was big enough to have the chance of capturing<br />

the majority in the country, and hence the government,<br />

without entering into a coalition with other “big men.”<br />

The result was a constant turnover of players in shifting<br />

coalitions, and governments with policies that focused on<br />

winning votes in particular localities (such as rural roads,<br />

hospitals, and airports), rather than a national vote-winning<br />

strategy to capture enough votes across the country to<br />

capture the government and implement the said strategy.<br />

Before Thaksin, there could have been individuals who<br />

adopted this strategy, but they had to be extremely wealthy<br />

to be sure of capturing at least half the country.<br />

With the 1997 Constitution in place, the way was open<br />

for Thaksin to enter the fray. The Constitution had a number<br />

of features which would lower the cost of capturing a<br />

majority in the country, such as the first-past-the-post<br />

system in a single-member constituency. It is well-known<br />

that such a system tends to favor politics dominated by<br />

two large parties (Cox, 1997). Thaksin was and still is an<br />

108


กับการส่งออกมากเกินไป และเสนอให้ประเทศไทยหัน<br />

มาพัฒนาเศรษฐกิจให้แข็งแกร่งจากภายใน โดยเห็นว่า<br />

ผู้ประกอบการขนาดเล็กและขนาดกลาง (SME) จะมี<br />

บทบาทสำคัญในโครงสร้างเศรษฐกิจแบบใหม่ บวกกับ<br />

แนวนโยบายที่เน้นเรื่องตลาดในประเทศ นายทักษิณจึง<br />

เสนอว่าประเทศต่างๆ ในเอเชียไม่เพียงแต่ประเทศไทย<br />

ควรกระตุ้นความต้องการภายในประเทศด้วยมาตรการ<br />

หลากหลาย โดยเน้นไปที่รากหญ้า<br />

หากข้อเสนอนี้ถูกน ำมาปฏิบัติจริง ก็เท่ากับรื้อนโยบาย<br />

การค้าเสรีที่ประเทศไทยดำเนินการมาหลายสิบปีใหม่<br />

หมด ไม่น่าแปลกใจที ่นักวิเคราะห์ในต่างประเทศ<br />

ตีความสุนทรพจน์ครั้งนี้ว่าไปในทิศทางเดียวกับแนวคิด<br />

ชาตินิยมที่พรรคไทยรักไทยใช้ในการหาเสียง และพา<br />

กันตื่นตระหนกว่าเขากำลังคิดจะคว่ำแนวทางเดิมจริงๆ<br />

หลังจากรับรู้ความหวั่นใจนี้ รัฐบาลจึงเริ่มถอย และ<br />

ยุทธศาสตร์การพัฒนาแบบทวิวิถีจึงเกิดขึ้น (ศ. ผาสุก<br />

และเบเกอร์, 2547 : 121-124)<br />

สิ่งแรกที่ต้องกำจัดทิ ้งคือแนวคิดสุดโต่งที่ให้หันหา<br />

ตลาดในประเทศ เพราะรูปแบบการเติบโตที่ผูกติดกับ<br />

การส่งออกของประเทศในเอเชียตะวันออกนั้นใช้ไม่ได้<br />

extremely wealthy individual, having made his money by<br />

obtaining the mobile-phone and satellite concessions. He<br />

was certainly wealthy enough to be able to buy out the<br />

large numbers of traditional “big men,” or co-opt them.<br />

But Thaksin also ran a brilliant election campaign.<br />

Unlike traditional politicians who made only local promises<br />

and, where national policies are concerned, made vague<br />

and general promises, Thaksin made specific and precise<br />

promises: you pay 30 baht ($0.67) and you will get treatment<br />

for every disease; there will be a debt moratorium; and<br />

every village will get a grant of 1 million baht ($22,500) 4 to<br />

set up a fund to be loaned to the householders in the village.<br />

Ironically, he could not resist a promise to remove corruption<br />

also. But the most remarkable thing was that, except for<br />

the removal of corruption, he kept most of the promises<br />

that he made. This earned him considerable and<br />

well-deserved popularity. Spicing up these concrete policies<br />

with a generally nationalist tone (anti-IMF, anti-foreignretail-giants)<br />

did his cause no harm.<br />

But the framers of the 1997 Constitution were also<br />

กับยุคสมัยอีกแล้ว เนื่องจากรู้ดีว่าการส่งออกเป็นปัจจัย<br />

หลักที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของไทยได้ชัดเจนที่สุด รัฐบาล<br />

จึงอ้างว่านโยบายในประเทศที่เคยเน้นย้ำในการหาเสียง<br />

และในสุนทรพจน์ ESCAP นั้นต้องดำเนินควบคู่ไปกับ<br />

ยุทธศาสตร์การค้าเสรีกับประเทศอื่นและยังคงเปิดประตู<br />

ให้ต่างชาติเข้ามาลงทุนเช่นเดิม รัฐบาลแสดงความเชื่อ<br />

มั่นในยุทธศาสตร์นี้มากจนเซ็นสัญญาการค้าเสรีถึงหก<br />

ฉบับระหว่างที่ดำรงตำแหน่งสองสมัย อีกทั้งยังล้มเลิก<br />

แผนจำกัดการขยายสาขาของร้านค้าปลีกต่างชาติ ซึ่ง<br />

เป็นนโยบายที่เคยใช้หาเสียงและน่าจะได้รับการสนับสนุน<br />

จากกลุ่มผู้ประกอบการรายใหญ่ในประเทศที่อยู่ในธุรกิจนี้<br />

ถึงกระนั้น ในช่วงสองปีแรก รัฐบาลทักษิณก็ยังคง<br />

เดินหน้าตามนโยบายกระตุ้นตลาดในประเทศด้วย<br />

มาตรการประชานิยมต่างๆ ที่เคยสัญญาไว้ตอนหาเสียง<br />

2.3 รักษาสัญญา นโยบายประชานิยมของทักษิณ<br />

นายทักษิณสัญญากับมหาชนไว้มากมายตอนหา<br />

เสียง และเขาก็รักษาสัญญาหลักๆ ที่ช่วยให้เขาชนะการ<br />

เลือกตั้งไว้ได้ (รายการตามแผนผังที่ 1) ท่ามกลางเสียง<br />

วิพากษ์วิจารณ์เรื่องความสิ้นเปลืองงบประมาณ เพื่อ<br />

aware of the dangers of a strong government, and had<br />

introduced a number of independent agencies – an<br />

innovation with this Constitution – to act as checks and<br />

balances to the power of the Cabinet. Thus, the Electoral<br />

Commission runs all elections, whereas before the sitting<br />

government would conduct the elections; the National<br />

Anti-Corruption Commission now had much broadened<br />

powers to investigate corruption cases, and bring them to<br />

court; and an administrative court system was set up to<br />

protect individuals from abuses of power by officials of<br />

the state.<br />

In the general election of January 6, 2001, Thaksin’s<br />

party won 248 out of the 500 seats in the lower house of<br />

Parliament, which he converted into an absolute majority<br />

by buying out and merging with other allied parties, giving<br />

Thailand its first elected one-party government ever. After<br />

reaping this benefit conferred by the new Constitution,<br />

Thaksin proceeded over the next few years to destroy the<br />

other half of the Constitution by suborning the independence<br />

of the various agencies that were created to limit the use<br />

109


ตาราง 1 ค่าใช้จ่ายและแหล่งที่มาของเงินในโครงการของนายทักษิณ<br />

โครงการ ปี ค่าใช้จ่าย<br />

(พันล้าน<br />

บาท)<br />

1 โครงการประกันสุขภาพ<br />

ถ้วนหน้า (ประกันสุขภาพ<br />

ให้ลูกจ้างบริษัทเอกชน<br />

ที่ไม่มีประกันสังคม<br />

และเพิ่มสวัสดิการให้<br />

ข้าราชการ รวมจำนวน<br />

ทั้งสิ้น 46-48 ล้านคน<br />

2002<br />

2003<br />

2004<br />

2005<br />

2006<br />

…<br />

2010<br />

27.6<br />

30.5<br />

33.6<br />

40.9<br />

54.4<br />

…<br />

89.4<br />

ดอลลาร์<br />

($) (ล้าน)<br />

641.80<br />

734.40<br />

834.37<br />

1015.65<br />

1434.27<br />

2767.33<br />

แหล่งที่มาของเงินทุน ผลศึกษา<br />

การประเมินโครงการ<br />

เงินงบประมาณ อัญชนาและวิโรจน์ (2550)<br />

ชี้ให้เห็นว่าภาระค่าใช้จ่าย<br />

เรื่องสุขภาพของคนจนหมด<br />

สิ้นไปโดยสิ้นเชิง และ 1%<br />

ของจำนวนประชากรจะข้าม<br />

ไปอยู่ในข่ายคนจน และ<br />

ทำให้จำนวนคนจนเพิ่มเป็น<br />

10% ของประชากรทั้งหมด<br />

2 โครงการพักชำระหนี้<br />

เกษตรกร (เกษตรกร<br />

ไม่ต้องชำระหนี้เป็น<br />

การชั่วคราวให้ธนาคาร<br />

เพื่อการเกษตรและ<br />

สหกรณ์การเกษตร (ธกส.)<br />

และได้รับการยกเว้น<br />

ดอกเบี้ยในช่วงระยะเวลานั้น<br />

2001<br />

-<br />

2003<br />

15.3 355.78 ธกส.รับภาระหนี้<br />

ไว้ในงบดุลตลอด<br />

ระยะเวลาการพักหนี้<br />

จำนวนเงินนี้คือ<br />

ดอกเบี้ยที่ยกเว้นให้<br />

เกษตรกร<br />

ในช่วงระยะเวลานั้น<br />

ซึ่งรัฐบาลใช้เงินงบ<br />

ประมาณจ่ายให้กับ<br />

ธกส.<br />

จุดประสงค์คือสร้างอำนาจ<br />

ซื้อในระบบเศรษฐกิจ<br />

แต่สุชานันท์ (2547)<br />

ชี้ให้เห็นว่าไม่มีผลกับ<br />

การบริโภค อีกทั้งยังส่งผล<br />

เสียต่อการลงทุน เพราะ<br />

เกษตรกรที่เข้าโครงการ<br />

ไม่สามารถกู้ยืมเงินได้อยู่ดี<br />

3 กองทุนหมู่บ้าน<br />

หนึ่งล้านบาท<br />

(ทุกหมู่บ้านได้รับเงิน<br />

สนับสนุนหนึ่งล้านบาท<br />

ในปี 2544 สำหรับให้<br />

ชาวบ้านกู้ยืมตามกฎของ<br />

กรรมการหมู่บ้าน)<br />

2001 69.6 1564.85 เงินที่จ่ายให้กับ<br />

หมู่บ้านนั้นกู้ยืมมา<br />

จากธนาคารออมสิน<br />

จึงถือเป็นเงินนอกงบ<br />

ประมาณ โดยทยอย<br />

ใช้เงินด้วยเงินงบ<br />

ประมาณเป็นระยะ<br />

เวลา 8 ปี<br />

วรวรรณและบวรพันธุ์<br />

(2551) ชี้ให้เห็นว่า<br />

โครงการนี้ไม่มีผลต่อรายได้<br />

การใช้จ่าย หรือระดับ<br />

ความยากจน<br />

4 โครงการโอท็อป<br />

(หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์<br />

แต่ละตำบลจะผลิตภัณฑ์<br />

เด่นของตัวเอง<br />

โดยรัฐบาลช่วย<br />

ทำการตลาดให้)<br />

2003<br />

2004<br />

2005<br />

2006<br />

0.7<br />

1.3<br />

0.7<br />

1.0<br />

16.86<br />

32.28<br />

17.38<br />

26.37<br />

เงินงบประมาณ<br />

ที่มา: ข้อ 1: สำนักงบประมาณ; ข้อ 2: ธ.ก.ส.; ข้อ 3: ธนาคารออมสิน; ข้อ 4: สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม<br />

(สสว.) กระทรวงอุตสาหกรรม การแปลงค่าเงินบาทเป็นดอลลาร์สหรัฐ ตามอัตราแลกเปลี่ยนปัจจุบัน<br />

110


Table 1 Costs of Thaksin’s programs and their financing<br />

Program Year Cost<br />

(billion<br />

baht)<br />

$<br />

(million)<br />

Method of financing<br />

Evaluative studies<br />

1 Universal Health Care<br />

Program (extends health<br />

insurance to those not<br />

covered by social<br />

insurance for private<br />

sector employees and<br />

by civil servants’<br />

benefit scheme, covers<br />

a total of 46–48 million<br />

people)<br />

2002<br />

2003<br />

2004<br />

2005<br />

2006<br />

…<br />

2010<br />

27.6<br />

30.5<br />

33.6<br />

40.9<br />

54.4<br />

…<br />

89.4<br />

641.80<br />

734.40<br />

834.37<br />

1015.65<br />

1434.27<br />

2767.33<br />

Budget<br />

Anchana and Viroj<br />

(2007) show that<br />

the burden of healthcare<br />

cost for the poor is<br />

entirely eliminated.<br />

For the near-poor,<br />

without the scheme, 1%<br />

of the total population<br />

would cross over to<br />

the poor, or the poor<br />

population would<br />

increase by 10%.<br />

2 Agricultural Debt<br />

Moratorium (Farmers<br />

are excused from<br />

repaying their<br />

borrowings from Bank<br />

for Agriculture and<br />

Agricultural<br />

Cooperatives (BAAC)<br />

for three years, and<br />

from paying interest<br />

during the period.)<br />

2001<br />

-<br />

2003<br />

15.3 355.78 The debt stayed on<br />

the BAAC’s<br />

balance sheet for<br />

the duration of the<br />

moratorium.<br />

The amount shown<br />

here was the interest<br />

cost waived to the<br />

farmers during the<br />

moratorium, which<br />

was paid out of<br />

the budget to<br />

the BAAC.<br />

The objective was to<br />

inject substantial<br />

purchasing power into<br />

the economy. Suchanan<br />

(2004) shows that there<br />

was no impact on<br />

consumption, and<br />

a negative impact on<br />

investment, because<br />

farmers opting to be in<br />

the program could not<br />

take out loans.<br />

3 One-million-baht-pervillage<br />

Fund (Each<br />

village got a one-time<br />

grant of one million<br />

baht in 2001, which<br />

could be used to extend<br />

credit to villagers<br />

according to the rules<br />

set up by the village<br />

committee.)<br />

2001 69.6 1564.85 The amount paid<br />

out to the villages in<br />

2001 was borrowed<br />

from the Government<br />

Savings Bank and,<br />

therefore, was<br />

off-budget. This<br />

loan was repaid out<br />

of the budget over<br />

the next 8 years.<br />

Worawan and Bawornpan<br />

(2008) show no impact<br />

on income, expenditure,<br />

or poverty.<br />

4 OTOP Program (One<br />

tambon (=commune)<br />

one product scheme.<br />

Promotes the<br />

production of a product<br />

from each tambon.<br />

Government contributes<br />

marketing promotion.)<br />

2003<br />

2004<br />

2005<br />

2006<br />

0.7<br />

1.3<br />

0.7<br />

1.0<br />

16.86<br />

32.28<br />

17.38<br />

26.37<br />

Budget<br />

Sources: Item 1: Budget Bureau; Item 2: BAAC; Item 3: Government Savings Bank: Item 4: Small and Medium<br />

Enterprise Promotion Bureau, Ministry of Industry. Baht converted to dollars at current exchange rates.<br />

111


ระงับเสียงวิจารณ์ เขาใช้กลวิธีหลายอย่างทำให้งบ<br />

ประมาณดูไม่แย่จนเกินไป นั่นคือท ำอย่างไรก็ได้ให้ตัวเลข<br />

งบประมาณกับหนี้ของประเทศดูสมดุลกัน (ตาราง 1)<br />

เมื่อดูแต่ละนโยบายในตารางที่หนึ่งแล้ว จะเห็นว่าลูก<br />

เล่นนี้ได้ผล ในการดำเนินนโยบายประกันสุขภาพ<br />

ถ้วนหน้า เขารีบใช้ตัวเลขประเมินต่ำสุดที่กระทรวง<br />

สาธารณสุขแจ้งมา 5 ส่วนที่ขาดนั้นใช้เงินสำรองของโรง<br />

พยาบาลรัฐ ซึ่งเพียงพอในช่วงสองสามปีแรก เมื่อเงิน<br />

สำรองเริ่มร่อยหรอ และผู้บริหารโรงพยาบาลเริ่มส่ง<br />

เสียงคัดค้าน รัฐบาลก็จัดสรรงบประมาณเพิ่มให้<br />

ทีละน้อยแต่ก็ยังไม่พอจนถึงปีสุดท้ายของรัฐบาล<br />

ทักษิณ สิ่งที่เกิดขึ้นคือประเมินค่าใช้จ่ายเบื้องต้นให้ต่ำ<br />

เกินจริง ขณะที่ค่าใช้จ่ายแท้จริงนั้นใช้การดึงเงินสำรอง<br />

(นอกงบประมาณ) ของโรงพยาบาลรัฐมาโปะ เช่น<br />

เดียวกัน ค่าใช้จ่ายเบื้องต้นของกองทุนหมู่บ้านนั้นกู้ยืม<br />

มาจากธนาคารออมสินในลักษณะที่น่าสงสัยว่า<br />

ถูกกฎหมายหรือไม่6 เพราะไม่มีการบันทึกว่าเป็น<br />

ตัวเลขขาดดุลงบประมาณหรือหนี้สินของรัฐบาล<br />

บางคนอาจแก้ต่างว่ากลวิธีเหล่านี้เป็นเครื่องมือใน<br />

การเกลี่ยค่าใช้จ่าย แต่รัฐบาลทักษิณใช้วิธียักย้าย<br />

of excessive power by governments.<br />

2.2 Thaksin’s dual-track strategy<br />

Thaksin fancies himself as a man of “vision,” unlike<br />

other Thai politicians. Three months after he assumed<br />

office, he gave a speech at the UN Economic and Social<br />

Commission for Asia and the Pacific (ESCAP) (Thaksin,<br />

2001). In that speech, Thaksin expressed deep skepticism<br />

against the standard East Asian model of basing economic<br />

growth on exports, and proposed that Thailand turn inward<br />

and build from its inner strengths, focusing on the role that<br />

small- and medium-scale enterprises (SMEs) could play<br />

in a restructured economy. Matching this domestic supply<br />

emphasis, Thaksin also proposed that Asian countries, not<br />

just Thailand, should build up their domestic demand by<br />

various stimulative measures, focusing on the grassroots.<br />

This proposal, if implemented, would be nothing less<br />

than a complete reversal of the policy of open trade that<br />

Thailand had implemented for decades.Not surprisingly,<br />

foreign analysts read this speech in conjunction with the<br />

งบประมาณส่วนเกินเข้าสู่งบดุลของรัฐบ่อยจนเคยตัว<br />

เพราะนโยบายประชานิยมของระบอบทักษิณต้องใช้เงิน<br />

มหาศาล มากเกินรายได้ของรัฐบาล และยังแทบไม่เคย<br />

มีการบันทึกไว้ว่าเป็นการกู้ยืมของรัฐบาลเหมือนกับ<br />

กรณีกองทุนหมู่บ้าน สินเชื่อจ ำนวนมากเป็นการปล่อยกู้<br />

ให้รัฐวิสาหกิจหรือบริษัทเอกชน และกลายเป็นหนี้ที่ไม่<br />

ก่อให้เกิดรายได้หลังจากนั้นไม่นาน ตัวอย่างเช่น<br />

โครงการสนับสนุน SME ในตารางกล่าวถึงโครงการโอ<br />

ท็อป ซึ่งชักชวนให้เจ็ดพันกว่าตำบลทั ่วประเทศผลิต<br />

สินค้าขึ้นมาตำบลละหนึ่งอย่าง โดยรัฐบาลจะช่วย<br />

ทำการตลาดให้ เช่นมีการออกร้านและงานแสดงสินค้า<br />

ต่างๆ ถึงแม้โครงการนี้จะใช้งบไม่สูงนัก แต่รัฐบาลได้ส่ง<br />

เสริมให้ธนาคารพาณิชย์ โดยเฉพาะธนาคารของรัฐปล่อย<br />

สินเชื่อให้ SME และยังมีการตั้งธนาคารเฉพาะกิจขึ้น<br />

มาสำหรับการนี้ใน พ.ศ. 2546 นั่นคือธนาคารพัฒนา<br />

วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย<br />

(SME Bank) สามปีผ่านไป ยอดสินเชื่อรวมของ<br />

ธนาคาร SME คือ 44,300 ล้านบาท ในช่วงที่รัฐบาล<br />

ทักษิณบริหารประเทศ ปริมาณหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้<br />

(NPL) ผันผวนอยู่ที่ประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ของยอด<br />

nationalist noises that Thaksin and his party made during<br />

the election and became alarmed that such a reversal was<br />

being seriously contemplated. Becoming aware of this,<br />

the government began to backtrack. Thus was born the<br />

“dual-track strategy.” (Pasuk & Baker, 2004; pp. 121–124).<br />

First to be jettisoned was the radical idea that Thailand<br />

had to turn inward because the East Asian export-based<br />

growth model was obsolete. Realizing that exports provided<br />

the only visible dynamic element in Thailand’s economic<br />

growth, the government claimed that its domestic policies<br />

on which it had laid so much emphasis during the elections<br />

and in Thaksin’s ESCAP speech were to be pursued in<br />

tandem with an externally oriented strategy of free trade<br />

and a continuation of the open door for foreign investors.<br />

Indeed so enthused about this leg of the strategy did the<br />

government become that it signed no less than six free<br />

trade area agreements during its two terms. It also shelved<br />

plans to restrict the expansion of foreign retail stores, a<br />

policy on which it campaigned on during the election and<br />

which would have garnered support from a very large<br />

112


่<br />

หนี้ทั้งหมด ในรายงานประจำปี 2549 ที่จัดทำหลังจาก<br />

รัฐบาลทักษิณลงจากอำนาจแล้ว สัดส่วน NPL พุ่งขึ้น<br />

เป็น 44 เปอร์เซ็นต์หลังจากใช้นิยาม NPL ใหม่จาก<br />

ธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งยอดขาดทุนนี้ยังไม่ได้รับ<br />

การบันทึกเป็นภาระการคลังของประเทศแต่อย่างใด<br />

2.4 การหยอดน้ำมันหล่อลื่นให้เครื่องยนต์ทางการเมือง<br />

ในด้านหนึ่งนายทักษิณปฏิวัติการเมืองไทย แต่อีก<br />

ด้านหนึ่งเขายังต้องดูแลนักการเมืองรุ่นเก่า นั่นคือคน<br />

ใหญ่คนโตในต่างจังหวัดที่เป็นฐานคะแนนสำคัญให้กับ<br />

รัฐบาลของเขา เขาจึงจัดตั้งโครงการต่างๆ นานาที<br />

ผ่องถ่ายเงินงบประมาณไปหล่อเลี้ยงเครื่องยนต์เหล่านี้<br />

ตัวอย่างเช่นโครงการแทรกแซงราคาพืชผลการเกษตร ที่<br />

ใช้เงินจำนวนมหาศาล (แน่นอนว่าเป็นเงินนอกงบ<br />

ประมาณ) วิธีการคือเพิ่มราคาด้วยการเก็บตุนข้าว<br />

ปริมาณมาก บรรดาโรงสีและพ่อค้าคนกลางเต็มใจเข้า<br />

ร่วมโครงการเพราะรัฐบาลจ่ายค่าสีข้าวและเก็บรักษาข้าว<br />

สูงกว่าราคาตลาด แล้วใช้วิธีผ่องถ่ายเงินด้วยการ<br />

ยักยอกสินค้า (เช่นเปลี่ยนข้าวคุณภาพดีของรัฐบาลใน<br />

โกดังของตนเป็นข้าวคุณภาพต่ ำ) ชื่อเสียงของประเทศไทย<br />

group of SMEs engaged in this sector.<br />

However, in its first 2 years in power, the Thaksin<br />

government proceeded with the policy of stimulating<br />

domestic demand by a series of populist policies, which<br />

it had promised during the elections.<br />

2.3 Keeping promises: Thaksin’s populist policies<br />

Having promised the world in the election, Thaksin<br />

kept most of the key promises which won him the election<br />

(listed in Table 1) despite criticisms of their excessive<br />

fiscal costs. To fend off these criticisms, he deployed many<br />

stratagems to maintain the appearance of fiscal<br />

con-servatism. The headline figures for the budget and<br />

the national debt were not allowed to balloon out of<br />

proportion (see Figure 1). Looking at each of the policies<br />

listed in Table 1, one can see this tactic at work. Thus, in<br />

implementing the universal health-care scheme, he<br />

promptly accepted a very low cost estimate from the<br />

Ministry of Public Health. 5 The shortfall in funding was met<br />

by drawing down on the reserves accumulated in the<br />

เรื่องข้าวคุณภาพดีจึงตกต ่ำลงเพราะข้าวในสต็อกของ<br />

รัฐบาลเริ่มส่งออกมากขึ้นเรื่อยๆ แต่เป้าหมายหลักของ<br />

ทักษิณอยู่ที่คะแนนเสียงจากชาวนาและการสนับสนุน<br />

จากเจ้าของโรงสีและเจ้าของโกดังข้าวซึ่งอยู่ในกลุ่มผู้มี<br />

อันจะกินตามต่างจังหวัดที่สามารถเป็นฐานคะแนน<br />

เสียงสำคัญให้เขาได้ (นิพนธ์และจิตรกร, 2553) ประเมิน<br />

ว่ารัฐบาลใช้เงินในฤดูแล้ง พ.ศ. 2552 ไปที่ 19,100 ล้าน<br />

บาท ค่าเช่าโกดังอีก 15,900 ล้านบาท เพียงแค่ 44.7<br />

เปอร์เซ็นต์เท่านั้นที่ไปถึงมือชาวนา ซึ่งส่วนมากเป็น<br />

ชาวนารายใหญ่ ที่เหลือตกหล่นตามขั้นตอนต่างๆ นั่น<br />

คือ 21.6 เปอร์เซ็นต์กับโรงสี 5.0 เปอร์เซ็นต์กับโกดัง<br />

ที่เหลือ 28.1 เปอร์เซ็นต์กับการส่งออก โดยเงินที่หายไป<br />

ถูกแบ่งสรรปันส่วนกันในหมู่นักแสดงตัวเอก (โรงสี ผู้<br />

ส่งออก และอื่นๆ) นักการเมือง และข้าราชการ นี่เป็น<br />

ตัวเลขประมาณการหนึ่งปีสำหรับพืชผลรองเท่านั้น แต่<br />

ทักษิณทำโครงการนี้กับทั้งพืชผลหลักและพืชผลรองเป็น<br />

เวลาถึงสี่ปี และยังลามไปถึงพืชผลการเกษตรชนิดอื่น<br />

เช่นข้าวโพด มันสำปะหลัง นม และแม้แต่ผลไม้ที่เน่า<br />

เสียง่าย (ลำไย) ทั้งหมดนี้สร้างรายได้เป็นกอบเป็นกำให้<br />

นักการเมืองท้องถิ่นจำนวนมาก 7<br />

public hospitals, which were enough for the first few years.<br />

As the reserves in the hospitals declined, and their directors<br />

complained loudly, the government increased the budget<br />

allocation, a little at a time. Funding remained insufficient<br />

until the last year Thaksin remained in power. Thus, what<br />

one observes is a low up-front cost for the budget, with<br />

the real costs being financed by drawing down the (offbudget)<br />

reserves in the hands of the hospitals.<br />

Similarly, the large up-front cost of the village fund was<br />

financed by borrowing from the Government Savings Bank,<br />

in a move of doubtful legality. 6 This borrowing was included<br />

neither in its budget deficit nor in the government debt.<br />

The use of the stratagems such as those described<br />

may be defensible as expendituresmoothing devices.<br />

However, offloading extrabudgetary items onto the state<br />

banks’ balance sheets, in particular, became a habit with<br />

the Thaksin government, as the regime’s appetite for cash<br />

to finance its unending stream of populist projects outgrew<br />

the government’s revenue. Such offloading was very rarely<br />

in the form of explicit loans to the government, as was the<br />

113


แต่การทุจริตภายในรัฐบาลทักษิณก็ใช่จะไม่มี จาก<br />

ข้อมูลของคณะกรรมการป้องกันการทุจริตแห่งชาติ พบ<br />

การประพฤติมิชอบทั้งหมด 9 คดี จำนวน 2 ในนั้นที่<br />

เกี่ยวข้องกับนายทักษิณโดยตรงมีผลการตัดสินออกมา<br />

แล้ว นั่นคือคดีขายที่ดินจากธนาคารแห่งประเทศไทย<br />

ให้กับนางพจมาน ชินวัตร ซึ่งนายทักษิณถูกตัดสินจำคุก<br />

2 ปีในข้อหามีผลประโยชน์ทับซ้อน แต่นายทักษิณได้<br />

หนีออกนอกประเทศไป อีกคดีคือข้อหาร่ำรวยผิดปกติ<br />

ศาลได้พิจารณาการกระทำของนายทักษิณระหว่างที่ด ำรง<br />

ตำแหน่ง และตัดสินใจยึดทรัพย์สินมูลค่า 46,000 ล้าน<br />

บาท ในคดีที่สาม ตัวนายทักษิณไม่ได้เป็นผู้ถูกกล่าวหา<br />

แต่รัฐมนตรีช่วยและข้าราชการระดับสูงสองรายในกระทรวง<br />

การคลังถูกกล่าวหาว่าทำผิดกฎหมายในคดีหวยบนดิน<br />

และถูกตัดสินจำคุก อีก 6 คดีที่ยังค้างอยู่นั้นไม่อาจด ำเนิน<br />

การต่อได้เพราะตัวนายทักษิณผู้เป็นจำเลยได้หลบหนี<br />

ตามกฎหมายนั้น ศาลไม่อาจพิจารณาคดีหากจ ำเลยไม่อยู่<br />

2.5 การตกจากอำนาจของทักษิณ<br />

ทั้งที่มีการทุจริตอย่างกว้างขวาง แต่ในการเลือกตั้ง<br />

ทั่วไปเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 พรรคไทยรักไทยก็<br />

case with the Village Fund Project included in Table 1.Many<br />

were loans to public enterprises or private firms that soon<br />

became nonperforming.An example is the government’s<br />

program to promote SMEs. Listed in Table 1 is the OTOP<br />

Program, which induced each of the country’s 7000-odd<br />

tambons (communes) to come up with one product which<br />

the government would help to market, by means of fairs,<br />

exhibitions, and the like. The on-budget cost of this program<br />

was quite small. But at the same time, the government<br />

also encouraged commercial banks, particularly stateowned<br />

ones, to give loans to SMEs and set up a new<br />

specialized bank, the SME Bank, in 2003.After 3 years,<br />

this new bank’s loan portfolio stabilized at 44.3 billion baht<br />

($1.17 billion). During the time that Thaksin remained in<br />

power, the reported nonperforming loans (NPLs) fluctuated<br />

at around 20% of its total loans. The annual report for<br />

2006, which was prepared after Thaksin fell from power,<br />

showed a sudden spurt in the NPL ratio to 44%, because<br />

it adopted the new definition of NPLs used by the Bank of<br />

Thailand. These losses have not yet been fiscalized.<br />

ยังคว้าชัยชนะอย่างท่วมท้น ด้วยคะแนนเสียง 375 จาก<br />

500 ที่นั่ง เมื่อเทียบกับ 248 ที่นั่งใน พ.ศ. 2544 นั่น<br />

คือจุดเริ่มต้นของการเสื่อมอำนาจของทักษิณ ด้วยคน<br />

สำคัญหลายคนเชื่อว่าประเทศไทยกำลังก้าวไปสู่การ<br />

เป็นรัฐเผด็จการภายใต้ระบอบทักษิณ<br />

คนแรกที่เริ่มยิงกระสุนใส่นายทักษิณนั้นอยู่เหนือ<br />

ความคาดคิดของหลายฝ่ายนั่นคือ สนธิ ลิ้มทองกุล<br />

เจ้าของหนังสือพิมพ์และสถานีโทรทัศน์ดาวเทียมผู้เป็น<br />

อดีตเพื่อนสนิทของนายทักษิณ ในระยะแรก นายสนธิ<br />

เริ่มโจมตีการทุจริตในรัฐบาลทักษิณออกรายการโทรทัศน์<br />

ของเขาที่ได้เวลามาด้วยความสนิทสนมส่วนตัวกับนาย<br />

ทักษิณ เมื่อโจมตีบ่อยครั้งเข้าและรายการถูกถอด เขา<br />

ก็เปลี่ยนสถานที่ไปเป็นทุกเย็นวันศุกร์ที่สวนสาธารณะ<br />

จากนั้นเป็นมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยมีคนเข้าร่วม<br />

ฟังมากขึ้นเรื่อยๆ<br />

อันที่จริงถ้าปล่อยไป โชว์ของนายสนธิน่าจะสร่าง<br />

ซาไปเอง แต่นายทักษิณกลับมอบโอกาสทองให้ โดย<br />

ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2549 จู่ๆ เขาก็ประกาศว่าจะ<br />

ขายบริษัทชินคอร์ปอเรชั่นซึ่งเป็นหัวใจหลักใน<br />

อาณาจักรธุรกิจของเขา และเป็นบริษัทที่ถือครอง<br />

2.4 Oiling the political machine<br />

Thaksin revolutionized Thai politics, but he still had to<br />

provide for the old politicians – the rural big men, who<br />

provided key parliamentary support for his government.<br />

To do that he had many schemes from which much public<br />

money was siphoned off to support his machine. An example<br />

is his agricultural price support scheme, on which the<br />

government spent a great deal of money (off-budget,<br />

naturally). The policy was briefly to jack up the price by<br />

putting a great deal of rice in storage. In engaging in this<br />

exercise, Thaksin garnered the support of millers and<br />

other middlemen in the rice business, by paying well above<br />

cost-price for the milling and the warehousing costs of the<br />

rice that passed through government hands and was put<br />

into storage. They then supplemented the government’s<br />

generosity by siphoning money additionally through<br />

peculation (e.g. by replacing highquality government rice<br />

entrusted in their care with low-quality rice). The reputation<br />

which Thailand used to have for quality rice began to<br />

subside as more and more rice that was exported came<br />

114


สัมปทานโทรศัพท์มือถือ อีกทั้งยังเป็นเจ้าของ<br />

บริษัทลูกอย่าง ชิน แซทเทิลไลท์ที่ถือครองสัมปทาน<br />

ดาวเทียมอีกด้วย นายทักษิณและครอบครัวได้เงินจาก<br />

การขายบริษัทครั้งนี้ 72,000 ล้านบาทโดยไม่มีการ<br />

เสียภาษี ลำพังแค่ขายคลื่นดาวเทียมของประเทศให้<br />

บริษัทต่างชาติก็ถือว่าเลวร้ายมากแล้ว เพราะคลื่น<br />

ดาวเทียมนั้นถือเป็นสมบัติของชาติ แต่การจงใจเลี่ยงภาษี<br />

ทั้งที่มีการดำเนินธุรกรรมต่างๆ มากมายระหว่างภรรยา<br />

และลูกๆ ของเขากับบริษัทปลอมในหมู่เกาะบริติชเวอร์<br />

จินส์นั้นต่างหากที่ทำให้คนจำนวนมากโกรธเคือง<br />

ผู้ร่วมฟังการอภิปรายของนายสนธิเพิ่มจำนวนขึ้น<br />

เรื่อยๆ เขาได้ร่วมมือกับแกนนำภาคสังคมหลายคน<br />

โดยมีพลตรีจำลอง ศรีเมืองเป็นแกนนำคนสำคัญ พวก<br />

เขาได้จัดตั้งกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย<br />

ขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักภายหลังในนาม “เสื้อเหลือง” เดือน<br />

กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 กลุ่มพันธมิตรเดินขบวนไปยัง<br />

รัฐสภาและเรียกร้องให้นายทักษิณลาออกจากตำแหน่ง<br />

แต่นายทักษิณตัดสินใจยุบสภาแทน และกล่าวว่ากลุ่ม<br />

พันธมิตรก่อความไม่สงบ โดยนายทักษิณทำหน้าที่<br />

รักษาการณ์นายกรัฐมนตรีนับแต่วันนั้นจนถึงวันที่เขา<br />

from government stocks. But Thaksin’s main objective was<br />

to obtain the political support not only of the farmers but<br />

also of the rice millers and warehouse owners who are<br />

part of the rural elite and who could deliver blocks of votes<br />

to his party. Nipon and Jittakorn (2010) calculated the cost<br />

to the government of the program in the dry season of<br />

2009 to be 19.1 billion baht ($560 million) and the rents<br />

generated by it to total 15.9 billion baht ($460 million), of<br />

which only 44.7% accrued to farmers – and only big<br />

farmers at that. Of the remaining share, 21.6% accrued at<br />

the milling stage, 5.0% at the warehousing stage, and the<br />

28.1% at the exporting stage. At each stage, the rent was<br />

divided between the main actors at that stage (millers,<br />

exporters, and so on) and the local politicians and government<br />

officials. These estimates applied to just the minor<br />

crop in the year, but Thaksin had this program going for<br />

both crops for about 4 years, and the crops for which there<br />

is such a program expanded continuously to maize, cassava,<br />

milk, and even a perishable fruit crop (longan), all of<br />

which is lucrative to a large number of local politicians. 7<br />

ตกจากอำนาจอย่างแท้จริง<br />

หากนายทักษิณหวังพึ่งเสียงประชาชนในการแก้<br />

ปัญหากับฝ่ายต่อต้าน เขาก็ต้องผิดหวัง ฝ่ายค้านบอย<br />

คอตต์การเลือกตั้งเพราะรู้ดีว่าพรรคไทยรักไทยจะชนะ<br />

การเลือกตั้งอีกแน่ แต่อ้างว่าเหตุผลที่แท้จริงเป็นเพราะ<br />

คณะกรรมการการเลือกตั้งอยู่ในมือของนายทักษิณไป<br />

แล้ว แต่นายทักษิณก็ยังเดินหน้าต่อไป การเลือกตั้งวันที่<br />

7 เมษายนนำมาซึ่งการฟ้องร้องและคดีความมากมาย<br />

ว่ามีการทุจริตการเลือกตั้ง จนพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว<br />

มีพระราชดำรัสแก่คณะผู้พิพากษาและตุลาการเมื่อวันที่<br />

25 เมษายนว่า เป็นไปไม่ได้ที่การเลือกตั้งแบบประชาธิปไตย<br />

นั้นจะมีแค่พรรคเดียวคนเดียว ดังนั้นเหล่าผู้พิพากษาทั้ง<br />

หลายต้องช่วยกันแก้ปัญหา พระราชด ำรัสนี้เป็นจุดเริ่มต้น<br />

ที่ทำให้คณะตุลาการเข้ามามีบทบาทในระบบการเมือง<br />

ไทยนับแต่นั้นมา ในเดือนสิงหาคม ศาลรัฐธรรมนูญ<br />

ประกาศว่าการเลือกตั้งเดือนเมษายนเป็นโมฆะและ<br />

กำหนดให้มีการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ 15 ตุลาคม<br />

แต่สุดท้ายแล้ว ผู้ที่นำนายทักษิณลงจากอำนาจ<br />

หาใช่ศาลไม่ แต่เป็นกองทัพ ในวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.<br />

2549 บุคคลชื่อเดียวกับแกนนำเสื้อเหลือง พลเอกสนธิ<br />

But corruption was never far from the inner circles of<br />

Thaksin’s government. In the current records of the<br />

National Anti-Corruption Commission, there are a total of<br />

nine cases of improper conduct. Of these, two that affected<br />

Thaksin directly have already been decided. In one which<br />

involved a land sale from a unit of the Bank of Thailand<br />

to his wife, Thaksin was convicted of a conflict of interest,<br />

and was sentenced to 2 years in prison, but he absconded<br />

abroad and did not serve the term. In another, he was<br />

accused of being unusually rich. The Court went through<br />

various actions that he took while in office and decided to<br />

take over his previously frozen assets worth 46 billion baht<br />

($1.21 billion). In a third case, Thaksin himself was not<br />

accused, but a deputy minister and two senior officials at<br />

the Ministry of Finance were accused of issuing a new,<br />

illegal, form of lottery and were given suspended jail<br />

sentences. The remaining six cases against Thaksin could<br />

not proceed because the defendant has become a fugitive.<br />

Under Thai law, a person cannot be tried in absentia.<br />

115


บุญยรัตกลินเป็นผู้นำการรัฐประหารและประกาศเลิกใช้<br />

รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540<br />

3. หลังยุคทักษิณ<br />

3.1. รัฐบาลทหาร<br />

ผู้นำการปฏิวัติ พลเอกสนธิ บุญยรัตกลินเสนอชื่อ<br />

พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ องคมนตรี8 เป็นนายกรัฐมนตรี<br />

และได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งตามคาด คณะ<br />

รัฐมนตรีที่พลเอกสุรยุทธ์เลือกสรรมาล้วนมีแต่กลุ่ม<br />

ผู้เชี่ยวชาญและนักวิชาการ รัฐบาลนี้แตกต่างจาก<br />

รัฐบาลนายอานันท์ในช่วง พ.ศ. 2534 - 2535 ที่ได้รับ<br />

การแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีหลังการรัฐประหารเหมือนกัน<br />

นายอานันท์ทำการปฏิรูปกฎหมายต่างๆ มากมาย แต่<br />

พลเอกสุรยุทธ์เลือกวิธีที่ระมัดระวังกว่า เหมือนเขามอง<br />

ว่าบทบาทของรัฐบาลนี้คือรักษาการณ์ชั่วคราวจนกว่า<br />

รัฐธรรมนูญฉบับใหม่จะผ่านและมีการเลือกตั้งใหม่<br />

รัฐบาลนี้ตั้งเป้าหมายน้อย ผลงานจึงน้อยตาม บางส่วน<br />

ของผลงานคือจัดการค่าใช้จ่ายนอกงบประมาณของ<br />

รัฐบาลทักษิณที่หมกอยู่ตามธนาคารและที่ต่างๆ เคลียร์<br />

ข้าวปริมาณมหาศาลในสต็อก และปรับราคารับซื้อข้าว<br />

ของรัฐบาลลงให้ใกล้เคียงกับราคาตลาด นอกจากนั้น<br />

สภานิติบัญญัติแห่งชาติที่กองทัพแต่งตั้งขึ้นยังได้ผ่าน<br />

กฎหมายหลายฉบับที่มีประโยชน์ เช่น พ.ร.บ.ธนาคาร<br />

แห่งประเทศไทยฉบับใหม่ที่ได้กล่าวถึงก่อนหน้านี้ รวม<br />

ถึง พ.ร.บ.สถาบันคุ้มครองเงินฝาก และ พ.ร.บ.ธนาคาร<br />

พาณิชย์ฉบับใหม่<br />

ผลงานสำคัญของรัฐบาลนี้คือดำเนินคดีกับบรรดา<br />

พรรคการเมืองในระบอบเก่า ทั้งพรรครัฐบาลในเวลา<br />

นั้น (ไทยรักไทย) และพรรคประชาธิปัตย์ที่เป็นฝ่ายค้าน<br />

ต่างถูกสั่งฟ้องในข้อหาทุจริตการเลือกตั้งเดือนเมษายน<br />

พ.ศ. 2549 ไทยรักไทยถูกตัดสินว่าผิดแต่ประชาธิปัตย์<br />

ได้รับการยกฟ้อง ข้อกำหนดที่น่ากังขาในกฎหมาย<br />

ฉบับใหม่ที่ประกาศใช้โดยรัฐบาลทหารและนำมาใช้โดย<br />

มีผลย้อนหลัง คือเมื่อพรรคการเมืองถูกตัดสินว่าผิดจริง<br />

ในกรณีใดก็ตาม และมีผู้ใดผู้หนึ่งในคณะกรรมการ<br />

บริหารพรรครู้เห็นในความผิดนั้น กรรมการบริหาร<br />

พรรคทั้งหมดจะต้องร่วมรับผิดชอบ และถูกตัดสิทธิ์<br />

ทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี ในกรณีของพรรคไทยรักไทย<br />

มีกรรมการบริหารพรรคเพียงคนเดียวที่พบมูลความผิด<br />

แต่ตามกฎหมายใหม่ คณะกรรมการบริหารพรรคทุกคน<br />

2.5 Thaksin’s fall<br />

Despite widespread corruption, the general election<br />

in February 2005 was an overwhelming victory for the Thai<br />

Rak Thai, Thaksin’s party. It won 375 out of the 500 seats,<br />

as compared to the 248 seats that it won in 2001. That<br />

was the beginning of Thaksin’s downfall, for it convinced<br />

some important people that Thailand was heading for<br />

a totalitarian state under Thaksin.<br />

The man who shot the first salvo against Thaksin was<br />

an unlikely person: Sondhi Limthongkul, a newspaper<br />

publisher, an owner of a satellite television channel, and<br />

a former crony of Thaksin’s. First, Sondhi began to speak<br />

out against the corruption in Thaksin’s government in his<br />

show on state television, a slot he had acquired because<br />

of his friendship with Thaksin. As he became more<br />

outspoken, he was removed from that slot, whereupon he<br />

shifted his venue to a hall in a public park, and later to<br />

Thammasat University which began to see increasing<br />

crowds attending his show which occurred every Friday<br />

evening.<br />

If left to itself, Sondhi’s show would probably have<br />

fizzled out, but then Thaksin handed it a gift. In January<br />

2006, Thaksin announced, out of the blue, that he was<br />

selling Shin Corporation, the core of his business empire,<br />

which also owned the mobile-phone concessionaire,<br />

Advanced Info Services, to Temasek, the Singaporean<br />

state-owned investment company. Shin Corporation also<br />

owned Shin Satellite, which had the satellite concessions<br />

as well. The sale gave Thaksin and his family 72 billion<br />

baht ($1.90 billion), on which he paid no tax. It was bad<br />

enough to sell to foreigners a company using part of the<br />

spectrum as well as the satellite orbit which had been<br />

allocated to Thailand, both of which are therefore<br />

considered national treasures. But it was the fact that no<br />

taxes were paid, despite a large number of cross-transactions<br />

between his wife, his children, and shell companies in the<br />

British Virgin Islands that galled many people.<br />

Sondhi found that his crowds were getting larger and<br />

larger. He allied himself with a number of civil society<br />

leaders, including, in particular, the redoubtableMajor<br />

116


ต้องร่วมรับผิดไปโดยปริยาย ในการลงดาบเพียงครั้งเดียว<br />

แกนนำทั้ง 111 คนของพรรคนายทักษิณจึงถูกตัดสิทธิ์<br />

ทางการเมืองทั้งหมดเป็นเวลา 5 ปี<br />

ผลงานสำคัญอีกชิ้นของรัฐบาลจากการรัฐประหาร<br />

คือการกำหนดกรอบรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่งเป็น<br />

ฉบับที่ 17 ของประเทศในระยะเวลา 75 ปี<br />

3.2 รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550<br />

รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ร่างโดยคณะกรรมาธิการยกร่าง<br />

รัฐธรรมนูญที่แยกออกมาจากสภานิติบัญญัติ โดยมี<br />

ความแตกต่างจากฉบับเก่าหลายประการ<br />

• กลับมาใช้ระบบเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเหมือนก่อน<br />

พ.ศ. 2540 เพื่อป้องกันไม่ให้พรรคหนึ่งพรรคใดมี<br />

โอกาสได้เสียงข้างมากในรัฐบาล<br />

• ตุลาการมีบทบาทสำคัญและมีสิทธิ์มีเสียงมากขึ้น<br />

ทั้งในองค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญ<br />

• ตุลาการมีอำนาจมากขึ้นในการเอาผิดทั้งนักการเมือง<br />

ที่ประพฤติมิชอบและตัวพรรคการเมืองเอง ตามที่<br />

เคยอธิบายไปก่อนหน้า<br />

• ประชาชนและประชาคมมีสิทธิเพิ่มขึ้นในหลายด้าน<br />

Chamlong Srimuang, and set up the People’s Alliance for<br />

Democracy (PAD), later to become popularly known as<br />

the Yellow Shirts. In February 2006, they marched on<br />

Government House demanding that Thaksin resign.<br />

Thaksin instead dissolved the parliament, saying that PAD<br />

threatened disorder. From this point on to his ultimate<br />

downfall, he was an acting prime minister.<br />

If Thaksin expected the return to the people to settle<br />

the issue vis-à-vis his opposition, it was not to be. The<br />

opposition boycotted the election, knowing full well that<br />

Thaksin would win the elections, although they claimed<br />

that the real reason Thaksin would win was because<br />

he would buy the election because the Electoral Commission<br />

was already in his pocket. Thaksin nevertheless went<br />

ahead with the elections. The elections on April 7 brought<br />

about a flurry of lawsuits concerning possible fraudulent<br />

practices, until the King stepped in and said in a speech<br />

to the judges on April 25 that there could not be a onesided<br />

election, and that it was up to the judges to help<br />

resolve the issue. This speech inaugurated the judicial<br />

แสดงให้เห็นว่าองค์กรพัฒนาสังคมมีบทบาทขึ้นมาก<br />

ในคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ<br />

• มีข้อบังคับที่เข้มงวดมากขึ้นในการทำสัญญากับ<br />

ต่างประเทศ ยุคแห่งสารพัดสนธิสัญญาการค้าเสรี<br />

สมัยทักษิณจึงจบลงอย่างฉับพลัน<br />

ตามแบบฉบับของรัฐธรรมนูญหลังการรัฐประหาร<br />

จุดประสงค์หลักของรัฐธรรมนูญฉบับนี้จึงอยู่ที่การต่อ<br />

ต้านระบอบเก่า และหาวิธีป้องกันไม่ให้ระบอบแบบเดิม<br />

กลับคืนมา ผู้น ำการรัฐประหารสัญญาว่าจะมีการท ำประชามติ<br />

สำหรับรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และผลประชามติที่ออกมา<br />

คือข้อบ่งชี้ถึงการแบ่งแยกระหว่างเสื้อแดงและเสื้อเหลือง<br />

ภาคเหนือและภาคอีสานส่วนใหญ่ รวมถึงบางพื้นที่ใน<br />

กรุงเทพฯ โหวตไม่เห็นด้วยกับรัฐธรรมนูญ แต่รัฐธรรมนูญ<br />

ฉบับนี้ก็ยังผ่านด้วยคะแนนเสียง 56 ต่อ 44 เปอร์เซ็นต์<br />

นับว่าฉิวเฉียดกว่าที่กลุ่มผู้นำการรัฐประหารหวังเอาไว้<br />

3.3 ชัยชนะของระบอบทักษิณ<br />

หากผู้ร่างรัฐธรรมนูญหวังว่าจะป้องกันไม่ให้ผู้สืบทอด<br />

ของทักษิณขึ้นสู่อ ำนาจ พวกเขาก็ต้องผิดหวังในการเลือกตั้ง<br />

พ.ศ. 2551 ภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ผลปรากฏว่า<br />

activism that has characterized the Thai political system<br />

since. In August, the Constitutional Court declared the<br />

April election to be null and void and called for a new<br />

election which was set for October 15.<br />

In the end, it was not the judges who brought down<br />

Thaksin, but the military. On September 19, 2006, a namesake<br />

of the Yellow Shirt leader, General Sonthi Boonyaratakalin<br />

staged a coup d’etat and tore up the 1997 Constitution.<br />

3. AFTER THAKSIN<br />

3.1 The military government<br />

The coup leader,General Sonthi, nominated General<br />

Sorrayuth Chulanont, a Privy Councillor, 8 to be Prime<br />

Minister, and the latter was duly appointed.General Sorrayuth<br />

selected as hisMinisters a cabinet of technocrats and<br />

academics. Unlike Anand in 1991–1992, who was also<br />

appointed prime minister following a coup d’etat, and who<br />

then proceeded to introduce a vast amount of reform<br />

legislation, General Sorrayuth took a more cautious<br />

117


พรรคเพื่อไทย ผู้สืบทอดพรรคไทยรักไทยในอดีต<br />

ได้รับคะแนนเสียง 222 จาก 480 ที่นั่ง ซึ่งไม่ยากเลยที่<br />

พวกเขาจะชักชวนพรรคเล็กๆ ที่ไม่ใช่พรรคประชาธิปัตย์<br />

มาจับมือเป็นพันธมิตร ดังนั้นนายสมัคร สุนทรเวช<br />

นักการเมืองรุ่นเก่าที่นายทักษิณเลือกมาเป็นหัวหน้า<br />

พรรคเพื่อไทยจึงได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไปครอง<br />

ระหว่างการก่อตั้งรัฐบาลใหม่นั้นเป็นในช่วงเดียวกับ<br />

ที่เศรษฐกิจภายนอกเกิดความผันผวนอย่างหนักหลัง<br />

การชะงักงันในยุคของรัฐบาลทักษิณและรัฐบาลสุรยุทธ์<br />

ครึ่งแรกของ พ.ศ. 2551 ราคาสินค้าโภคภัณฑ์พุ่งสูง<br />

ขึ้นมาก ส่งผลกระทบไปทั่วประเทศเพราะราคาอาหาร<br />

แพงขึ้นมากโดยเฉพาะราคาข้าวสาร ตลอดหลายปีที่<br />

ผ่านมา สัดส่วนค่าข้าวสารในงบประมาณของผู้บริโภค<br />

ลดลงเหลือไม่ถึง 5 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้นเมื่อราคาข้าวสาร<br />

พุ่งขึ้นตอนต้น พ.ศ. 2551 รัฐบาลนายสมัครจึงต้องเพิ่ม<br />

ค่าใช้จ่ายในการแทรกแซงราคาข้าวขึ้นสูงกว่าเดิมที่ก็<br />

สูงมากเป็นประวัติการณ์อยู่แล้ว ตัวนายสมัครเองเป็น<br />

นักการเมืองในพื้นที่กรุงเทพมาตลอดชีวิต แต่ก็จำเป็น<br />

ต้องทำเพื่อรักษาฐานเสียงต่างจังหวัดของนายทักษิณ<br />

แต่ในภายหลังเมื่อราคาน้ำมันพุ่งสูงขึ้น รัฐบาลนาย<br />

approach. He appeared to envision his government’s role<br />

as more of a caretaker regime to hold the fort until a<br />

constitution was passed and new elections were called.<br />

The government attempted little and therefore achieved<br />

little. It cleared up some of Thaksin’s offbudget expenditures<br />

that were parked around in the banks and other places.<br />

It also cleared out the massive holdings of the rice stocks,<br />

and brought the rice price support down nearer to the<br />

market level. The military-appointed National Legislative<br />

Assembly passed some worthwhile laws, for example, the<br />

new Bank of Thailand Act mentioned earlier, plus the<br />

accompanying Deposit Insurance Institute Act and a new<br />

Commercial Bank Act.<br />

An “achievement” of this regime was to bring forward<br />

the trials brought against the political parties active in<br />

the previous regime. Both the main government party at<br />

the time (Thai Rak Thai) and the opposition Democrats<br />

were tried for irregularities during the April 2006 elections.<br />

The Thai Rak Thai was found guilty, but the Democrat<br />

party was acquitted. A questionable stipulation of the new<br />

สมัครได้ออกมาตรการ 6 อย่างเพื่อช่วยเหลือประชาชน<br />

ในกรุงเทพ อาทิรถเมล์ฟรี รถไฟฟรี และลดภาษี<br />

พลังงาน ซึ่งตามธรรมเนียมของรัฐบาลประชานิยม<br />

แน่นอนว่าเงินช่วยเหลือเหล่านี้ (ยกเว้นการลดภาษี<br />

พลังงาน) ย่อมตกเป็นภาระของรัฐวิสาหกิจผู้ให้บริการ<br />

แต่ถ้ากลุ่มผู้ร่างรัฐธรรมนูญหวังจะเห็นความอ่อนแอ<br />

ของรัฐบาล พวกเขาก็ทำสำเร็จ เฉพาะในพ.ศ. 2551<br />

ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีเปลี่ยนหน้ากันถึงสี่คน สอง<br />

คนที่เป็นตัวแทนของนายทักษิณถูกปลดโดยคณะ<br />

ตุลาการโดยมีการประท้วงของกลุ่มเสื้อเหลืองเป็น<br />

ฉากหลัง ขณะที่ฝ่ายทหารวางตัวเป็นกลาง ในที่สุดหลัง<br />

จากยุบพรรคลูกหม้อทักษิณไปอีกหนึ่ง พรรค<br />

ประชาธิปัตย์ที่เคยเป็นฝ่ายค้านก็กลับมายึดคะแนนเสียง<br />

ข้างมากในสภาได้สำเร็จโดยจับมือกับพรรคเดิมที่เคย<br />

สนับสนุนระบอบทักษิณ เป็นการสร้างรอยแยกภายใน<br />

กลุ่มพลพรรคทักษิณได้สำเร็จ พรรคประชาธิปัตย์เข้า<br />

มาบริหารประเทศขณะที่วิกฤติการณ์ทางการเงินทั่วโลก<br />

เริ่มส่งผลกระทบต่อประเทศไทยพอดี<br />

3.4 ถึงทีของพรรคประชาธิปัตย์...และเสื้อแดง<br />

law enacted by the military regime, and applied retroactively,<br />

is that when a party is found guilty of any wrongdoing, and<br />

if that wrongdoing is known even to a single member of<br />

the executive committee of the party, the entire executive<br />

committee is deemed to be collectively responsible for the<br />

wrongdoing and is deprived of the right to hold any political<br />

post for the next 5 years. In the case of the Thai Rak Thai,<br />

the charge was leveled at only one member of the executive<br />

committee, but as a result of the provision of the new law,<br />

the entire committee was automatically guilty. Thus, in one<br />

fell swoop, 111 leaders of Thaksin’s party were banned<br />

from taking office for the following 5 years.<br />

The main achievement of this coup regime was to<br />

frame yet another constitution, Thailand’s seventeenth in<br />

75 years.<br />

3.2 The 2007 Constitution<br />

The new constitution, drafted by the Constituent<br />

Assembly which was separate from the Legislative Assembly,<br />

differed from the old one in several respects:<br />

118


รัฐบาลใหม่ภายใต้การนำของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ<br />

ลงมือทำงานทันทีเพื่อป้องกันประเทศจากวิกฤติการณ์<br />

การเงินที่ส่งผลไปทั่วโลก วิกฤติการณ์ครั้งนี้กระทบ<br />

ระบบการเงินของไทยเพียงเล็กน้อย แต่ภาคการส่งออก<br />

ได้รับผลกระทบอย่างมาก ในเบื้องต้น กระแสข่าว<br />

วิกฤติการณ์กระทบกับรอบการสั่งสินค้าทั่วโลก ลูกค้า<br />

พากันยกเลิกการสั่งสินค้าเพราะคาดการณ์ว่าเศรษฐกิจ<br />

จะหดตัว สำหรับประเทศไทยนั้นต้องบวกผลกระทบ<br />

(ยังประเมินไม่ได้ว่ามากน้อยแค่ไหน) จากการปิดสนาม<br />

บินสุวรรณภูมิในไตรมาสที่สามของปีด้วย ในไตรมาส<br />

สุดท้ายของ พ.ศ. 2551 อัตรา GDP ของประเทศลด<br />

ลงมากกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ (เมื ่อเทียบกับไตรมาส<br />

เดียวกันของปีก่อน) (ตารางที่ 2) เป็นการหดตัวใน<br />

ไตรมาสเดียวที่มากที่สุดของประเทศตั้งแต่หลังสงคราม<br />

และมากกว่าช่วงวิกฤติการณ์ พ.ศ. 2540 เสียอีก<br />

รัฐบาลจึงออกแพ็คเกจมาตรการ 18 ข้อเพื่อกระตุ้น<br />

เศรษฐกิจ เมื่อนับรวมแล้วโครงการที่นำเสนอโดยลูก<br />

หม้อระบอบทักษิณ 2 คนร่วมกับพรรคประชาธิปัตย์<br />

ทำให้รัฐบาลขาดดุลเพิ่มจาก 2 เปอร์เซ็นต์ของ GDP<br />

ใน พ.ศ. 2550 เป็น 4 เปอร์เซ็นต์ใน พ.ศ. 2552 ซึ่งอาจ<br />

• It restores the multiple-member constituency<br />

electoral system that was in use before 1997,<br />

ensuring that it would again be difficult for a single<br />

party to win a majority in government.<br />

• The judiciary now plays a greater role and has been<br />

given stronger teeth in both the independent<br />

agencies, and the Constitutional Court.<br />

• It has strong sanctions against erring politicians<br />

and even whole parties, as described earlier.<br />

• The rights of the people and of communities have<br />

been expanded in several respects, reflecting<br />

the greater role of nongovernmental organizations<br />

in the Constituent Assembly.<br />

• It introduces stringent restrictions on the executive<br />

branch to conclude international agreements with<br />

foreign countries. The flurry of free trade agreements<br />

that characterized the Thaksin regime thereby came<br />

to an abrupt end.<br />

Typical of such post-coup constitutions, this one was<br />

aimed squarely against the previous regime and sought to<br />

ไม่ใช่ผลลัพธ์จากมาตรการโดยตรง แต่เป็นการฟื้นตัว<br />

จากความตกต่ำในไตรมาสสุดท้ายของ พ.ศ. 2551 และ<br />

ไตรมาสแรกของ พ.ศ. 2552 ดูเหมือนว่าการฟื้นตัวของ<br />

ภาคส่งออกมีปัจจัยส่งเสริมอื่นนอกเหนือจากมาตรการ<br />

ของรัฐบาล (ตารางที่ 2)<br />

เดือนเมษายน พ.ศ. 2552 และระหว่างเดือนมีนาคม<br />

ถึงพฤษภาคมของ พ.ศ. 2553 รัฐบาลนายอภิสิทธิ์<br />

สั่นคลอนอย่างหนักจากการประท้วงสองครั้งของกลุ่ม<br />

คนเสื้อแดงที่ให้การสนับสนุนนายทักษิณ ครั้งที่สองนั้น<br />

เรียกได้ว่าใกล้เคียงกับการกบฏ กลุ่มผู้ประท้วงถูก<br />

ปราบปรามโดยรัฐบาลและกองทัพ และมีผู้เสียชีวิต<br />

จำนวนมาก (ตัวเลขอย่างเป็นทางการคือ 91 ศพ) ส่วน<br />

ความเสียหายที่มีต่อประชาธิปไตยของประเทศนั้นก็<br />

บาดลึกไม่น้อย เพราะกองทัพกลายมามีบทบาทสำคัญ<br />

อย่างยิ่งในฐานะผู้ชี้ขาดการเมืองไทย<br />

3.5 เสื้อเหลืองและเสื้อแดงคือใคร<br />

เสื้อเหลืองเริ่มขึ้นใน พ.ศ. 2548 ระหว่างที่นายทักษิณ<br />

เรืองอำนาจสูงสุด โดยเป็นขบวนการเล็กๆ ที่สนับสนุน<br />

สถาบันกษัตริย์ (ในตอนนั้นยังไม่เริ่มใส่เสื้อสีเหลือง)<br />

prevent any such regime from emerging. The coup leaders<br />

had promised that the new constitution would be submitted<br />

to a referendum. The results of the referendum foreshadowed<br />

the country’s division between the Reds and the Yellows.<br />

Most of the Northeast and the North, plus a few areas in<br />

Bangkok, voted against the Constitution. Nevertheless, the<br />

Constitution passed by a majority of 56% to 44%, a much<br />

smaller margin than the coup leaders had hoped for.<br />

3.3 The victory of the Thaksinites<br />

If the constitution drafters aimed to prevent Thaksin’s<br />

successors from capturing power, they were disappointed.<br />

The elections in 2008 that were called under the new<br />

Constitution resulted in the People’s Power Party (PPP),<br />

the successor party to Thaksin’s Thai Rak Thai, gaining<br />

222 out of the 480 seats. It was not difficult for them to<br />

ask the smaller parties other than the Democrats to join<br />

them in a coalition. Thus, Samak Soontaravej, a politician<br />

from the distant past but now head of the PPP anointed<br />

by Thaksin, became the head of the new government.<br />

119


นำโดยอดีตหัวหน้ากองในสำนักงานความมั่นคงแห่ง<br />

ชาติ แต่ยังไม่เป็นที่รู้จักในวงกว้างจนกระทั่งมารวมตัว<br />

กับกลุ่มของนายสนธิ ลิ้มทองกุล ความที่นายสนธิเป็น<br />

เจ้าของช่องดาวเทียมชื่อดังหรือเอเอสทีวี ทำให้กระแส<br />

ของขบวนการเสื้อเหลืองประสบความสำเร็จอย่างมาก<br />

กลุ่มเสื้อเหลืองมองว่าตนเป็นผู้ปกป้องราชบัลลังก์และ<br />

เห็นว่านายทักษิณและกลุ่มเสื้อแดงเป็นภัยต่อสถาบัน<br />

กษัตริย์ ฝ่ายที่ไม่ชื ่นชอบมักกล่าวว่ากลุ่มเสื้อเหลือง<br />

นิยมหลักนิติวิธี (หรืออันที่จริงควรเรียกว่ากฎของศาล)<br />

เพราะขึ้นศาลทีไรก็ชนะเสมอ กลุ่มเสื้อเหลืองยังเห็นว่า<br />

ระบอบประชาธิปไตยของไทยมีปัญหา โดยเฉพาะเรื่อง<br />

การใช้เงินซื้อเสียงทางการเมืองนั้นบ่อนทำลายระบบ<br />

ทั้งหมดและลดทอนความชอบธรรมของระบบสภา นาย<br />

สนธิเคยนำเสนอระบบการเมืองแบบใหม่ที่เป็น<br />

ประชาธิปไตยน้อยกว่าระบบที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน แต่<br />

เหตุที่มันเป็นประเด็นอ่อนไหว จึงไม่ได้รับการตอบรับ<br />

จากกลุ่มแกนนำผู้ดำเนินการกลยุทธ์บนท้องถนนของ<br />

กลุ่มเสื้อเหลืองคือ พลตรีจ ำลอง ศรีเมือง ที่เป็นมังสวิรัติ<br />

อย่างเคร่งครัด (แต่ก็เป็นทหารด้วย) การที่พลตรีจำลอง<br />

เคยเป็นทหารมาก่อน จึงมีความเป็นผู้นำสูง การ<br />

The formation of the new government coincided with<br />

the return of external economic turbulence, after a hiatus<br />

during Thaksin’s and Sorrayuth’s governments. The first<br />

half of 2008 was a time of steep commodity price increases.<br />

This affected Thailand through mostly increases in food<br />

prices, preeminently rice prices. Over the years, the share<br />

of rice in consumers’ budgets has declined to be less than<br />

5%. Consequently, when prices rose in early 2008, the<br />

Samak government’s action was to raise the price support<br />

levels higher than the already record high prices. Samak,<br />

who throughout his life was a Bangkok-based politician,<br />

took this action to retain Thaksin’s rural support base.<br />

However, later on, as oil prices also rose steeply, the<br />

Samak government introduced six measures to help out<br />

the urban population, including free bus rides, free train<br />

rides, and a reduction of energy taxation. True to populist<br />

form, the cost of these subsidies (except the reduction of<br />

energy taxes) was parked in the balance sheets of the<br />

relevant state enterprises that were providing these services.<br />

If the constitution drafters’ aim was to have a weak<br />

ประท้วงทุกครั้งมีการควบคุมจัดการที่ดี ยกเว้นคราวยึด<br />

สนามบินสุวรรณภูมิที่กลุ่มแกนนำคุมผู้ประท้วงไว้ไม่อยู่<br />

หลังเหตุการณ์ครั้งนั้น กลุ่มเสื้อเหลืองไม่จัดการประท้วง<br />

อีกเลยในช่วงที่รัฐบาลประชาธิปัตย์บริหารประเทศ<br />

ด้านกลุ่มเสื้อแดงนั้นเริ่มปรากฏตัวด้วยการประท้วง<br />

ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2552 จำนวนผู้สนับสนุนกลุ่ม<br />

เสื้อแดงเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วระหว่างการประท้วงครั้งแรก<br />

และครั้งที่สองในเดือนมีนาคมถัดมา มีการตั้งโรงเรียน<br />

การเมืองขึ้นในภาคอีสานและภาคเหนือ ทำให้มีผู้<br />

สนับสนุนเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก กลุ่มเสื้อแดงนั้นจัด<br />

ตั้งมาเพื่อสนับสนุนนายทักษิณ ชินวัตรโดยตรง และ<br />

นายทักษิณก็สนับสนุนกลับโดยพูดให้กำลังใจ หรืออาจ<br />

จะกำลังเงินด้วย ถึงแม้ชาวเสื้อแดงส่วนใหญ่ที่มาร่วม<br />

ประท้วงจะใช้เงินส่วนตัว กลุ่มเสื้อแดงมีความเกี่ยวพัน<br />

กับพรรคของนายทักษิณในสภาแนบแน่นกว่าที่เสื้อเหลือง<br />

เป็นกับพรรคประชาธิปัตย์มาก เช่นเดียวกับที่เสื้อเหลือง<br />

มีเอเอสทีวี เสื้อแดงก็มีช่องดาวเทียมของตัวเองชื่อ<br />

พีทีวี แต่ถูกสั่งปิดเมื่อเกิดความไม่สงบใน พ.ศ. 2553<br />

กลุ่มเสื้อแดงสนับสนุนการเลือกตั้งและรัฐบาลระบบ<br />

สภาอย่างแน่วแน่ แต่ไม่นิยมวิถีทางกฎหมาย (ซึ่งไม่ค่อย<br />

executive, then they were quite successful, for 2008 saw<br />

no less than four prime ministers. The two Thaksinite prime<br />

ministers were brought down by the judiciary, with the<br />

Yellow shirts’ demonstrations as the backdrop,while the<br />

military stayed neutral. Eventually, after another dissolution<br />

of the Thaksinite party, the opposition Democrats were<br />

able to obtain a parliamentary majority, in coalition with<br />

the same parties that were previously backing the Thaksinites,<br />

plus a breakaway faction from within the Thaksinite party.<br />

They entered office just as the impact of the global financial<br />

crisis was reaching Thailand.<br />

3.4 The Democrats have their turn...and also the Reds<br />

The new government under Abhisit Vejjajiva promptly<br />

got down to work to fend off the effects of the global<br />

financial crisis on Thailand. That crisis affected the financial<br />

system only slightly, but it enormously affected the export<br />

sector. Primarily, news of the crisis generated very rapidly<br />

a sharp worldwide inventory cycle which led export orders<br />

to be cancelled in the expectation that the real economy<br />

120


อัตราการเติบโตของ GDP (%) อัตราการเติบโตของการส่งออก (%)<br />

GDP Growth Rate (%) Export Growth Rate (%)<br />

20 100<br />

10<br />

0<br />

-10<br />

-20<br />

-30<br />

Q1/2000 Q1/2001 Q1/2002 Q1/2003 Q1/2004 Q1/2005 Q1/2006 Q1/2007 Q1/2008 Q1/2009 Q1/2010<br />

50<br />

0<br />

-50<br />

-10<br />

อัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศอิงจากราคาปี 2531 (เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน)<br />

Growth Rate of Gross Domestic Product at 1988 Price (qoq, Seasonally adjusted)<br />

อัตราการเติบโตของการส่งออก (เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน)<br />

Growth Rate of Gross Exports (qoq, Seasonally adjusted)<br />

แผนผัง 2 อัตราการเติบโตของการส่งออกและ GDP ระหว่างปี 2543-<br />

2552 (เทียบตามไตรมาสของแต่ละปี)<br />

ที่มา : ข้อมูลการส่งออกจากธนาคารแห่งประเทศไทย ข้อมูล GDP จาก<br />

สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ<br />

Figure 2 Export growth and GDP growth 2000–2009 (quarter on<br />

quarter, seasonally adjusted). Sources: Export: Bank of Thailand;<br />

GDP: The office of the National Economic and Social Development<br />

Board.<br />

121


เอื้อผลดีกับพวกเขา) และเสรีภาพของสื่อ นอกจากนั้น<br />

ชาวเสื้อแดงยัง “แอนตี้อำมาตย์” ซึ่งมักจะถูกตีความว่า<br />

“แอนตี้คนรวย” แต่สำหรับผู้เขียน ใช้ค ำว่า “แอนตี้ขุนนาง”<br />

น่าจะเหมาะกว่า เพราะถ้าดูจากวีรบุรุษของพวกเขา<br />

ชาวเสื้อแดงไม่ได้แอนตี้นายทุนอย่างแน่นอน เป้าหมาย<br />

อันดับหนึ่งในบรรดาขุนนางของชาวเสื้อแดงคือ พลเอก<br />

เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรีและอดีตนายก<br />

รัฐมนตรี ที่หลายฝ่ายเชื่อว่าเป็นบุคคลผู้อยู่เบื้องหลัง<br />

การรัฐประหารเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549<br />

สิ่งที่กลุ่มคนเสื้อแดงไม่พอใจคือความอยุติธรรม<br />

ทางการเมืองและกฎหมายที่พวกเขารู้สึกว่าตัวเองและ<br />

กลุ่มแกนนำได้รับ โดยแทบไม่เคยพูดถึงความไม่เท่า<br />

เทียมในด้านเศรษฐกิจ ยกเว้นตอนย้อนรำลึกถึงสมัยที่<br />

นายทักษิณเป็นนายกรัฐมนตรีและให้ผลประโยชน์ทาง<br />

เศรษฐกิจกับทุกคนถ้วนหน้า<br />

ใครคือผู้สนับสนุนกลุ่มเสื้อเหลืองและเสื้อแดง มีการ<br />

คาดเดากันมากมายในประเด็นนี้ โดยมากสื่อมักสรุปให้<br />

เป็นเรื่องของชนชั้น เสื้อเหลืองคือคนรวยและเสื้อแดง<br />

คือคนจน ซึ่งเป็นความจริงเพียงครึ่งเดียว ผู้เขียนเคย<br />

เขียนบทความวิเคราะห์ทางสถิติร่วมกับคุณสมชัย<br />

จิตสุชน เอาไว้ว่าในหมู่ประชาชนคนทั่วไป (ไม่ใช่เฉพาะ<br />

แต่คนที่เข้าร่วมการประท้วง) ผู้ที่นิยมแนวคิดแบบเสื้อ<br />

เหลืองมักเป็นคนฐานะดีและเป็นชาวกรุงเทพ ส่วนผู้ที่<br />

นิยมแนวคิดเสื้อแดงนั้นครอบคลุมทุกฐานะรายได้<br />

ส่วนคนจนนั้นไม่เข้ากับสีใดเลย<br />

would be affected. For Thailand, one has to add to this the<br />

effect (of unknown size) of the closure of the Suwannabhumi<br />

Airport in the third quarter of the year. In the last quarter<br />

of 2008, the annual rate of real GDP shrinkage was<br />

more than 20% (quarter on quarter, seasonally adjusted)<br />

(Figure 2), the largest one-quarter shrinkage in Thailand’s<br />

postwar history and larger than during the 1997 crisis.<br />

In response, the government implemented a stimulus<br />

package of 18 measures. All told, the programs introduced<br />

by the two Thaksinite and the Democratic governments<br />

increased the government budget deficits from 2.0% of<br />

GDP in 2007 to 4.0% in 2009. The outcome, not necessarily<br />

of these programs, was a sharp recovery from the downturn<br />

that occurred in the last quarter of 2008 and the first quarter<br />

of 2009. It appears that the sharp export recovery deserves<br />

more credit than the government programs (Figure 2).<br />

In April 2009 and inMarch toMay 2010,Abhisit’s<br />

government was severely threatened by two massive<br />

demonstrations of the Red Shirts, a pro-Thaksin group.<br />

The second of these is more like an insurrection and was<br />

put down by the government and the military at great cost<br />

in lives (91 dead according to official figures). The cost to<br />

Thai democracy is also quite heavy because the military<br />

now looms much larger as a major arbiter of Thai politics.<br />

3.5 Who are the Yellows and the Reds?<br />

The Yellows started in 2005, at the peak of Thaksin’s<br />

power, as a small royalist movement (they were not yet<br />

wearing yellow shirts) led by a former chief of the National<br />

Security Agency, but it did not get anywhere until it merged<br />

with the movement led by Sondhi Limthongkul. This made<br />

the movement very effective, because Sondhi owns AS-<br />

TV, a popular satellite cable TV broadcaster. The Yellow<br />

movement sees itself strongly as a defender of the throne,<br />

and sees Thaksin and the Reds as threats to the monarchy.<br />

It favors the rule of law (actually the rule of the courts) –<br />

to the cynic, this is because they tend to win most cases<br />

in the courts. It also emphasizes the problems with Thai<br />

democracy, particularly the money politics that pervades<br />

the system, and in their eyes reduces the legitimacy of<br />

122


1 — ด้วยเหตุที่ประเทศไทยมีแรงงานนอกระบบจำนวนมาก ตัวเลข<br />

ผู้มีงานทำและผู้ว่างงานจึงแทบไม่มีความหมาย ดังนั้นผู้เขียนจึงใช้<br />

ตัวเลขชั่วโมงการทำงานรวมแทน<br />

2 — รัฐบาลชวน หลีกภัยอนุญาตให้ธนาคารเปิดบริษัทย่อยบริหาร<br />

สินทรัพย์และเอาหนี้ด้อยสภาพไปพักไว้ที่นั่นได้ แต่ธนาคารแห่ง<br />

ประเทศไทยเรียกดูงบดุลของธนาคารรวมถึงบริษัทย่อยทั้งหมด และสั่ง<br />

ให้ธนาคารเพิ่มทุนโดยพิจารณาถึงความเสี่ยงในการขาดทุนจากบริษัท<br />

ย่อยบริหารสินทรัพย์ด้วย การตั้งบริษัทบริหารสินทรัพย์จึงแทบไม่มี<br />

ประโยชน์อะไร ต่อมารัฐบาลทักษิณได้ตั้งบริษัทบริหารสินทรัพย์ขึ้นมา<br />

และรับเอาหนี้เสียทั้งหมดจากธนาคารของรัฐ รวมถึงหนี้เสียของ<br />

ธนาคารเอกชนที่เหลือรอดอยู่ตามความสมัครใจ แต่ก็สายเกินกว่าจะ<br />

แก้ไขอะไรได้ เพราะธนาคารเอกชนโอนมาให้แต่หนี้เน่า แต่ยังเก็บหนี้<br />

ด้อยสภาพส่วนใหญ่เอาไว้กับตัว<br />

3 — ตามกฎหมายเดิม คณะรัฐมนตรีเป็นคนแต่งตั้งผู้ว่าการธปท.<br />

ตามแต่จะเห็นชอบ และผู้ว่าฯ สามในห้าคนถูกคณะรัฐมนตรีสั่งปลด<br />

4 — ในบทความฉบับภาษาอังกฤษ มีการแปลงค่าเงินบาทเป็น<br />

ดอลลาร์สหรัฐ ตามอัตราแลกเปลี่ยนปัจจุบัน<br />

5 — ผู้สนับสนุนโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าต้องการให้รัฐบาล<br />

ตกลงดำเนินโครงการนี้ ดังนั้นการบอกผ่านค่าใช้จ่ายให้ถูกลงจะช่วย<br />

ทำให้รัฐบาลซื้อนโยบายนี้ง่ายขึ้น<br />

6 — ตามขั้นตอนการทำงบประมาณประจำปีของประเทศ รัฐบาล<br />

ต้องแจงรายละเอียดว่าจะยืมเงินในประเทศจากแหล่งไหนบ้าง และยื่น<br />

ขอความเห็นชอบจากรัฐสภา<br />

7 — ในอีกบทความของนายนิพนธ์ เขาประเมินค่าใช้จ่ายในโครงการ<br />

แทรกแซงราคาของรัฐบาลไว้ที่ 35,000 ล้านบาทต่อปี<br />

8 — องคมนตรีคือกลุ่มบุคคลที่ถวายคำปรึกษาแก่พระมหากษัตริย์<br />

the parliamentary system. Sondhi once proposed a new<br />

system of politics, which would be much less democratic<br />

than the present one, but because of its controversial<br />

nature, was not picked up by the leadership.<br />

Its tactics on the streets were effectively led by Major<br />

General Chamlong, an ascetic vegetarian (and a general!),<br />

who, because of his military background, has very strong<br />

leadership ability, and every demonstration seems to be<br />

well controlled, except the occupation of the Suvannabhumi<br />

Airport when the leadership was overtaken by the followers’<br />

actions. After that occupation, the Yellow shirts did not<br />

have any major demonstration during the Democratic<br />

government.<br />

The Reds, on the other hand, emerged into view with<br />

a demonstration in April 2009. The period of a rapid<br />

increase in their support was between that demonstration<br />

and a second one the following March. They set up political<br />

schools in the Northeast and the North, and thereby garnered<br />

a large number of active supporters. The Reds’ identity is<br />

linked with their support of Thaksin Shinawatra, and Thaksin<br />

certainly gave them his verbal and likely his financial support,<br />

although many of the recruits to the demonstrations support<br />

themselves. Their ties with Thaksin’s parties in parliament<br />

are close, certainly much closer than the Yellows’ ties with<br />

the Democrats. Following the example of AS-TV, the Reds<br />

have their own satellite TV called the PTV which was<br />

closed down during the insurrection of 2010.<br />

The Reds are unequivocally committed to elections<br />

and parliamentary government, though not necessarily to<br />

the rule of law (which has not been good to them) and the<br />

freedom of the press. They are also anti-ammat, which is<br />

usually translated as “anti-elite,” although in my view,<br />

“anti-mandarin” would be a better translation – considering<br />

their hero, they are certainly not anticapitalist. The Reds’<br />

particular target among the mandarins is General Prem<br />

Tinsulanond, President of the Privy Council and former<br />

prime minister, who is generally perceived as the<br />

mastermind behind the September 19, 2006 coup.<br />

Note that the main complaint of the Reds is against<br />

the political and legal injustice they and their leaders feel<br />

123


they have been subjected to. Economic injustice hardly<br />

features in their complaints, except when they hark back<br />

to the days when Thaksin was prime minister and delivered<br />

economic benefits to everyone.<br />

Who supports the Yellows and the Reds? There is a<br />

vast amount of speculation on this issue.Usually, the story<br />

in the press is couched in class terms. The Yellows are<br />

the elite, and the Reds are poor, which is half true. My<br />

own statistical analysis in a paper coauthored with Somchai<br />

Jitsuchon, indicates that among the general population<br />

(not just those that show up at the demonstrations), those<br />

that subscribe to the rhetoric of the Yellows are mostly<br />

the better off and from Bangkok. The Reds’ appeal, on<br />

the other hand cuts across all income classes. The poor<br />

tend to side with neither group.<br />

1 — Because Thailand has a very large informal sector, figures<br />

on the number of people employed and unemployed carry very<br />

little meaning. I have therefore used the figures on the total<br />

number of hours worked by the labor force instead.<br />

2 — The Chuan government permitted the banks to open their<br />

own asset management subsidiaries and dump their NPAs there.<br />

However, regulators at the Bank of Thailand decided to look at<br />

the consolidated balance sheet of the bank and their subsidiaries,<br />

and required banks to put up the capital that took into account<br />

the risks of losses from the asset management subsidiaries.<br />

There was thus little benefit for the banks from setting up their<br />

own assetmanagement companies. Later on, the Thaksin<br />

government set up an asset management company, acquiring<br />

all the bad loans from the state banks, and also acquiring, on a<br />

voluntary basis, the bad loans from the surviving private banks.<br />

By then it was too late to do anything positive, since the private<br />

banks gave up only their worst loans, but still retained a substantial<br />

amount of their NPAs.<br />

3 — Under the previous law, the Bank’s Governor essentially<br />

held the post at the pleasure of the Cabinet. In fact, three of the<br />

last eight Governors were sacked by the Cabinet.<br />

4 — Throughout this paper all baht values are converted to US<br />

dollars at the current exchange rate.<br />

5 — Promoters of universal health care within the Ministry<br />

wanted to lock the government into the program, understating<br />

the cost would help to “sell” the policy to the government.<br />

6 — Thai budgetary procedure requires that the government<br />

include all planned domestic borrowing in its annual budget which<br />

is submitted to parliament for approval.<br />

7 — In a separate paper, Nipon estimated the average annual<br />

government cost of all the price support programs to be 35 billion<br />

baht ($900 million) per year.<br />

8 — The Privy Council is a council of advisors to the King.<br />

REFERENCES<br />

Ammar S. Picking up the pieces: Bank and corporate restructuring<br />

in post-1997 Thailand. In Economic and Social Commission<br />

for Asia and the Pacific. Governance Reinvented: The<br />

Progress, Constraints, and Remaining Agenda in Bank and<br />

Corporate Restructuring in East and Southeast Asia,<br />

163–214. Bangkok: United Nations, Economic and Social<br />

Commission for Asia and the Pacific, 2001.<br />

Ammar S. and Somchai J. (forthcoming). “The socio-economic<br />

bases of the red/yellow divide: A statistical analysis.” In<br />

Bangkok, May 2010: Perspectives on a Divided Thailand.<br />

Edited by Montesano M., Chachavalpongpun P. &<br />

Chongvilaiwan A. Singapore: Institute of Southeast Asian<br />

Studies, 2012.<br />

Anchana N. and Viroj N. Phon Kratob kong Lak Prakan Sukapab<br />

Thuan Na thi Mee tor Khachaijai Dan Sukapab kong<br />

Prachachon lae Kan Lod Khwam Yak Jon (The Impact of<br />

Universal Health Insurance Coverage on People’s Health<br />

Expenditures and on the Reduction of Poverty) (in Thai).<br />

Bangkok: Thailand Development Research Institute, 2007.<br />

Chaipat P., and other. “Is there an alternative to export-led growth<br />

for Thailand? Paper presented at the Bank of Thailand<br />

Symposium.” 15 September 2009, Bangkok: Bank of<br />

Thailand. Accessed 3 May 2011. Available from URL: http://<br />

www.bot.or.th/English/EconomicConditions/Semina/<br />

Documents/paper2_sym09.pdf<br />

Cox G.W. Making Votes Count: Strategic Coordination in World’s<br />

Electoral Systems. Cambridge: Cambridge University Press,<br />

1997.<br />

Nipon P. and Jittakorn C. “Rent seeking activities and the political<br />

economy of the paddy pledging market intervention measures<br />

(in Thai with English abstract).” Bangkok: Thailand<br />

Development Research Institute (a report submitted to the<br />

Office of the National Anti-Corruption Commission), 2010.<br />

Pasuk P. and Baker C. Thaksin: The Business of Politics in<br />

Thailand. Chiang Mai: Silkworm Books, 2004.<br />

Reinhart C.M. and Rogoff K.S. This Time Is Different: Eight<br />

Centuries of Financial Folly. Princeton, NJ: Princeton<br />

University Press, 2009.<br />

Suchanan T. “The government’s helping hand: A study of<br />

Thailand’s agricultural debt moratorium.” Senior Honors<br />

Thesis. Harvard College, 2004.<br />

Thaksin S. An Inaugural address at the 57th Session of ESCAP<br />

at the Conference Centre, Bangkok on Monday 23 April.<br />

Bangkok: United Nations Information Services. Press Release<br />

No.L/13/01, BS/08/01, 2001.<br />

Veerathai S. Lessons Learned from Thailand’s Experience with<br />

Financial-Sector Restructuring. Bangkok: Thailand<br />

Development Research Institute, 2003.<br />

Warr P., ed. Thailand beyond the Crisis. London: Routledge<br />

Curzon, 2005.<br />

Worawan C. and Bawornpan A. “The impact of the village fund<br />

on rural households.” TDRI Quarterly Review 23, 2 (June<br />

2008): 9–16.<br />

124


125


126


บ้านหลังเก่า<br />

HOUSE IN OUR MEMORY<br />

— ศาสตราจารย์เกียรติคุณอรศิริ ปาณินท์ • Professor Emeritus Onsiri Panin<br />

127


128


129


130


131


132


133


HOUSE IN OUR MEMORY<br />

Professor Emeritus Onsiri Panin<br />

“My old house” I call it like this as it is no longer exist as being defeated by the flooding<br />

crisis in 2011. Being defeated does not meant it was ruined, or broken down. The house was still<br />

in good and repairable shape. However, being one of the first house built in Soi Phahon Yothin 63,<br />

alley 2, Anusawari Sub District, Bang Khen District, the single story house has its floor level at 1.00<br />

meter high from ground level. Therefore, it was leveled lower than the alley ground level (the alley<br />

has been raised many time during the past). Mark felt from flooding water in our property shown as<br />

high as 1.50 meters outdoor, and 0.90-1.00 meter indoor. You can clearly imagine how our furniture<br />

had been affected. After water level was lowered, we went in to inspect how damage it was. We<br />

have found that the house structure itself was still in its good condition. The wall, the ceiling, and<br />

the parquet flooring on concrete base were still in good shape. Only few doors were bloated. All<br />

our pretty plantation were destroyed. The survival were only 3-4 big Banyan trees. “Can we repair<br />

them?” we asked, and the answer were “Yes”. However, second question were “If there is flood<br />

coming in the near future, what shall we do?”. At the backside of our property, there is a small canal<br />

which will overflow into the house by half a day raining, already. Are we capable to handle with<br />

many maintenances or not? Therefore, we have discussed among our family, among architects and<br />

designers, and concluded that we need to dismantle the old house, then raise our property’s ground<br />

level higher from previous one around 1.50-1.80 meters. This is to have property general floor level<br />

at 0.50 meter higher than the alley’s level.<br />

Before we decided to dismantle our house, we have thought on springing the whole house<br />

level as practicing in the case of Thai tradition House. However, we consider on the house condition<br />

which is a reinforced concrete structure with flooring not on beam but on 1.00 meter high raised<br />

compact sand above ground beam level inside concrete block framing with partially reinforced to<br />

carry weight of light fibre cement board walls of 0.8 mm thickness in the frame along north-south<br />

side, and east-west side of brick that loaded on ground floor beam.<br />

With its type of construction, the house cannot be sprung up as practicing in the Thai<br />

traditional house cases. Therefore, we have to dismantle it and build up a new house on raised floor<br />

design and split into house into two sectors: the parent’s sector and the daughter’s sector. Professor<br />

Tonkao Panin and Mr.Thanakan Mokasmit are the architect.<br />

134


Recalling on my old house, I can still remember how it was constructed 49 years ago since<br />

1969. At that time, there were only 3-4 houses in the alley surrounded by green beautiful rice field<br />

on both sides of the alley which is 900 meters far from the main road. This alley is the second<br />

junction of Soi Phahon Yothin 63, Anusawari Sub District, Bang Khen District, At our backyard there<br />

is a small public creek, the front side is the alley road. This property I have inherited from my father,<br />

however, the house was built on our own budget. Therefore, it is quite clear, our house was built<br />

under the most efficient solution with affordable and sufficient budget. We have chosen the material<br />

that were beneficial to the structure. Under consultation with an engineer, our brother’s friend,<br />

Mr.Somboon Vaesarajchanon whose design was under the most efficient and economic structure,<br />

and our best friend, Mrs. Duangjai Tephanon as the main contractor, from the start we could set cost<br />

of construction at 120,000 baht for property of 144 sq.m.<br />

We were the only house constructed among the paddy field. Further there at 400-500<br />

meters away in Soi 63, there were also paddy field with few houses along staying with active<br />

harvest. In the property of 200 sq.wa, almost square shape, we started to design our house with a<br />

questioning on how many members will be in our family. Back then we have the father as a painter,<br />

the mother as an architect and professor, with a one year old daughter. We might be able to have<br />

one more child. We live with our relative’s house nearby only 300-400 meters away, which we could<br />

ask them for our daughter’s babysitting. Therefore, we require no nanny or housekeeper as we can<br />

help out each other. These were our reasons of not having any room for housekeeper, in another<br />

sense, we needed to keep our space to the fullest use to control our cost of construction for newly<br />

started family.<br />

Our small family required two studios with some distance apart from each other because<br />

one were for art work, mostly painting, and another were for design work with 2-3 working tables<br />

needed. Considering the property surrounding which is rice field at the back with small creek, we<br />

decided to place our art studio at the back of the house. With wall-length long folding doors, the<br />

rice field and the creek are visible to our art studio. For design studio, it was placed in the front of<br />

the house, facing the alley road, and was the only place in the house with lowest floor level at 0.20<br />

meter high near garage (0.10 meter higher than garage floor level). The other areas had their floor<br />

135


level at 1.00 meter high. Connecting the inside area to the outside area, we have had: 3 staircases,<br />

multi-purpose center reception area, living room, dining room connected to kitchen, bathroom,<br />

and 3 bedrooms on the east side. We only had a small child of over 1 year old at that time, which<br />

needed to be in bed with parents, therefore, the child bedroom became playroom, and another<br />

spare bedroom was used for storage purpose. Every space in house was occupied wisely aiming<br />

for budget control. The parents of this house do our own house cleaning as we have not included<br />

housekeeping room in the plan.<br />

About the issues on materials in 1969, we explored the benefit and constraint of fibre<br />

cement sheet at 8 mm. in its thickness for north and south wall for our house. Therefore, we had<br />

designed the light weight full Shorea wood frame divided into four continuous section for filling into<br />

every bay of planning. The frame consisted of three components; the lower part which based on the<br />

floor is swing and louver window, the upper part which is the light box staying above the window<br />

till the lower part of the roof beam (ace). The 8 mm, thick fibre cement sheet were framed exactly<br />

the same way as glass window. Walls on east and west side, they were filled with exposed brick<br />

(no plaster finishing). Floor were reinforced concrete with Makha wood parquet finishing. This floor<br />

system would sit on compact sand grounding. This datum line of the ground floor level was raised<br />

at 1.00 meter above road level. This ground floor were formed by concrete block retaining side<br />

wall with its height at 1.00 meter above the ground beam. At every 0.50 meter along their retaining<br />

wall, it was reinforced with metal wire to bear load of the wall and compact flooring system. The<br />

roof construction was the timber frame and finishing on top with fibre cement tiles and there is fibre<br />

cement sheet ceiling underneath. As, there were lots of big tree in our property, from time to time,<br />

branches have kept falling down and damaged the roof tile. Therefore, we have had to maintain the<br />

roof many times. For our new house, we, then, decided to use metal sheet as our selected materials<br />

instead (with fully insulated sheet on the ceiling to reduce heat transfer).<br />

Shaded under roof at the front terrace, there were a 6 sq.m recreation area on a wooden<br />

terrace as same as the one that we had for the art studio at the back. We had turned part of our<br />

garage which was in its high ceiling level into storage and reading area by putting a ladder and<br />

mezzanine up. Therefore, part of garage that was adjacent to our design studio were connected<br />

with studio by the mezzanine designed for muti-purpose uses such as bookshelf, display for tools<br />

and material collection. Our design studio space were extended with the more functional response<br />

provided by such mezzanine.<br />

136


During 42 years, from 1969 to 2011 we have had two major house re-adjustments to cope<br />

with our children career. They were requiring more studio working space, just like their parents in<br />

the past. Therefore, many additions have been done up until we was defeated by the major flooding<br />

in 2011.<br />

During the second decade of our previous house’s life span (around 1989) we have kept<br />

thinking of having a tree house for our own recreation space. There were lots of fully grown big<br />

trees. Accordingly, we decided to use one of our banyan tree next to studio as site for a small tree<br />

house (3.50x3.50 meters). There were four sets of louver windows, two set per each side meet<br />

each other at the tree house corner to create beautiful panoramic view of the tree. Our tree house<br />

were our pleasant space. We have had a small coffee table for our reading space, which we could<br />

enjoy so much. We have hardly felt for descending. However, that tree house has been removed<br />

at the right time when we needed the space for our son’s new extended family house. You would<br />

never believe how that tree house of 9 sq.m has cost us with the budget. It was as much as our<br />

entire budget for the old house back then in 1969.<br />

137


บ้านเรือนในสยาม<br />

สมัยรัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ 8<br />

พ.ศ. 2325 - <strong>2489</strong><br />

CONTEXTS AND ISSUES RELATING TO RESIDENTIAL ARCHITECTURE IN<br />

SIAM FROM THE PERIOD OF RAMA I – RAMA VIII (1782 – 1946 A.D.)<br />

— ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุนนท์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา • Assistant Professor Sunon Palakavong Na Ayudhya


บทความนี้มีจุดประสงค์ที่จะแสดงภาพอย่างกว้างๆ<br />

ของงานสถาปัตยกรรมพักอาศัยในสยามตั้งแต่สมัย<br />

รัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ 8 (พ.ศ. 2325 - <strong>2489</strong>) โดยที่<br />

ในสมัยรัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ 3 (พ.ศ. 2325 - 2394)<br />

หรือสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นนั้น เป็นช่วงเวลาที่สังคม<br />

ไทยยังมีลักษณะเป็นสังคมเชิงประเพณีที่สืบเนื่องอิทธิพล<br />

ทางวัฒนธรรมในทางสถาปัตยกรรมเชิงประเพณีมา<br />

จากสมัยอยุธยา แต่ในสมัยรัชกาลที่ 4 เป็นต้นมา เริ่ม<br />

ปรากฏอิทธิพลของตะวันตกในงานสถาปัตยกรรมพัก<br />

อาศัยในสยาม ดังนั้นจุดประสงค์อีกประการหนึ่งก็คือ<br />

การหาคำอธิบายถึงช่วงเวลาและสาเหตุที่ทำให้สามัญชน<br />

ในสยามปรับวิถีชีวิตจากการอยู่อาศัยในเรือนไทยแบบ<br />

ประเพณี ซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่สืบเนื่องมาช้านาน และ<br />

เปลี่ยนมาอยู่บ้านแบบตะวันตก ซึ่งในที่สุดก็พัฒนามา<br />

เป็นวิถีชีวิตของคนไทยในสมัยรัชกาลที่ 9<br />

สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (ร.1 - ร.3 พ.ศ. 2325 - 2394)<br />

สมัยรัชกาลที่ 1<br />

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช<br />

The aim of this topic is to present a broad view of<br />

the various styles of residential architecture in Siam from<br />

the period of King Rama I to King Rama VIII. While the<br />

Early Rattanakosin period from Rama I to Rama III (1782 -<br />

1851) continued to be influenced by the traditional culture<br />

of Ayutthaya, the period from Rama IV to Rama VIII saw<br />

increasing Western influences following the signing of the<br />

Bowring treaty in 1855. Thus the major concern here is<br />

looking at the time periods and socio-political issues that<br />

led to significant changes in the way of life of the people<br />

and their dwellings - from living in the traditional Thai<br />

house that has developed since the period of Ayutthaya,<br />

to living in western style houses that virtually became an<br />

integral part of Thai people’s westernized way of life by<br />

the time of Rama IX.<br />

EARLY RATTANAKOSIN PERIOD (Rama I – Rama III)<br />

from 1782 – 1851<br />

King Phra Buddha Yodfa Chulaloke (Rama I) founded<br />

ทรงสถาปนาราชวงศ์จักรีขึ้นใน พ.ศ. 2325 และได้ทรง<br />

ย้ายเมืองหลวงจากฝั่งซ้ายของแม่น้ำเจ้าพระยาไปที่<br />

ฝั่งขวาหรือฝั่งตะวันออก และได้พระราชทานนามว่า<br />

“กรุงรัตนโกสินทร์”<br />

อนึ่ง สมัยกรุงธนบุรีนั้นเป็นสมัยแห่งการกู้ชาติ สยาม<br />

ได้ทำสงครามกับภัยคุกคามหลักคือ พม่า ถึง 10 ครั้ง<br />

ในช่วงเวลา 10 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2310 - 2319 แต่ใน<br />

สมัยรัตนโกสินทร์นั้นสงครามครั้งสำคัญที่แสดงให้เห็น<br />

ถึงความเข้มแข็งของกองทัพสยามคือ สงคราม 9 ทัพ<br />

กับพม่า ใน พ.ศ. 2328 ตอนต้นรัชกาลที่1 สงครามครั้งนี้<br />

เป็นสงครามที่สยามได้รับชัยชนะ แต่ใน พ.ศ. 2329<br />

พม่าก็ยกทัพใหญ่เข้ามาอีกทางด่านพระเจดีย์สามองค์<br />

และตั้งค่ายอยู่ที่ท่าดินแดงถึงสามสบ แต่กองทัพไทย<br />

ก็ได้เข้าโจมตีค่ายพม่าแตกภายใน 3 วัน นับเป็นชัยชนะ<br />

ที่เด็ดขาด จากนั้นมาจนสิ้นรัชกาลพม่าก็มิได้เข้ามา<br />

รุกรานไทยอีก บ้านเมืองเกิดความสงบสุขเหมาะแก่การ<br />

อยู่อาศัยและการค้าขายทำมาหากินต่างๆ<br />

พระมหาธรรมิกราชา<br />

ในการสถาปนาราชวงศ์จักรีและกรุงรัตนโกสินทร์นั้น<br />

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชได้ทรง<br />

the Chakri Dynasty in 1782 and moved the capital city of<br />

Siam from the west bank of the Chao Phraya River to the<br />

low lying terrain on the east bank. This new capital was<br />

named “Krungthep Maha Nakorn Bavorn Rattanakosin”<br />

or “Krung Rattanakosin”; and although a new capital had<br />

been founded, Burmese invasion remained a major threat to<br />

the kingdom during the beginning of the Rattanakosin era.<br />

Prior to that, following the fall of Ayutthaya in 1767,<br />

a great warrior named Phraya Taksin freed Siam from the<br />

Burmese and was proclaimed King. After his accession,<br />

he moved the Siamese capital from Ayutthaya down to<br />

Thonburi on the west bank of Chao Phraya River. During<br />

the decade between 1767 and 1777 of the Thonburi period,<br />

Siam continued to engage in up to ten wars with Burma.<br />

Then after King Yodfa took to the throne and founded the<br />

new capital on the east bank, the most crucial war with<br />

Burma at the beginning of the Rattanakosin period was the<br />

Nine Armies War in 1782. Siam succeeded in driving the<br />

aggressors back, but only to return a year later through the<br />

Three Pagoda Pass. The Burmese stationed themselves<br />

140


สถาปนาแนวอุดมการณ์ของกษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิราชย์<br />

ขึ้นใหม่ ในจารึกวัดพระเชตุพนได้กล่าวถึงพระบาทสมเด็จ<br />

พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชในฐานะธรรมิกราชา<br />

และพระโพธิสัตว์ นอกจากนี้แล้วหนังสือไตรภูมิโลก<br />

วินิจฉยกถา ฉบับที่ 2 (ไตรภูมิฉบับหลวง) ซึ่งเรียบเรียงขึ้น<br />

โดยพระยาธรรมปรีชา (แก้ว) เมื่อ พ.ศ. 2345 ก็ได้<br />

อธิบายว่า ประถมกษัตริย์ของโลกนั้นทรงเป็นพระบรม<br />

โพธิสัตว์ที่ทรงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์<br />

โดยมหาชน หรือทรงเป็น “พระมหาสมมุติ” 1 (ในทำนอง<br />

เดียวกันกับพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก<br />

มหาราช)<br />

การที่รัชกาลที่ 1 ทรงนิยามบทบาทของกษัตริยภาพ<br />

(Kingship) ในสมัยรัตนโกสินทร์ให้มีสถานะเป็น<br />

“ธรรมิกราชา” และพระโพธิสัตว์นั้นที่จริงแล้วก็คือการ<br />

กำหนดหน้าที่ของพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีให้<br />

เป็นผู้ปกป้องและทำนุบำรุงพุทธศาสนา รวมทั้งการ<br />

บำบัดทุกข์บำรุงสุขแก่ราษฎร ทั้งยังทรงถือว่าพุทธศาสนา<br />

เป็นคุณค่าทางวัฒนธรรมของคนไทยที่มีความสำคัญ<br />

ที่สุด และได้ทรงลดความสำคัญของศาสนาพราหมณ์ลง<br />

โดยได้ทรงมีพระบรมราชโองการห้ามมิให้มีการบูชา<br />

ศิวลึงค์อีกต่อไป<br />

การสร้างบ้านแปงเมือง<br />

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช<br />

ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ให้มี<br />

ลักษณะที่คล้ายคลึงกับกรุงศรีอยุธยา การวางตำแหน่ง<br />

ของพระบรมมหาราชวังทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำ<br />

เจ้าพระยาก็อยู่ในตำแหน่งเดียวกันกับการวางตำแหน่ง<br />

ของพระราชวังในสมัยอยุธยา ส่วนการสร้างอาคารกลุ่ม<br />

แรกนั้นมีลักษณะเป็นอาคารชั่วคราวสร้างด้วยโครงสร้างไม้<br />

หลังคามุงจาก ซึ่งเป็นกลุ่มอาคารที่สร้างขึ้นระหว่าง<br />

เดือนเมษายน พ.ศ. 2325 - พฤษภาคม พ.ศ. 2325<br />

พระที่นั่งอมรินทราภิเษกมหาปราสาท ซึ่งเป็น<br />

พระที่นั่งหลังคาทรงมณฑปและเป็นสัญลักษณ์ของ<br />

พระมหากษัตริย์นั้น เป็นพระที่นั่งองค์แรกก่อสร้างด้วย<br />

โครงสร้างไม้ทั้งหลังเมื่อ พ.ศ. 2326 ตามแบบพระที่นั่ง<br />

สรรเพชญปราสาทที่อยุธยา แต่เกิดไฟไหม้เสียหาย<br />

ทั้งหลังใน พ.ศ. 2332 พระที่นั่งองค์ใหม่ที่สร้างขึ้นแทนที่<br />

คือ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ซึ่งเป็นพระที่นั่งหลังคา<br />

ทรงมณฑปหลังแรกในพระบรมมหาราชวังที่มีโครงสร้าง<br />

ก่ออิฐถือปูน (Masonry) อาคารที่สร้างขึ้นตามแบบอยุธยา<br />

at Tha Din Daeng where, within three days of battle, their<br />

stronghold was promptly destroyed by the Siamese. This<br />

was an important victory for Siam and from 1785 until<br />

the end of Rama I, the political situation in the kingdom<br />

became calm and peaceful enough to establish a proper<br />

settlement for the people to inhabit and earn their living.<br />

Phra Maha Dharmika Raja (The Almighty and<br />

Righteous King)<br />

Apart from founding the House of Chakri and the new<br />

capital of Krung Rattanakosin, King Rama I also instituted<br />

the new Rattanakosin Kingship ideology. Reference to this<br />

ideology could be found on the stone inscription at Wat<br />

Phra Chetuphon or Wat Po (built circa 1788 – 1800) in<br />

which Rama I was portrayed as a Dharmika Raja and a<br />

Bodhisattva (the Forthcoming Buddha). Apart from the<br />

Wat Po inscription, Book Two of the literary writing on<br />

Buddhist Cosmology “Tribhumi Loka Vinijchaya Katha”<br />

(the story of the Three Planes of Existence) authorized by<br />

Rama I and written by Phraya Dharma Preecha in 1802,<br />

also explained that the world’s first king was a Bodhisattva<br />

who was publicly proclaimed “Phra Maha Sammati” 1<br />

(The Omnipotent Lord who was proclaimed King) as was<br />

King Rama I.<br />

Thus the ideology of the Chakri Dynasty pertaining to<br />

Rattanakosin Kingship was unquestionably clear. The king<br />

is to be a righteous person who patronizes and protects<br />

Buddhism in addition to being a Bodhisattva who helps<br />

his subjects to be free of sufferings from Dukkha (suffering<br />

itself). Rama I also forbade Shivalinga or Lingm (Phallic)<br />

worship while Buddhism was given greater importance by<br />

Siamese rulers as being the principal religion and the most<br />

important social value of Siamese society.<br />

Formation of the new capital<br />

In moving the capital city across to the east bank of<br />

the Chao Phraya River, the rulers had the image of the<br />

former glory of Ayutthaya in mind. Military reasons such<br />

as security and defense against further enemy attacks<br />

together with the convenience in using waterways as the<br />

main communication route, were among the major reasons<br />

for selecting Bangkok, which was a small village then,<br />

141


อีกหลังหนึ่งก็คือ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม<br />

ซึ่งสร้างขึ้นใน พ.ศ. 2326 -2327 ตามประเพณีการสร้าง<br />

วัดในเขตพระราชวังในสมัยอยุธยา พระอุโบสถนี้สร้างขึ้น<br />

ทางฟากตะวันออกของบริเวณพระบรมมหาราชวัง<br />

เพื่อเป็นที่ประดิษฐานองค์พระแก้วมรกต<br />

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช<br />

ยังได้ทรงสถาปนาวัดพระเชตุพนขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2331<br />

- 2343 วัดนี้เป็นวัดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในกรุงเทพฯ<br />

ลักษณะเด่นของวัดพระเชตุพนคือ วิธีการวางผังซึ่งผัง<br />

เขตพุทธาวาสนั้นจัดวางให้พระอุโบสถเป็นศูนย์กลาง<br />

มีระเบียงคดล้อมรอบ ผังของระเบียงคดมีลักษณะ<br />

เป็นระเบียงซ้อนกัน 2 ชั้น มีพระวิหารอยู่ตรงทิศหลัก<br />

ทั้ง 4 ทิศ ลักษณะของระเบียงคดที ่ซ้อนกัน 2 ชั้นนี้<br />

ไม่เคยมีปรากฏมาก่อนในสถาปัตยกรรมอยุธยา ดังนั้น<br />

จึงแสดงให้เห็นถึงความคิดสร้างสรรค์ของช่างสถาปนิก<br />

ที่พยายามพัฒนารูปแบบของสถาปัตยกรรมสมัย<br />

ต้นรัตนโกสินทร์ขึ้นมา<br />

วัดสุดท้ายที่สร้างขึ้นในรัชกาลที่ 1 ก็คือ วัดมหา<br />

สุทธาวาส (วัดสุทัศน์) ซึ่งสถาปนาขึ้นใน พ.ศ. 2350<br />

เพื่อเป็นวัดกลางเมืองตามแนวพระราชดำริในพระบาท<br />

as the site for the new capital. Thus Krung Rattanakosin<br />

(Bangkok) the new capital, was originally designed to be<br />

a fortified island city with the Grand Palace located in the<br />

same manner as the positioning of the Royal Palace in<br />

Ayutthaya.<br />

The architectural construction projects on the Grand<br />

Palace began in 1782. The first group of buildings built<br />

within this palatial compound were temporarily built of<br />

timber with thatched roofs, and hastily erected during<br />

April – May 1782.<br />

Construction of the palace proper however, began in<br />

1783 with the most important building that had the “mondop”<br />

style superstructure symbolizing the status of the king<br />

being the Amarindra Phisek Maha Prasat. The design of<br />

this building was based on Sanphet Prasat in Ayutthaya<br />

but the structure was built entirely of timber. Then in 1789<br />

the building caught fire and was burnt down. In its place,<br />

Dusit Maha Prasat was built based on the Greek-cross<br />

plan with a mondop roof. The design was also based on<br />

another prasat in Ayutthaya, the Suriya Amarindra. Built<br />

สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก และเพื่อประดิษฐาน<br />

พระศรีศากยมุนี พระพุทธรูปสัมฤทธิ์ขนาดใหญ่ซึ่งเดิม<br />

เคยประดิษฐานเป็นพระประธานของวัดมหาธาตุ ซึ่ง<br />

เป็นวัดกลางเมืองของสุโขทัย วัดมหาสุทธาวาสหรือ<br />

วัดสุทัศน์จึงเป็นสัญลักษณ์ของความเชื่อมโยงระหว่าง<br />

กรุงรัตนโกสินทร์กับกรุงสุโขทัย โดยเฉพาะแนวคิด<br />

ในเรื่องของกษัตริย์ในฐานะธรรมิกราชา<br />

หอไตร วัดระฆัง เดิมเป็นที่พำนักของพระราชวรินทร์<br />

(นายทองด้วง) เจ้ากรมพระตำรวจนอกขวา สมัยกรุงธนบุรี<br />

(พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) ต่อมา<br />

ในสมัยรัตนโกสินทร์ราว พ.ศ. 2327 รัชกาลที่ 1 ทรงมี<br />

พระราชประสงค์ที่จะถวายเรือนพำนักเดิมดังกล่าว<br />

ให้แก่วัดระฆัง เพื่อใช้เป็นหอพระไตรปิฎก จึงโปรดเกล้าฯ<br />

ให้รื้อถอนเรือนนำมาสร้างใหม่ให้เป็นหอพระไตรปิฎก<br />

กลางสระน้ำ<br />

หอพระไตรปิฎกเป็นเรือนทรงไทยสามหลังแฝด<br />

ยกใต้ถุนสูง มีลักษณะเป็นเรือนเครื่องสับ ผนังเรือนเป็น<br />

ผนังไม้ฝาปะกน เข้าไม้โดยการบาก เซาะร่อง ใช้สลัก<br />

เหล็กในการประกอบโครงสร้างเรือนเข้าด้วยกัน หอ<br />

พระไตรปิฎกนี้เมื่อครั้งเป็นเรือนพักของพระราชวรินทร์<br />

of brick masonry with timber roof structure, Dusit Maha<br />

Prasat was the first brick building to be built within the<br />

living quarters of the royal palace.<br />

The Ayutthaya tradition continued with the construction<br />

of a temple within the compound of the Grand Palace<br />

when the Temple of the Emerald Buddha was built on the<br />

eastern section of the palace in 1783 - 84 to enshrine the<br />

image of the Emerald Buddha.<br />

During 1788 – 1800, another temple, Wat Phra<br />

Chetuphon or Wat Po (Temple of the Reclining Buddha) the<br />

largest monastery in Bangkok, was built by King Rama I.<br />

The design of this monastery appears to have been based<br />

on the concept of the Buddhist Cosmology in accordance<br />

with the writings in the book “Tribhumi Loka Vinijchaya<br />

Katha”. Its overall design was complex but skillfully executed<br />

and highly ornamented while the most outstanding feature<br />

is the layout. The ubosot (ordination hall) of the temple is<br />

enclosed by two rows of galleries (rabiang khot) with four<br />

congregation halls, each of which is situated at the four<br />

cardinal points. The double gallery feature applied here<br />

142


คงมีลักษณะเป็นเรือนสองหลังเชื่อมด้วยชานระหว่าง<br />

เรือน ครั้นเมื่อนำมาสร้างเป็นหอไตรจึงได้เพิ่มโครงสร้าง<br />

หลังคาตรงกลางระหว่างเรือนเดิมสองหลัง กลายเป็น<br />

เรือน 3 หลังแฝด ทั้งยังได้มีการปรับปรุงตัวเรือนให้มี<br />

ลักษณะขององค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมให้มีความ<br />

วิจิตรขึ้นด้วยฝีมือช่างชั้นเยี่ยม เช่น บานประตูสลักลาย<br />

คันทวยสลักลาย ทั้งยังมีการเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนัง<br />

ภายในห้องอีกด้วย<br />

ดังนั้นหอพระไตรปิฎก วัดระฆังโฆสิตาราม จึงเป็น<br />

หลักฐานของฝีมือช่างสถาปัตยกรรม และช่างศิลป์ซึ่ง<br />

เป็นฝีมือช่างชั้นสูง และแสดงถึงการสืบเนื่องของงาน<br />

ศิลปะสมัยอยุธยาตอนปลายและตอนต้นรัตนโกสินทร์<br />

การติดต่อกับชาติตะวันตก โปรตุเกสเป็นชาติตะวัน<br />

ตกชาติแรกที่เข้ามาติดต่อกับไทยในสมัยรัตนโกสินทร์<br />

ตอนต้น โดยนาย Antonio de Uessent ชาวโปรตุเกส<br />

ได้เป็นผู้อัญเชิญพระราชสาส์นจากกรุงลิสบอนมายัง<br />

กรุงเทพฯ ใน พ.ศ. 2329 พระบาทสมเด็จพระพุทธ<br />

ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้ทางไทยต้อนรับ<br />

อย่างสมเกียรติ และทางไทยก็ได้มีพระราชสาส์นตอบ<br />

ไปยังกรุงลิสบอนเช่นเดียวกัน การที่โปรตุเกสต้องการ<br />

was unprecedented in the Ayutthaya period and therefore<br />

marked a new development in the attempt to depart from<br />

the Ayutthaya style and expressed the beginning of a new<br />

creativity pertaining to the Rattanakosin era.<br />

The last monastery to be initiated by Rama I was Wat<br />

Maha Suthavas (Wat Suthat). Built in 1807 to house the<br />

largest bronze Buddha image statue brought down from<br />

Sukhothai, this monastery was also intended to symbolize<br />

the heart of the capital city. In this regard, it should be<br />

noted that the heart of Bangkok was thus to be marked by<br />

the largest Principal Buddha image that was brought down<br />

from the heart of the old Sukhothai Kingdom and in effect<br />

emphasized the strong religious belief of the Rattanakosin<br />

era through the association of the first and oldest capital of<br />

the kingdom with the new one, particularly in connection<br />

with the ideology of “Dharmika Raja” kingship.<br />

Hor Trai of Wat Rakhang (Library of the Holy Buddhist<br />

Scriptures)<br />

Hor Trai of Wat Rakhang temple was once the former<br />

residence of King Rama I from the time when he held the<br />

เข้ามามีสัมพันธไมตรีกับราชสำนักสยามก็เนื่องจาก<br />

การที่โปรตุเกสเป็นชาติที่เข้ามาติดต่อกับสยามเป็นชาติ<br />

แรกในสมัยอยุธยาเมื่อ พ.ศ. 2054 ตรงกับรัชสมัยของ<br />

พระรามาธิบดีที่ 2 และได้สร้างฐานการค้าที่มั่นคงใน<br />

อยุธยากระทั่งเสียกรุงครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2310 ฉะนั้น<br />

เมื่อไทยเริ่มมีความมั่นคงทางการเมืองขึ้นในสมัย<br />

รัตนโกสินทร์จึงต้องการที่จะเข้ามาตั้งฐานการค้าใน<br />

กรุงเทพฯ ขึ้นอีกครั้งหนึ่ง<br />

สหราชอาณาจักรเช่าเกาะปีนัง ในวันที่ 11 สิงหาคม<br />

พ.ศ. 2329 สหราชอาณาจักรได้ทำสัญญาเช่าเกาะ<br />

ปีนัง (เกาะหมาก) ซึ่งเป็นรัฐบรรณาการ (Tributary<br />

state) ของไทย การเช่าเกาะปีนังหรือเกาะหมากจาก<br />

พระยาไทรบุรีโดยบริษัท British East India เป็นผู้เช่า<br />

ในครั้งนี้เป็นการเช่าแบบ Quit - rent หมายความว่า<br />

สหราชอาณาจักรเข้าไปเป็นผู้เช่าแลกกับสิทธิ์ในการให้<br />

ความคุ้มครองทางการเมืองกับไทรบุรี ซึ่งการเช่าที่ดิน<br />

ในลักษณะนี้สหราชอาณาจักรสามารถอ้างสิทธิ์ในการ<br />

ครองครองที่ดินได้ตามหลักกฎหมายครอบครองที่ดิน<br />

ของยุโรป (European feudal law) การเช่าเกาะปีนัง<br />

ถือว่าเป็นก้าวแรกของการขยายอำนาจทางการเมือง<br />

title of Phra Rajvarin during the Thonburi era. After having<br />

ascended the throne, he donated it to Wat Rakhang around<br />

1784 and had it converted into a library that stands in the<br />

middle of a pond.<br />

The library is a stilted timber building in the traditional<br />

Thai style with fa-pakon walls constructed of framed beveled<br />

and wedged wooden panels, and has triple-gabled roof.<br />

Originally, the former house would have been two separate<br />

units, each with its own gable, joined by a common open<br />

deck between them. This common space became roofed<br />

on renovation and hence gave the building its three<br />

gables. The architectural detailing and artistic works on<br />

the library such as the mural paintings by Ajarn Nak (an<br />

artisan monk), carvings on the wooden door panels and<br />

the wood-carved brackets for example, were all produced<br />

by highly skilled artists and craftsmen. Thus Hor Trai of<br />

Wat Rakhang is therefore a testimony of the high quality<br />

artistic and architectural workmanship that continued to<br />

be passed down from late Ayutthaya through to the early<br />

Rattanakosin period.<br />

143


ของสหราชอาณาจักรเข้ามาทางตอนเหนือของมลายู<br />

ก่อนที่จะยึดครองมลายูเป็นประเทศอาณานิคมของ<br />

สหราชอาณาจักรในที่สุด<br />

สมัยรัชกาลที่ 2<br />

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงครอง<br />

ราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2352 - 2367 ช่วงเวลาของการ<br />

ครองราชย์ในรัชสมัยนี ้นับว่าเป็นช่วงเวลาที่เหตุการณ์<br />

ทางการเมืองค่อนข้างสงบ การสงครามกับพม่ามีเพียง<br />

1 ครั้ง ตอนต้นรัชกาลคือ ใน พ.ศ. 2352 หลังจากพิธี<br />

บรมราชาภิเษกได้เพียง 2 เดือน กองทัพพม่ายกเข้า<br />

มายึดหัวเมืองทางใต้ เช่น ตะกั ่วป่า ตะกั่วทุ่ง ถลาง<br />

เป็นต้น แต่กองทัพสยามก็สามารถขับไล่พม่าออกไป<br />

ได้ในที่สุด<br />

สถานการณ์ในประเทศที่ค่อนข้างสงบเป็นโอกาสให้<br />

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้ทรงมีโอกาส<br />

ที่จะทรงงานด้านศิลปะได้อย่างเต็มที่ พระบาทสมเด็จ<br />

พระพุทธเลิศหล้านภาลัยนั้น ท่านทรงเป็นพระมหากษัตริย์<br />

ที่ทรงมีพระปรีชาสามารถในทางศิลปะหลายแขนง เช่น<br />

วรรณคดี ประติมากรรม ดนตรี เป็นต้น ความสามารถ<br />

International relations with the West<br />

During the Ayutthaya period, Portugal was the first<br />

western nation to sign a Pact of Friendship and Trade with<br />

Siam in 1518. The two nations enjoyed mutual interests<br />

in bilateral relations until the fall of Ayutthaya in 1767.<br />

When the political situation during the early Rattanakosin<br />

period became stable, the Portuguese once again were<br />

the first to seek an opportunity to reestablish relationships<br />

with Siam. In 1786, a Portuguese representative was sent<br />

bearing royal correspondence from Lisbon to the Siamese<br />

Court. After the Portuguese emissary had been received<br />

with due honor and dignity, King Rama I graciously sent<br />

his correspondence in return to the Portuguese Court.<br />

British acquisition of Penang<br />

On August 11, 1786, the British East India Company<br />

had reached an agreement on leasing the island of Penang<br />

from the Sultanate of Kedah. At the time, Penang was part<br />

of Kedah Sultanate which was a tributary state of Siam.<br />

The term of lease was quit-rent which meant that Kedah<br />

would be under British military protection against external<br />

ทางด้านศิลปะของรัชกาลที่ 2 นี้คงจะเป็นที่สังเกตของ<br />

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ดังนั้นสมเด็จ<br />

พระราชบิดาจึงได้ทรงมอบหมายให้ทรงเป็นแม่กองใน<br />

การปรับปรุงตำหนักเดิมของรัชกาลที่ 1 ครั้งยังเป็น<br />

พระราชวรินทร์ สมัยกรุงธนบุรี เพื่อสร้างเป็นหอไตรถวาย<br />

วัดระฆังโฆสิตาราม เมื่อ พ.ศ. 2327 ความรับผิดชอบ<br />

ในการก่อสร้างดังกล่าวทำให้รัชกาลที่ 2 ทรงมีโอกาส<br />

ที่ได้ทรงงานร่วมกับช่างศิลป์ฝีมือเอกในตอนต้นสมัย<br />

รัตนโกสินทร์หลายท่าน หนึ่งในนั้นก็คือ ท่านอาจารย์นาค<br />

ซึ่งเป็นพระภิกษุที่มีฝีมือทางด้านจิตรกรรม และเป็น<br />

ผู้เขียนภาพรามเกียรติ์ภายในหอไตรในส่วนที่เป็นหอกลาง<br />

ฉะนั้นการทรงงานในฐานะแม่กองก่อสร้างหอไตร<br />

วัดระฆังจึงเปรียบเสมือนการจุดประกายการพัฒนา<br />

งานด้านศิลปกรรมไทยในสมัยรัชกาลที่ 2<br />

สำหรับการสร้างวัดสำคัญในกรุงเทพฯ นั้น ส่วน<br />

ใหญ่เป็นการสานต่อการก่อสร้างในโครงการที่สร้างมา<br />

ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 เช่น การสร้างวัดมหาสุทธาวาส<br />

(วัดสุทัศน์เทพวรารามวรมหาวิหาร) นั้น การวางผัง<br />

วัดก็สร้างขึ้นตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จ<br />

พระพุทธเลิศหล้านภาลัย ส่วนการสร้างวิหารนั้นรัชกาลที่ 2<br />

threats; and according to the European Feudal Law, the<br />

lessee could subsequently claim ownership rights on the<br />

occupied piece of land. The occupation of Penang by the<br />

British East India Company was the first sign of British<br />

threat to the political influence of Siam over Northern Malay<br />

Peninsula which eventually during the early 20 th century,<br />

or around the end of the reign of King Rama V, the entire<br />

Malay Peninsula became a British colony and part of her<br />

Commonwealth.<br />

King Phra Buddha Loetla Nabhalai (Rama II) reigned<br />

from 1809 to 1824 when the political situation in the kingdom<br />

was considered to be relatively peaceful. Siam engaged<br />

in only one war with Burma during the beginning of the<br />

reign when Burmese troops invaded several southern<br />

provinces such as Takua-Pa, Takua-Tung and Thalang,<br />

among others, just two months after the king’s coronation<br />

in 1809. Siam however, was able to force the Burmese to<br />

retreat and the situation hence became more peaceful.<br />

The atmosphere of peace allowed Rama II to spend<br />

more time on his personal passion in the arts which he was<br />

144


ก็ได้ทรงมีพระราชศรัทธาจำหลักบานประตูพระวิหาร<br />

ด้วยพระองค์เอง แต่สิ้นรัชกาลเสียก่อนที่งานก่อสร้าง<br />

จะสำเร็จ นอกจากการสร้างวัดมหาสุทธาวาสแล้วก็ยัง<br />

ทรงมีพระราชดำริให้สร้างพระปรางค์ใหญ่ขึ้นภายใน<br />

วัดอรุณราชวราราม แต่เมื่อเริ่มขุดดินวางรากฐาน<br />

พระปรางค์ก็สิ้นรัชกาลเสียก่อน ต่อมารัชกาลที่ 3 ทรง<br />

สร้างจนเสร็จสมบูรณ์<br />

งานด้านสถาปัตยกรรมในพระบรมมหาราชวังนั้น<br />

ได้โปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎา<br />

บดินทร์ (รัชกาลที่ 3) ทรงเป็นแม่กองจัดสร้างสวนข้าง<br />

หมู่พระมหามณเฑียรทางด้านตะวันออก (สวนขวา)<br />

ขึ้นใหม่ มีการขุดสระ สร้างภูเขาจำลอง ตลอดจนมีการ<br />

สร้างพระราชมณเฑียรและสร้างตึกขึ้นหลายหลัง โดยมี<br />

อาคารทั้งที่เป็นตึกฝรั่งและเก๋งจีน ตึกฝรั่งตึกหนึ่งที่<br />

ภายหลังในสมัยรัชกาลที่ 3 ได้มีการรื้อไปสร้างใหม่ที่<br />

วัดบวรนิเวศวิหาร ได้แก่ ตึกปั้นหยา หรือ พระปั้นหยา ซึ่ง<br />

เป็นที่ประทับของท่านวชิรญานภิกขุ (รัชกาลที่ 4) ขณะยัง<br />

ทรงผนวช ตึกนี้มีลักษณะเป็นอาคารแบบตะวันตก<br />

ก่ออิฐฉาบปูน มีหน้าต่างเป็นระยะ หลังคาทรงจั่วมี<br />

รายละเอียดแบบจีน แต่ผังเป็นผังกุฏิพระแบบไทย<br />

known to be ingenious in a number of artistic disciplines<br />

such as literature, sculpture and music for example. His<br />

father (King Rama I) must have recognized such inclination<br />

since earlier days, and so appointed him (then Prince Issara<br />

Sundhorn) to be in charge of a renovation project in 1784.<br />

The project was to renovate Rama I’s former residence<br />

from the time when he still served as Phra Rajvarin under<br />

King Taksin during the Thonburi period, and convert it into<br />

a library (Hor Trai) which is to be donated to the temple<br />

of Wat Rakhang for housing holy Buddhist manuscripts.<br />

In the process, the then prince had the opportunity to<br />

work with many accomplished artists and craftsmen of<br />

the time, one of whom was Ajarn Nak, the artisan monk<br />

who was well known for his painting skills. The outcome<br />

of this undertaking as supervisor on the Hor Trai project<br />

could be said to have greatly inspired the subsequent<br />

beginning of the glorious days of Thai art and culture<br />

during his reign as Rama II.<br />

In the period of his reign, important architectural<br />

undertakings were mostly religious buildings of the monastery<br />

จึงเป็นตัวอย่างที่ดีของอาคารพักอาศัยแบบตึกที่มีอิทธิพล<br />

ตะวันตกผสมผสานกับอิทธิพลจีนในสมัยรัชกาลที่ 2<br />

ส่วนอาคารพักอาศัยของราษฎรทั่วไปนั้นไม่ปรากฏ<br />

หลักฐานอ้างอิงที่ชัดเจน แต่ก็น่าจะเป็นอาคารที่สร้าง<br />

ด้วยโครงสร้างไม้ เป็นเรือนเครื่องสับหรือเรือนเครื่องผูก<br />

ตัวเรือนยกพื้นสูงตามประเพณีที่สืบเนื่องมาตั้งแต่สมัย<br />

อยุธยาและสมัยรัชกาลที่ 1 นั่นเอง<br />

การค้ากับต่างประเทศ<br />

เจ้านายที่ทรงติดต่อค้าขายกับประเทศจีนได้แก่<br />

พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ซึ่งทรง<br />

มีความสามารถต่อเรือสำเภาได้เอง และทรงเป็น<br />

ผู้บังคับบัญชากรมท่า การค้าขายกับจีนทำให้ได้กำไรเข้า<br />

ท้องพระคลังเป็นจำนวนมาก สมเด็จพระราชบิดาทรงเรียก<br />

กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ว่า “เจ้าสัว” ซึ่งสามารถสะท้อนถึง<br />

บุคลิกภาพและความเชี่ยวชาญในด้านการงานได้เป็นอย่างดี<br />

สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์นั้น<br />

ทรงสนับสนุนและส่งเสริมการค้ากับต่างประเทศ ทั้ง<br />

ชาวเอเชียและชาวยุโรป ทำให้เศรษฐกิจของไทยขยาย<br />

ตัวอย่างมากและมีความมั่นคงขึ้น<br />

complex initiated in the previous reign that still had to be<br />

completed. The layout plan of Wat Maha Suthavas (Wat<br />

Suthat) for example, only materialized following the design<br />

by Rama II himself. The king’s faith in Buddhism was further<br />

demonstrated by the application of his artistic skill in carving<br />

the wooden door panels of the congregation hall as well.<br />

Regrettably however, his reign ended before the task was<br />

completed. Rama II also initiated the building of the Great<br />

Prang (the Khmer-influenced Thai Prang) at Wat Arun<br />

Rajvararam or the Temple of Dawn, which was far from<br />

completion when he passed away after only the foundation<br />

had been laid. Nevertheless, construction continued until<br />

it was eventually completed in the following reign.<br />

With regards to the building projects within the<br />

compound of the Grand Palace, Rama II assigned his son,<br />

Prince Jessada Bodindra (later crowned King Rama III) to<br />

be in charge of redeveloping the area to the east of the<br />

royal residences. The outcome of the undertaking included<br />

pools, rock gardens, royal residences, and several brick<br />

buildings built in western and Chinese styles. One of the<br />

145


การติดต่อกับชาติตะวันตก<br />

ในสมัยรัชกาลที่ 2 นี้ ในยุโรปเกิดความไม่สงบ<br />

จากสงครามนโปเลียน (Napoleonic Wars) ระหว่าง<br />

ค.ศ. 1799 - 1815 (พ.ศ. 2342 - 2358) ซึ่งคาบเกี่ยว<br />

ระหว่างปลายรัชสมัยรัชกาลที่ 1 ถึงกลางรัชกาลที่ 2<br />

จะเห็นว่าสหราชอาณาจักรเข้ามาติดต่อกับสยามเป็น<br />

เรื่องเป็นราวหลังจากที่สงครามนโปเลียนสงบลงไปแล้ว<br />

ประมาณ 6 ปี แสดงว่าเมื่อศึกใหญ่ทางยุโรปสงบลงแล้ว<br />

ทางมหาอำนาจของยุโรปก็เริ่มรุกคืบหน้าขยายอำนาจ<br />

ทางการเมืองของตนมาทางตะวันออกต่อไป<br />

การติดต่อกับชาติตะวันตกอย่างเป็นทางการเป็นครั้งแรก<br />

ในรัชสมัยเริ่มขึ้นใน พ.ศ. 2361 ข้าหลวงโปรตุเกสที่<br />

มาเก๊าได้ส่ง คาร์ลอส มานูเอล ซิลเวียรา (Carlos<br />

Manuel Silviera) เป็นทูตอัญเชิญพระราชสาส์นเข้า<br />

มาขอเจริญสัมพันธไมตรีกับสยาม ซึ่งสยามก็ให้การ<br />

ต้อนรับเป็นอย่างดี และได้ขอให้โปรตุเกสจัดหาซื้อ<br />

ปืนคาบศิลาให้จำนวน 400 กระบอก โปรตุเกสก็เป็น<br />

ผู้จัดหาซื้อให้ได้ตามความประสงค์ ต่อมาอีก 2 ปี คือใน<br />

พ.ศ. 2363 โปรตุเกสขอตั้งสถานกงสุลขึ้นในสยาม และ<br />

ขอให้คาร์ลอส มานูเอล ซิลเวียรา เป็นกงสุลโปรตุเกส<br />

western style buildings, Phra Panya, was later relocated<br />

to the monastery of Wat Bovornives Viharn in the period of<br />

Rama III as accommodation for Phra Vajirayana Bhikkhu<br />

(monkhood title of future King Mongkut, or Rama IV).<br />

The masonry brick building with western influence had<br />

windows at intervals while the roof gable was decorated<br />

with details of Chinese influence, and the planning was<br />

that of a typical traditional Thai monk’s lodging unit. Phra<br />

Panya thus was an excellent example of masonry residential<br />

building built during the time of Rama II in which western<br />

and Chinese influences were blended and morphed into<br />

a unique Thai style.<br />

As for houses of commoners at the time, there is<br />

no clear evidence of what they were like. However, it is<br />

plausible to presume that they were timber or bamboo<br />

houses built on wooden stilts as traditionally practiced since<br />

the period of Ayutthaya through to the period of Rama I.<br />

Foreign trade<br />

A member of the royal family renowned for doing<br />

trade with China was Prince Jessada Bodindra who at one<br />

ประจำสยาม ซึ่งทางราชสำนักก็ยอมรับด้วยไมตรี<br />

นับว่าเป็นการตั้งสถานกงสุลต่างประเทศขึ้นเป็น<br />

ครั้งแรกในสมัยรัตนโกสินทร์ และต่อมาพระบาทสมเด็จ<br />

พระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้ทรงแต่งตั้งให้นายคาร์ลอส<br />

มานูเอล ซิลเวียรา เป็นหลวงอภัยพานิช<br />

การริเริ่มครั้งสำคัญซึ่งเป็นประโยชน์ทางการต่าง<br />

ประเทศของสยามใน พ.ศ. 2361 ได้แก่ การที่พระยา<br />

สุริยวงศ์มนตรี (ดิศ บุนนาค ต่อมารัชกาลที่ 4 ได้ทรง<br />

แต่งตั้งให้เป็นสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์)<br />

ขุนนางชั้นผู้ใหญ่ได้เขียนจดหมายเป็นภาษาโปรตุเกส<br />

ติดต่อไปยังประธานาธิบดีเจมส์ มอนโร แห่งประเทศ<br />

สหรัฐอเมริกา และให้คำแนะนำว่าสินค้าที่สยามต้องการ<br />

คือ ปืนคาบศิลา นับว่าเป็นการติดต่อกันทางหนังสือ<br />

เป็นครั้งแรกระหว่างสองประเทศ ดังนั้นในระหว่าง<br />

พ.ศ. 2363 - 2372 เรืออเมริกันหลายลำจึงเดินทางมา<br />

กรุงเทพฯ ตามคำแนะนำของพระยาสุริยวงศ์มนตรี<br />

ส่วนทางสหราชอาณาจักรนั้นใน พ.ศ. 2364 Lord<br />

Hastings ข้าหลวงใหญ่ของสหราชอาณาจักรในอินเดีย<br />

ได้ส่ง Dr. John Crawfurd มายังราชสำนักสยามเพื่อ<br />

หยั่งท่าทีของไทยเกี่ยวกับรัฐทางตอนเหนือของมลายู<br />

stage, held the position of minister of trade and foreign<br />

affairs. The prince had his own junk boats built specifically<br />

for such purpose, and trading with China brought in a large<br />

amount of profit and revenue for Siam. His father, King<br />

Rama II, called him “Jao Sua” (tycoon) - an indication of<br />

how successful he was as a businessman at the time.<br />

Apart from China, Prince Jessada also actively engaged<br />

in trade with European and other Asian countries as well.<br />

As a result, the kingdom’s income and economy greatly<br />

expanded and the general situation became much more<br />

stable during the time of his taking office in such position<br />

under his father’s reign.<br />

International relations with the West<br />

During 1799 - 1815, Europe was going through the<br />

Napoleonic Wars which took place around the overlapping<br />

period between the end of Rama I and the mid-reign of<br />

Rama II. Six years after the wars ended, Britain began to<br />

make official contacts with Siam. At the same time, other<br />

powerful European nations were also ready to expand<br />

their influential powers to the East.<br />

146


โดยเฉพาะเรื่องเกี่ยวกับอำนาจเหนือรัฐไทรบุรี (เกาะ<br />

หมากและสมารังไพร) ตลอดจนการทำสัญญาการค้า<br />

กับไทย พร้อมกับขอทำแผนที่และศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ<br />

ทรัพยากรธรรมชาติและประชากรของไทย แต่การ<br />

เจรจาล้มเหลวทั้งสองฝ่ายไม่สามารถบรรลุข้อตกลงที่<br />

จะดำเนินการตามที่ทางฝ่ายสหราชอาณาจักรต้องการได้<br />

แต่ถึงแม้ว่าการเจรจาเป็นทางการจะไม่ประสบผลสำเร็จ<br />

ครอว์ฟอร์ด (นายการะฝัด) ก็ได้ทำการสำรวจระดับน้ำ<br />

ตามปากอ่าวสยาม (ปัจจุบันเรียกว่าอ่าวไทย) เพื่อทำ<br />

แผนที่ได้สำเร็จ ส่อถึงเจตนารมณ์ของการรุกรานซึ่ง<br />

ทำให้ไทยไม่พอใจมาก<br />

Dr. John Crawfurd นั้นถูกส่งเข้ามากรุงเทพฯ<br />

ในฐานะทูต แต่แท้จริงแล้วเขาเป็นแพทย์ และมีความ<br />

สนใจสิ่งต่างๆ อย่างหลากหลาย เช่น มีความสนใจ<br />

เรื่องภาษาแถบตะวันออก เป็นต้น เขาเป็นคนช่าง<br />

สังเกตและได้ทำบันทึกเอาไว้ว่าจำนวนประชากรใน<br />

กรุงเทพฯ น่าจะมีประมาณ 50,000 คน เขายังตั้ง<br />

ข้อสังเกตด้วยว่าพุทธศาสนาและอุดมการณ์ธรรมิกราชา<br />

มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในสังคมไทยมาก เขาบันทึก<br />

ว่า “องค์กรทางศาสนามีอิทธิพลมากต่อระบบบริหาร<br />

Siam’s first official contact with the West during the<br />

period of Rama II took place in 1818. The Portuguese<br />

Governor in Macao delegated Carlos Manuel Silviera as<br />

envoy to bear a letter of amity from the King of Portugal<br />

and to establish friendly relations between the two nations.<br />

The intent was well reciprocated by Siam and request<br />

was made for Portugal to handle the procurement of 400<br />

muskets on its behalf. Two years later in 1820, Siam<br />

agreed to Portugal setting up a consulate in the kingdom<br />

with Carlos Manuel Silviera as the Consul General. It<br />

was the first foreign consulate to be established in the<br />

Rattanakosin era, and Silviera was later given the title of<br />

Luang Abhaipanich (rank and title conferred upon officials<br />

of Siamese government) by Rama II.<br />

An important initiative considered to be a significant<br />

international move by Siam also took place in 1818.<br />

Phraya Suriyawongse Montri (Dis Bunnag who was<br />

subsequently promoted to the title of Somdej Chaophraya<br />

Borom Maha Prayurawongse by Rama IV) sent a letter,<br />

in the Portuguese language, to President James Monroe<br />

ราชการแผ่นดิน ข้าพเจ้าคิดว่าสยามนั ้นเป็นประเทศ<br />

เดียวในโลกซึ่งศาสนามีส่วนสำคัญมากในการกำหนดวิถี<br />

ทางการดำรงชีวิตของราษฎร” อิทธิพลทางด้านสังคม<br />

และวัฒนธรรมยังสะท้อนให้เห็นในรูปของสิ่งแวดล้อม<br />

ทางกายภาพ Crawfurd บันทึกว่า “วัดวาอารามเหล่านี้<br />

เป็นสิ่งที่มีความวิจิตรงดงามที่สุดในประเทศ” อย่างไร<br />

ก็ดีในสมัยรัชกาลที่ 1 และรัชกาลที่ 2 นั ้น ผู้ที่สร้าง<br />

วัดสำคัญในกรุงเทพฯ ก็คือ พระมหากษัตริย์และสมาชิก<br />

คนสำคัญในราชตระกูลทั้งสิ้น<br />

สมัยรัชกาลที่ 3<br />

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงครอง<br />

ราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2367 - 2394 พระราชภารกิจสำคัญ<br />

ประการหนึ่งก็คือ การปรับปรุงวิธีการเก็บภาษีอากรเพื่อ<br />

ให้รายได้ของรัฐบาลมีมากขึ้นและมีความแน่นอน โดย<br />

การนำระบบเจ้าภาษีนายอากร (Tax Farming System)<br />

มาใช้ กล่าวคือ ให้เอกชนเป็นผู้ผูกขาดการจัดเก็บภาษี<br />

โดยเอกชนเป็นผู้แข่งขันกันในการประมูลราคา เอกชน<br />

ผู้ให้ราคาสูงสุดจะเป็นผู้ผูกขาดการเก็บภาษี ซึ่งพระบาท<br />

สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงอธิบายว่า “... ได้<br />

of the United States expressing that Siam was seeking to<br />

purchase a certain number of muskets. This was the first<br />

letter of correspondence to establish relationship between<br />

the two countries and consequently, many ships sailed<br />

with cargos from the United States to Bangkok between<br />

1820 and 1829.<br />

In 1821, the British Consul General in India sent Dr.<br />

John Crawfurd to ascertain Rama II’s stance on the political<br />

situation concerning the northern provinces of the Malay<br />

Peninsula, especially with regards to the control over Kedah<br />

(Penang and Seberang Perai). Other agendas included<br />

trade agreements with Siam, cartographic undertaking,<br />

obtaining demographic information, and exploring natural<br />

resources. The mission turned out unsuccessful as Siam<br />

rejected all of Britain’s propositions. Despite the failed<br />

diplomatic attempt to negotiate, Crawfurd nevertheless<br />

managed to collect data on water levels and navigation<br />

routes in the Gulf of Siam. This greatly offended Siam since<br />

the implication was obvious that it was an intentional threat<br />

by the British to undermine the kingdom’s sovereignty.<br />

147


เงินใช้ในราชการแผ่นดินดีกว่ากำไรค้าสำเภา ...” ฉะนั้น<br />

การปรับปรุงระบบภาษีดังกล่าวจึงเป็นการทำให้การ<br />

ออมเงินเข้าท้องพระคลังในสมัยรัชกาลที่ 3 มีความ<br />

สม่ำเสมอมากขึ้น<br />

การต่างประเทศ<br />

ในด้านการต่างประเทศนั้น พระบาทสมเด็จ<br />

พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงจับตาดูบทบาททางการเมือง<br />

ของชาติตะวันตกด้วยความระมัดระวัง และด้วยความ<br />

เข้าใจในศักยภาพและความได้เปรียบทางการทหารของ<br />

ชาติตะวันตกเป็นอย่างดี ท่าทีที่แข็งกร้าวของอังกฤษใน<br />

การทำสงครามระหว่างอังกฤษกับพม่าตั้งแต่ พ.ศ. 2367<br />

ซึ่งอังกฤษชนะเมื่อ พ.ศ. 2369 และในที่สุดอังกฤษได้<br />

เข้ายึดพม่าเป็นอาณานิคมใน พ.ศ. 2428 และสงคราม<br />

ฝิ่นกับจีนซึ่งอังกฤษได้รับชัยชนะใน พ.ศ. 2385 ทำให้<br />

เป็นที่ชัดเจนว่าดุลยภาพทางการเมืองในเอเชียและโดย<br />

เฉพาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เปลี่ยนไปแล้ว อำนาจ<br />

ที่เป็นภัยคุกคามต่อไทยที่แท้จริงนับตั้งแต่ต้นรัชกาลที่ 3<br />

คือภัยจากชาติตะวันตกนั่นเอง ดังนั้นพระองค์จึงทรง<br />

มีนโยบายด้านการต่างประเทศต่อชาติตะวันตกตั้งแต่<br />

ต้นรัชกาลที่เป็นนโยบายประนีประนอมไม่แข็งกร้าว<br />

Although dispatched to Bangkok as a diplomatic<br />

representative, Dr. John Crawfurd was in fact a trained<br />

physician who was very observant and had varied personal<br />

interests which included Oriental languages. From his<br />

observations, he estimated the population of Bangkok to<br />

be around 50,000 at the time, and that Buddhism and the<br />

ideology of righteous monarchy were very important to the<br />

Siamese society. In his journal, he documented that “Religious<br />

institutions have great influence on the administration of<br />

the state. I think Siam might be the only country in the<br />

world where religion plays a part in determining how people<br />

live.” He also observed that social and cultural influences<br />

were evident in the formation of the physical environment,<br />

and that “Temples are the most exquisite buildings in the<br />

country.” As a matter of fact, on the subject of temples,<br />

it can be seen that during the periods of Rama I and II,<br />

all the important temples in Bangkok were commissioned<br />

solely by the king and royal personages.<br />

King Nang Klao (Rama III) ascended the throne<br />

อย่างไรก็ดีเมื่อเวลาผ่านไปก็ทรงมีความเห็นว่าการให้<br />

ชาวตะวันตกเข้ามาทำการค้าขายในประเทศนั้นทำให้<br />

เกิดปัญหา เนื่องจากชาวตะวันตกเข้ามาก้าวก่ายกับ<br />

การดำเนินงานของรัฐบาลไทย ดังนั้นในตอนปลาย<br />

รัชสมัยนโยบายต่อชาติตะวันตกจึงเปลี่ยนไป และทรงมี<br />

ท่าทีที่ไม่เป็นมิตรและแข็งกร้าวต่อชาวตะวันตกมากขี้น<br />

อย่างไรก็ดีชาวสยามชั้นนำที่เป็นบุคคลระดับเจ้านาย<br />

และขุนนางที่มีความรู้และมีทัศนคติว่าควรคบค้าและ<br />

หาประโยชน์จากการศึกษาวิทยาการที่ก้าวหน้าของ<br />

ชาวตะวันตกก็มีอยู่ เช่น พระวชิรญาณภิกขุ (พระบาท<br />

สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ<br />

เจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์ (พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัว) และจมื่นไวยวรนาถ (ช่วง บุนนาค) เป็นต้น<br />

โดยที่เจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์และจมื่นไวยวรนาถ<br />

นั้นเป็นผู้ที่สนใจในการต่อเรือกำปั่นไฟแบบตะวันตก<br />

ต่อมาจมื่นไวยวรนาถเป็นคนไทยคนแรกที่ต่อเรือกำปั่นไฟ<br />

แบบฝรั่งได้สำเร็จและน้อมเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จ<br />

พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยได้รับพระราชทานชื่อเรือว่า<br />

“เรือแกล้วกลางสมุทร” ส่วนเจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์<br />

นั้นทรงมีความรู้ด้านภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี สามารถ<br />

in 1824 and reigned until 1851. One of his outstanding<br />

accomplishments was increasing the state’s revenue by<br />

changing the country’s tax policies. Tax farming system<br />

was introduced and private tax farmers who bid the highest<br />

price was granted permission to monopolize tax collection.<br />

The tax reformation had the advantage of bringing in a<br />

more consistent revenue and hence the treasury became<br />

more stable during the reign of Rama III. In relation to this,<br />

King Chulalongkorn (Rama V) stated several decades<br />

later that “it generated more income for the country than<br />

doing maritime trade”.<br />

Foreign affairs<br />

During his reign, Rama III cautiously observed the<br />

moves of Western political powers and was very well<br />

aware of the advantages and military strengths that they<br />

possessed. Such power was demonstrated for example,<br />

by the war that Britain waged on Burma in 1824 and won<br />

two years later in 1826. Consequently, this eventuated in<br />

Burma becoming colonized by the British in 1885. Apart from<br />

that, Britain also won the Opium War with China in 1842.<br />

148


เขียนจดหมายโต้ตอบกับเซอร์จอห์น เบาว์ริ่ง ทูตสหราช<br />

อาณาจักรซึ่งเข้ามาติดต่อกับราชสำนักใน พ.ศ. 2398 ได้ดี<br />

และใน พ.ศ. 2384 เมื่อทรงเป็นแม่ทัพยกทัพไปรบกับ<br />

ญวนที่เมืองบันทายมาศ (ฮาเตียน) นั้นก็ทรงใช้เรือพุทธ<br />

อำนาจซึ่งทรงต่อขึ้นเองเป็นเรือบัญชาการของแม่ทัพ<br />

การค้ากับต่างประเทศนั้นคู่ค้าที่สำคัญที่สุดคือ<br />

ประเทศจีน ส่วนชาวตะวันตกนั้นผู้ที่เข้ามาเจรจาเรื่อง<br />

การไมตรีและการค้าเป็นคนแรกในสมัยรัชกาลที่ 3<br />

คือ Henry Burney (หันตรี บารนี) ซึ่งเป็นทูตสหราช<br />

อาณาจักร และเป็นผู้แทนของบริษัท British East India<br />

ที่ได้เดินทางเข้ามากรุงเทพฯ ใน พ.ศ. 2368 สาระหลัก<br />

ในการเจรจาคือการตกลงเรื่องการอำนวยความสะดวก<br />

ในเรื่องการค้า และการเจรจาปรองดองกันในเรื่อง<br />

อำนาจของไทยเหนือรัฐไทรบุรี (Kedah) โดยที่ Henry<br />

Burney ได้ยื่นบันทึกข้อเรียกร้องในรายละเอียดให้กับ<br />

ไทยในวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2369 หลังจากการ<br />

ยื่นบันทึกได้ 11 วัน รัฐบาลไทยได้ทราบว่าพม่ายอม<br />

แพ้อังกฤษในสงครามอังกฤษ - พม่าครั้งที่หนึ่ง เมื่อวัน<br />

ที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2369 ดังนั้นจึงตกลงที่จะยอม<br />

ลงนามในสัญญาดังกล่าว โดยการลงนามในสนธิสัญญานั้น<br />

Having monitored the situations constantly, Rama<br />

III was fully aware that the balance of political power in<br />

Asia, and Southeast Asia in particular, had shifted. Since<br />

the early years of his reign, it was apparent that the real<br />

threat to Siam was the Western powers and therefore<br />

from the outset, his policy regarding foreign affairs was<br />

one of compromise. However, his attitude changed upon<br />

the realization that allowing these so-called Western<br />

friends to do business in Siam caused more problems<br />

than otherwise, because they began to meddle and<br />

interfered with the work of the Siamese government. In<br />

the last years of his reign, he adopted a sterner and less<br />

cordial attitude towards the Western countries. However,<br />

several educated royals and aristocrats thought that Siam<br />

should still maintain good relations with the West in order<br />

to acquire their knowledge and technology. Amongst these<br />

people were Phra Vajirayana Bhikkhu (subsequently King<br />

Rama IV), Prince Issares Rangsan (later King Pinklao, the<br />

Second King) and Jamuen Vaivoranarth (Chuang Bunnag).<br />

The latter two were particularly interested in steamships.<br />

ทั้งสองฝ่ายได้ร่วมมือกันลงนามเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน<br />

พ.ศ. 2369 นับว่าเป็นสนธิสัญญาฉบับแรกที่ไทยยอม<br />

ทำกับต่างประเทศ<br />

ส่วนพ่อค้าชาวอังกฤษจากสหราชอาณาจักรที่เข้า<br />

มาค้าขายในไทยตั้งแต่ต้นรัชสมัย ร.3 ใน พ.ศ. 2368<br />

คือ นายโรเบิร์ต ฮันเตอร์ (นายหันแตร) ชาวอังกฤษ<br />

เชื้อสายสก๊อต ซึ่งเป็นผู้ที่ได้เข้ามาตั้งร้านค้าอยู่ที่กุฎีจีน<br />

คนไทยเรียก ห้างหันแตร ขายสินค้าจากต่างประเทศ<br />

อันเป็นของแปลกใหม่สำหรับชาวสยาม อาจกล่าวได้ว่า<br />

นายฮันเตอร์เป็นผู้บุกเบิกห้างสรรพสินค้าในกรุงเทพฯ<br />

เป็นคนแรก นายฮันเตอร์ยังได้เป็นผู้ที่นำแฝดสยาม<br />

อิน-จัน ไปแสดงตัวที่สหรัฐอเมริกาจนทำให้แฝดสยาม<br />

มีชื่อเสียงโด่งดังเป็นที่รู้จักกันดีในโลกตะวันตก<br />

นอกจากการเซ็นสัญญาเบอร์นีกับสหราชอาณาจักร<br />

แล้ว ใน พ.ศ. 2476 ประธานาธิบดีแอนดรูว์ แจ๊คสัน<br />

แห่งสหรัฐอเมริกายังได้ส่งนายเอ็ดมันด์ โรเบิร์ตส์ เป็น<br />

ทูตอเมริกันคนแรกมาติดต่อเพื่อเซ็นสัญญามิตรไมตรี<br />

และการค้ากับไทย ซึ่งก็ตกลงกันได้ด้วยดี สหรัฐอเมริกา<br />

ยังได้รับสิทธิให้ตั้งกงสุลได้ถ้าหากมีประเทศใดประเทศ<br />

หนึ่งเข้ามาตั้งกงสุลขึ้นก่อนหน้านั้น<br />

Jamuen Vaivoranarth was the first Siamese to successfully<br />

build a western-style steamer and presented it to the king<br />

who named it “Klaew Klang Samudra”. Prince Issares<br />

Rangsan on the other hand, led an army in 1841 to fight<br />

the Vietnamese in Ha Tian by using the steamer Buddha<br />

Amnart that he built himself, as the command ship. He<br />

was also highly fluent in his use of the English language<br />

and was thus able to correspond proficiently in writing with<br />

Sir John Bowring, the British emissary who later came to<br />

Siam in 1855.<br />

In terms of foreign trade, while Siam’s most important<br />

trading partner was China, the first Westerner on a<br />

mission to discuss amity and trade with Siam was Henry<br />

Burney, the British emissary and representative of British<br />

East India Company who came to Bangkok in 1825. His<br />

priorities were for Siam to facilitate British commercial<br />

companies in their undertakings and negotiate on matters<br />

concerning Kedah which was under the ruling of Siam at<br />

the time. Burney presented the terms to Siam on February<br />

13, 1826, and just eleven days after that, the Siamese<br />

149


สถาปัตยกรรม<br />

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้นทรงติดต่อ<br />

ค้าขายกับจีนโดยการส่งเรือสำเภาไปค้าขายกับจีนตั้งแต่<br />

ครั้งยังว่าการกรมท่าสมัยรัชกาลที่ 2 และทรงมีความสน<br />

พระราชหฤทัยในงานศิลปะแบบจีนมาตั้งแต่นั้น งาน<br />

สถาปัตยกรรมสำคัญในสมัยนี้จึงมีงานสถาปัตยกรรม<br />

ที่ผสมผสานศิลปะแบบจีนเข้ามาด้วยเรียกว่า งาน<br />

สถาปัตยกรรมแบบพระราชนิยม เช่น วัดราชโอรสาราม<br />

ซึ่งได้ทรงบูรณะขึ้นตั้งแต่ครั้งดำรงพระอิสริยยศเป็น<br />

พระเจ้าลูกยาเธอในสมัยรัชกาลที่ 2 และต่อมาได้รับ<br />

การสถาปนาเป็นวัดประจำรัชกาลในสมัยรัชกาลที่ 3<br />

นอกจากการสถาปนาวัดประจำรัชกาลแล้ว<br />

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวยังได้ทรงสถาปนา<br />

พระปรางค์ใหญ่ที่วัดอรุณราชวราราม ซึ่งสมเด็จพระ<br />

ราชบิดาได้ทรงเริ่มวางรากฐานไว้ และได้ทรงสร้างต่อ<br />

จนเสร็จสมบูรณ์ใน พ.ศ. 2385 ส่วนวัดมหาสุทธาวาส<br />

ซึ่งดำเนินการก่อสร้างมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 และ<br />

รัชกาลที่ 2 นั้น ก็โปรดให้ดำเนินการก่อสร้างจนแล้ว<br />

เสร็จสมบูรณ์ใน พ.ศ. 2390 และพระราชทานนามว่า<br />

“วัดสุทัศนเทพวราราม” นับเป็นการสนองพระเดชพระคุณ<br />

government learned that Burma had surrendered to the<br />

British as a result of the first Anglo-Burmese War. Siam<br />

therefore resolved that she had no choice but to concur<br />

with the proposed terms of agreement. Thus on June 20,<br />

1826, both parties officially signed the Treaty of Amity<br />

and Commerce which was the first treaty that Siam had<br />

entered into with a foreign country.<br />

The first British trader to come to Siam during the<br />

early period of Rama III was an Englishman of Scottish<br />

descent named Robert Hunter who arrived in 1825 and set<br />

up a retail store in the Kudeejeen area, selling imported<br />

goods which Siamese people found very novel at the time.<br />

The store called Haang Huntrae (Hunter) by the locals,<br />

could be viewed as the pioneer of future department store<br />

businesses that subsequently flourished in Bangkok.<br />

Hunter was also the person who introduced the Siamese<br />

Twins to the American public and made them famous in<br />

the Western world.<br />

Apart from signing the treaty with Britain, Siam also<br />

entered into an agreement with the United States when,<br />

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ซึ่ง<br />

ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะสร้างวัดสำคัญขึ้นเพื่อเป็น<br />

สัญลักษณ์ของศูนย์กลางของกรุงเทพมหานคร<br />

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้นทรงมี<br />

ความมุ่งมั่นในความเป็น “พระมหาธรรมิกราชา” และ<br />

ทรงสร้างและปฏิสังขรณ์วัดในรัชกาลเป็นจำนวนทั้งสิ้น<br />

ถึง 44 วัด ทั้งยังทรงสนับสนุนให้สมาชิกในพระราชวงศ์<br />

ตลอดจนขุนนางชั้นผู้ใหญ่สร้างวัดเพื่อเป็นพุทธบูชา<br />

ซึ่งในส่วนนี้มีจำนวนวัดทั้งสิ้นประมาณ 30 วัด ดังนั้น<br />

จึงเป็นรัชกาลที่มีการสร้างวัดขึ้นเป็นจ ำนวนมากเมื่อเปรียบ<br />

เทียบกับสองรัชกาลที่ผ่านมา สำหรับตำหนักของเจ้านาย<br />

ที่ทรงให้สร้างขึ้นในแบบตะวันตกนั้นได้แก่ตำหนักใหญ่<br />

วัดบวรนิเวศวิหาร ซึ่งเป็นที่ประทับของท่านวชิรญานภิกขุ<br />

(รัชกาลที่ 4) ขณะดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสอยู่ที่วัด<br />

ดังกล่าว ตำหนักหลังนี้เป็นอาคาร 2 ชั้น โครงสร้างก่ออิฐ<br />

ตรงกลางมีระเบียงมุข ตกแต่งด้วยลวดลายไม้ฉลุ<br />

บริเวณหน้าจั่ว<br />

ชาวตะวันตกที่เข้ามาในกรุงเทพฯ ในสมัยรัชกาล<br />

ที่ 3 นั้น นอกจากนักการทูตซึ่งเข้ามาติดต่อราชการ<br />

และพ่อค้าแล้ว ก็ยังมีชาวตะวันตกที่เข้ามาเพื่อเผยแผ่<br />

in 1933, President Andrew Jackson appointed Edmund<br />

Roberts as the first United States ambassador to negotiate<br />

the signing of an agreement on friendship and trade with<br />

Siam. The negotiations went well and Siam agreed that<br />

the United States could set up a consulate should there<br />

be a prior one set up by another country.<br />

Architecture<br />

Having sent junk boats to trade goods with China<br />

when he was still prince and head of Maritime Trades<br />

Department during his father’s reign, Rama III developed<br />

a personal taste for Chinese art. This can be seen for<br />

example, reflected in Wat Raj-Orosaram that he had<br />

earlier restored during the reign of Rama II. After he had<br />

ascended the throne, Wat Raj-Orosaram thus became<br />

inaugurated as the monastic temple accorded to his reign<br />

and consequently, Sino-Thai architecture became the royal<br />

vogue during the period of Rama III.<br />

The king also pursued the construction of the Great<br />

Prang of Wat Arun Rajvararam (the Temple of Dawn) that<br />

was initiated by his father, until its completion in 1842.<br />

150


ศาสนา เช่น บาทหลวงปัลเลอกัวซ์ (ฌอง บาบติสต์<br />

ปัลเลอกัวซ์) ชาวฝรั่งเศส ซึ่งเข้ามากรุงเทพฯ ตั้งแต่ช่วง<br />

ต้นสมัยรัชกาลที่ 3 ใน พ.ศ. 2372 ต่อมาใน พ.ศ. 2384<br />

ท่านได้รับการแต่งตั้งจากสันตสำนักให้ดำรงตำแหน่ง<br />

ประมุขมิสซังสยามตะวันออกเป็นท่านแรก ชาวสยาม<br />

จึงเรียกท่านติดปากว่าสังฆราชปัลเลอกัวซ์ ท่านผู้นี้ได้<br />

ศึกษาภาษาไทยและบาลีจนมีความรู้ในภาษาทั้งสองเป็น<br />

อย่างดี และเป็นผู้นำวิทยาการด้านการถ่ายรูปเข้ามาใน<br />

ประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2388 ท่านยังได้บันทึกสภาพบ้าน<br />

เมืองของกรุงเทพฯ สมัยรัชกาลที่ 3 เอาไว้ว่า 2<br />

“กรุงเทพฯ ตั้งอยู่บนสองฝั่งแม่น้ำ ห่างจาก<br />

ทะเล 8 ลีก ตัวเมืองเป็นรูปเกาะ เส้นผ่าศูนย์กลาง<br />

2 ลีก ล้อมรอบด้วยปราการเชิงเทิน และแต่ละ<br />

มุมเมืองมีหอคอยหรือป้อมค่าย กรุงเทพฯ ตั้ง<br />

อยู่ท่ามกลางสวนที่อุดมสมบูรณ์เขียวชอุ่มตลอด<br />

ปี จึงงามเหมือนภาพวาด กลุ่มเรือใบประดับธง<br />

จอดเป็นทิวแถวตามสองฝั่งแม่น้ำ ยอดแหลม<br />

หุ้มทองของมณฑปและโครงสร้างอันสวยงาม<br />

ของพระปรางค์ที่มีการประดับอย่างสวยงามด้วย<br />

In 1847, Wat Maha Suthavas, under construction since<br />

the period of Rama II as well, was also completed and<br />

renamed Wat Suthat Dhepvararam. Essentially, this was<br />

in answer to King Rama I’s wish to build a major temple<br />

as a landmark and symbolic heart of Bangkok.<br />

Determined to fulfill his role as a “righteous king”, Rama<br />

III commissioned the construction and restoration of as<br />

many as 44 temples during his time. He also encouraged<br />

royals and high ranking officials to build temples as offerings<br />

to the Lord Buddha. As a result, 30 more temples were<br />

built. Thus the number of new temples during the period<br />

of his reign increased considerably in comparison to that<br />

during the periods of his two predecessors.<br />

As for western style influence on residences of royalties,<br />

a notable example is the residence of Phra Vajirayana<br />

Bhikkhu (monkhood title of later King Rama IV) built while<br />

he was the abbot at Wat Bovornives Viharn. The building<br />

is a two-storeyed brick masonry building with a balcony<br />

at the center and a gable roof decorated with perforated<br />

sawn-timber work.<br />

กระเบื้องเคลือบหลากสีลอยสูงเด่นอยู่ในอากาศ<br />

ยอดเจดีย์หุ้มทองประดับกระเบื้องหลากสี สะท้อน<br />

แสงเหมือนสีรุ้ง เบื้องหน้าของท่านจะมองเห็น<br />

ร้านค้าบนเรือนแพจำนวนนับพันเรียงเป็นสอง<br />

แถว ยาวตามริมฝั่งแม่น้ำ มีเรือสวยงามแล่น<br />

ตัดข้ามฟากไปมาตลอดความยาวของลำน้ำ<br />

อันคดเคี้ยว ป้อมสีขาวคล้ายหิมะ ตัวเมือง<br />

ซึ่งมีหอคอยและประตูมากมาย ลำคลองที่<br />

ตัดผ่านไปรอบเมือง ยอดแหลมของปราสาท<br />

ราชมณเฑียรในพระบรมมหาราชวังสามารถมอง<br />

เห็นได้จากทั้งสี่ทิศ มีอาคารแบบจีน อินเดีย และ<br />

ยุโรป เสื้อผ้าอาภรณ์ที่แตกต่างกันไปของแต่ละ<br />

ชาติ เสียงดนตรี เสียงเพลงจากโรงละคร ความ<br />

เคลื่อนไหวของชีวิตในเมือง สิ่งเหล่านี้ทำให้<br />

ชาวต่างชาติมองด้วยความชื่นชมและพิศวง<br />

ไม่มีรถสักคันเดียวในพระนคร ทุกคนใช้การ<br />

สัญจรทางน้ำ แม่น้ำและลำคลองเป็นเหมือนถนน<br />

อันจอแจ มีเพียงตอนใจกลางเมืองและย่านตลาด<br />

เท่านั้นที่ท่านจะพบถนนปูด้วยอิฐแผ่นใหญ่ๆ<br />

บ้านในกรุงเทพฯ มี 3 ประเภท ประเภท<br />

During the period of Rama III, Westerners that came<br />

to Siam were not only emissaries and traders, but also<br />

missionaries. Amongst them was a French priest named<br />

Jean Baptiste Pallegoix who came to Bangkok in 1829.<br />

Twelve years later, he was appointed by the Papal Office<br />

as the first Apostolic Vicar of East Siam and was called<br />

Sangkharaj (Patriarch) Pallegoix by the Siamese people.<br />

Pallegoix was the person who introduced photography<br />

to Siam in 1845 and having studied Thai and Pali, was<br />

very fluent in both languages. In his journal, he gave a<br />

description of Bangkok to the following effect 2 ....<br />

“Bangkok occupies both sides of the riverbank 8<br />

leagues from the sea. The city is shaped like an island<br />

about 2 leagues wide and is surrounded by battlements<br />

with forts at every corner. The capital sits amidst fertile<br />

plantations that are lush and green all year round, making<br />

it appear like a beautiful painting. Sailboats decorated with<br />

flags are docked in rows along both sides of the river. The<br />

pointed golden spire of the mondop and the magnificent<br />

structure of the pagoda beautifully adorned with colorful<br />

151


แรกสร้างด้วยอิฐดูสวยงามสง่า ประเภทที่สอง<br />

สร้างด้วยไม้ และประเภทที่สามเป็นบ้านคนจน<br />

ทำด้วยไม้ไผ่ ... ”<br />

ท่านยังอธิบายอีกว่าบ้านไม้ไผ่นั้นมักจะไฟไหม้บ่อย<br />

ครั้ง แต่เมื่อถูกไฟไหม้ ญาติพี่น้องก็จะมาช่วยกันสร้าง<br />

ขึ้นใหม่ได้ภายในเวลา 7 - 8 วัน “...ด้วยน้ำใจ...”<br />

คณะผู้เผยแผ่ศาสนานั้น นอกจากบาทหลวงชาว<br />

ฝรั่งเศสแล้วยังมีคณะผู้สอนศาสนาชาวอเมริกัน ซึ่งก็<br />

เริ่มเข้ามากรุงเทพฯ ในสมัยรัชกาลที่ 3 เช่นกัน หมอ<br />

สอนศาสนาคนสำคัญคนหนึ่งได้แก่ นายแพทย์บรัดเลย์<br />

(Dr. Dan Beach Bradley) ซึ่งเป็นผู้ที่เริ่มต้นการพิมพ์<br />

และการผ่าตัดเป็นครั้งแรกในประเทศสยาม และบ้านที่<br />

คนอเมริกันเรียกกันว่า บ้านแบบโคโลเนียล (Colonial<br />

House) นั้นก็เริ่มปรากฏขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 นี้เอง<br />

เช่น บ้านของนายแพทย์บรัดเลย์ เป็นต้น<br />

บ้านแบบโคโลเนียลที่คณะมิชชันนารีอเมริกันเริ่ม<br />

นำมาปลูกในกรุงเทพฯ นั้น เป็นบ้านสองชั้น มีระเบียง<br />

โดยรอบเพื่อหลบร้อน โครงสร้างไม้ หรือไม้ผสมก่ออิฐ<br />

หลังคาทรงปั้นหยาหรือทรงจั่ว บ้านแบบนี้คนอเมริกัน<br />

ceramic tiles, are outstanding against the sky. The pagoda’s<br />

golden tips and the multicolored decorative tiles are radiant<br />

like rainbows. There are hundreds of floating shops and<br />

houses along both sides of the river while attractive-looking<br />

boats ferry across to and fro along its winding path. Forts<br />

are painted white as snow and the city has many towers<br />

and gates. There are canals everywhere. Speared tips of<br />

the Grand Palace roofs can be seen from all directions.<br />

There are buildings of Chinese, Indian, and European<br />

styles, and people are dressed differently according to their<br />

nationalities. You can hear the sound of music and singing<br />

from playhouses, while city people moving about in their<br />

daily lives are all just fascinating for foreigners to watch.<br />

There is not a single motorcar in Bangkok, as everyone<br />

travels by water. Rivers and canals are like bustling streets.<br />

Only in downtown and market areas will you find roads<br />

paved with large bricks.<br />

There are 3 types of houses in Bangkok. The first is<br />

those elegantly built with bricks, the second is the timber<br />

houses, and the third is the houses of impoverished people,<br />

เรียกว่า French Colonial ซึ่งปลูกอยู่บริเวณ New<br />

Orleans Louisiana Missouri เป็นต้น บ้านที่มีลักษณะ<br />

คล้ายคลึงกัน และสร้างขึ้นร่วมสมัยกันในสิงคโปร์ ซึ่ง<br />

เป็นอาณานิคมของอังกฤษนั้น เรียกว่าบ้านบังกะโล<br />

(Bungalow)<br />

การเซ็นสัญญาทางพระราชไมตรีและการพาณิชย์กับ<br />

สหราชอาณาจักรใน พ.ศ. 2369 และกับสหรัฐอเมริกา<br />

ใน พ.ศ. 2376 นั้น ถือเป็นการรุกคืบหน้าทางการทูต<br />

ครั้งแรก แต่ในความเป็นจริงนั้น ทั้งสองประเทศยังไม่มี<br />

ความพอใจในวิธีการผูกขาดการค้าขายของสยาม และ<br />

เริ่มรุกทางการทูตอีกครั้งหนึ่งโดยสหรัฐอเมริกาได้ส่ง<br />

ทูตชื่อ โจเซฟ บัลเลสเตีย เข้ามาใน พ.ศ. 2393 เพื่อ<br />

เจรจาขอให้สยามปรับปรุงเรื่องการเก็บภาษีอากร และ<br />

ยังขอตั้งสถานกงสุลประจำกรุงเทพฯ ด้วย แต่ขุนนาง<br />

สยามไม่พอใจพฤติกรรมของทูตอเมริกัน จึงไม่ยอม<br />

เจรจาด้วย บัลเลสเตียจึงเดินทางออกจากสยามไป<br />

เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2393 หลังจากนั้น 4 เดือน<br />

ทางสหราชอาณาจักรก็ส่งเซอร์เจมส์ บรู๊คส์ เข้ามายัง<br />

ราชสำนักสยามเพื่อขอเจรจาแก้ไขสัญญาเดิมที่ทำไว้<br />

โดยขอยกเว้นภาษีการค้าหลายข้อ ที่สำคัญคือ ขอตั้ง<br />

made of bamboo...”<br />

Pallegoix also explained that bamboo houses were<br />

often destroyed by fires but rebuilt within only 7-8 days with<br />

help from “the kindness” of family members and friends.<br />

Aside from the French, a number of American<br />

missionaries also started coming to Bangkok in the period<br />

of Rama III. One such person was Dr. Dan Beach Bradley<br />

who became highly famous and was the first person to<br />

introduce surgery, as well as printing, to Siam. Dr. Bradley’s<br />

house was in the style referred to by the Americans as<br />

“colonial house” which first appeared in Bangkok around<br />

this period.<br />

The colonial houses built by American missionaries<br />

were two-storeyed houses with roofed veranda at the<br />

ground level to protect the interior from the heat of the<br />

sun in order to provide inside comfort. The structure was<br />

built of timber or combination of timber and brick masonry,<br />

with hip or gable roof. The Americans in fact called it the<br />

French Colonial style as it was developed in the regions<br />

that were formerly French colonies in the United States<br />

152


สถานกงสุลและขอให้คนในบังคับสหราชอาณาจักรอยู่<br />

ใต้กฎหมายสหราชอาณาจักร ซึ่งข้อหลังนี้คือก้าวแรก<br />

ของสัญญาสิทธิสภาพนอกอาณาเขต แต่ข้อเรียกร้อง<br />

ของสหราชอาณาจักรถูกทางสยามปฏิเสธทุกข้อ ทูตจึง<br />

กลับไปรายงาน ลอร์ด ปาลเมอร์สตัน เสนาบดีกระทรวง<br />

การต่างประเทศให้จัดการขั้นเด็ดขาดกับประเทศสยาม<br />

ในขณะที่เหตุการณ์กับสหราชอาณาจักรเริ่มเข้าสู่<br />

วิกฤต พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จ<br />

สวรรคตเมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2394<br />

สมัยอิทธิพลตะวันตก (ร.4 - ร.8 พ.ศ. 2394 - <strong>2489</strong>)<br />

สมัยรัชกาลที่ 4<br />

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง<br />

ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2394 - 2411 น่าสังเกตว่าใน<br />

ปีแรกของการขึ้นครองราชย์คือ พ.ศ. 2394 (ค.ศ. 1851)<br />

นั้นตรงกับปีที่ประเทศอังกฤษจัดให้มีการแสดงนิทรรศการ<br />

ซึ่งเรียกว่า “The Great Exhibition” ขึ้นในลอนดอน<br />

เนื่องในโอกาสฉลองครบรอบ 100 ปีแห่งการปฏิวัติ<br />

อุตสาหกรรม นิทรรศการนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะแสดงให้เห็นถึง<br />

such as New Orleans, Louisiana, and Missouri. Meanwhile<br />

a similar style widely adopted in Singapore, which was<br />

a British colony during the same period, was called the<br />

Bungalow.<br />

Signing agreements on amity and trade with Britain<br />

in 1826 and the United States in 1833 was considered<br />

to be an early diplomatic development that took place<br />

between Siam and the two western powers. However,<br />

the counterparts were not quite satisfied with the trade<br />

monopoly practiced by the Siamese Court. Hence the<br />

United States initiated yet another diplomatic attempt by<br />

sending a new envoy, a certain Joseph Balestier, to Siam<br />

in 1850 to negotiate on tax system and the setting up of<br />

an American consulate in Bangkok. This turned out to be<br />

unsuccessful as the Siamese aristocrats found the new<br />

envoy’s attitude and behavior offensive and thus refused to<br />

negotiate. Consequently Balestier left Siam in April of 1850.<br />

Four months following that, Sir James Brooks arrived<br />

from Britain to discuss amendments to the existing<br />

British-Siamese agreement. Britain’s demands included<br />

จิตวิญญาณของสังคมสมัยใหม่ซึ่งเป็นสังคมอุตสาหกรรม<br />

และมีความก้าวหน้าในเชิง “เครื่องจักรกล วิทยาการ<br />

และรสนิยม” ขณะเดียวกันก็เท่ากับเป็นการประกาศ<br />

ตัวเป็นผู้นำของสหราชอาณาจักรในสังคมอุตสาหกรรม<br />

อีกด้วย ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเครื่องจักรกลนั้น<br />

มีความสัมพันธ์กับการพัฒนาขีดความสามารถของยุทธ<br />

ปัจจัยทางการทหารอย่างแน่นอน ซึ่งเห็นได้จากสงคราม<br />

ระหว่างอังกฤษกับพม่าและจีนระหว่างรัชกาลที่ผ่านมา<br />

ซึ่งอังกฤษเป็นฝ่ายมีชัยชนะ และไทยเองก็เข้าใจสภาพ<br />

ความแตกต่างทางด้านการทหารระหว่างไทยกับอังกฤษ<br />

และชาติมหาอำนาจตะวันตกอื่นๆ ได้ดี จึงเห็นควรให้<br />

มีการปรับเปลี่ยนท่าทีทางการทูตที่มีต่อชาติตะวันตก<br />

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมี<br />

นโยบายด้านการค้ากับชาติตะวันตกที่แตกต่างจากรัชกาล<br />

ที่ 3 โดยสิ้นเชิง ทรงเน้นในเรื่องการรักษาอธิปไตยของ<br />

ชาติเป็นหลัก ส่วนการเจรจาเรื่องการค้ากับสหราช<br />

อาณาจักรนั้นเห็นควรให้มีการ “ผ่อนสั้น ผ่อนยาว” จะ<br />

ดีกว่าที่จะชักศึกเข้าบ้าน ฉะนั้นพระราชภารกิจสำคัญที่<br />

ทรงกระทำเป็นอันดับแรกเมื่อทรงขึ้นครองราชย์คือการ<br />

ที่ทรงพระราชหัตถเลขาไปถึงผู้ว่าราชการปีนังให้แจ้งแก่<br />

tax exemptions, setting up a British consulate, and that<br />

all British subjects residing in Siam be exempted from the<br />

local judicial laws while abiding by the British laws and<br />

regulations. This was the first of Britain’s attempt to sign<br />

extraterritorial rights agreement with Siam. The mission<br />

proved futile as all demands were rejected. Brooks returned<br />

to England and reported this to Lord Palmerston, the British<br />

Minister of Foreign Affairs, and suggested that firm and<br />

decisive actions be taken against Siam.<br />

As the situation became increasingly tense and critical,<br />

King Rama III passed away on the 2 nd of April 1851.<br />

PERIOD OF WESTERN INFLUENCE (Rama IV – Rama<br />

VIII) from 1851 – 1946<br />

King Mongkut (Rama IV) reigned from 1851 to 1868.<br />

It is interesting to note that coincidental to the first year<br />

of his reign, “The Great Exhibition” was held in London to<br />

celebrate the 100 th Anniversary of the Industrial Revolution.<br />

The aim of the event was to celebrate the spirit of the<br />

153


เซอร์เจมส์ บรุค ทูตของสหราชอาณาจักรว่า พระเจ้า<br />

แผ่นดินพระองค์ใหม่จะโปรดให้แก้ไขสนธิสัญญาตาม<br />

ที่สหราชอาณาจักรต้องการ ดังนั้นใน พ.ศ. 2398 ทาง<br />

สหราชอาณาจักรจึงแต่งตั้งให้เซอร์จอห์น เบาริ่ง เป็น<br />

ทูตเข้ามาเจรจาขอแก้ไขสัญญาเดิมที่ เฮนรี่ เบอร์นี ได้<br />

ทำไว้ สาระสำคัญของสนธิสัญญาเบาว์ริ่งคือการที่ไทย<br />

ต้องตกลงเปิดตลาดให้มีการค้าเสรีกับต่างประเทศ รับ<br />

ประกันสิทธิสภาพนอกอาณาเขตของคนในบังคับสหราช<br />

อาณาจักร อนุญาตให้จัดตั้งกงสุลอังกฤษในกรุงเทพฯ<br />

ตลอดจนรับรองสิทธิ์ของชาวอังกฤษในการถือครอง<br />

ที่ดินในสยาม ซึ่งข้อเรียกร้องดังกล่าวทางฝ่ายไทยก็ต้อง<br />

จำยอมและได้มีการเซ็นสัญญากันในวันที่ 18 เมษายน<br />

พ.ศ. 2398 ต่อจากนั้นก็ได้มีการเซ็นสัญญาด้านการ<br />

ค้ากับสหรัฐอเมริกาและประเทศมหาอำนาจอื่นๆ จาก<br />

ยุโรป สรุปแล้วในรัชกาลนี้มีการเซ็นสัญญาด้านการ<br />

ค้าเสรีกับชาติต่างๆ ถึง 10 ประเทศด้วยกัน การเปิด<br />

ประเทศด้านการค้านั้นเท่ากับเป็นการเปิดรับอิทธิพล<br />

ด้านวัฒนธรรมของชาวตะวันตกด้วย อิทธิพลของชาว<br />

ตะวันตกเป็นเงื่อนไขหลักที่ทำให้ไทยต้องปรับตัวทั้งใน<br />

ด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และในราชสำนักนั้น<br />

modern industrial society and advancements in “machine<br />

aesthetics and sophistication” as well as to proclaim Great<br />

Britain as the leader of the industrial world. Undeniably,<br />

advancements in machine technology also helped to<br />

strengthen Britain’s military power as demonstrated by<br />

the outcome of the wars waged on Burma and China. In<br />

this regard, Siam was well aware of the inferior quality<br />

and strength of her armed forces compared to that of the<br />

Western power nations. Therefore the king’s prerogative<br />

was to take a more diplomatic stance in dealing with<br />

Western countries.<br />

On the matter of trade, King Rama IV had a completely<br />

different policy from his predecessor altogether, and was<br />

more concerned with protecting the nation’s sovereignty.<br />

Therefore in negotiating trade with Britain, he thought it<br />

more pertinent to be “compromising” than to be making<br />

enemies. The first significant step that he took after having<br />

acceded the throne was instructing the Governor of Penang<br />

to inform the British Ambassador, Sir James Brooks that<br />

the new King of Siam was prepared to revise the treaty with<br />

ก็ได้เริ่มจ้างชาวต่างประเทศเข้ามารับราชการตั้งแต่ราว<br />

พ.ศ. 2394 เป็นต้นมา เช่น จ้างร้อยเอกอิมเปย์ (Impey)<br />

ชาวอังกฤษเข้ารับราชการเป็นครูฝึกทหารวังหลวง ส่วน<br />

ร้อยเอกโทมัส ยอร์ช น๊อกซ์ (Thomas George Knox)<br />

รับราชการเป็นครูฝึกทหารวังหน้า และนางแอนนา<br />

ลีโอโนเวนส์ เข้ารับราชการเป็นครูสอนภาษาอังกฤษใน<br />

ราชสำนักราว พ.ศ. 2405 เป็นต้น<br />

ภายหลังจากที่ได้มีการเซ็นสัญญาเบาว์ริ่ง ชาวตะวันตก<br />

เป็นจำนวนมากได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานในกรุงเทพฯ ซึ่งมี<br />

ทั้งนักการทูต หมอสอนศาสนา และพ่อค้าวาณิช และ<br />

ชาวตะวันตกเหล่านี้เองที่มีส่วนผลักดันให้มีการปรับปรุง<br />

ระบบสาธารณูปโภคของกรุงเทพฯ เช่น ขอให้มีการ<br />

สร้างถนนเพื่อความสะดวกในการเดินทาง เป็นต้น และ<br />

ในที่สุดแล้วถนนเจริญกรุง หรือ “New Road” ตามที่<br />

ชาวตะวันตกเรียกก็ได้ถูกสร้างขึ้นใน พ.ศ. 2404 ถนน<br />

นี้เริ่มจากทางด้านทิศใต้ของพระบรมมหาราชวังขนาน<br />

ไปกับแม่น้ำเจ้าพระยาไปทางทิศใต้ผ่านชุมชนจีนไปยัง<br />

ชุมชนของชาวตะวันตก และได้มีการสร้างถนนเพิ่ม<br />

ขึ้นอีกหลายสายเพื่อให้เกิดเครือข่ายของถนนขึ้นใน<br />

กรุงเทพฯ เช่น สร้างถนนตรงเพื่อเชื่อมต่อถนนเจริญกรุง<br />

Great Britain as insisted. Consequently in 1855 Sir John<br />

Bowring was appointed as the British envoy to negotiate<br />

changes to the earlier signed Burney Treaty. The main<br />

essence of the new treaty was that Siam agree to open<br />

up more trade with foreign countries, ensure extraterritorial<br />

rights of citizens under British control, permit a British<br />

consulate to be set up in Bangkok, and approve rights<br />

of British citizens to own land in Siam. Siam had little<br />

choice but to concur and thus signed the Bowring Treaty<br />

on April 18, 1855. Subsequent to that, various agreements<br />

were also made with the United States of America and<br />

other great Western power nations. Altogether, Siam<br />

signed open trade agreements with ten countries during<br />

the period of Rama IV.<br />

Opening up the country to foreign trade meant opening<br />

up to the influence of foreign cultures as well. It was therefore<br />

imperative that Siam adapt itself in terms of economy,<br />

society and culture. In so doing, the Palace began hiring<br />

foreigners and employing them in various positions since<br />

1851. Captain Impey, an Englishman, was employed to<br />

154


กับกรุงเทพฯ ด้านตะวันออก ส่วนถนนสีลมนั้นสร้างขึ้น<br />

เพื่อเป็นการเชื่อมถนนเจริญกรุงและถนนตรงเข้าด้วยกัน<br />

และใน พ.ศ. 2406 ก็ทรงโปรดให้ปรับปรุงถนนสายเดิม<br />

ซึ่งเชื่อมต่อระหว่างพระบรมมหาราชวังและตลาดเสา<br />

ชิงช้า พระราชทานชื่อว่า ถนนบำรุงเมือง และโปรด<br />

เกล้าฯ ให้สร้างถนนสายใหม่จากปากคลองตลาดไปตัด<br />

กับถนนเจริญกรุงและถนนบำรุงเมืองพระราชทานชื่อว่า<br />

ถนนเฟื่องนคร ถนนบำรุงเมืองนั้นต่อมาได้มีการสร้าง<br />

ตึกแถวและร้านค้าสองฟากถนน และกลายเป็นย่านการ<br />

ค้าที่สำคัญของกรุงเทพฯ<br />

การปรับปรุงกายภาพของเมืองโดยการตัดถนนนั้น<br />

ถึงแม้ว่าจะเป็นการดำเนินงานจากการร้องขอของชาว<br />

ตะวันตก และคนไทยเองก็ยังมองไม่เห็นและไม่เข้าใจถึง<br />

ความจำเป็นในการปรับปรุงระบบการคมนาคมของไทย<br />

โดยการเพิ่มเส้นทางสัญจรทางบกขึ้นนอกเหนือจากเส้น<br />

ทางสัญจรทางน้ำซึ่งเป็นเครือข่ายการคมนาคมพื้นฐาน<br />

ของคนไทยมาเนิ่นนาน แต่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำริว่าจะเป็นผลดีในระยะยาว<br />

ดังพระราชปรารภที่ปรากฏในหนังสือ ทำเนียบนามภาค<br />

4 เรื่อง ถนนในจังหวัดพระนครและธนบุรีว่า<br />

train the king’s royal guards, Captain Thomas George Knox<br />

was employed to train royal troops of the Second King,<br />

and Anna Leonowens was employed to teach English at<br />

the Royal Court around 1862, to name but a few.<br />

After the Bowring Treaty was signed, an influx of<br />

Europeans, which included diplomats, missionaries and<br />

merchants, migrated to settle themselves in Bangkok.<br />

These were the people who petitioned for development<br />

of the city’s infrastructure system such as building new<br />

roads to facilitate communication for instance. As a result,<br />

Charoen Krung Road or “New Road” was built in 1861.<br />

This road starts from the south side of the Grand Palace,<br />

runs parallel with Chao Phraya River heading south, and<br />

passes through the Chinese community to the European<br />

quarters. After Charoen Krung, more new roads were built<br />

and began to form a network. Trong Road for example,<br />

was built to enable access from Charoen Krung Road to<br />

East Bangkok, while Silom Road was built to link Charoen<br />

Krung with Trong Road.<br />

In 1863, the king ordered the old road that ran from<br />

“...เสมือนหนึ่งสนนเจริญกรุง ฤๅจะเอาตาม<br />

ปากชาวเมืองว่า สนนใหม่ ชาวต่างประเทศเข้า<br />

ชื่อกันขอให้ทำขึ้น เพื่อจะใช้ม้า ใช้รถให้สบาย<br />

ให้ถูกลมเย็น เส้นสายเหยียดยืดสบายดี ผู้ครอง<br />

แผ่นดินฝ่ายไทยเห็นชอบด้วยจึงได้ยอมทำตาม<br />

ขึ้น ครั้นสร้างขึ้นแล้ว คนใช้ม้าทั้งไทยทั้งชาวนอก<br />

ประเทศกี่คน ใช้รถอยู่กี่เล่ม ใช้ก็ไม่เต็มสนน<br />

ใช้อยู่แต่ข้างหนึ่ง ก็ส่วนสนนอีกข้างหนึ่งก็ทิ้ง<br />

ตั้งเปล่าอยู่ ไม่มีใครเดินม้า เดินรถ เดินเท้า<br />

ผู้ครองแผ่นดินฝ่ายไทยทำสนนกว้าง เสียค่าจ้าง<br />

ถมดินถมทรายเสียเปล่า ไม่ใช่ฤๅ ถ้าจะทำแต่<br />

แคบๆ พอคนเดินก็จะดี แต่ซึ่งทำใหญ่ไว้นี้ก็<br />

เพื่อไว้ว่า เมื่อนานไปภายน่าบ้านเมืองสมบูรณ์<br />

มีผู้คนมากขึ้น รถแลม้าแลคนจะได้คล่องสดวก<br />

จึ่งทำให้ใหญ่ไว้...”<br />

การสร้างถนนในรัชกาลที่ 4 นั้น นับเป็นการเริ่มต้น<br />

ของเครือข่ายการสัญจรไปมาทางบก ซึ่งในที่สุดก็จะ<br />

กลายมาเป็นเครือข่ายการคมนาคมพื้นฐานของคนไทย<br />

the Grand Palace to the Giant Swing marketplace be<br />

improved, and named it Bumrung Mueang Road. He<br />

also ordered the construction of another road from Pak<br />

Khlong Talad to connect with Charoen Krung and Bumrung<br />

Mueang roads and named it Fueang Nakorn Road. Rows<br />

of shophouses and buildings were later built along both<br />

sides of Bumrung Mueang Road, turning the area into an<br />

important commercial area of Bangkok.<br />

Developing the city by means of building new roads<br />

in response to the needs of Westerners however, was<br />

difficult for the local people to comprehend as they could<br />

not see the necessity in developing land routes to such<br />

extent when waterways have always been the basic means<br />

of commuting for Siamese people. The king on the other<br />

hand, foresaw that it would be of greater benefit in the<br />

long run. Under the subject of Roads in Bangkok and<br />

Thonburi, in section 4 of the Directory of Nomenclature,<br />

Rama IV stated that:<br />

“... As it appears, Charoen Krung Road, or The New<br />

Road to the local people, is the outcome of a group of<br />

155


แทนที่การคมนาคมทางน้ำซึ่งเป็นวิถีชีวิตดั้งเดิมของ<br />

คนไทยมาตั้งแต่สมัยอยุธยา ส่วนการเดินทางด้วยรถ<br />

นั้นมีทั้งรถลากและรถม้า โดยที่รถลากนั้นพวกพ่อค้า<br />

สำเภาจีนได้นำมาน้อมเกล้าฯถวายพระบาทสมเด็จ<br />

พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และต่อมาก็ได้โปรดเกล้าฯ ให้<br />

ซื้อเข้ามาพระราชทานเจ้านายและขุนนาง ส่วนรถม้านั้น<br />

ชาวตะวันตกมีใช้กันอยู่แล้วตั้งแต่ก่อนที่จะมีการตัดถนน<br />

เจริญกรุง และสามารถสั่งซื ้อเข้ามาได้จากสิงคโปร์<br />

ฉะนั้นเมื่อมีการตัดถนนในกรุงเทพฯ เพิ่มขึ้น การเดิน<br />

ทางด้วยรถลากและรถม้าจึงเริ่มแพร่หลายขึ้นในสมัย<br />

รัชกาลที่ 4 นี้เอง<br />

นอกจากการตัดถนนแล้ว ในรัชกาลนี้ยังมีการขุด<br />

คลองอีก 8 คลอง คลองสำคัญที่ขุดขึ้นมาเพื่อเป็นการ<br />

กำหนดขอบเขตพื้นที่ของกรุงเทพฯ ซึ่งมีการขยายตัว<br />

ไปทางด้านตะวันออกคือ คลองผดุงกรุงเกษม คลองนี้<br />

ทำหน้าที่เป็นคูเมืองใหม่แต่ไม่มีการก่อกำแพงเมืองเลียบ<br />

แนวคูเมือง แต่มีการสร้างป้อมเรียงรายไปตามริมคลอง<br />

สำหรับป้องกันข้าศึกจำนวน 8 ป้อม การขยายเขตของ<br />

กรุงเทพฯ ครั้งนี้ทำให้เนื้อที่ของเมืองเพิ่มขึ้นอีกเท่าตัว<br />

และมีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 5,552 ไร่ และเพื่อให้การสัญจร<br />

foreigners filing an appeal to build a road so that they may<br />

ride their horses and vehicles in comfort, enjoy pleasant<br />

breezes, and exercise themselves contentedly. The King<br />

approved of such notion and thus gave consent to realize<br />

it. But since the completion of its construction, there may<br />

be question as to how many, both Thais and foreigners,<br />

ride horses on it, and how many vehicles use it? The whole<br />

width isn’t fully used, as only just one side is used while<br />

the other is left empty with nobody on horses, in vehicles,<br />

or on foot. The King has decided to make the road wide<br />

whilst it seems the cost for in-filling sand and soil is such<br />

a waste, is it not? If it were narrower, and just suffice for<br />

people to traverse upon, it should be adequate! But the<br />

reason that it is made wide is because in time, when all<br />

shall be prosperous and the number of people increases,<br />

it shall be convenient for carriages, horses and people<br />

alike. That is why it has been made wide....”<br />

The construction of roads during the period of Rama IV<br />

is considered to be the advent of land transportation network<br />

that eventually became the main mode of communication<br />

ไปมามีความสะดวกขึ้นทางการยังได้สร้างสะพานข้าม<br />

คลองขึ้นเพื่อเป็นการเชื่อมต่อการเดินทางทางบกและ<br />

ทางน้ำเข้าด้วยกันทำให้การเดินทางในกรุงเทพฯ มี<br />

ความสะดวกขึ้น<br />

สถาปัตยกรรม<br />

นโยบายในการต่อสู้เพื่อดำรงตนให้เป็นเอกราช<br />

จากการถูกคุกคามโดยมหาอำนาจตะวันตกนั้น งาน<br />

สถาปัตยกรรมแบบตะวันตกเป็นเครื่องมือสำคัญด้าน<br />

วัฒนธรรมประเภทหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัวทรงริเริ่มนำมาใช้เพื่อสื่อความหมายถึงการ<br />

ปรับตัวของไทยให้มีความเจริญก้าวหน้าทัดเทียมกัน<br />

กับชาวตะวันตก และงานสถาปัตยกรรมดังกล่าวได้<br />

ปรากฏขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์เป็นครั้งแรกในการสร้าง<br />

พระอภิเนาว์นิเวศน์ซึ่งเป็นหมู่พระราชมณเฑียรบริเวณ<br />

สวนขวาในพระบรมมหาราชวังเพื่อเป็นที่ประทับใน<br />

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสร้างขึ้น<br />

ระหว่าง พ.ศ. 2395 - 2400 พระราชประสงค์ในการ<br />

สร้างอาคารแบบสถาปัตยกรรมตะวันตกนั้นก็เพื่อเป็น<br />

ที่ต้อนรับแขกเมืองและเป็นที่ตั้งแสดงเครื่องบรรณาการ<br />

ที่ประเทศแถบยุโรปส่งมาถวาย เพื่อให้ลักษณะของ<br />

for Thai people in place of waterways that have always<br />

been part of the traditional way of life since the period of<br />

Ayutthaya. Vehicles used at the time were rickshaws and<br />

horse carriages. Initially, the rickshaws were presented<br />

to the king as gift offerings by Chinese traders who came<br />

with the junk boats from China. Subsequently, the king had<br />

them ordered and issued to royal members and officials<br />

of the court. Horse carriages on the other hand, were<br />

already in use by Westerners prior to the construction of<br />

Charoen Krung Road and were imported from Singapore.<br />

Hence with more roads being built in Bangkok, travelling<br />

by rickshaws and horse carriages became increasingly<br />

common during the time of Rama IV.<br />

Apart from building roads, eight canals were also dug<br />

during the period. An important canal (khlong) created<br />

to define the boundary of Bangkok that was expanding<br />

eastwards, was Khlong Padung Krung Kasem which<br />

served as the new city moat. Except for the construction<br />

of eight forts, no city walls were built along the canal. The<br />

expansion of the city at the time, doubled its area to 5,552<br />

156


ตัวอาคารและเครื่องบรรณาการมีความเหมาะสมกลมกลืน<br />

กัน และเพื่อแสดงให้เห็นถึงความมีอารยะของพระมหา<br />

กษัตริย์ไทย<br />

พระราชมณเฑียรแห่งนี้ประกอบด้วยพระที่นั่ง<br />

8 องค์ และหอ 3 หอ รวม 11 อาคาร แต่การตั้งนาม<br />

พระที่นั่งและอาคารต่างๆ นั้นได้รวมเอานามพระที่นั่ง<br />

สุทไธสวรรย์ปราสาทและพระที่นั่งไชยชุมพลเข้ามา<br />

เป็นหมู่พระที่นั่งเดียวกันด้วย ส่วนพระที่นั่งหลักนั้น<br />

ได้แก่ พระที่นั่งอนันตสมาคม เป็นท้องพระโรงกลาง<br />

พระที่นั่งบรมพิมาน เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์<br />

และพระที่นั่งนงคราญสโมสร เป็นที่ประทับของ<br />

พระมหากษัตริย์และฝ่ายใน โดยวางผังให้พระที่นั่งหลัก<br />

ทั้งสามหลังอยู่ในแนวแกนหลักโดยมีพระมหากษัตริย์<br />

เป็นศูนย์กลาง ซึ่งเป็นไปตามแบบแผนของการวางผัง<br />

หมู่พระราชมณเฑียรตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 เป็นต้นมา<br />

การตกแต่งภายในของพระที่นั่งอนันตสมาคมนั้น<br />

เป็นไปอย่างหรูหรา ที่ท้องพระโรงมีการประดับเพดาน<br />

ด้วยโคมไฟระย้า เสาแบบคลาสสิคมีลักษณะหัวเสาคล้าย<br />

กับหัวเสาแบบคอรินเธียน แต่ฐานเสาเป็นแบบบัวไทย<br />

การเจาะช่องผนังท้องพระโรงกลางเป็นแบบผสมผสาน<br />

rais; and to further facilitate transport and communication<br />

in Bangkok, bridges were also built across canals so that<br />

land and water transport may be linked.<br />

Architecture<br />

In order to maintain the nation’s independence and<br />

deter aggression by great western powers, European style<br />

architecture became an important cultural tactic in a policy<br />

advocated by Rama IV to demonstrate Siam’s efforts in<br />

developing the country to equal that of the Western world.<br />

Such style of architecture in the Rattanakosin period<br />

first appeared with the construction of Phra Thinang<br />

Abhinaonives, the king’s residential quarters in the Grand<br />

Palace. Constructed between 1852 and 1857, the intention<br />

was to build western style architecture for entertaining<br />

state visitors and foreign guests as well as to display<br />

objects and items that were gifts presented to the king<br />

from various European countries. The architecture and<br />

the display of objects therefore, were to be harmoniously<br />

integrated in the design so as to reflect the civilized tastes<br />

and sophistication of the Siamese king.<br />

มีทั้งแบบซุ้มโค้ง (Round Arch) และแบบซุ้มยอดแหลม<br />

(Pointed Arch) ภายในท้องพระโรงกลางมีข้อความ<br />

เขียนด้วยตัวอักษรภาษาจีนที่เสาสองต้น ทางด้านขวาและ<br />

ด้านซ้ายของพระราชบัลลังก์ แปลความได้ว่า “อดทนขณะนี้<br />

ทะเลจะสงบ” และ “ถอยสักก้าว ท้องฟ้าจะกว้างขึ้น”<br />

ซึ่งเป็นข้อความที่แสดงนัยของนโยบายทางด้านการ<br />

ต่างประเทศของสยามในสมัยรัชกาลที่ 4<br />

พระที่นั่งภูวดลทัศไนย สร้างขึ้นตามที่รัชกาลที่ 4<br />

ได้ทรงมีพระราชประสงค์ให้ใช้เป็นหอนาฬิกาบอกเวลา<br />

มาตรฐานแบบตะวันตกแทนที่การนับทุ่มโมงแบบดั้งเดิม<br />

ของไทย หอนาฬิกาจึงเป็นพระที่นั่งซึ่งแสดงความรู้ทาง<br />

วิทยาศาสตร์ ซึ่งมีความทัดเทียมกับอารยประเทศตามที่<br />

ได้ทรงมีพระราชปรารภว่า “...จะเป็นเหตุให้เขาหัวเราะ<br />

เยาะเย้ยได้ว่าเมืองเราใช้เครื่องมือนับทุ่มโมง เวลา<br />

หยาบคายนักไม่สมควรเลย เพราะเหตุฉะนี้ พระบาทสมเด็จ<br />

พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพินิจพิจารณาตรวจตรา<br />

คำนวณความดำเนินพระอาทิตย์ ให้ฤดูทั้งปวงสอบกับ<br />

นาฬิกาที่ดีมาหลายปี ทรงทราบถ้วนถี่ทุกประการ แจ้ง<br />

ในพระราชหฤทัยแล้ว...” และจากการคำนวณพระองค์<br />

ได้ทรงกำหนดตำแหน่งที่ตั้งของหอนาฬิกา ทั้งยังได้<br />

There were altogether eleven buildings in this complex<br />

which consisted of eight Phra Thinang and three other<br />

buildings. However in naming the buildings, the names<br />

of Phra Thinang Suthaisawan Prasat and Phra Thinang<br />

Chai Chumphon were also added into the group. The main<br />

buildings were: (the earlier) Phra Thinang Ananta Samakhom<br />

Throne Hall, which was the principal building, Phra Thinang<br />

Borom Phiman, which served as the king’s residence,<br />

and Phra Thinang Nongkhran Samosorn, which served<br />

to accommodate the inner royal courtiers. These three<br />

buildings were placed alongside each other respectively<br />

with the king’s residence in the middle according to the<br />

principle that has been practiced since the time of Rama I.<br />

The interior of Ananta Samakhom Throne Hall was<br />

elaborately decorated and had chandeliers, classic style<br />

columns with composite Corinthian-like capitals and Thai<br />

style base, and a combination of both round and pointed<br />

arches. Inside the main hall, the two columns flanking the<br />

Throne had inscriptions in Chinese calligraphy with the<br />

philosophical sayings that could be translated respectively<br />

157


ทรงจัดให้มีเจ้าพนักงานคอยเทียบเวลาทั้งกลางวันและ<br />

กลางคืนอีกด้วย<br />

พระที่นั่งภูวดลทัศไนยมีความสูง 5 ชั้น ส่วนบนสุด<br />

มีนาฬิกาติดอยู่ทั้ง 4 ด้าน เสาด้านนอกเป็นเสาลอย<br />

หัวเสามีลักษณะคล้ายกับหัวเสาคลาสสิค หลังคามุงด้วย<br />

กระเบื้องจีนมีปูนปั้นเป็นทางยาวสีขาวเชื่อมระหว่าง<br />

แผ่นกระเบื้อง<br />

ในภาพรวมแล้วพระที่นั่งอภิเนาว์นิเวศน์มีอิทธิพล<br />

แบบผสมผสานทั้งแบบไทย ตะวันตก และอิทธิพลจีน<br />

แต่งานสถาปัตยกรรมแบบตะวันตกนั้นก็ยังเป็นงานที่<br />

สร้างขึ้นตามรสนิยมของคนไทยที ่ยังไม่ค่อยยึดถือใน<br />

ทฤษฎีทางสถาปัตยกรรมที่ถูกต้องเท่าใดนัก<br />

พระอภิเนาว์นิเวศน์นั้นถูกรื้อไปตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5<br />

หลักฐานในการศึกษาลักษณะของอาคารต่างๆ จึงเป็นการ<br />

ศึกษาจากรูปถ่ายเท่านั้น แต่พระราชวังสมัยรัชกาลที่ 4<br />

ที่มีอิทธิพลของสถาปัตยกรรมแบบตะวันตกที่ยังคงมี<br />

หลักฐานให้ศึกษาได้นั้นมีอยู่ที่พระราชวังจันทรเกษม<br />

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และพระนารายณ์ราชนิเวศน์<br />

จังหวัดลพบุรี ซึ่งเป็นพระราชวังสมัยอยุธยาที่<br />

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดเกล้าฯ<br />

as “Persevere and the sea shall turn calm” and “Step back<br />

and the horizon shall widen” which implicitly reflected the<br />

profound foreign policy of Siam during the reign of Rama IV.<br />

Another edifice, Phra Thinang Bhuvadol Dhassanai<br />

was built as a clock tower for telling time in the Western<br />

manner instead of the conventional Thai way. According<br />

to royal intention, this tower was also meant to convey<br />

that the knowledge of science in Siam was not behind that<br />

of other civilized nations, as expressed by the king in his<br />

statement saying that:<br />

“...There shall be cause for them (Westerners) to<br />

laugh at us were we to use the primitive way of announcing<br />

time. This must not be. So for this reason, The King has<br />

for many years, studied calculating the movement of the<br />

sun’s path for every season of the year in conjunction<br />

with a very fine clock. All is now clearly and thoroughly<br />

understood in The King’s mind...”<br />

From his calculations, the king personally specified<br />

the exact position for the clock tower to be erected. The<br />

building had free-standing external columns with Classic<br />

ให้บูรณปฏิสังขรณ์ขึ้น แต่พระราชวังที่ได้โปรดเกล้าฯ<br />

ให้สร้างขึ้นใหม่และเป็นพระราชวังขนาดใหญ่ที่สุดที่ยัง<br />

คงปรากฏหลักฐานให้ศึกษาได้ทุกวันนี้ได้แก่ เขาวัง หรือ<br />

พระนครคีรี จังหวัดเพชรบุรี<br />

พระนครคีรี<br />

พระนครคีรีเป็นพระราชวังที่พระบาทสมเด็จ<br />

พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ<br />

พ.ศ. 2402 เพื่อเป็นพระราชวังตากอากาศในจังหวัด<br />

เพชรบุรี พระนครคีรีสร้างขึ้นบนเขามหาสวรรค์ หรือ<br />

เขามหาสมณะ หรือเขาวัง ซึ่งประกอบด้วยยอดเขา<br />

3 ยอด ยอดกลางที่สูงที่สุดประดิษฐานเจดีย์พระธาตุ<br />

จอมเพชร ยอดเขาทางทิศตะวันออกเป็นที่ตั้งของ<br />

วัดพระแก้วน้อย ส่วนยอดเขาทางด้านทิศตะวันตกเป็น<br />

กลุ่มพระราชมณเฑียร<br />

อาคารในกลุ่มพระราชมณเฑียรที่สำคัญที่สุดคือ<br />

พระที่นั่งเพชรภูมิไพโรจน์ มีลักษณะคล้ายท้องพระโรง<br />

และพระที่นั่งปราโมทย์มไหสวรรย์ซึ่งชั้นบนเป็นห้อง<br />

บรรทม ส่วนชั้นล่างเป็นโถงสำหรับทหารรักษาพระองค์<br />

พระที่นั่งเพชรภูมิไพโรจน์ มีผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า<br />

มีมุขยื่นออกไปด้านข้างทั้งสองข้างต่อด้วยพระที่นั ่ง<br />

style capitals, and the roof was covered with Chinese<br />

ceramic tiles held together by white plaster moldings.<br />

This five-storeys-high tower had a clock installed on each<br />

façade, and individuals were assigned to constantly monitor<br />

the correct times both day and night.<br />

On the whole, Phra Thinang Abhinaonives had a<br />

combination of multiple influences which were Thai, Western,<br />

and Chinese. This suggests that Western style architecture<br />

were built according to the whims of Thai taste and did<br />

not strictly follow any conventional theories or principles.<br />

This royal residential quarters was later demolished during<br />

the time of Rama V and therefore studies of the various<br />

buildings could only be carried out from old photographs.<br />

However, palatial buildings with western style influence<br />

in the period of Rama IV that still exist can be studied at<br />

Chandra Kasem Palace in Ayutthaya, and Narai Ratchanives<br />

in Lopburi province. These were palaces of the Ayutthaya<br />

period that Rama IV had ordered restored while the largest<br />

palace that he ordered constructed and still exists complete<br />

with physical evidence that can be studied, is Phra Nakorn<br />

158


ปราโมทย์มไหสวรรย์ ผังของพระที่นั่งทั้งสองนั ้นมี<br />

ลักษณะของการวางผังเช่นเดียวกันกับพระที่นั่งอมรินทร<br />

วินิจฉัยต่อกับพระที่นั่งไพศาลทักษิณ ในพระบรม<br />

มหาราชวัง รูปตั้งด้านหน้าของพระที่นั่งเพชรภูมิไพโรจน์<br />

มีการจัดระเบียบช่องเปิดอย่างเรียบง่าย ชั้นบน<br />

จัดจังหวะช่องสี่เหลี่ยมผืนผ้า ส่วนชั้นล่างมีลักษณะเป็น<br />

จังหวะคล้ายการจัดซุ้มโค้งเรียงกัน 5 ซุ้ม (Arcade) มี<br />

การจัดองค์ประกอบหัวเสาคลาสสิคแบบเสาทัสกัน<br />

(Tuscan) แต่การจัดระเบียบสัดส่วนของเสาก็ยัง<br />

ไม่ค่อยถูกต้องนัก อย่างไรก็ดีความก้าวหน้าที่สำคัญคือ<br />

การใช้โครงสร้างแบบทรัส (Truss) ที่โครงหลังคาของ<br />

พระที่นั่งเพชรภูมิไพโรจน์<br />

พระที่นั่งเวชยันต์วิเชียรปราสาท ตั้งอยู่ทางด้านหลัง<br />

และอยู่ในกลุ่มอาคารชุดเดียวกันกับพระที่นั่งเพชรภูมิ<br />

ไพโรจน์และพระที่นั่งปราโมทย์มไหสวรรย์ ทั้งนี้เพราะ<br />

พระที่นั่งองค์นี้เป็นสัญลักษณ์ของพระมหากษัตริย์ซึ่ง<br />

แสดงออกที่ลักษณะของหลังคาทรงปราสาท ผังเป็น<br />

รูปจตุรมุข ยอดปรางค์ 5 ยอด ปรางค์ใหญ่อยู่ตรงกลาง<br />

และปรางค์เล็กอยู่ตรงมุมทั้งสี่ องค์ปรางค์ตั้งอยู่บน<br />

ฐาน 3 ชั้น ฐานชั้นบนสุดมีโดมโปร่งที่มุมทั้งสี่ภายใน<br />

Khiri or Khao Wang in the province of Phetchaburi.<br />

Phra Nakorn Khiri<br />

Phra Nakorn Khiri is a palace that Rama IV had built as<br />

a vacation retreat in Phetchaburi province on Maha Sawan<br />

(Maha Samana) Mountain or Khao Wang. The mountain<br />

has three peaks. The highest peak is the central one which<br />

has the pagoda Chedi Phra Dhat Jomphet built on it. The<br />

east peak has Wat Phra Kaew Noi temple, and the west<br />

peak is where the royal quarters is situated.<br />

The most important buildings in the royal quarters<br />

are Phra Thinang Phetbhumi Phairoj, which is a hall, and<br />

Phra Thinang Pramote Mahai Sawan, which has the royal<br />

bed-chamber on the upper floor, and a hall for the royal<br />

guards on the lower floor. Phra Thinang Phetbhumi Phairoj<br />

has a rectangular plan with bays projecting outwards at<br />

both ends annexing Phra Thinang Pramote Mahai Sawan,<br />

and is similar to Phra Thinang Amarindra Vinitchai which is<br />

annexed to Phra Thinang Phaisan Thaksin in The Grand<br />

Palace. Façade treatment on Phra Thinang Phetbhumi<br />

Phairoj is plain and simple. The upper part has rectangular<br />

ประดิษฐานพระบรมรูปรัชกาลที่ 4 ลักษณะผสมผสาน<br />

ของสถาปัตยกรรมแบบไทยประเพณีและสถาปัตยกรรม<br />

แบบตะวันตกนี้คล้ายกับต้องการสื่อความหมายของ<br />

สถานภาพของพระมหากษัตริย์เชิงประเพณีและการ<br />

บูรณาการความเป็นอารยะแบบตะวันตกเข้าด้วยกัน<br />

พระที่นั่งราชธรรมสภา ใช้เป็นที่ประชุมหรือ<br />

บรรยายธรรม ผังสี่เหลี่ยมผืนผ้าก่ออิฐฉาบปูน หลังคา<br />

เป็นหลังคาเก๋งจีน สันหลังคาทางด้านสกัดตกท้องช้าง<br />

เล็กน้อย รูปด้านใช้วิธีการจัดระเบียบซุ้มโค้งต่อกันเป็น<br />

แนวคล้าย Arcade มีเสาประดับ หัวเสาคล้ายหัวเสาไอโอนิค<br />

แต่ทรงเสามีลักษณะอวบอ้วน เหนือเสาเป็นภาพนูนต่ำ<br />

ลักษณะคล้ายภาชนะทรงกลม ปักเครื่องประดับคล้ายธง<br />

มีประตูสีเขียวยอดโค้งตลอด 3 ด้านของพระที่นั่ง ด้านหน้า<br />

มีทางเข้าตรงกลางเป็นประตูยอดโค้งสีเขียวอยู่ระหว่าง<br />

หน้าต่างยอดโค้งสีเขียวเช่นเดียวกัน<br />

หอชัชวาลเวียงชัย เป็นหอประภาคารและหอดูดาว<br />

ผังกลมคล้ายผังโบสถ์คลาสสิค มีบันไดเวียน หลังคา<br />

หอสูงซึ ่งอยู่ตรงกลางนั้นเป็นหลังคารูปโดมมุงด้วย<br />

แผ่นกระจกใส รูปด้านเป็นการจัดระเบียบซุ้มโค้งซึ่งวาง<br />

เป็นจังหวะรอบผังวงกลม ซุ้มโค้งวางอยู่บนเสากลมรับ<br />

openings while the lower part has an arcade with five<br />

arches. The columns on the other hand, have rather unusual<br />

proportions with Tuscan style capitals. Nevertheless, the<br />

use of trusses for the roof structure was an important sign<br />

of advancement at the time.<br />

Phra Thinang Vejayan Vichian Prasat is located at<br />

the back in the same group of buildings with Phra Thinang<br />

Phetbhumi Phairoj and Pramote Mahai Sawan. This building<br />

is symbolic of the king as represented by its prasat-style<br />

roof. It has the plan of a Greek-cross with five-pranged<br />

superstructure. The largest prang is at the center with the<br />

four smaller ones at each of its corners. All five prangs<br />

sit on a three-tiered base which has exposed skeletal<br />

dome-rib structure at each corner of the top tier. Inside<br />

the building there is a statue of Rama IV. This suggests<br />

a sense of the conservative status of the king in the<br />

context of adopting Western style civilization through the<br />

integration of Traditional Thai style architecture with the<br />

Western style influence.<br />

Phra Thinang Rajdharma Sabha was used as a<br />

159


น้ำหนักลักษณะคล้ายเสาคลาสสิคแบบทัสกัน (Tuscan)<br />

การก่อสร้างพระนครคีรีนี้ ผู้ที่เป็นแม่กองคุมงาน<br />

ก่อสร้างได้แก่ เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)<br />

นายงานอีกท่านหนึ่งได้แก่ พระเพชรพิไสยศรีสวัสดิ์<br />

(ท้วม บุนนาค) และหลังจากโครงการพระนครคีรีเสร็จ<br />

สมบูรณ์แล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ<br />

ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์เดินทางไปราชการ 3 ที่ประเทศ<br />

สิงคโปร์ การไปดูงานคราวนี้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์<br />

ได้นำแบบอาคารมาใช้ประโยชน์สองแบบคือ อาคาร<br />

ตึกแถวและบ้านบังกะโลแบบมีมุขหน้า (Bungalow)<br />

อาคารตึกแถวนั้นเป็นแบบอาคารตึกแถวที่สร้างขึ้นเป็น<br />

ครั้งแรกตามริมถนนเจริญกรุงเมื่อราว พ.ศ. 2404 และ<br />

ต่อมาได้ถูกรื้อลงเพื่อสร้างตึกแถวแบบใหม่ในสมัย<br />

รัชกาลที่ 5<br />

ส่วนบ้านแบบบังกะโลนั้นเป็นแบบบ้านที่เจ้าอาณานิคม<br />

ชาวอังกฤษนิยมปลูกในประเทศอาณานิคมแถบร้อนชื้น<br />

เช่น สิงคโปร์ เป็นต้น บังกะโลเป็นบ้านเดี่ยวหลังคาจั่ว<br />

หรือทรงปั้นหยา ใช้โครงสร้างไม้หรือไม้ผสมก่ออิฐฉาบปูน<br />

อาจเป็นชั้นเดียวใต้ถุนสูง หรือสองชั้นและอาจมีมุขหน้า<br />

หรือไม่มีมุขก็ได้ แต่ลักษณะเด่นคือ มีความโล่งโปร่งสบาย<br />

conference hall and for holding lectures on Dharma. The<br />

masonry brick building has rectangular floor plan and<br />

Chinese style roof with slightly curved hip ridges at both<br />

ends. The elevations are treated with rows of rounded<br />

arches, like an arcade, while the columns have rather stout<br />

proportions with Ionic style capitals. Above the columns are<br />

bas-relief of objects that resemble a round bowl decorated<br />

with flag-like design. There are green arched doors on<br />

three sides of the building while the front side has a green<br />

entrance door at the center flanked by arched windows<br />

that are also painted green.<br />

Hor Chatchaval Viengchai served as a lighthouse<br />

and an observatory which has a circular plan similar to<br />

that of a classic round church plan and an internal spiral<br />

staircase while the dome over the central part is roofed<br />

with transparent glass. The exterior elevation is treated<br />

with rounded arches on load bearing columns similar to<br />

the classic Tuscan order, placed in repetitions around<br />

the structure.<br />

The chief construction supervisor of Phra Nakorn Khiri<br />

ระบายอากาศได้ดีเนื่องจากการวางผังให้มีระเบียงล้อม<br />

ส่วนที่เป็นห้องทำให้หลบแดดได้ทั้งวัน ทั้งยังมี<br />

องค์ประกอบอื่นๆ ที่ช่วยระบายอากาศ เช่น หน้าต่าง<br />

บานเกล็ด หรือช่องระบายลมเหนือหน้าต่าง เป็นต้น<br />

บ้านบังกะโลแบบมีระเบียงล้อมห้องนี้มีลักษณะ<br />

คล้ายกับบ้านแบบโคโลเนียลที่พวกมิชชันนารีอเมริกัน<br />

นำมาปลูกในกรุงเทพฯ ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 3 น่าสังเกตว่า<br />

บ้านแบบโคโลเนียลและบ้านบังกะโลนั้น เน้นการใช้สอย<br />

และการอยู่สบายมากกว่าความสง่างามหรือความหรูหรา<br />

จึงเป็นแบบบ้านที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตของสามัญชนโดย<br />

ทั่วไป และคนไทยสมัยรัชกาลที่ 3 และรัชกาลที่ 4 ก็คง<br />

มีความคุ้นตากับแบบบ้านของชาวตะวันตกดังกล่าวอยู่<br />

พอสมควร แต่ในช่วงเวลาดังกล่าวคนไทยระดับสามัญชน<br />

ก็ยังคงพักอาศัยอยู่ในอาคารแบบเรือนเครื่องสับหรือ<br />

เรือนเครื่องผูกเป็นหลัก เพราะว่าอิทธิพลสถาปัตยกรรม<br />

แบบตะวันตกในอาคารพักอาศัยยังคงจำกัดวงอยู่ในงาน<br />

สถาปัตยกรรมของศูนย์กลางแห่งอำนาจ หรือพระราช<br />

มณเฑียรซึ่งเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์เท่านั้น<br />

เพราะเป็นผู้มีความจำเป็นต้องพบปะกับชาวยุโรปมากที่สุด<br />

อาคารแบบบ้านบังกะโลของอังกฤษ และอาคาร<br />

was Phraya Sri Suriyawongse (Chuang Bunnag) together<br />

with construction manager Phra Phetphisot Srisvasti<br />

(Thuam Bunnag). After having completed the construction,<br />

the king sent Phraya Sri Suriyawongse on a royal mission<br />

to Singapore 3 . When he returned, he made use of what<br />

he had benefitted from the trip which was the design of<br />

row-buildings and bungalows with projected front bay. The<br />

first such row-buildings were built on Charoen Krung Road<br />

around 1861, but were later demolished in the period of<br />

Rama V to make way for new ones with more modern<br />

design. The bungalows on the other hand, were houses in<br />

the style that was popular among the colonialists in tropical<br />

countries like Singapore. Bungalows are single detached<br />

houses of timber construction or combination of timber<br />

and brick masonry with hip roofs. They could be single<br />

storey raised high above ground, or double storeys with<br />

or without a front bay projecting out. The characteristic<br />

feature is its openness and free flowing space with good<br />

natural ventilation due to the fact that the veranda that runs<br />

around the house also helps to provide shading from the<br />

160


แบบบ้านโคโลเนียลของชาวอเมริกันนั้น ต่อมาได้มี<br />

พัฒนาการไปเป็นอาคารใช้งานประเภทอื่นๆ ด้วย เช่น<br />

อาคารราชการในต่างจังหวัด ซึ่งให้ความสำคัญกับการ<br />

ใช้งานมากกว่าความสง่างามของตัวอาคาร หรืออาคาร<br />

ประเภทโรงเรียน เช่น โรงเรียน Christian High School<br />

for Boys, สำเหร่ ซึ่งตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2395 โดยมิชชันนารี<br />

ชาวอเมริกันนั้นจะเห็นว่ามีลักษณะตัวอาคารเรียนที่<br />

พัฒนาแบบมาจากอาคารพักอาศัยที่มีระเบียงรอบ<br />

ห้องแบบโคโลเนียลนั่นเอง โรงเรียน Christian High<br />

School for Boys นี้ต่อมาได้ย้ายไปอยู่ที่ถนนประมวญ<br />

และเปลี่ยนชื่อเป็น Bangkok Christian College เปิด<br />

ทำการสอนเมื่อ พ.ศ. 2445 ส่วนหลักฐานตัวบ้านแบบ<br />

โคโลเนียลรวมทั้งบ้านบังกะโลในกรุงเทพฯ นั้น ปัจจุบัน<br />

น่าจะหลงเหลืออยู่ไม่มากนัก และมีหลักฐานให้ศึกษาได้<br />

จากรูปถ่ายเป็นส่วนใหญ่<br />

อิทธิพลของสถาปัตยกรรมแบบตะวันตกในอาคาร<br />

พักอาศัยนั้นเริ่มที่ราชสำนัก ส่วนอาคารทางศาสนานั้น<br />

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงหลีกเลี่ยงที่<br />

จะไม่ให้มีอิทธิพลทั้งแบบตะวันตกและแบบจีน แต่ทรงให้<br />

ความสำคัญกับงานแบบอยุธยาเป็นหลัก เช่น การสร้าง<br />

sun. Louvered windows and other fenestrations also help<br />

to ventilate the spaces. These bungalows are similar to the<br />

Colonial style houses built by the American missionaries in<br />

Bangkok since the time of Rama III. It is interesting to note<br />

that these two styles were more concerned with functional<br />

comfort than with display of extravagance, and therefore<br />

suited to the lifestyle of the common people in addition<br />

to being more familiar to the eyes of those in the periods<br />

of Rama III and IV. The average people in those days<br />

however, were still living in wooden or thatched bamboo<br />

houses because Western style houses were attainable<br />

only by those at the center of power or residing in royal<br />

compounds, and those who were in positions to have<br />

greater interactions with European people.<br />

The British style bungalows and American style<br />

houses were later developed and applied to other building<br />

types such as provincial government buildings that also<br />

gave priority to functional use rather than appearance,<br />

and schools, such as the Christian High School for Boys<br />

in Sam-re that was established in 1852 by American<br />

พระศรีรัตนเจดีย์ทรงระฆังในวัดพระศรีรัตนศรีศาสดาราม<br />

เมื่อ พ.ศ. 2398 ก็ทรงนำแบบมาจากพระเจดีย์ที่<br />

วัดพระศรีสรรเพชญ์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ส่วนเจดีย์<br />

ที่พระบรมบรรพตหรือภูเขาทอง สร้างเมื่อ พ.ศ. 2408<br />

ก็เป็นเจดีย์ทรงระฆัง ส่วนวัดประจำรัชกาลนั้นก็คือ<br />

วัดราชประดิษฐาราม เป็นวัดแบบไทยประเพณีสร้างขึ้น<br />

เมื่อ พ.ศ. 2407 - 2408 และองค์เจดีย์ประธานในวัด<br />

ก็เป็นเจดีย์แบบทรงระฆังเช่นเดียวกัน<br />

สมัยรัชกาลที่ 5<br />

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

(ครองราชย์ พ.ศ. 2411 - 2453) ทรงได้รับการสถาปนา<br />

เป็นพระมหากษัตริย์ขณะมีพระชนมายุเพียง 15 ชันษา<br />

นับว่าเป็นยุวกษัตริย์พระองค์แรกของราชวงศ์จักรี ฉะนั้น<br />

จึงต้องมีผู้สำเร็จราชการซึ่งได้แก่ เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์<br />

(ช่วง บุนนาค) 4 การทำงานกับผู้สำเร็จราชการนั้น<br />

ภายหลังได้ทรงยอมรับว่าบางครั้งก็มีปัญหาอยู่บ้าง<br />

ดังนั้นจึงต้องทรงใช้ความละมุนละม่อมเพื่อให้งานเดินไปได้<br />

ส่วนปัญหาจากการคุกคามของประเทศมหาอำนาจ<br />

โดยเฉพาะสหราชอาณาจักร และฝรั่งเศสนั้นก็มีแต่จะ<br />

missionaries for example. The school’s building was in<br />

fact developed from the design of colonial style veranda<br />

houses. This school later moved to Pramuan Road, changed<br />

its name to Bangkok Christian College and commenced<br />

teaching in 1902. Unfortunately there are only few colonial<br />

and bungalow style houses left in Bangkok and therefore<br />

studies can be made mainly from old photographs.<br />

The influence of Western style architecture on domestic<br />

buildings in this period began with royal residences. As for<br />

religious buildings, Rama IV denied all foreign influences<br />

whether they be European or Chinese, but favored the<br />

Ayutthaya style. This can be seen from the bell-shaped<br />

pagoda at the Temple of the Emerald Buddha constructed<br />

in 1855 which followed the same style as the one at Wat<br />

Phra Srisanphet in Ayutthaya. The pagoda on the Golden<br />

Mount, built in 1865 is also in the same style; and similarly,<br />

the principal pagoda at Wat Ratchapradit Tharam, built in<br />

1864-65, also has the bell-shaped form.<br />

King Chulalongkorn (Rama V) reigned from 1868<br />

161


ร้ายแรงขึ้นในรัชสมัยของพระองค์ เช่น การที่เจ้าหน้าที่<br />

ของสหราชอาณาจักรเข้ามาแทรกแซงในความขัดแย้ง<br />

ระหว่างวังหลวงกับวังหน้าในช่วงต้นรัชกาลประมาณ<br />

พ.ศ. 2417 - 2418 สาเหตุหลักคือ การสะสมกำลังทหาร<br />

ของวังหน้าซึ่งมีเป็นจำนวนมาก ทำให้ทั้งสองวังเกิดการ<br />

ระแวงต่อกันในเรื่องของการช่วงชิงอำนาจ วังหน้าจึงหนี<br />

ไปขอให้สถานกงสุลอังกฤษช่วยอารักขา ในที่สุดเรื่องนี้<br />

ก็จบลงได้โดยการที่รัชกาลที่ 5 ทรงขอให้ข้าหลวง<br />

สหราชอาณาจักรประจำสิงคโปร์เป็นตัวกลางในการเจรจา<br />

ประนีประนอม โดยขอให้วังหน้าลดจำนวนทหารลงให้<br />

เหลือเท่าที่วังหน้าในรัชกาลก่อนเคยมีเอาไว้ อีกเรื่องหนึ่ง<br />

ก็คือ ความขัดแย้งกับฝรั่งเศสเมื่อประมาณ พ.ศ. 2437<br />

หรือที่เรียกว่า วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 ซึ่งเป็นเรื่องที่<br />

ฝรั่งเศสอ้างอำนาจการปกครองในพื้นที่ประเทศลาว<br />

และในที่สุดแล้วรัชกาลที่ 5 ก็ทรงใช้นโยบายเสียสละ<br />

ส่วนน้อยเพื่อรักษาส่วนใหญ่ หรือเพื่อรักษาอิสรภาพของ<br />

ชาติเอาไว้ โดยการยอมยกดินแดนราชอาณาจักรลาว<br />

ให้แก่ฝรั่งเศส<br />

ในภาพรวมแล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า<br />

อยู่หัวทรงสานต่อพระบรมราโชบายในพระบาทสมเด็จ<br />

to 1910. Because he was only 15 years old when he<br />

ascended the throne, Chaophraya Suriyawongse 4 (Chuang<br />

Bunnag) was appointed Regent to execute royal matters<br />

on his behalf during the early years of his reign. The king<br />

later admitted that working with the regent was rather<br />

difficult at times and he therefore had to be very careful<br />

and subtle so as not to aggravate matters as influences<br />

and threats by powerful nations, especially Britain and<br />

France, became more asserted. The British for example,<br />

played an influential role in the conflict between the<br />

Royal Palace and the Palace to the Front early in the<br />

reign around 1874-75. The cause of the conflict was the<br />

Front Palace’s increasing buildup of military power which<br />

became a threat to the Royal Palace. This led to distrust<br />

between the two palaces and while the Front Palace<br />

sought protection from the British Consulate in Bangkok,<br />

the king requested the British Governor in Singapore to<br />

help reconcile the situation. As a consequence, the conflict<br />

was resolved through reconciliation and the Palace to the<br />

Front had to reduce its military power down to the strength<br />

พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในเรื่องของการรู้จัก “ผ่อนสั้น<br />

ผ่อนยาว” และการแก้ปัญหาโดยการใช้ความคิดมาก<br />

กว่าการใช้กำลัง ตามที่รัชกาลที่ 4 ได้ทรงมีพระราช<br />

ดำรัสว่า<br />

“... อาวุธชนิดเดียวที่จะเป็นประโยชน์อย่างแท้จริง<br />

ต่อเราในอนาคตคือ วาจา และหัวใจของเราอัน<br />

กอปรด้วยสติ และปัญญา...”<br />

มงกุฎ ป.ร.<br />

ดังนั้นการแก้ปัญหาด้านการเมืองระหว่างประเทศของ<br />

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงใช้วิธี<br />

การเจรจาทางการทูต การสร้างสมดุลระหว่างมหาอำนาจ<br />

ตะวันตก รวมทั้งการปฏิรูปประเทศให้เข้าสู่ความทันสมัย<br />

ในด้านต่างๆ ทั้งในด้านการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม<br />

การคมนาคม การศึกษา ระบบยุติธรรม ตลอดจนด้าน<br />

วัฒนธรรมและประเพณี ฯลฯ เช่น ในการพระราชพิธีบรม<br />

ราชาภิเษกครั้งที่สองใน พ.ศ. 2416 นั้นได้ทรงมีพระบรม<br />

ราชโองการให้ผู้ที่หมอบเฝ้าอยู่ในพระราชพิธีนั้นลุกขึ้น<br />

ยืนเฝ้าเป็นครั้งแรก นับเป็นการนำเอาวัฒนธรรมใหม่<br />

that it formerly possessed during the previous reign. Then<br />

approximately two decades later, a conflict with France<br />

emerged and led to the Franco-Siamese crisis around 1893<br />

when France claimed her rights over Siamese territory<br />

in Laos. Under the circumstances at the time, Rama V<br />

was left with very little choice and eventually decided to<br />

surrender part of the disputed territory to France in order<br />

to avoid further aggressions.<br />

Overall, it can be seen that Rama V had adopted his<br />

father’s policy of “flexibility and leniency” in dealing with<br />

predicaments, and resorted to the use of “brains rather<br />

than brawns” in line with his father’s words of wisdom to<br />

the following effect:<br />

“...the only weapon that shall be truly of use<br />

to us in future is our words and our hearts based<br />

on being mindful and wise...”<br />

Mongkut Rex.<br />

Thus the essence of Rama V’s foreign affairs strategies<br />

162


แบบตะวันตกเข้ามาแทนที่ประเพณีดั้งเดิมของไทย<br />

อย่างกะทันหัน และแสดงถึงพระราชอำนาจอย่างเต็มที่<br />

ต่อมาใน พ.ศ. 2417 คือเพียงหนึ่งปีหลังจากงาน<br />

พระราชพิธีดังกล่าวก็ทรงเริ่มงานที่สำคัญมากคือ การตั้ง<br />

หอรัษฎากรพิพัฒน์ เพื่อจัดระเบียบการเงินและการคลัง<br />

ของแผ่นดิน และหอรัษฎากรพิพัฒน์นี้เป็นหน่วยราชการ<br />

แรกของประเทศไทยที่มีสถานที่ทำงาน มีเจ้าหน้าที่นั่ง<br />

ประจำทำงานเต็มเวลา แล้วก็มีการพระราชทานเงินเดือน<br />

แทนเบี้ยหวัดรายปีให้แก่ข้าราชการ งานปฏิรูประดับ<br />

พลิกแผ่นดินอีกงานหนึ่งของรัชกาลที่ 5 คือ การปฏิรูป<br />

ระบบบริหารราชการแผ่นดินใน พ.ศ. 2435 ซึ่งเป็นการ<br />

เปลี่ยนแปลงจากระบบจตุสดมภ์ ซึ่งใช้กันมาหลายร้อยปี<br />

ตั้งแต่สมัยอยุธยามาเป็นระบบกระทรวง ทบวง กรม<br />

ที่ใช้กันอยู่ในอารยประเทศ ทางด้านสังคมนั้นการปฏิรูป<br />

ที่สำคัญคือ การเลิกทาสและการเลิกไพร่ ซึ่งเป็นพระราช<br />

กรณียกิจที่ใช้เวลาหลายสิบปี แต่มีคุณต่อราษฎรอย่างยิ่ง<br />

เพราะเท่ากับเป็นการเปิดประตูไปสู่ความเท่าเทียมกัน<br />

ของบุคคลในสังคมไทย โดยเฉพาะการเลิกไพร่นั้น<br />

เป็นการส่งเสริมให้ราษฎรได้มีเวลาทำมาหากินได้เต็มที่<br />

และมีฐานะทางเศรษฐกิจที่ดีขึ้น<br />

revolved around diplomacy and balancing the power of<br />

Western nations that were beginning to have increasing<br />

control in the region, along with modernizing and reforming<br />

the country in all aspects such as governing system,<br />

economy, society, communication, education, justice<br />

system, culture and tradition, to name but a few. As an<br />

example of reform in tradition, during his second coronation<br />

ceremony in 1873, Rama V commanded for the first time<br />

in history that all those prostrating themselves in audience<br />

before him were to rise and stand instead. This was an<br />

unprecedented introduction of a western style custom to<br />

replace the traditional one and demonstrated the king’s<br />

stance regarding righteousness. In the following year,<br />

he initiated an important task of setting up the Revenue<br />

Department to regulate the country’s fiscal and financial<br />

system. This was the first governmental agency to have<br />

its own establishment and full-time salaried employees.<br />

In 1892, another major reform took place concerning<br />

the country’s administration system from that of the<br />

Chatusadom (the four pillars) system that had been in<br />

สำหรับการปฏิรูปการศึกษานั้นได้ทรงริเริ่มให้มีการ<br />

จัดการศึกษาอย่างเป็นระบบขึ้นเป็นครั้งแรก ตั้งแต่ระดับ<br />

พื้นฐานกระทั่งระดับอุดมศึกษา เช่น การตั้งโรงเรียน<br />

พระตำหนักสวนกุหลาบขึ้นในบริเวณพระบรมมหาราชวัง<br />

เพื่อเป็นโรงเรียนสำหรับบุตรหลานเจ้านายและข้าราชการ<br />

ทั้งยังโปรดให้มีการสอบไล่หนังสือขึ้นเป็นครั้งแรกใน<br />

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2428 ส่วนโรงเรียนสำหรับสามัญชน<br />

โรงเรียนแรกนั้นคือ โรงเรียนวัดมหรรณพาราม ตั้งขึ้น<br />

เมื่อ พ.ศ. 2441 ต่อมาได้โปรดให้ตั้งโรงเรียนมหาดเล็กขึ้น<br />

ใน พ.ศ. 2442 เพื่ออบรมลูกขุนนางและลูกผู ้ดีมีตระกูล<br />

ไว้เป็นมหาดเล็กรับใช้ในราชการ โรงเรียนมหาดเล็กนี้<br />

ต่อมาก็ได้พัฒนาเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในที่สุด<br />

นอกจากนี้แล้วทางราชการยังได้ส่งนักเรียนทุนไปศึกษา<br />

ยังประเทศต่างๆ ในยุโรปเป็นจำนวนถึง 206 คน<br />

การคมนาคม<br />

พัฒนาการด้านการคมนาคมระหว่างประเทศที่สำคัญ<br />

คือการสร้างคลองสุเอชในประเทศอียิปต์ระหว่าง พ.ศ.<br />

2402 - 2412 คลองดังกล่าวเริ่มเปิดใช้เมื่อ พ.ศ. 2412<br />

และเป็นผลให้เส้นทางการเดินเรือติดต่อระหว่างประเทศ<br />

ต่างๆ ทางตะวันตกกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีระยะ<br />

practice for centuries since the period of Ayutthaya, to<br />

that of ministries, bureaus and departments as commonly<br />

practiced in developed countries.<br />

With regards to socio-political reform, the most<br />

revolutionary change was the abolition of slavery and the<br />

corvée system. Although the process took many decades<br />

to fully transform, it was a greatly significant milestone<br />

and paved the way towards social equality for the people<br />

of Siam. The abolition of the corvée system in particular,<br />

enabled people to work and earn their living more fully in<br />

order to improve their economic status.<br />

In terms of education, Rama V advocated a more<br />

organized system of education, commencing initially at<br />

the primary level and then later on to tertiary level, for the<br />

first time in the kingdom. Phra Tamnak Suan Kularb School<br />

for example, was set up in the royal palace compound to<br />

educate the royal children and those of the nobles and<br />

officials of the royal court. Thus in 1885, the pupils were<br />

required for the first time in Siam, to sit final examinations.<br />

As for commoners, the first school to be set up was<br />

163


ที่สั้นลง การพัฒนาการขนส่งโดยเรือกลไฟทำให้การ<br />

ติดต่อค้าขายระหว่างเอเชียกับยุโรปมีความใกล้ชิดกัน<br />

มากยิ่งขึ้น ทั ้งยังเป็นการกระตุ้นกำลังการปลูกข้าว<br />

และพืชเศรษฐกิจอื่นๆ ตลอดจนการทำเหมืองแร่ใน<br />

ประเทศต่างๆ แถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำหรับใน<br />

สยามนั้น ในราวครึ่งหลังของรัชสมัยพระบาทสมเด็จ<br />

พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือราว พ.ศ. 2430 เป็นต้นมา<br />

ได้มีปริมาณผลผลิตข้าวเพื่อการส่งออกเพิ่มขึ้นเป็น<br />

จำนวนมาก ซึ่งมีผลทำให้สยามมีผลกำไรอย่างงดงาม<br />

จากการค้าระหว่างประเทศ<br />

ส่วนการพัฒนาด้านระบบคมนาคมที่มีส่วนสำคัญ<br />

ต่อการพัฒนาการปกครองและเศรษฐกิจของประเทศคือ<br />

การสร้างระบบรถไฟ โดยที่รถไฟสายแรกได้แก่สาย<br />

กรุงเทพฯ - นครราชสีมา เริ่มลงมือก่อสร้างใน พ.ศ. 2433<br />

แต่รถไฟที่เปิดดำเนินการได้เป็นสายแรกใน พ.ศ. 2436<br />

คือ สายกรุงเทพฯ - ปากน้ำ มีระยะทาง 19.25 กิโลเมตร<br />

ทั้งนี้เมื่อสิ้นรัชกาลใน พ.ศ. 2453 นั้น ทางรถไฟสายเหนือ<br />

ไปถึงสถานีอุตรดิตถ์ สายตะวันออกเฉียงเหนือไปถึง<br />

นครราชสีมาใน พ.ศ. 2443 และสายใต้ไปถึงเพชรบุรี<br />

ใน พ.ศ. 2446 ส่วนการสัญจรไปมาในกรุงเทพฯ โดย<br />

Mahanapharam School which opened in 1898. Then in the<br />

following year, the Royal Pages School was established<br />

for children of the elite who wished to be educated and<br />

trained to serve as royal pages. This school later became<br />

Chulalongkorn University and, to further support education,<br />

up to 206 scholarships were granted for students to pursue<br />

their studies abroad at various institutes in Europe.<br />

On transport and communication, an important<br />

development at the global level prior to the beginning of<br />

Rama V’s reign, was the construction of the Suez Canal<br />

which took place from 1859 to 1869. The canal, inaugurated<br />

in 1869, enabled the maritime distance between Europe<br />

and Southeast Asia to be shortened considerably whilst<br />

advanced developments in steamships further facilitated<br />

communication between Asian countries and the European<br />

markets. These factors contributed to accelerated development<br />

in the production of rice, other cash crops and the mining<br />

industry in Southeast Asian countries. As a result, Siam’s<br />

rice production increased greatly with export during the<br />

second half of the nineteenth century while the country’s<br />

การขนส่งมวลชนระบบรางนั้นได้พระราชทานสัมปทานให้<br />

บริษัทเอกชนชาวเดนมาร์กรับผิดชอบดำเนินการระบบราง<br />

เป็นครั้งแรกในกรุงเทพฯ เมื่อ พ.ศ. 2431 เดิมทีนั้น<br />

เป็นรถรางที่ลากด้วยม้า ต่อมาใน พ.ศ. 2437 บริษัท<br />

ผู้บริหารกิจการได้เปลี่ยนระบบการเดินรถเป็นรถราง<br />

ไฟฟ้า นับว่าเป็นวิธีการขนส่งมวลชนระบบรางในเมือง<br />

ที่ก้าวหน้ามาก กิจการรถรางไฟฟ้าได้ให้บริการชาว<br />

กรุงเทพฯ มาจนกระทั่ง พ.ศ. 2511 จึงได้ยุติการเดินรถ<br />

การเปลี ่ยนแปลงด้านการคมนาคมที่สำคัญอีก<br />

ประการหนึ่งคือ การเริ่มใช้รถยนต์ ซึ่งเกิดขึ้นราวๆ ก่อน<br />

พ.ศ. 2447 ผู้ที่สั่งรถยนต์เข้ามาใช้ในกรุงเทพฯ เป็นคนแรก<br />

นั้นเป็นชาวต่างประเทศซึ ่งต่อมาได้ขายให้แก่จอมพล<br />

เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสงชูโต) ดังนั้นท่านจอมพลฯ<br />

จึงนับว่าเป็นคนไทยคนแรกที่เป็นเจ้าของรถยนต์ ต่อมา<br />

ใน พ.ศ. 2447 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

ทรงสั่งซื้อรถยนต์ Mercedes Benz รุ่น 28 HP มาเป็น<br />

รถยนต์พระที่นั่งคันแรก และใน พ.ศ. 2448 ก็ได้ทรง<br />

สั่งซื้อรถยนต์ Mercedes Benz เข้ามาอีกคันหนึ่ง<br />

ดังนั้นรถยนต์จึงเริ่มเป็นที่นิยมแพร่หลายในหมู่สมาชิก<br />

พระราชวงศ์ตลอดจนขุนนางและพ่อค้าคหบดีทั่วไป<br />

trade balance was also in a favorable position at the time.<br />

An important development in terms of transportation<br />

that had significant impact on administration and economy<br />

of the country was the introduction of the railway system.<br />

The first line to begin construction was Bangkok-Nakhon<br />

Ratchasima line which commenced in 1890. However, the<br />

first line that came into operation was the Bangkok-Paknam<br />

line which started construction in 1893 with the total route<br />

distance of 19.25 kilometers. Then in 1900, construction<br />

on the northeastern line which terminated at Nakhon<br />

Ratchasima was finally completed. The southern line,<br />

terminating at Phetchaburi, was completed in 1903, and<br />

by the end of Rama V’s reign in 1910, the northern line<br />

was completed with its terminal station at Uttaradit. As<br />

for rail transport within Bangkok itself, concession was<br />

given to a private Danish company to be responsible for<br />

providing services for the first time in 1888. Prior to that,<br />

trams were drawn by horses along the tracks until 1894<br />

when they became operated by electricity instead. This new<br />

rail system was considered to be a very advanced mode<br />

164


ปรากฏว่าในรัชกาลที่ 5 มีรถยนต์ในกรุงเทพฯ จำนวน<br />

ถึง 251 คัน รถยนต์จะมีบทบาทเป็นพาหนะสำคัญใน<br />

การสัญจรไปมา ทั้งยังเป็นค่านิยมที่สำคัญในวิถีชีวิต<br />

ของสังคมไทยในสมัยต่อมา<br />

การปฏิรูปประเทศในด้านต่างๆ นั้นต้องการคน<br />

ทำงานที่มีความรู้และความเข้าใจในหลักการที่ถูกต้อง<br />

เพื่อให้เกิดสัมฤทธิ์ผลและเป็นพื้นฐานที่มั่นคงของ<br />

การพัฒนาประเทศต่อไป ดังนั้นพระบาทสมเด็จ<br />

พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงว่าจ้างชาวต่างประเทศ<br />

เข้ามารับราชการในกิจการด้านต่างๆ เป็นจำนวนมาก<br />

ใน พ.ศ. 2449 นั้นปรากฏว่ามีจำนวนที่ปรึกษา<br />

ชาวต่างประเทศ 44 คน และมีผู้ทำงานเป็นชาวต่าง<br />

ประเทศในกระทรวงต่างๆ ถึง 247 คน โดยมีชาวอังกฤษ<br />

มากที่สุดถึง 126 คน<br />

สำหรับชาวต่างประเทศที่ทำงานด้านศิลปะและ<br />

สถาปัตยกรรมนั้น เช่น กลุ่มสถาปนิก ได้แก่ นายโจอาคิม<br />

กราสซี ชาวอิตาเลียน เข้ามาในกรุงเทพฯ ราว พ.ศ. 2413<br />

นายมาริโอ ตามานโย ชาวอิตาเลียน เข้ามารับราชการ<br />

ในกรมโยธาธิการ ตั้งแต่ พ.ศ. 2443 ต่อมาได้เป็น<br />

หัวหน้าสถาปนิกใน พ.ศ. 2453 นายอัลนิบาลเล ริกอตติ<br />

of public transport at the time, and electric trams served<br />

the people of Bangkok from then on until its operation<br />

ended in 1968.<br />

Another important change in the means of transportation<br />

was the use of motorcars which appeared around the period<br />

before 1904. The first person to bring a motorcar into the<br />

country for use in Bangkok was a foreigner who later sold<br />

it to Field Marshal Chaophraya Surasakdi Montri (Joem<br />

Saeng-xuto), who then became the first Siamese person<br />

to own a private automobile. Following that, in 1904, the<br />

king ordered a Mercedes-Benz 28HP to be used as the<br />

first royal automobile and in 1905, another Mercedes-Benz<br />

was ordered. Since then motorcars became widespread<br />

amongst members of the royal family, nobilities, and<br />

wealthy merchants in general. There were up to 251 cars<br />

in Bangkok during the period of Rama V and according to<br />

the trend, automobiles came to play an important role in<br />

travelling as well as in the way of life and values adopted<br />

by people in the society during subsequent periods.<br />

Reforming the country in various different aspects<br />

สถาปนิกชาวอิตาเลียน เข้ามากรุงเทพฯ ใน พ.ศ. 2450<br />

เพื่อมาร่วมงานกับนายตามานโยในการออกแบบพระที่นั่ง<br />

อนันตสมาคม ส่วนนายคาร์ล ดือห์ริง เป็นสถาปนิก<br />

ชาวเยอรมันเข้ามาทำงานในฐานะวิศวกรของ<br />

กรมรถไฟใน พ.ศ. 2450 ต่อมาใน พ.ศ. 2452 ได้ย้ายไป<br />

รับตำแหน่งสถาปนิกและวิศวกรในกระทรวงมหาดไทย<br />

ดือห์ริงยังเป็นสถาปนิกชาวต่างประเทศคนแรกที่เขียน<br />

วิทยานิพนธ์ปริญญาเอกเรื่องเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมไทย<br />

งานด้านวิศวกรรมนั้นผู้ที่มีบทบาทสำคัญคือ นายคาร์โล<br />

อัลเลกรี วิศวกรชาวอิตาเลียนซึ่งเข้ามารับราชการใน<br />

ตำแหน่งวิศวกรกรมโยธาธิการ และได้รับตำแหน่ง<br />

หัวหน้าวิศวกรใน พ.ศ. 2435 ชาวอิตาเลียนที่ฝาก<br />

ผลงานสำคัญด้านศิลปะเอาไว้อีกคนหนึ่งได้แก่ นายริโกลี<br />

จิตรกรผู้เขียนภาพสีเฟรสโกที่พระที่นั่งอนันตสมาคม<br />

วังบางขุนพรหม และวัดราชาธิวาส<br />

กรุงเทพฯ เป็นศูนย์กลางของการพัฒนาประเทศ<br />

ในฐานะเมืองหลวง ดังนั้นจึงกลายเป็นศูนย์กลางของ<br />

กิจกรรมต่างๆ อย่างคึกคัก เช่น ท่าเรือระหว่างประเทศ<br />

ศูนย์กลางการพาณิชย์ ศูนย์กลางการบริหารราชการ ศูนย์<br />

เศรษฐกิจ ฯลฯ จำนวนประชากรเพิ่มขึ้นเป็น 600,000 คน<br />

required using people with deep knowledge and understanding<br />

of the concept and principles that are involved, in order<br />

to achieve the objectives that shall become a stable<br />

foundation for further developments. Aware of this, the<br />

king therefore hired many foreigners and employed them<br />

in various governmental department positions. In 1906,<br />

there were altogether 44 foreign advisors and 247 foreign<br />

employees delegated to different ministries; of these, 126<br />

were British.<br />

Notable foreigners employed in the field of art and<br />

architecture were European architects Joachim Grassi,<br />

who arrived in Bangkok around 1870, Mario Tamagno,<br />

who served in the Department of Public Works since<br />

1900 and later became Chief Architect in 1910, and<br />

Annibale Rigotti, who came to Bangkok in 1907 to work<br />

with Tamagno in designing the new Ananta Samakhom<br />

Throne Hall. Apart from that, there was also a German<br />

architect Karl Döhring, who came to work as an engineer<br />

for the Railways Department in 1907. Two years later, he<br />

was transferred to serve as architect and engineer in the<br />

165


จากสมัยรัชกาลที่4 ซึ่งมีจำนวนประมาณ 400,000 คน<br />

เนื้อที่ของกรุงเทพฯ ขยายตัวขึ้นเป็น 8,330 ไร่ หรือเพิ่ม<br />

ขึ้นเป็นสองเท่าของเนื้อที่กรุงเทพฯ ในสมัยรัชกาลที่ 4<br />

ในการสร้างระบบสาธารณูปโภคเพื่อรองรับการ<br />

ขยายตัวของประชากร และการขยายตัวทางกายภาพ<br />

ของเมืองนั ้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัวทรงให้ความสำคัญกับการสัญจรไปมาทางน้ำ<br />

เป็นอันดับแรก รองลงมาก็คือการสร้างเครือข่ายถนน<br />

ทั้งนี้ทรงมีจุดประสงค์ที่จะใช้เครือข่ายการคมนาคม<br />

เป็นตัวนำความเจริญขยายออกไปตามทิศทางต่างๆ<br />

ของกรุงเทพฯ เช่น ในตอนต้นรัชกาลนั้นทรงให้ความ<br />

สำคัญกับการสร้างความเจริญให้กับบริเวณพื้นที่ทาง<br />

ตอนเหนือของกรุงเทพฯ จึงทรงโปรดเกล้าฯ ให้ขุด<br />

คลองเปรมประชากรขึ้น และโดยรวมแล้วทางราชการ<br />

ได้ขุดคลองรวมทั้งสิ้น 12 คลอง แต่โครงการขุดคลองที่<br />

ใหญ่ที่สุดในรัชกาลได้แก่ การขุดคลองรังสิตประยูรศักดิ์<br />

หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่า คลองรังสิต ซึ่งเป็นคลองสาย<br />

หลักในโครงการพัฒนาที่ดินขนาดใหญ่แห่งแรกของ<br />

ประเทศไทยที่ได้ดำเนินการขุดเมื่อ พ.ศ. 2433 - 2448<br />

โดยบริษัทขุดคลองแลคูนาสยาม ซึ่งเป็นบริษัทเอกชนที่<br />

Ministry of Interior. Döhring was also the first foreigner to<br />

have written a dissertation on the architecture of Siam.<br />

In engineering, Carlo Allegri, an Italian engineer,<br />

played an important role in the Department of Public Works<br />

and became its Chief Engineer in 1892. He was one of<br />

the people who jointly designed a foundation system for<br />

constructing buildings on the heavy clay soils of Bangkok,<br />

which differed from the more commonly known pile or<br />

spread foundations. Based on the principle of erecting a<br />

building on load-bearing vessel, the foundation acts like<br />

a buoyant reinforced concrete float that is stabilized and<br />

supported by the clay on which it is built.<br />

To add to the list, another notable Italian was a<br />

Signor Rigoli, the artist who was responsible for painting<br />

the frescoes at Ananta Samakhom Throne Hall, Bang<br />

Khunphrom Palace, and Wat Rajadhivas.<br />

Being the capital city, Bangkok was the center of the<br />

country’s development and therefore the hub where all<br />

kinds of dynamic activities took place. The city became<br />

an international maritime port, the center of commerce,<br />

ได้สัมปทานการขุดคลองจากรัฐบาล โดยมีจุดประสงค์<br />

ในการพัฒนาที่ดินให้เป็นแหล่งปลูกข้าว ซึ่งเป็นสินค้า<br />

ส่งออกอันดับหนึ่งของไทยในขณะนั้น<br />

สำหรับการสร้างถนนในตอนต้นรัชกาลนั้นทรง<br />

ให้ความสำคัญกับการดูแลเครือข่ายถนนในบริเวณ<br />

กำแพงเมือง เช่น การปรับปรุงถนนสายเก่าได้แก่ ถนน<br />

บำรุงเมือง และเฟื่องนคร เป็นต้น นอกจากนั้นก็มีการ<br />

สร้างถนนขึ้นใหม่อีก 5 สาย ได้แก่ ถนนจักรพงษ์ ถนน<br />

พระอาทิตย์ ถนนพระสุเมรุ ถนนจักรเพชร และถนนมหาไชย<br />

ต่อมาในช่วงกลางรัชกาลราว พ.ศ. 2427 - 2439<br />

รายได้แผ่นดินเริ่มดีขึ้นจึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ<br />

ให้สร้างถนนขึ้นใหม่หลายสายซึ่งเป็นถนนที่มีขนาด<br />

กว้างกว่าสมัยก่อน เช่น โปรดเกล้าฯ ให้สร้างถนน<br />

ริมกำแพงเมืองด้านในติดต่อกันเป็นวงรอบพระนคร<br />

เว้นแต่ตอนที่เป็นวังหน้าเท่านั้น นอกจากนี้ก็มีการสร้าง<br />

ถนนเชื่อมต่อเพื่อขยายความเจริญออกไปยังทิศทาง<br />

ต่างๆ ของกรุงเทพฯ ทางด้านทิศตะวันออกสร้างถนน<br />

สระปทุม ถนนนางเลิ้ง ถนนบริพัตร และถนนประแจจีน<br />

(ถนนเพชรบุรี) ทางด้านทิศเหนือสร้างถนนสามเสน<br />

และถนนกรุงเกษม ทางตอนใต้ของกรุงเทพฯ นั้น<br />

center of government administration, and center of the<br />

economy, among others. Population size increased from<br />

400,000 people in the previous reign to 600,000 while its<br />

physical size expanded to 8,330 rais, which was twice<br />

the area that it occupied during the period of Rama IV.<br />

In setting up the infrastructure to cope with increasing<br />

population and physical expansion of the city, Rama V<br />

gave primary importance to water transportation, and<br />

secondary importance to setting up road network system<br />

so as to spread the development out in different directions.<br />

Focusing on developing the northern part of Bangkok<br />

during the early period of his reign for example, the king<br />

ordered the construction of Prem Prachakorn Canal to<br />

lead developments out in that direction. In total, twelve<br />

canals were built, with Rangsit Prayurasak Canal or<br />

Khlong Rangsit being the largest one constructed during<br />

the reign. This canal was a major canal in the first large<br />

scale land-development project in the kingdom, and was<br />

built from 1890 to 1905 by a private canal construction<br />

company called Lae-khu-na (Laguna?) Siam. The royal<br />

166


ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างถนนขึ้นหลายสาย แต่ที่สำคัญคือ<br />

ถนนเยาวราช เนื่องจากเป็นถนนที่ตัดผ่านตำบลสำเพ็ง<br />

ซึ่งเป็นชุมชนธุรกิจที่คึกคักของกรุงเทพฯ และยังคง<br />

ความสำคัญมาตลอดจนกระทั่งสมัยปัจจุบัน<br />

สถาปัตยกรรม<br />

งานสถาปัตยกรรมในยุคการปฏิรูปในสมัยรัชกาลที่ 5<br />

นั้นมีความหลากหลาย เพราะว่ามีประโยชน์ใช้สอย<br />

แบบใหม่มากมายเกิดขึ้นมาพร้อมกับการปฏิรูป เช่น<br />

ศาลากลางจังหวัด ศาลยุติธรรม สถานีรถไฟ โรงเรียน เป็นต้น<br />

ส่วนรูปแบบนั้นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

ยังทรงยึดแนวทางที่สมเด็จพระราชบิดาได้ทรงเริ่ม<br />

วางแนวทางเอาไว้คือ การแสดงภาพความเป็นผู้เจริญ<br />

และทันสมัยผ่านทางงานสถาปัตยกรรมแบบตะวันตก<br />

หากแต่งานสถาปัตยกรรมแบบตะวันตกในสมัยรัชกาล<br />

ที่ 5 นั้น เป็นงานที่มีคุณภาพและมีความถูกต้องทาง<br />

หลักการออกแบบมากกว่าในสมัยรัชกาลก่อน ทั้งนี้เพราะ<br />

ว่าผู้ออกแบบนั้นเป็นสถาปนิกที่ได้รับการฝึกฝนเฉพาะทาง<br />

มาเป็นอย่างดี ในส่วนของอาคารพักอาศัยแบบตะวันตก<br />

นั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 ก็มิได้จำกัดวงอยู่แต่เพียง<br />

พระราชมณเฑียรเท่านั้นแต่ได้เริ่มขยายวงกว้างออกไป<br />

intention was to develop the area into land for farming<br />

rice which was the country’s foremost exporting product<br />

at the time.<br />

As far as roads were concerned, during the early period<br />

of his reign, Rama V gave importance to maintenance of<br />

roads within the city walls such as improving the old Bumrung<br />

Mueang and Fueang Nakorn roads for example, and the<br />

construction of five new ones which were Chakrabongse<br />

Road, Phra Ar-thit Road, Phra Sumeru Road, Chakrapetch<br />

Road, and Mahachai Road. Then around the middle of the<br />

reign between 1884 and 1896, with the country’s improved<br />

fiscal status, the king commanded more and wider roads<br />

be built such as the ring road that runs parallel to the<br />

inner side of the city wall until it reaches the Front Palace.<br />

Apart from that, linkage roads were built to direct city<br />

growth out in various directions. To the east, Sa Pathum,<br />

Nanglerng, Baripat, and Prajaejeen (Phetchaburi) roads<br />

were built. To the north, there were Samsen and Krung<br />

Kasem roads; and to the south, several roads were also<br />

constructed, but the most important one was Yaowarat<br />

เนื่องด้วยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะให้คนไทยทุกคนพัฒนาความ<br />

เป็นอยู่ในบ้านเรือนของตนโดยใช้วัสดุก่อสร้างอันถาวร<br />

และมีความงามประณีตทางสถาปัตยกรรมด้วย ดังนั้นจึง<br />

ทรงมีพระบรมราชโองการให้พระราชวงศ์และข้าราชการ<br />

ชั้นผู้ใหญ่ทำตัวเป็นแบบอย่างโดยการจัดบ้านเรือนให้เป็น<br />

ตัวอย่างแก่ราษฎร เพื่อแสดงว่าคนไทยมีความคิดและ<br />

ความเป็นอยู่ทัดเทียมกับความเจริญของประเทศในยุโรป<br />

ด้วยเหตุดังกล่าวสมาชิกในพระราชวงศ์และข้าราชการ<br />

ชั้นผู้ใหญ่จึงเป็นคนไทยกลุ่มแรกที่ได้ดำเนินการ “จัดบ้าน<br />

เรือน” ให้เป็นระเบียบและงดงามในแบบสถาปัตยกรรม<br />

ตะวันตกเพื่อให้เป็นไปตามพระราชประสงค์<br />

พระราชวัง<br />

การสร้างพระราชมณเฑียรตั้งแต่ต้นรัชกาลนั้น<br />

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงเลือกใช้<br />

สถาปนิกอาชีพชาวยุโรป และพระที่นั่งองค์ที่สำคัญที่สุด<br />

ในพระบรมมหาราชวัง เนื่องจากเป็นสัญลักษณ์ของ<br />

พระมหากษัตริย์คือ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทนั้นก็ได้<br />

ทรงมอบหมายให้นายจอห์น คลูนิส สถาปนิกชาวอังกฤษ<br />

เป็นผู้ออกแบบ พระที่นั่งองค์นี้สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2419<br />

Road that runs through Sampeng, which was, and still is,<br />

a thriving business district of Bangkok.<br />

Architecture<br />

During the reformation period under the reign of<br />

Rama V, a range of architectural styles appeared due to<br />

the variety of new functional requirements that came with<br />

reform. These were the city hall, the justice court, railway<br />

stations, and schools for example.<br />

Regarding style, the king adhered to his father’s concept<br />

of expressing the kingdom’s civilized and modern outlook<br />

through Western style architecture, but emphasized more<br />

on quality and design according to correct architectural<br />

principles because the designers at the time of his reign<br />

were professionally trained architects.<br />

Western style residential buildings during the period<br />

of Rama V were no longer confined to royal compounds,<br />

as the king wished for all Siamese people to improve their<br />

living conditions and make their houses architecturally<br />

nicer looking by using modern and more durable building<br />

materials. With regards to this, the king instructed royal<br />

167


เพื่อเป็นท้องพระโรงและสำหรับทรงงานราชการต่างๆ<br />

นายจอห์น คลูนิส ออกแบบพระที่นั่งในบริบทของ<br />

นีโอคลาสสิค แบบนีโอเรอเนอซองส์ แต่หลังคาเป็น<br />

ทรงมณฑปแทนที่จะเป็นทรงโดมตามคำกราบบังคมทูล<br />

ทัดทานของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์<br />

(ช่วง บุนนาค) ซึ่งให้เหตุผลว่าหลังคาทรงมณฑปนั้น<br />

แสดงถึงความเป็นพระมหากษัตริย์ตามประเพณีไทย<br />

พระราชวังบางปะอิน<br />

พระราชวังที่ได้ทรงสร้างขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2415<br />

เพื่อการแปรพระราชฐานได้แก่ พระราชวังบางปะอิน<br />

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พระที่นั่งและอาคารต่างๆ<br />

ในพระราชวังแห่งนี้ประกอบไปด้วยอาคารในแบบไทย<br />

ประเพณี แบบตะวันตก และแบบจีน พระที่นั่งแบบ<br />

ตะวันตกที่สำคัญและสร้างเสร็จราว พ.ศ. 2419 เพื่อใช้<br />

เป็นที่ออกว่าราชการและเป็นที่ประทับได้แก่ พระที่นั่ง<br />

วโรภาษพิมาน ออกแบบโดยสถาปนิกชาวอิตาเลียน<br />

นายโจอาคิม กราสซี องค์พระที่นั่งมีลักษณะเป็นตึก<br />

แบบคลาสสิค ด้านหน้ามีมุข โถงใหญ่ประดับเสาอิง<br />

แบบคอรินเธียน ที่มุขเก็จด้านข้างบนยอดหลังคาประดับ<br />

ลวดลายเหล็กหล่อ<br />

members and high ranking officials to become model<br />

examples by tidying up and beautifying their own residences<br />

for the commoners to imitate and help create a favorable<br />

impression that Siamese people have the mentality and<br />

way of life on an equal level with those in the developed<br />

European countries. Thus the royal members and high<br />

ranking officials were the first group of people to have<br />

organized and beautified their residences in the Western<br />

manner according to the king’s instructions.<br />

Royal Palaces<br />

Since the beginning of his reign, Rama V chose to<br />

commission the services of European architects to be<br />

responsible for building palatial compounds. John Clunich,<br />

a British architect, for example, was assigned to be<br />

responsible for the design of Chakri Maha Prasat Throne<br />

Hall which was the most important building that represents<br />

the majesty of the king in the Grand Palace. Constructed<br />

in 1876, the Neo-Classic building was designed in the<br />

Neo-Renaissance style to serve as a throne hall and the<br />

place for carrying out official affairs. The mondop style<br />

พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรเป็นพระที่นั่งไม้ สร้างขึ้น<br />

เมื่อ พ.ศ. 2420 เพื่อเป็นที่ประทับโดยผู้ที่รับผิดชอบ<br />

ในการก่อสร้างคือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศ<br />

วรฤทธิ์ พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรเป็นพระที่นั่ง 2 ชั้น<br />

โครงสร้างไม้ทั้งองค์ ฝาเรือนทาสีเขียวอ่อนและแก่<br />

สลับกันทางนอน ตกแต่งด้วยลวดลายฉลุไม้ มีลักษณะ<br />

งดงามและผ่อนคลายเป็นที่อยู่อาศัยที่สร้างขึ้นเพื่อความ<br />

สะดวกสบายเป็นสำคัญ พระที่นั่งองค์นี้เป็นต้นแบบบ้าน<br />

ไม้ฉลุลายที่เก่าที่สุดเท่าที่ปรากฏหลักฐานให้ค้นคว้าได้<br />

บ้านแบบนี้จะเป็นที่นิยมแพร่หลายในหมู่สามัญชน<br />

คนชั้นกลางในเวลาต่อมา พระตำหนักในพระราชวังบางปะอิน<br />

ที่ปรากฏหลักฐานของการตกแต่งด้วยลวดลายฉลุไม้<br />

อีกแห่งหนึ่งคือ ตำหนักที่ประทับของสมเด็จพระศรีสวรินทรา<br />

บรมราชเทวี ซึ่งมีลวดลายประดับที่ระเบียงมุขชั้นบน<br />

และบริเวณผนังหน้าจั่วรวมทั้งบริเวณป้านลม ลักษณะ<br />

ลายเป็นลายเส้นใหญ่ไม่ค่อยมีความละเอียดนัก เสาไม้<br />

ที่ระเบียงเป็นเสากลึงดูคล้ายเสาเหล็กหล่อ น่าสังเกตว่า<br />

ตำหนักของฝ่ายในมักจะมีการตกแต่งด้วยลวดลายต่างๆ<br />

เพื่อทำให้เกิดความรู้สึกที่อ่อนโยนขึ้น<br />

roof on the building however, was the result of Somdej<br />

Chaophraya Boromaha Sri Suriyawongse’s objection<br />

to the proposed dome style because the mondop was<br />

considered to be the style that represents the majestic<br />

kingship according to royal tradition.<br />

Bang Pa-in Palace<br />

The first palace that Rama V had built in 1872 for<br />

his royal outings was Bang Pa-in Palace in Ayutthaya<br />

province. The various buildings at this palace were built<br />

in an assortment of traditional Thai, western, and Chinese<br />

styles. Phra Thinang Varopas Phiman which was built<br />

to serve as the royal residence and audience hall, is an<br />

important building in the western style that completed<br />

construction around 1876. The building was designed<br />

by the European architect, Joachim Grassi in the classic<br />

style with a front portico and Corinthian columns while<br />

the rooftop edges of the laterally projected bays were<br />

ornamented with cast-iron detailing.<br />

Phra Thinang Utthayan Bhumi Sathien, a timber villa<br />

built in 1877, also served as a royal residence. Prince<br />

168


่<br />

พระราชวังสวนดุสิต<br />

ในช่วงปลายรัชกาลนั้นมีการสร้างพระที่นั่งและ<br />

วังที่สำคัญคือ การสร้างพระที่นั ่งวิมานเมฆ 5 ขึ้นเป็น<br />

พระที่นั่งองค์แรกของพระราชวังสวนดุสิต 6 ระหว่าง<br />

พ.ศ. 2443 - 2444 พระที่นั่งวิมานเมฆเป็นเรือนไม้สัก<br />

ขนาดใหญ่ การวางผังใช้หลักการของบ้านแบบบังกะโล<br />

คือมีระเบียงรอบห้องเพื่อหลบแดด การจัดประโยชน์<br />

ใช้สอยตามห้องต่างๆ เน้นเรื่องการใช้สอยและความ<br />

สะดวกสบายในการอยู่อาศัยมากกว่าการเป็นพระที่นั่ง<br />

สำหรับประกอบพิธีกรรมของพระมหากษัตริย์ มีการ<br />

ใช้ลวดลายฉลุไม้ประดับตามชายคาและหน้าบันอาคาร<br />

ผังพระที่นั่งเป็นรูปตัว L เชื่อมกับผัง 8 เหลี่ยม ซึ ่ง<br />

เป็นส่วนที่ประทับในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัว ส่วนที่เป็นผังรูปตัว L นั้นสูง 3 ชั้น แต่ส่วนที่<br />

เป็นที่ประทับนั้นสูง 4 ชั้น พระที่นั่งอีกองค์หนึ่งซึ่ง<br />

โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2446 และสร้างแล้วเสร็จ<br />

เมื่อ พ.ศ. 2447 ได้แก่ พระที่นั่งอภิเศกดุสิต ซึ่งเป็น<br />

พระที่นั่งชั้นเดียวออกแบบโดยนายมาริโอ ตามานโย<br />

ใช้เป็นท้องพระโรงและสถานที่พระราชทานเลี้ยงสำหรับ<br />

พระราชวังสวนดุสิต องค์พระที่นั่งจึงมีลักษณะที่ผ่อนคลาย<br />

Nares Vararidhi was assigned to be responsible for the<br />

construction of this two-storeyed building that was built<br />

entirely of timber. Walls were painted with alternating<br />

light and dark green horizontal stripes and decorated<br />

with intricatelye perforated sawn-timber work that elicits<br />

a sense of beauty and relaxed comfort. This building is<br />

the earliest evidence that could be found in the country<br />

as a prototype for the study of houses with perforated<br />

sawn-timber decorations that later became popular among<br />

the common middle-class people.<br />

Another building at Bang Pa-in Palace that exhibits<br />

the same style of ornamentation is the building that was<br />

the royal residence of Queen Sri Savarindira which was<br />

beautifully decorated on the upper balcony and roof gables.<br />

The patterns are not so intricate, and the wooden posts on<br />

the veranda appear as if they were made of cast iron. It<br />

is interesting to note here that buildings of the inner court<br />

were usually decorated with various design patterns to<br />

give them a sense of gentility.<br />

Suan Dusit Palace<br />

มีการตกแต่งที่งดงามด้วยลวดลายฉลุไม้เรียกว่า<br />

ลายบุหงา เป็นตัวอย่างของพระที่นั่งแบบโรมันติกที<br />

ตกแต่งด้วยลวดลายฉลุไม้ที่สำคัญองค์หนึ่งซึ่งมีหลักฐาน<br />

ว่าออกแบบโดยสถาปนิกอิตาเลียน พระที่นั่งในกลุ่ม<br />

พระราชวังสวนดุสิตที่ใหญ่ที่สุดและหรูหราที่สุดนั้นโปรด<br />

เกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเป็นองค์สุดท้ายเพื่อเป็นท้องพระโรง<br />

ตั้งแต่ พ.ศ. 2451 และแล้วเสร็จใน พ.ศ. 2459 ในรัชกาล<br />

ที่ 6 คือ พระที่นั่งอนันตสมาคม สถาปนิกได้แก่ นาย<br />

มาริโอ ตามานโย และนายอัลนิบาลเล ริกอตติ วิศวกร<br />

คือ นายคาร์โล อัลเลกรี พระที่นั่งองค์นี้เป็นงานแบบ<br />

นีโอเรอเนอซองส์ที่เคร่งครัดในเรื่องของการจัดระเบียบของ<br />

สัดส่วนอาคาร แต่ก็ยังแฝงแนวคิดเชิงประเพณีของไทย<br />

เอาไว้ที่การเขียนภาพพระพุทธชินราชประดิษฐานไว้<br />

ที่เพดานครึ ่งโดมทางด้านทิศตะวันตก ที่น่าสังเกต<br />

คือ โครงสร้างหลักของพระที่นั่งองค์นี้เป็นโครงสร้าง<br />

คอนกรีตเสริมเหล็กซึ่งเป็นโครงสร้างที่มีความทันสมัยมาก<br />

ในรัชกาลที่ 5<br />

ใน พ.ศ. 2453 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัวทรงมีพระชนมายุ 58 พรรษา ทรงมี<br />

พระราชปรารภว่า เมื่อพระชนมายุครบ 60 พรรษาแล้ว<br />

An important building and palace constructed towards<br />

the end of the reign was Vimanmek Mansion 5 which was<br />

the first building to be erected on the compound of Suan<br />

Dusit Palace 6 in 1900-01. The large teakwood mansion<br />

was designed in the style of a bungalow house with roofed<br />

verandas all around to protect the interior from direct sunlight.<br />

Functions were arranged in a way that provided ease in<br />

use and comfort in living, rather than just for ceremonial<br />

formalities of the king. The eaves, overhangs and gables<br />

were decorated with perforated sawn-timber work and the<br />

L-shaped building is adjoined to the octagonal part which<br />

served as the king’s quarters. This L-shaped part of the<br />

building has three storeys while the royal quarters is four<br />

storeys in height.<br />

Another building that Rama V ordered built was Abhisek<br />

Dusit which began construction in 1903 and completed<br />

in 1904. This is a single storey building that was used as<br />

a reception hall and a salon for entertainment functions<br />

that were held at Suan Dusit Palace. Designed by Mario<br />

Tamagno, the building has a casual atmosphere and is<br />

169


จะทรงสละราชสมบัติพระราชทานแก่สมเด็จพระบรม<br />

โอรสาธิราชฯ ส่วนพระองค์ท่านจะทรงเป็น “พระเจ้าหลวง” 7<br />

ทรงมีพระราชดำริในการสร้างพระราชวังเพื่อเป็นที่ประทับ<br />

ของ “พระเจ้าหลวง” และได้ทรงเลือกบริเวณตำบล<br />

บ้านปืน จังหวัดเพชรบุรี เป็นสถานที่สร้างพระราชวัง<br />

เนื่องจากทรงเห็นว่าเพชรบุรีเป็นเมืองที่อุดมสมบูรณ์<br />

และมีอากาศดีเป็นที่ต้องพระราชอัธยาศัย โปรดเกล้าฯ<br />

ให้มีพระราชพิธีก่อพระฤกษ์พระตำหนักบ้านปืนในวันที่<br />

18 สิงหาคม พ.ศ. 2453 และก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์ใน<br />

พ.ศ. 2461 ต่อมาในรัชสมัย ร.6 ได้พระราชทานนาม<br />

ว่า “พระราชวังรามราชนิเวศน์” แต่โดยทั่วไปจะเรียก<br />

กันว่า “พระราชวังบ้านปืน”<br />

พระราชวังบ้านปืน<br />

พระราชวังบ้านปืน ออกแบบโดยสถาปนิกชาว<br />

เยอรมัน นายคาร์ล ดือห์ริง (Karl Döhring) สาระ<br />

ทางสถาปัตยกรรมเป็นการผสมผสานความโอ่อ่าของ<br />

พระราชวังเยอรมันกับความต้องการที่ประทับที่ทันสมัย<br />

ซึ่งในที่สุดก็มาลงตัวที่แบบบาโรคของเยอรมันที่มีการ<br />

ลดทอนความหรูหราลง และการตกแต่งภายในด้วยงาน<br />

beautifully decorated with perforated sawn-timber work of<br />

floral patterns. It is one of the important examples of the<br />

Romantic style building decorated with sawn-timber work<br />

and has verifiable evidence of having been designed by<br />

the Italian architect.<br />

The largest and most extravagant throne hall in the<br />

complex group of buildings at Suan Dusit Palace that was<br />

the last building to be ordered built by Rama V, was the<br />

new Ananta Samakhom Throne Hall. Construction work on<br />

the building began in 1908 and completed in 1916 during<br />

the succeeding period of Rama VI. The architects were<br />

Mario Tamagno and Annibale Rigotti while the engineer<br />

was Carlo Allegri. This throne hall was designed strictly<br />

according to the principles of the Neo-Renaissance style<br />

with regards to composition, scale and proportions of<br />

the building, but also incorporated traditional Thai value<br />

by painting the image of Phra Buddha Jinnaraj on the<br />

hemispherical ceiling of the dome. A noteworthy aspect<br />

of this building is its reinforced concrete structure which<br />

was considered to be very advanced at the time.<br />

แบบ Jugenstile หรือ อาร์ต นูโว ศิลปะแนวปฏิเสธ<br />

ประวัติศาสตร์และประเพณีของเยอรมัน ซึ่งเป็นสัญลักษณ์<br />

ของความทันสมัยในเชิงศิลปะ ส่วนโครงสร้างนั้นมีความ<br />

ทันสมัยมากเพราะว่าใช้โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก<br />

ผสมผสานกับกำแพงรับน้ำหนัก ส่วนหลังคาชั้นนอก<br />

นั้นเป็นโครงเหล็กทรัส (Truss) คลุมหลังคาชั ้นในซึ่ง<br />

เป็นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก<br />

แนวพระราชดำริเรื่องสวน พระราชวังในช่วงท้าย<br />

รัชกาลที่สร้างขึ้นในกรุงเทพฯ นั้นมีอยู่ 2 แห่งที่มีคำ<br />

ว่า “สวน” อยู่ในชื่อวังได้แก่ พระราชวังสวนดุสิต 8 และ<br />

วังสวนสุนันทา พระราชวังสวนดุสิตนั้นสร้างขึ้นตั้งแต่<br />

พ.ศ. 2441 ภายหลังจากการเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 1<br />

ใน พ.ศ. 2440 เนื่องจากทรงมีพระราชดำริว่าพระบรม<br />

มหาราชวังนั้นเป็นที่ประทับที่แออัด ไม่ถูกสุขลักษณะ<br />

และเป็นเหตุให้พระบรมวงศานุวงศ์มีสุขภาพไม่ดี<br />

มักเกิดอาการประชวรบ่อย จึงทรงมีพระราชประสงค์ที่<br />

จะสร้างที่ประทับที่ประกอบด้วยสิ่งแวดล้อมที่ร่มรื่นและ<br />

ถูกสุขลักษณะขึ้น ดังนั้นนอกจากการสร้างพระที่นั่งและ<br />

พระตำหนักแล้วยังโปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลอง สร้างสวน<br />

และจัดภูมิทัศน์ภายในวังอีกด้วย แต่พระราชวังสวนดุสิตก็<br />

Baan Peun Palace<br />

In 1910, King Rama V had turned fifty-eight years<br />

of age and expressed that when he turns sixty, he shall<br />

relinquish the throne to the crown prince and thereupon<br />

shall retire and be known as “Phra Chao Luang”. 7 The<br />

king had conceived of building a palace for his retirement<br />

at Baan Peun district of Phetchaburi province because of<br />

the location’s appealing environment and pleasant climate.<br />

He then had an auspicious rite held for commencing<br />

construction on August 18, 1910. Having completed<br />

construction in 1918 during the period of succeeding reign,<br />

the palace was later bestowed the name of “Phra Rama<br />

Rajanives Royal Palace” or more commonly known as<br />

“Baan Peun Palace”.<br />

This palace was designed by the German architect<br />

Karl Döhring who combined the magnificence of a German<br />

palace with the modern functions and conveniences in the<br />

style of German Baroque but with reduced extravagance.<br />

The building’s interior was decorated in the Jugenstile or<br />

Art Nouveau style which rejected any allusions to German<br />

170


ยังมีการจัดพื้นที่ในเชิงประเพณี เนื่องจากเป็นพระราชวัง<br />

ที่ยังสามารถประกอบพระราชพิธีตามขนบธรรมเนียม<br />

ดั้งเดิมได้คือ เขตพระราชวังชั้นนอกสำหรับการประกอบ<br />

พระราชกรณียกิจเกี่ยวกับราชการต่างๆ ชั้นกลางเป็นที่<br />

ประทับของพระมหากษัตริย์ ชั้นในเป็นที่ประทับและที่พัก<br />

ของฝ่ายใน อย่างไรก็ดีวังสวนสุนันทาซึ่งโปรดเกล้าฯ<br />

ให้สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2451 9 ในบริเวณพื้นที่ต่อจากเขต<br />

พระราชฐานชั้นในของพระราชวังสวนดุสิตไปทางด้าน<br />

ทิศตะวันตกนั้นเป็นวังที่มีพื ้นที่ใหญ่ประมาณ 70 %<br />

ของพระราชวังสวนดุสิต และสร้างขึ้นเพื่อเป็นสวนป่า<br />

ทั้งยังเป็นที่ประทับส่วนพระองค์และข้าราชสำนักฝ่ายใน<br />

ในความหมายของการมีพื้นที่ส่วนพระองค์ที่ปลอดจาก<br />

การถูกรบกวนโดยบุคคลภายนอกในแบบธรรมเนียม<br />

ของชาวตะวันตก ขนาดของพื้นที่ซึ่งจัดให้เป็นบริเวณ<br />

สวนนั้นมีขนาดประมาณ 80 % ของเนื้อที ่ทั้งหมด<br />

นับว่าเป็นวังที่มีลักษณะเป็นสวนป่าขนาดใหญ่ที่แท้จริง<br />

แห่งแรกของกรุงเทพฯ และน่าจะเป็นแนวพระราชดำริ<br />

ที่เกิดขึ้นจากความผูกพันในพระราชหฤทัยในการ<br />

ทำสวนในบริเวณพระราชวังตามที่ได้ทรงพบเห็นมาใน<br />

ยุโรป ดังความในพระราชหัตถเลขาลงวันที่ 2 สิงหาคม<br />

history or tradition and represented a modern style of<br />

art. The structure of the building was also very modern<br />

because it combined the use of reinforced concrete with<br />

load-bearing walls while the outer roof structure used the<br />

iron truss system to envelope the inner structure built of<br />

reinforced concrete.<br />

On parks and gardens<br />

Two palaces built towards the end of Rama V’s reign<br />

have the word “Suan” (garden or park) incorporated into<br />

their names which are Suan Dusit Palace 8 and Suan<br />

Sunanda Palace. The former was built in 1898 after the<br />

king had returned from his first voyage to Europe in the<br />

previous year. From the experience of his royal visit<br />

abroad, Rama V had the opinion that the Grand Palace<br />

was seemingly too crowded, unsanitary, and the cause of<br />

the royal members’ poor health that often led to illnesses.<br />

He therefore wished to build a residence that has healthier<br />

and more pleasant environment. This meant that instead of<br />

just erecting mansions and other buildings, there need to<br />

be ponds, plants and trees that are beautifully landscaped<br />

ร.ศ. 126 หรือพุทธศักราช 2450 พระราชทานเจ้าพระยา<br />

ยมราช (ปั้น สุขุม) ความตอนหนึ่งมีดังนี้<br />

“... คือพระที่นั่งเดี๋ยวนี้ไม่มีที่สงัดซึ่งจะเที่ยว<br />

เล่นแต่ลำพังได้ ลงกระไดมาก็เป็นข้างหน้า ออก<br />

จากกำแพงไปก็ฝรั่งมาถึง เราควรจะมีสวนข้าง<br />

ในซึ่งเที่ยวได้แต่ลำพัง ยิ่งมาเห็นพวกเจ้าแผ่น<br />

ดินฝรั่งถือลูกประแจสวนหลายคนเข้ายิ่งคิดถึง<br />

สวนที่นึกไว้ว่าจะทำมากขึ้น”<br />

วังเจ้านาย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

ทรงเริ่มจัดระเบียบที่พักอาศัยของสมาชิกในพระราชวงศ์<br />

เช่น พระเจ้าน้องยาเธอพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จ<br />

พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เจ้านายฝ่ายใน ตลอดจน<br />

พระราชโอรสตั้งแต่ต้นรัชกาลราว พ.ศ. 2418 เป็นต้นมา<br />

ต่อมาในช่วงกลางรัชกาลราว พ.ศ. 2430 เป็นต้นมาโปรด<br />

ให้มีการสร้างวังขึ้นเป็นจำนวนมาก ผู้ที่ออกแบบวังเหล่านี้<br />

คือ สถาปนิกชาวยุโรปที่เข้ามารับราชการในกรุงเทพฯ<br />

วังเหล่านี้จึงมีความสง่างามสมฐานะผู้เป็นเจ้าของวัง<br />

ในที่นี้จะขอยกตัวอย่างแต่พอเป็นสังเขป<br />

on the palatial compound as well. The planning of Suan<br />

Dusit Palace complied with this but nevertheless retained<br />

the traditional zoning system because it still had to be<br />

able to allow traditional royal ceremonies to take place.<br />

The outer compound was the zone that served formal and<br />

official functions, the main compound or the intermediate<br />

zone was the king’s residential quarters, and the inner<br />

compound was the zone that provided accommodations<br />

for the ladies of the court and other attendants.<br />

As for Suan Sunanda Palace, which the king had<br />

ordered built in 1908 9 on the adjacent land west of Suan<br />

Dusit’s inner compound, the palatial grounds covered<br />

an area equivalent to approximately seventy percent of<br />

the land occupied by Suan Dusit Palace. Following the<br />

western concept, Suan Sunanda was built with a forest<br />

park to provide the king his personal privacy and seclusion<br />

without interference from the outside, as well as for the<br />

royal members and close aides and attendants to enjoy.<br />

The green areas of this palace totaled approximately<br />

eighty percent of the entire palace grounds, making it the<br />

171


พระราชวังสราญรมย์ เป็นพระราชวังที่สร้างมาตั้งแต่<br />

รัชกาลที่ 4 ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้พระราชทานให้เป็นที่<br />

ประทับของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ<br />

ตั้งแต่ พ.ศ. 2445 - 2453 ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของ<br />

กระทรวงการต่างประเทศ พระราชวังสราญรมย์ได้มี<br />

การปรับปรุงครั้งใหญ่ใน พ.ศ. 2441 โดยกรมโยธาธิการ<br />

โดยมีนายคาร์โล อัลเลกรี วิศวกรชาวอิตาเลียนเป็น<br />

ผู้รับผิดชอบ พระราชวังแห่งนี้เป็นตัวอย่างวังแบบนีโอ<br />

คลาสสิคที่มีการจัดระเบียบทางสถาปัตยกรรมอย่างถูก<br />

ต้องตามแบบแผนที่ควรจะเป็น เช่น การจัดผัง เป็นตัว E<br />

เพื่อให้เหมาะกับการเน้นองค์ประกอบทางเข้าหลัก<br />

รูปด้านหน้าชั้นบนประดับเสาคอรินเธียน จัดเสาและ<br />

หน้าต่างให้มีจังหวะสัมพันธ์กันคล้ายกับจังหวะดนตรี<br />

เช่นเดียวกับการจัดจังหวะประตูยอดโค้งที่ชั้นล่างให้มี<br />

จังหวะที่สอดคล้องกับหน้าต่างด้านบน การจัดจังหวะ<br />

ของช่องเปิดและเสาเช่นนี้ก็คือ การใช้ทฤษฎีของ<br />

เรเนอซองส์นั่นเอง<br />

วังบางขุนพรหม ประกอบด้วยตำหนัก 2 ตำหนัก<br />

ซึ่งออกแบบโดยสถาปนิก 2 คน โดยใช้รูปแบบทาง<br />

สถาปัตยกรรมที่แตกต่างกัน แต่สร้างให้มีความสัมพันธ์<br />

first palace in Bangkok to have a truly large forested park<br />

and garden. It is possible to infer from this that the king<br />

was greatly impressed with the gardens of palaces that<br />

he had visited during his tour of Europe, as expressed in<br />

his letter to Chaophraya Yommaraj dated August 2, 1907,<br />

stating that....<br />

“... The palace at present, has no place that<br />

is tranquil enough to wander about leisurely in<br />

solitude. Going down the steps leads to the front<br />

entrance and beyond the wall, foreigners may<br />

come and go. We should have an internal park that<br />

could be enjoyed in privacy, as seeing the many<br />

European monarchs with keys to their gardens<br />

has made me ponder even more about the park<br />

that I wish to create.”<br />

Other palaces<br />

King Rama V began organizing residences for the<br />

royal family members such as his brothers born to King<br />

Mongkut, those of the inner court, and his own sons,<br />

ด้วยขนาดและการกำหนดสีของอาคาร ตัวอาคารหลัก<br />

คือ ตำหนักใหญ่นั้นเป็นที่ประทับของสมเด็จพระเจ้า<br />

บรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธ์ กรมพระนคร<br />

สวรรค์วรพินิต พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จ<br />

พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สถาปนิกคือ นายมาริโอ<br />

ตามานโย ก่อสร้างแล้วเสร็จใน พ.ศ. 2449 ตำหนักใหญ่<br />

เป็นงานสถาปัตยกรรมแบบนีโอบาโรค องค์ประกอบ<br />

สำคัญที่รูปด้านคือ ลวดลายปูนปั้นที่ประดับประดาตาม<br />

กรอบประตูหน้าต่างอย่างงดงาม ภายในโถงทางเข้า<br />

มีจุดเด่นอยู่ที่บันไดหินอ่อนนำทางขึ้นไปสู่โถงชั้นบน<br />

ส่วนตำหนักที่สร้างเชื่อมต่อกันนั้นคือ ตำหนักสมเด็จ<br />

ก่อสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 6<br />

วังท่าพระ เมื่อ พ.ศ. 2423 พระบาทสมเด็จ<br />

พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ พระราชทาน<br />

วังท่าพระให้เป็นที่ประทับของสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยา<br />

นริศรานุวัดติวงศ์ กลุ่มอาคารประกอบด้วยท้องพระโรง<br />

แบบไทยซึ่งสร้างมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 ส่วนที่สร้าง<br />

เพิ่มเติมใน พ.ศ. 2423 คือตำหนักกลางและตำหนัก<br />

พรรณราย ออกแบบโดยนายโจอาคิม กราสซี ตำหนักทั้ง<br />

2 หลังเป็นตึกแบบนีโอคลาสสิค ตำหนักกลางมีมุขโถง<br />

around 1875. Then during mid-reign around 1887 onwards,<br />

he ordered the construction of many more palaces. The<br />

designers of these palaces were European architects who<br />

were working in Bangkok and commissioned by the royal<br />

court. Therefore the buildings built were very elegant and<br />

befitting their owners. To give a few examples, some of<br />

these palaces shall be mentioned briefly.<br />

Saranrom Palace: This palace was in fact built in<br />

the period of Rama IV and is a perfect example of the<br />

Neo-Classic building designed strictly according to the<br />

principles of such style. For example, using the E-shaped<br />

plan which has the advantage of giving emphasis to the<br />

main entrance, treating the front elevation with Corinthian<br />

columns, and arranging the windows in rhythmic pattern<br />

together with the rounded arch doors at the lower level<br />

that corresponds with the arrangement of windows on the<br />

upper floor. Such harmonious composition of columns and<br />

fenestration patterns can be seen to have been based<br />

on the design principles of the Renaissance. This palace<br />

underwent a major renovation project carried out by the<br />

172


บันไดเชื่อมต่อกับท้องพระโรง ผนังข้างด้านบนเป็นช่อง<br />

เปิดประดับเสาคลาสสิค เป็นเสาอิงแบบแบน (Pilaster)<br />

ส่วนระเบียงด้านทิศเหนือมีเสาลอยแบบคอรินเธียน<br />

รับชายคา ผนังด้านล่างตกแต่งผนังฉาบปูนเลียนแบบการ<br />

เรียงหินแบบ Rustication มีช่องเปิดตรงกันกับผนังด้านบน<br />

ศาลาไม้ที่สวนแก้วเป็นศาลาทรงดนตรีของสมเด็จฯ<br />

เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทางขึ้นด้านหน้าเป็น<br />

บันไดหินอ่อน ด้านหลังศาลาเป็นผนังทึบมีการตกแต่ง<br />

ด้วยไม้ฉลุลาย ที่พนักลูกกรงและบริเวณชายคาเป็นหลัก<br />

ฐานสำคัญของอาคารไม้ฉลุลายที่ทราบปีที่สร้างและ<br />

ทราบว่าสถาปนิกชาวอิตาเลียนเป็นผู้ออกแบบ<br />

โรงเรียนตะละภัฎศึกษา (วังวรวรรณ) ถนนแพร่งนรา<br />

บริเวณโรงเรียนเคยเป็นส่วนหนึ่งของวังพระเจ้าบรมวงศ์เธอ<br />

กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ซึ่งได้รับพระราชทาน<br />

ที่ให้สร้างวังที่ประทับ 10 ต่อมาในราว พ.ศ. 2435<br />

กรมหมื่นนราธิปประพันธ์พงศ์ ได้ทรงเริ่มประกอบการ<br />

ธุรกิจส่วนพระองค์ ทรงพัฒนาที่ดินโดยการตัดถนน<br />

แพร่งนราเพื่อเชื่อมถนนตะนาวและถนนอัษฎางค์<br />

ทั้งยังได้ทรงสร้างตึกแถวให้เช่าบริเวณทางฝั่งขวาของ<br />

ถนนเมื่อเข้ามาจากถนนตะนาว นอกจากนี้แล้วยังได้<br />

Department of Public Works in 1898 with the Italian engineer,<br />

Carlo Allegri, assigned to be responsible for the<br />

undertaking. It later became the residence of Rama V’s<br />

son, Crown Prince Maha Vajiravudh (future king), from<br />

1902 to 1910, and is presently occupied and maintained<br />

by the Ministry of Foreign Affairs.<br />

Bang Khunphrom Palace: This palace consisted of<br />

two buildings designed by two different architects but are<br />

in harmony with each other through the use of scale and<br />

color. The main building, Tamnak Yai, was the residence<br />

of Prince Paribatra Sukhumbhandhu, a son of Rama<br />

V. Completed construction in 1906, the building was<br />

designed by Mario Tamagno in the Neo-Baroque style.<br />

The outstanding features on the façades of this building<br />

are the ornate stucco moldings that frame the doors and<br />

windows while the front vestibule boasts a marble staircase<br />

that leads up to the second floor. The other building on the<br />

compound is “Tamnak Somdej” which was built adjoining<br />

the main building during the period of Rama VI.<br />

Tha Phra Palace: This palace was the residence<br />

ทรงตั้งคณะละครที่ได้รับความนิยมมาก และทรงสร้าง<br />

“โรงละครปรีดาลัย” ขึ้นในบริเวณวัง ดังนั้นในช่วงปลาย<br />

สมัยรัชกาลที่ 5 บริเวณแพร่งนราจึงเป็นแหล่งบันเทิง<br />

และแหล่งชุมชนที่มีความคึกคัก<br />

พระตำหนักซึ่งเป็นที่ประทับของกรมพระนราธิป<br />

ประพันธ์พงศ์นั้น เป็นตึกผสมไม้ เมื ่อมีการตัดถนน<br />

ผ่ากลางวังทำให้พระตำหนักด้านหนึ่งอยู่ติดกับ<br />

ถนนแพร่งนรา พระตำหนักด้านนี้ชั้นบนเป็นระเบียง<br />

โครงสร้างไม้ ซึ่งมีลวดลายไม้ฉลุที่มีความงดงามแปลกตา<br />

และเป็นโครงสร้างไม้ที่เป็นจุดเด่นของชุมชน<br />

บ้านตึก เป็นบ้านที่ขุนนางชั้นผู้ใหญ่รับสนองพระบรม<br />

ราชโองการในการจัดบ้านเรือนให้เป็นระเบียบและมีความ<br />

ประณีตแบบสถาปัตยกรรมตะวันตกให้เป็นตัวอย่างแก่<br />

ราษฎร ช่วงเวลาเริ่มต้นในการก่อสร้างน่าจะอยู่ในเวลา<br />

ที่ใกล้เคียงกับการก่อสร้างพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท<br />

คือ ราวๆ พ.ศ. 2419 ที่น่าสังเกตคือ บ้านของขุนนาง<br />

ชั้นผู้ใหญ่ที่เป็นผู้มีตำแหน่งสูง หรือมีความใกล้ชิดกับ<br />

พระมหากษัตริย์มักจะเป็นงานออกแบบของสถาปนิก<br />

อาชีพชาวยุโรป เช่น สถาปนิกชาวอิตาเลียน เป็นต้น<br />

บ้านตึกเป็นบ้านที่ก่อสร้างด้วยวัสดุก่อสร้างที่มีความ<br />

of Prince Narisara Nuvadtivongse that was given to him<br />

by Rama V in 1880. Originally, the Thai style building at<br />

the front had already been there from the time of Rama I<br />

when the two new buildings, Tamnak Klang and Tamnak<br />

Phannarai, designed by Joachim Grassi in the Neo-Classic<br />

style, were built in 1880. Tamnak Klang is annexed to the<br />

front building (reception hall) by a staircase, has classical<br />

pilasters on the upper level of the side elevation, and round<br />

Corinthian columns on the north side of the upper balcony<br />

to support the roof overhang. The lower part of the façade<br />

has stucco veneer in the style imitating rusticated stone<br />

bonding pattern, and openings are aligned with those on<br />

the upper part. The music pavilion, constructed of timber<br />

in the adjacent garden, has marble front steps while the<br />

back wall of the pavilion is built of wood. The balustrades<br />

and eaves of the roof are decorated with perforated<br />

sawn-timber work and are important evidence of this style<br />

of ornamentation that can be specifically dated together<br />

with identifying that the designer was a European architect.<br />

Varavarn Palace (Talapat Sueksa School): This was<br />

173


คงทนถาวร ในช่วงต้นรัชกาลได้แก่ โครงสร้างกำแพง<br />

รับน้ำหนักประเภทก่ออิฐฉาบปูน ต่อมาประมาณครึ่งหลัง<br />

ของรัชกาลเป็นโครงสร้างที่มีความทันสมัยมากขึ้น<br />

ได้แก่ โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ผนังก่ออิฐฉาบปูน<br />

อย่างไรก็ดีบ้านตึกเป็นบ้านที่มีราคาแพงกว่าบ้านไม้<br />

เนื่องจากค่าแรงในการก่อสร้างแพงกว่า อีกทั้งวัสดุ<br />

ก่อสร้างในการก่ออิฐฉาบปูนเป็นวัสดุที่มีกรรมวิธีในการ<br />

ผลิตซับซ้อนกว่าบ้านโครงสร้างไม้ ซึ่งเป็นวัสดุก่อสร้าง<br />

ขั้นพื้นฐานของคนไทยโดยทั่วไป<br />

บ้านเจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) เป็น<br />

คฤหาสน์แบบโรมันติกที่มีความโอ่อ่าสมฐานะของท่าน<br />

เจ้าของบ้าน ซึ่งดำรงตำแหน่งสมุหพระกลาโหมตั้งแต่<br />

ต้นรัชกาลคือ ระหว่าง พ.ศ. 2412 - 2431 ออกแบบ<br />

โดยนายโจอาคิม กราสซี ไม่ทราบปีที่ก่อสร้างที่แน่ชัด<br />

แต่น่าจะเป็นช่วงเวลาในครึ่งแรกของรัชกาลราว พ.ศ.<br />

2420 ผังชั้นล่างและชั้นบนเป็นแบบโถงกลางมีห้อง<br />

ขนาบด้านข้าง องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมที่เด่น<br />

คือ หน้าต่างแบบโค้งยอดแหลม ผนังด้านล่างฉาบปูน<br />

ตีเส้นและทาสีสลับเป็นแนวยาวตลอดผนัง โครงสร้าง<br />

ผนังก่ออิฐฉาบปูน ระบบกำแพงรับน้ำหนัก<br />

once the palace of Prince Naradhip Praphanphongse<br />

who was given the piece of land by Rama V to build his<br />

residence. 10 In 1892, the prince started his own business<br />

venture and developed the land by building Phraeng Nara<br />

Road to connect with Tanao and Asdang roads. He then<br />

had row-buildings built along the right hand side of this<br />

road beginning from the Tanao end, and let them out for<br />

people to rent. Prince Naradhip also formed a drama troupe<br />

which became very famous, and built Pridalai Theatre on<br />

the compound of his palace. As a result, Phraeng Nara<br />

area became a lively entertainment district towards the<br />

end of Rama V’s reign.<br />

The prince’s residence was a composite of timber<br />

and masonry building. When he had Phraeng Nara Road<br />

built cutting through the palace grounds, this building, as a<br />

consequence, ended up immediately adjacent to the road.<br />

The side of the building that confronted the public had a<br />

timber balcony at the upper level beautifully decorated<br />

with perforated sawn-timber work and thus made it an<br />

outstanding feature of the area at the time.<br />

งานสถาปัตยกรรมแบบนีโอโกธิคในลักษณะนี้ชวน<br />

ให้คิดถึงงานแบบอิตาเลียนโกธิค เช่น Siena Cathedral<br />

ซึ่งมีจุดเด่นคือ การตกแต่งอาคารโดยการใช้หินอ่อน<br />

เรียงเป็นแนวสีขาว - ดำ สลับกัน บ้านหลังนี้จึงเป็น<br />

ตัวอย่างบ้านแบบโรมันติก หรือนีโอโกธิคช่วงต้นรัชกาล<br />

ที่มีความสำคัญ เพราะมีข้อมูลเกี่ยวกับสถาปนิกที่<br />

เชื่อถือได้ และสามารถประเมินถึงเหตุผลในการออกแบบ<br />

ทางสถาปัตยกรรมได้<br />

บ้านสุริยานุวัตร เป็นบ้านของพระยาสุริยานุวัตร<br />

(เกิด บุนนาค) ผู้เคยดำรงตำแหน่งเป็นอัครราชทูต<br />

ประจำประเทศฝรั่งเศส อิตาลี สเปน และรัสเซีย และ<br />

เป็นสามัญชนคนแรกที่ได้ดำรงตำแหน่งเสนาบดี<br />

กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ผู้ออกแบบคือ นายมาริโอ<br />

ตามานโย ก่อสร้างระหว่าง พ.ศ. 2449 - 2451 ผังชั้นบน<br />

และชั้นล่างเป็นแบบเน้นโถงกลางมีห้องขนาบด้านข้าง<br />

ทั้งสองด้าน ผังชั้นล่างด้านหน้าเน้นทางเข้าเป็นระเบียงมุข<br />

แบบถอยผนังเข้าไปเป็นตัว U แทนที่จะเป็นมุขยื่นออกมา<br />

ผนังรูปด้านเป็นแบบเรียบง่าย ไม่มีการตกแต่ง<br />

ลวดลายที่หรูหรา โครงสร้างหลัก (เสา - คาน) เป็น<br />

คอนกรีตเสริมเหล็ก กำแพงก่ออิฐฉาบปูน บ้านนี้เป็น<br />

Masonry houses<br />

Masonry houses during the period, belonged to<br />

the nobles and aristocrats who complied with the king’s<br />

wish that they have their houses well organized in the<br />

western style so that they can become examples for the<br />

commoners to emulate. The beginning of this particular<br />

trend was most likely to have been around the same time<br />

as the construction of Chakri Maha Prasat Throne Hall<br />

circa 1876. It is worth noting that these houses that were<br />

residences of high ranking nobilities or aristocrats who were<br />

close to the king, were generally designed by European<br />

architects, such as those from Italy for example, and were<br />

constructed with durable building materials.<br />

During the early period of Rama V, the structure of the<br />

buildings were that of load bearing stucco veneered brick<br />

masonry type. Then around mid-reign, building structures<br />

became more advanced with the use of reinforced concrete<br />

together with brick veneer. This latter type of construction<br />

was more expensive than the use of timber due to higher<br />

labor cost, and the building materials required a more<br />

174


ตัวอย่างบ้านของขุนนางระดับสูงที่มีลักษณะค่อนข้าง<br />

เรียบง่ายและแสดงให้เห็นถึงความทันสมัยของเทคนิค<br />

งานสถาปัตยกรรมในช่วงปลายสมัยรัชกาลที่ 5<br />

บ้านพระยาบุรุษรัตนราชพัลลภ เป็นบ้านของพระยา<br />

บุรุษรัตนราชพัลลภ (นพ ไกรฤกษ์) จางวางมหาดเล็ก<br />

ผู้เป็นมหาดเล็กคนสนิทในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัว และด้วยการปฏิบัติราชการด้วยความจงรัก<br />

ภักดีจึงได้โปรดเกล้าฯ พระราชทานที่ดินบริเวณปลาย<br />

ถนนราชวิถีพร้อมเงินจำนวน 300 ชั่ง เพื่อให้ปลูกบ้าน<br />

พักอาศัย ต่อมาในวันทำบุญขึ ้นบ้านใหม่เมื่อวันที่ 13<br />

มีนาคม พ.ศ. 2448 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า<br />

เจ้าอยู ่หัว พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยาม<br />

มงกุฎราชกุมาร (ร.6) ได้เสด็จพระราชดำเนินไปที่<br />

บ้านเพื่อความเป็นสิริมงคล พร้อมทั้งประทับเสวย<br />

พระกระยาหาร โดยพระยาบุรุษรัตนราชพัลลภ ได้เป็น<br />

ผู้น้อมเกล้าฯ ถวายพระกระยาหารด้วยตนเอง<br />

ลักษณะทางสถาปัตยกรรมเป็นงานแบบ Romantic<br />

บ้านมีขนาดปานกลาง ลักษณะภายนอกเรียบง่าย<br />

องค์ประกอบที่เด่นคือ หอคอยสูงลักษณะคล้ายป้อมค่าย<br />

สมัยยุคกลางของยุโรป มีช่องหน้าต่างซุ้มโค้งยอดแหลม<br />

complicated method of production compared to that of<br />

timber which was the basic building material used by the<br />

people in general.<br />

Chaophraya Suravongse Vaiyavatana (Vorn Bunnag)<br />

House: This grandiose Romantic style mansion was<br />

highly befitting its owner who was the Supreme Defense<br />

Commander since the beginning of Rama V’s reign, between<br />

1869 and 1888. Designed by Joachim Grassi, the exact<br />

year of construction is unknown but presumably, would<br />

have been during the first half of the reign or around 1877.<br />

Both lower and upper floors have a central hall flanked<br />

by rooms on either side. The outstanding characteristics<br />

of this building are the pointed arch windows, the stucco<br />

façades painted at the lower level with horizontal bands<br />

in alternate colors, and the load bearing veneered brick<br />

wall structure.<br />

This Neo-Gothic style architecture is reminiscent of<br />

the Italian Gothic buildings such as the Siena Cathedral<br />

with its outstanding horizontal rows of alternating black<br />

and white marbles. The house is therefore an important<br />

การตกแต่งหน้าต่างใช้วิธีเน้นด้วยเส้นสีขาวมากกว่าการ<br />

ตกแต่งเป็นลวดลายหรูหรา การออกแบบก่อสร้างใช้ช่าง<br />

ชุดเดียวกับชุดที่สร้างพระที่นั่งอนันตสมาคม ทว่าไม่มีการ<br />

ระบุชื่อชัดเจนแต่โดยนัยแล้วก็คือ ชุดช่างชาวอิตาเลียน<br />

ซึ่งคงจะมีนายตามานโยเป็นที่ปรึกษาคนสำคัญนั้นเอง<br />

บ้านพระยาบุรุษรัตนราชพัลลภเป็นตัวอย่างของ<br />

บ้านที่แสดงถึงความชัดเจนในพระราชประสงค์ของ<br />

ล้นเกล้าฯ ร.5 ที่ทรงต้องการให้ขุนนางชั้นผู้ใหญ่ โดย<br />

เฉพาะผู้ที่เป็นข้าราชบริพารผู้ใกล้ชิดจัดระเบียบที่<br />

พักอาศัยให้เรียบร้อยสวยงามและแสดงถึงรสนิยมที่ดี<br />

ทางสถาปัตยกรรม โดยผ่านทางงานสถาปัตยกรรม<br />

แบบตะวันตก<br />

บ้านไม้แบบตะวันตก<br />

การอยู่อาศัยในบ้านแบบตะวันตกก็คือ การปลูกบ้าน<br />

ที่มีการจัดประโยชน์ใช้สอยแยกแยะตามห้องต่างๆ รวม<br />

อยู่ภายใต้หลังคาเดียวกัน สาเหตุที่คนไทยที่เป็นชนชั้น<br />

กลางหรือสามัญชนทั่วไปเริ่มอยู่บ้านแบบตะวันตกน่าจะ<br />

เกิดจากการเลียนแบบบ้านของชนชั้นสูง โดยเฉพาะการ<br />

สร้างบ้านไม้สองชั้นเลียนแบบบ้านตึก และที่แพร่หลาย<br />

มากเพราะเป็นแบบบ้านที่ทันสมัยและสวยงามสะดุดตา<br />

example of the Romantic or Neo-Gothic style during the<br />

early period of Rama V because it provides a reliable<br />

source of information on the architect, and the rationale<br />

behind the design can be explained.<br />

Suriyanuvatra House: This was the residence of Phraya<br />

Suriyanuvatra who was the Siamese ambassador to France,<br />

Italy, Spain and Russia, and was the first commoner to<br />

hold the position of Minister of Finance. Built between<br />

1906 and 1908, it was designed by Mario Tamagno. Both<br />

the lower and upper floors had a central hall flanked by<br />

rooms on each side. The entrance at the lower floor was<br />

set back instead of projected forward, and the elevations<br />

were treated plainly without any elaborate decorations.<br />

The building had post and beam reinforced-concrete<br />

structure with veneered brick walls and is an example of<br />

a high ranking aristocrat’s house around the end of the<br />

period of Rama V that is rather plain and simple yet exhibits<br />

the use of modern architectural construction technology.<br />

Phraya Burutratana Rajphanlop House: This was the<br />

residence of Phraya Burutratana Rajphanlop who was the<br />

175


ก็คือ บ้านไม้ฉลุลาย หรือถ้าต้องการปลูกบ้านที่เน้นการ<br />

อยู่อาศัยจริงๆ และไม่ต้องลงทุนมากนักก็ปลูกเป็นบ้าน<br />

ไม้แบบตะวันตก 2 ชั้น แบบธรรมดาไม่มีการตกแต่ง<br />

ด้วยลวดลายไม้ฉลุก็ยังพอที่จะอยู่ในกระแสแห่งความ<br />

ทันสมัยได้เช่นเดียวกัน อย่างไรก็ดีเราไม่สามารถทราบ<br />

ถึงปริมาณที่แท้จริงของจำนวนบ้านไม้เหล่านี้เนื่องจาก<br />

ถูกรื้อทิ้งไปเสียมาก แต่จากหลักฐานการศึกษาของ<br />

น. ณ ปากน้ำ ในหนังสือ “แบบแผนบ้านเรือนในสยาม”<br />

ได้พบว่าเรือนไม้แบบตะวันตกที่มีการตกแต่งด้วย<br />

ลวดลายไม้ฉลุนั้นได้รับความนิยมแพร่หลายมากใน<br />

สมัยรัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6 บ้านเหล่านี้ปลูกอยู่<br />

ในบริเวณกรุงรัตนโกสินทร์ เช่น บริเวณพื้นที่ข้างถนน<br />

ราชดำเนินกลาง ถนนดินสอ บางลำพู เป็นต้น ทั้งยัง<br />

มีการแพร่หลายไปตามต่างจังหวัด เช่นจันทบุรี ชุมพร<br />

สงขลา และทางภาคเหนือ เช่น เชียงใหม่ ลำปาง ตาก<br />

แพร่ เป็นต้น<br />

Gingerbread House<br />

คำศัพท์ Gingerbread ตามความหมายพื้นฐานดั้งเดิม<br />

หมายถึง “ขนมขิง” ซึ่งเป็นขนมฝรั่งผสมขิง เครื่องเทศ<br />

หรือน้ำผึ้ง และเป็นขนมยอดนิยมประจำเทศกาล<br />

head of the royal attendants and close to the king. Due to<br />

his dedicated service, the king gave him a piece of land at<br />

the end of Ratchavithi Road and a sum of money to build<br />

a house. Then on the auspicious house warming occasion<br />

that was held on March 13, 1905, the king, together with<br />

the crown prince (future Rama VI) attended the event as<br />

a blessing and dined at the residence while being waited<br />

on and served personally by Phraya Burutratana himself.<br />

The medium sized house was designed in the Romantic<br />

style with a plain exterior. An outstanding feature of this<br />

house was the turret that resembled a medieval fort with<br />

pointed arch openings decorated with simple stringcourse<br />

moldings instead of being elaborately ornamented. Its<br />

design and construction were carried out by the same<br />

team that worked on the Ananta Samakhom Throne Hall<br />

and although no specific names were given, it is implicit<br />

that the team was Italian and most likely had Tamagno<br />

as the main consultant.<br />

Phraya Burutratana’s House is an example that clearly<br />

illustrated the king’s intention to have high ranking officials,<br />

คริสต์มาสในโลกตะวันตก ดังนั้นคำว่า Gingerbread<br />

House จึงควรจะแปลว่า “บ้านขนมขิง” แต่โดยทั่วไป<br />

แล้วมักจะเรียกกันว่า “บ้านขนมปังขิง” ด้วยความคุ้นเคย<br />

เนื่องจากคนไทยแปลคำ Gingerbread มาจากคำสอง<br />

คำคือ Ginger ซึ่งแปลว่า ขิง และ Bread ซึ่งแปลว่า<br />

ขนมปัง ทั้งๆ ที่ขนมฝรั่ง Gingerbread นั้นเป็นขนมอบ<br />

ซึ่งเป็นขนมที่แตกต่างจาก bread หรือขนมปังโดยสิ้นเชิง<br />

เนื่องจาก Gingerbread หรือขนมขิงนั้นไม่มี yeast<br />

หรือผงฟูเป็นส่วนผสมเลย<br />

คำศัพท์ Gingerbread ทางสถาปัตยกรรมหมายถึง<br />

การตกแต่งงานสถาปัตยกรรมอย่างหรูหรา หรือฟุ่มเฟือย<br />

คำศัพท์นี้คนอเมริกันมักจะใช้เรียกงานสถาปัตยกรรม<br />

แบบ “Stick Style” ซึ่งแพร่หลายในอเมริการาว ค.ศ.<br />

1860 - 1870 ลักษณะเด่นคือ นิยมตกแต่งอาคารด้วย<br />

องค์ประกอบไม้ มีทั้งอาคารประเภทสาธารณะและอาคาร<br />

พักอาศัย บางครั้งก็ยังรวมถึงงานสถาปัตยกรรมแบบอื่น<br />

ที่มิใช่งานแบบ “Stick Style” แต่ว่ามีรายละเอียดการ<br />

ตกแต่งอาคารอย่างประณีตงดงามอีกด้วย<br />

งานแบบ “Stick Style” ในอเมริกันนั้นมีลักษณะเด่น<br />

คือ เป็นอาคารไม้โครงสร้าง Balloon Frame มีลักษณะ<br />

especially his close aides, organize their residences in an<br />

orderly and beautiful manner to reflect sophisticated taste<br />

in western style architecture.<br />

Western style timber houses<br />

Western way of living in a house meant arranging the<br />

various functions and rooms all under one roof. The reason<br />

that the middle class population began to live in western<br />

style houses was probably due to their imitating the elite<br />

by building timber houses in the style of the two-storeyed<br />

masonry residences while the most popular design<br />

considered to be fashionable, modern and eye-catching<br />

at the time was the style that had perforated sawn-timber<br />

decorations. Those who wanted a functional house for living<br />

in at minimal cost, would build a two-storeyed western<br />

style timber house without the elaborate decorations and<br />

still be in trend. However, it is not possible to quantify the<br />

number of these houses as many have been demolished<br />

over time. Nevertheless from the study by Nor Na Paknam<br />

in his book on the subject of houses in Siam, western style<br />

timber houses with perforated timber decorations were very<br />

176


การตกแต่งที่หลากหลาย บางครั้งนิยมเลียนแบบงานบ้าน<br />

Half - timber ของอังกฤษ โดยการตกแต่งผนังภายนอก<br />

ด้วยแผ่นไม้ทำเป็นตารางคล้ายบ้าน Tudor หลังคาหน้าจั่ว<br />

ค่อนข้างชัน ชายคายื่นจากผนัง มีระเบียงชั้นบนตกแต่ง<br />

ด้วยลูกกรงไม้กลึง บางครั้งก็มีการตกแต่งป้านลม<br />

บริเวณหน้าจั่วด้านบน หรือคันทวยด้วยลวดลายไม้ฉลุ<br />

ซึ่งคนอเมริกันเรียกว่า Sawn Decorative หรือ Sawn Work<br />

ดังนั้นลวดลายไม้ฉลุจึงไม่ใช่ลักษณะเด่นของ Gingerbread<br />

(Stick Style) แต่เป็นเพียงองค์ประกอบหนึ่ง และคำว่า<br />

Gingerbread House ก็เป็นคำศัพท์ที่คนอเมริกันโดย<br />

ทั่วไปใช้เรียกงานบ้านแบบ Stick Style ซึ่งสร้างขึ้น<br />

ในช่วงปี ค.ศ. 1860 - 1870 ในภาพรวมๆ โดยมีนัยถึง<br />

อาคารที่มีลักษณะการตกแต่งประดับประดาด้วย<br />

องค์ประกอบไม้และมิได้หมายความเฉพาะถึงงานบ้าน<br />

ที่ตกแต่งด้วยองค์ประกอบไม้ฉลุลายแต่อย่างใด<br />

งานสถาปัตยกรรมแบบ Stick Style ที่สำคัญจะพบได้<br />

ตามบริเวณพื้นที่ฝั่งมหาสมุทร Atlantic ทางฟากตะวัน<br />

ออกของอเมริกา เช่น Chicamacomico Life - Saving<br />

Station, Rodanthe, North Carolina ซึ่งเป็นอาคาร<br />

โครงสร้างไม้ สร้างขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1874 (พ.ศ. 2417<br />

popular in the periods of Rama V and VI. These houses<br />

were found to be abundant in the inner Bangkok areas<br />

such as Middle Rajdamnoen Avenue and Dinsor Road in<br />

Banglamphu for instance. They also spread to several<br />

other provinces such as Chanthaburi, Chumphorn and<br />

Songkhla, as well as up north to Chiangmai, Lampang,<br />

Tak, and Phrae.<br />

The Gingerbread House<br />

Thai people in general, take the term “gingerbread” to<br />

be two separate words, ginger and bread, and that bread<br />

refers to the loaf type made with flour and yeast or baking<br />

powder. Although the architectural style may be visually<br />

recognizable, it is difficult for locals to comprehend the<br />

connection between the style and its appellation. Therefore<br />

there need to be some clarifications regarding the term.<br />

Architecturally, the gingerbread style refers to<br />

buildings that are elaborately or extravagantly decorated.<br />

The Americans use the term to refer to the “stick style”<br />

architecture that was widespread in the United States around<br />

1860 – 1870. The outstanding feature of this style is the<br />

ต้นสมัยรัชกาลที่ 5) เพื่อใช้เป็นสถานีกู้ชีวิต หน่วยงาน<br />

ยามรักษาฝั่งสหรัฐอเมริกา ใช้แผ่นไม้ตกแต่งเป็นรูป<br />

ตารางบนผนังด้านนอก ตกแต่งหน้าจั่วด้วยลวดลายฉลุไม้<br />

มีองค์ประกอบไม้คล้ายกาแลที่จั่วด้านบนสุด และมี<br />

คันทวยโดยรอบอาคาร<br />

The Gingerbread House, Cape May, New Jersey<br />

เป็นบ้านโครงสร้างไม้ 2 ชั้น สร้างขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1869<br />

(พ.ศ. 2412 ต้นสมัยรัชกาลที่ 5) ออกแบบโดยสถาปนิก<br />

Stephen Decatur Button มีจุดเด่นอยู่ที่การตกแต่ง<br />

ชายคา ตลอดจนการตกแต่งระเบียงชั้นบนและชั้นล่าง<br />

ด้วยไม้ฉลุลาย บ้านหลังนี้เป็นหนึ่งในกลุ่มบ้าน Stockton<br />

Row Cottages ซึ่งเรียกกันว่า Carpenter’s Gothic Style<br />

และเป็นบ้านพักตากอากาศสำหรับชนชั้นสูงมาตั้งแต่<br />

ครึ่งหลังของศตวรรษที่ 19 นับว่าเป็นงานมรดกทาง<br />

สถาปัตยกรรมสมัยวิกตอเรียนในอเมริกาที่มีคุณค่าและ<br />

ได้รับการอนุรักษ์เอาไว้อย่างดี Cape May County ได้รับ<br />

การคัดเลือกให้เป็น National Historic Landmark City<br />

มาตั้งแต่ ค.ศ. 1976 เนื่องจากเป็นเขตการปกครองที่<br />

อนุรักษ์โครงสร้างสถาปัตยกรรมสมัยวิกตอเรียนเอาไว้<br />

ได้มากที่สุดในอเมริกา<br />

wooden ornamentations. Buildings may be either domestic<br />

or public buildings, and sometimes are not even in the<br />

stick style, as long as they are ostentatiously decorated.<br />

The main characteristic of the stick style architecture<br />

in the United States is the balloon-frame structure that has<br />

a variety of decorative elements, and some may imitate<br />

the English half-timber construction by simply decorating<br />

the exterior façades with wooden members in a way that<br />

resembles the Tudor style. The gable roofs generally have<br />

a steep pitch with extended overhang, and the balcony on<br />

the upper floor has lathed wooden balustrades while the<br />

edges of the roofs are sometimes decorated with perforated<br />

sawn-timber fascia, bargeboards and eave brackets. Thus<br />

in actual fact, the sawn-timber decoration is not necessarily<br />

the only characteristic feature of the gingerbread or stick<br />

style, but rather just one among the many different types<br />

of decorative elements, and that the term “Gingerbread<br />

House” is an American colloquial commonly used to<br />

identify the “stick style” houses that were built during<br />

the eighteen-sixties. Broadly therefore, the term refers to<br />

177


ส่วนกลุ่มบ้านพักตากอากาศที่ Martha’s Vineyard,<br />

Oak Bluffs, Massachusetts นั้นเป็นกลุ่มบ้านขนาด<br />

เล็กที่มีสีสันสะดุดตา สร้างขึ้นราว ค.ศ. 1870 (พ.ศ.<br />

2413 ต้นสมัยรัชกาลที่ 5) เพื่อเป็นบ้านพักตากอากาศ<br />

โดยสมาชิกกลุ่ม Methodist ซึ่งเป็นชาวโปรเตสแตนท์<br />

ที่เคร่งศาสนา มีการตกแต่งชายคาและระเบียงบ้านด้วย<br />

องค์ประกอบไม้ บางครั้งก็ตกแต่งด้วยลวดลายเรขาคณิต<br />

และบางครั้งก็เป็นลวดลายฉลุไม้ บ้านแต่ละหลังจะมี<br />

ลักษณะเฉพาะตัวและมีรายละเอียดที่ไม่ซ้ำแบบกัน<br />

เป็นงานแบบ Gingerbread Style ที่มีลักษณะเฉพาะถิ่น<br />

ที่ชัดเจน บางครั้งเรียกกันว่า “Carpenter’s Gothic”<br />

เป็นการให้เกียรติกับภูมิปัญญาของช่างไม้ท้องถิ่น<br />

คำศัพท์ Gingerbread House ได้รับการเผยแพร่<br />

ออกนอกประเทศสหรัฐอเมริการาวหลังสงครามโลกครั้ง<br />

ที่สองจากการที่นักท่องเที่ยวชาวอเมริกัน 11 เรียกบ้าน<br />

พักอาศัยกลุ่มหนึ่งซึ่งมีลักษณะเฉพาะตัวแบบท้องถิ่น<br />

ในเมือง Port - au - Prince ซึ่งเป็นเมืองหลวงของ Haiti<br />

ประเทศในแถบทะเลแคริบเบียนว่า “Gingerbread House”<br />

บ้านดังกล่าวสร้างขึ้นราวๆ ค.ศ. 1900 (พ.ศ. 2443<br />

ปลายสมัยรัชกาลที่ 5) โดยสถาปนิกชาวไฮติซึ่งได้รับ<br />

buildings that are ornamented with decorative details in<br />

wood, and is not limited to only those that have perforated<br />

sawn-timber decorations.<br />

Several noteworthy stick style buildings can be<br />

found along the coastal areas of the Atlantic Ocean,<br />

particularly on the east coast of the United States, such<br />

as the Chicamacomico Life-Saving Station at Rodanthe<br />

in North Carolina, which is an American coastguard unit,<br />

for example. Built in 1874 (around the beginning of Rama<br />

V’s reign) the building has exposed members of the<br />

timber frame structure and is decorated with perforated<br />

sawn-timber work at the apex and along the edges of the<br />

roof gable in addition to the elaborate eave brackets that<br />

adorn the building on all sides.<br />

The Gingerbread House at Cape May in New Jersey,<br />

designed by Stephen Decatur Button, is a two-storeyed<br />

timber house built in 1869. Its outstanding features are<br />

the eaves, the balcony and the porch that have intricately<br />

designed sawn-timber decorations. This house is one of<br />

the Stockton Row Cottages in the Carpenter’s Gothic style<br />

การศึกษาทางด้านสถาปัตยกรรมจากประเทศฝรั ่งเศส<br />

เช่น Léon Mathon ซึ่งเดินทางไปศึกษาที่ École des<br />

Baux Arts, Paris ราวๆ ค.ศ. 1895 (พ.ศ. 2438)<br />

ลักษณะโดยทั่วไปของบ้านดังกล่าวคือ เป็นบ้าน 2 ชั้น<br />

หรือ 3 ชั้น โครงสร้างเป็นไม้ หรือเป็นแบบก่ออิฐ หรือ<br />

แบบผสมผสาน เช่น Maison Dufort สร้างเมื่อ ค.ศ.<br />

1910 (พ.ศ. 2453) โครงสร้างชั้นล่างก่ออิฐ ชั้นบนเป็น<br />

โครงสร้างไม้แบบ Half - timber ลักษณะเด่นประกอบ<br />

ด้วยหลังคาซึ่งเป็นหลังคาทรงสูงหลายรูปแบบมีลักษณะ<br />

แปลกตา เช่น ทรงโดมยอดแหลม เป็นต้น ใช้ไม้เป็นองค์<br />

ประกอบตกแต่ง บางครั้งก็ออกแบบเป็นลายเรขาคณิต<br />

ซึ่งประกอบด้วยเส้นตรง หรือเป็นลายฉลุไม้ บางครั้งมี<br />

หอคอยสูงเป็นองค์ประกอบ ผนังภายนอกทาสีและ<br />

ตัดเส้นทำให้มีลักษณะที่สะดุดตา เช่น สีชมพูตัดเส้นเขียว<br />

สีเหลืองตัดเส้นด้วยสีขาว เป็นต้น น่าสังเกตว่าคำว่า<br />

“Gingerbread House” นั ้นชาวอเมริกันใช้คำนี้<br />

เพื่อสื่อความหมายให้เห็นภาพโดยรวมของลักษณะ<br />

ทางสถาปัตยกรรมของบ้านกลุ่มนี้โดยมิได้เจาะจง<br />

ถึงรายละเอียดขององค์ประกอบแบบใดแบบหนึ่ง<br />

โดยเฉพาะ เช่นมิได้เจาะจงถึงงานตกแต่งด้วยลวดลายฉลุไม้<br />

that have been the vacation homes of people in the upper<br />

social echelon since the second half of the 19 th century, and<br />

is considered to be a valuable Victorian style architectural<br />

heritage in America that has been well-preserved. Cape<br />

May County itself, has been selected as a National Historic<br />

Landmark City since 1967 due to the fact that it has been<br />

foremost in preserving much of its Victorian architectural<br />

structures compared to other counties.<br />

In another example, Martha’s Vineyard at Oak Bluffs in<br />

Massachusetts has a group of small colorful holiday homes<br />

built around 1870 by the Methodists who were very religious<br />

Protestants. The eaves and the balconies are decorated<br />

with wooden detailing of geometric patterns or perforated<br />

sawn-timber designs while each house has its own unique<br />

details different from the others in gingerbread style with<br />

noticeable local characteristics that are sometimes also<br />

called the Carpenter’s Gothic style.<br />

The appellation “Gingerbread House” began to spread<br />

outside the United States after the Second World War with<br />

the American tourists 11 calling houses that have a particular<br />

178


เป็นพิเศษ เป็นต้น เนื่องจากบางบ้านมิได้มีองค์ประกอบ<br />

ที่เป็นไม้ฉลุลายแต่อย่างใด<br />

รูปแบบทางสถาปัตยกรรมที่มีลักษณะเฉพาะตัวของ<br />

กลุ่มบ้าน “Gingerbread House” ที่ Port - au - Prince<br />

นี้เองต่อมาได้กลายเป็นกระแสความสนใจในระดับสากล<br />

เกี่ยวกับการอนุรักษ์บ้านดังกล่าว โดยที่ได้มีการตีพิมพ์<br />

หนังสือเรื่อง บ้าน Gingerbread และรายงานการศึกษา<br />

ตลอดจนบทความเรื่อง การอนุรักษ์บ้าน Gingerbread<br />

ใน Port - au - Prince ตั้งแต่ ค.ศ. 1975 (พ.ศ. 2518)<br />

เป็นต้นมา เช่น<br />

• Phillips, Anghelen Arrington., “Gingerbread Houses<br />

: Haiti’s Endangered Species.” Port - au -<br />

Prince : Imprimerie Henri Deschamps, 1975.<br />

• World Monument Fund (WMF), “Preserving<br />

Haiti’s Gingerbread House.” 2010.<br />

รายงานการสำรวจ Gingerbread House / 2010<br />

Earthquake Mission Report โดย WMF<br />

• Katz Marisa Mazria, ed. (28 April 2011). “The<br />

Gingerbread Reclamation.” Wall Street Journal.<br />

• Sokol, David, ed. (1 June 2011). “Haiti’s<br />

local identity in Port-au-Prince, the capital city of Haiti in<br />

the Caribbean, Gingerbread Houses. These houses were<br />

built around 1900 (towards the end of Rama V’s reign)<br />

and designed by Haitian architects who were educated in<br />

France, such as Léon Mathon, who studied at the École<br />

des Beaux Arts in Paris around 1895, for example.<br />

The houses are generally two or three storeys high<br />

and constructed of timber or bricks, or a combination of<br />

both. Maison Dufort, built in 1910 for example, had the<br />

lower level built of bricks while the upper level was that<br />

of the half-timber construction. The outstanding features<br />

of this style are the high roofs that have peculiar shapes<br />

and forms such as the pointed dome for example, the<br />

decorative timber details with geometric patterns or<br />

perforated sawn-timber work, and sometimes there is also<br />

a turret attached to the building. The exteriors are painted<br />

with eye-catching colors such as pink with green trimming<br />

or yellow with white for example. Thus it is apparent that<br />

Americans used the word “Gingerbread House” as a<br />

metaphor to convey the image of this architectural style<br />

Gingerbread House Focus of Preservation<br />

Efforts.” Architeetura Record.<br />

• “The Gingerbread House of Port – au – Prince,<br />

Haiti.” Columbia GSAAP. 2016.<br />

รายงานการวิจัย Columbia University and the<br />

Gingerbread Studio / Fall 2015.<br />

• World Monument Fund (WMF), “Maison Dufort.”<br />

Restoration training to save Haiti’s Gingerbread<br />

houses. 2016.<br />

รายงานของ WMF เรื่องการฝึกบุคลากร และการ<br />

ซ่อมบูรณะบ้าน Maison Dufort ที่ Port – au –<br />

Prince, Haiti เขียนรายงานโดย Will Raynolds.<br />

จากหลักฐานความสนใจและการพัฒนาองค์ความรู้<br />

เรื่อง Gingerbread House ในช่วงเวลาที่ผ่านมา เราอาจ<br />

สรุปได้ว่า คำศัพท์ Gingerbread ในทางสถาปัตยกรรมนั้น<br />

เกิดขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกาและต่อมาได้แพร่หลาย<br />

เป็นวงกว้างจนกระทั่งปัจจุบัน (พ.ศ. 2561) เป็นที่<br />

ยอมรับและนำมาใช้กันในระดับสากลทั้งในแวดวงวิชาชีพ<br />

สถาปัตยกรรมและในแวดวงวิชาการสถาปัตยกรรม<br />

in general, and does not refer specifically to only those<br />

with perforated sawn-timber decorations, because not all<br />

of them have this particular type of ornamentation.<br />

The Gingerbread Houses in the style unique to Portau-Prince<br />

later received international attention from those<br />

who thought that they should be preserved while books<br />

and articles have been published on the subject as in the<br />

following examples:<br />

• Phillips, Aughelen Arrington. “Gingerbread Houses<br />

: Haiti’s Endangered Species” Port-au-Prince:<br />

Imprimerie Henri Deschamps, 1975.<br />

• World Monument Fund (WMF). “Preserving Haiti’s<br />

Gingerbread House” 2010.<br />

• Survey report on Gingerbread Houses / 2010<br />

Earthquake Mission.<br />

• Katy Marisa Magria, ed. (28 April 2011). “The<br />

Gingerbread Reclamation” Wall Street Journal.<br />

• Sokol, David, ed. (1 June 2011). “Haiti’s Gingerbread<br />

House Focus on Preservation Effort” Architectural<br />

Record.<br />

179


เรือนขนม (ปัง) ขิง คำศัพท์ “Gingerbread” ในทาง<br />

สถาปัตยกรรมนี้แพร่หลายเข้ามาในเมืองไทยอย่างไร<br />

และเข้ามาเมื่อใดไม่มีหลักฐานแน่ชัด แต่น่าจะเข้ามา<br />

ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง อย่างไรก็ดีการแพร่หลาย<br />

ของคำว่า “Gingerbread” ในเมืองไทยน่าจะเกิดจาก<br />

หนังสือเรื่อง “แบบแผนบ้านเรือนในสยาม” เขียนโดย<br />

น. ณ ปากน้ำ ตีพิมพ์ครั้งแรกใน พ.ศ. 2531 และล่าสุด<br />

เป็นการตีพิมพ์ครั้งที่ 6 ใน พ.ศ. 2555 จุดมุ่งหมายใน<br />

การเขียนนั้น ผู้เขียนอธิบายในหน้า 9 ว่า “...หนังสือ<br />

เล่มนี้มีจุดประสงค์จะพรรณนาถึงเรือนไทยฝาปะกนกับ<br />

เรือนปั้นหยา และเรือนมะนิลา ทั้งการตกแต่งลวดลาย<br />

ขนมปังขิงเป็นเรื่องสำคัญ...” หนังสือดังกล่าวผู้เขียนได้<br />

ใช้เวลาเก็บรวบรวมภาพอาคารที่ตกแต่งด้วยลวดลาย<br />

ไม้ฉลุมาตั้งแต่ราว พ.ศ. 2500 จึงเป็นเอกสารสำคัญ<br />

ที่รวบรวมข้อมูลภาพถ่ายอาคารที่ตกแต่งด้วยลวดลาย<br />

ไม้ฉลุเอาไว้ได้มากที่สุด ส่วนคำอธิบายเกี่ยวกับคำศัพท์<br />

Gingerbread นั้น น. ณ ปากน้ำ เขียนว่า<br />

“จากเรือนปั้นหยาได้วิวัฒนาการมาเป็นเรือน<br />

มะนิลา คือบางส่วนเป็นเรือนหลังคาปั้นหยา<br />

• “The Gingerbread House of Port-au-Prince, Haiti”<br />

Columbia GSAAP. 2016. Research report, Columbia<br />

University and the Gingerbread Studio / Fall 2015.<br />

• World Monument Fund (WMF). “Maison Dufort”<br />

Restoration training to save Haiti’s Gingerbread<br />

houses. Report author Will Raynolds. 2016.<br />

From the apparent interest and accumulation of<br />

information on Gingerbread Houses in the past, it may<br />

be assumed that the word “Gingerbread” in connection<br />

with architecture originated with the Americans and later<br />

became widespread up until the present day (2018) in which<br />

it has been accepted and used by professional architects<br />

as well as those in the academic circles around the world.<br />

Gingerbread (style) houses in Siam<br />

There is no clear evidence as to how or when exactly<br />

the term “Gingerbread” in connection with architecture<br />

came to be adopted in Thailand. But most likely, it would<br />

have been after the Second World War. However, it might<br />

be said that the term, translated into Thai as Khanompang<br />

แล้วเปิดบางส่วนให้มีหน้าจั่ว ในสมัยที่เรือนแบบ<br />

มะนิลา (ซึ่งคงจะแพร่หลายมาจากเมืองมะนิลา)<br />

เข้ามาสู่ความนิยมอย่างแพร่หลายอันตรงกับสมัย<br />

ที่สถาปัตยกรรมแบบเรือนขนมปังขิง (Ginger<br />

Bread) แพร่เข้ามาด้วย ลักษณะเรือนขนมปังขิงนี้<br />

เป็นชื่อเรียกสากลทับศัพท์ว่า จินเจอร์ เบรด<br />

อันมีที่มาจากขนมปังขิงสมัยโบราณของชาว<br />

ตะวันตก ซึ่งตกแต่งหรูหราฟู่ฟ่า มีครีบระบาย<br />

แพรวพราว เรือนแบบนี้ได้พบเห็นจากหนังสือ<br />

แมกกาซีนต่างประเทศ...”<br />

“ที่พม่าบ้านเรือนใกล้สนามบินร่างกุ้งยังคงเต็ม<br />

ไปด้วยบ้านแบบขนมปังขิงอยู่สมัยเมื่อ ๑๐ หรือ<br />

๒๐ ปีมาแล้ว ในยุโรปตามประเทศต่างๆ หาดู<br />

ได้ยาก ด้วยบ้านแบบนี้ส่วนใหญ่จะสร้างด้วยไม้<br />

มีการฉลุครีบที่หน้าจั่วกับเชิงหลังคาอย่าง<br />

ละเอียด ย่อมผุพังหรือถูกรื้อถอนไปเสียหมด<br />

แม้ในเมืองไทยก็ถูกรื้อถอนเปลี่ยนแปลงไป<br />

เสียมากต่อมาก ต่อไปอีกไม่ถึง ๑๐ ปี ก็อาจจะ<br />

ค่อยๆ หมดไป”<br />

“เรือนมะนิลาก็ดี เรือนขนมปังขิงก็ดี ซึ่ง<br />

Khing, was popularized to a certain extent by Nor Na<br />

Paknam in his book on Houses in Siam, first published<br />

in 1988. The author himself explained (on page 9) that:<br />

“...this book intends primarily to provide a<br />

description of the wooden Thai houses that have<br />

paneled walls with Manila or hipped roofs, and<br />

decorated with Ginger Bread style ornamentation...”<br />

The pictures of these houses decorated with perforated<br />

sawn-timber detailing in the book, were taken and collected<br />

since 1957. Therefore this is a valuable documentation<br />

and source of information containing a large number of<br />

rare images. In his book, the author also explained (in<br />

Thai) about the term “gingerbread” to the following effect:<br />

“From houses with hipped roofs, the trend<br />

gradually evolved into the Manila style that had<br />

gabled-hip (or gambrel) roofs. The period in which<br />

the Manila style (the influence of which probably<br />

came from the City of Manila) became popular,<br />

was around the same time as the Ginger Bread<br />

style. This Ginger Bread style, to use the English<br />

180


ผสมกันอันมีส่วนประกอบด้วยลายฉลุอย่างงดงาม<br />

เป็นเรือนที่ปัจจุบันนี้ผู้คนส่วนใหญ่กำลังสนใจ<br />

และศิลปะลวดลายหรูหราเป็นลายแกะสลักและ<br />

ฉลุแบบขนมปังขิง เช่น ตู้และเฟอร์นิเจอร์ กับ<br />

การตกแต่งภายในก็กำลังเป็นที่นิยมแบบแฟชั่น<br />

ย้อนหลังกันอีก...”<br />

จากคำอธิบายดังกล่าวในหนังสือ “แบบแผนบ้าน<br />

เรือนในสยาม” หน้า 27 น่าสังเกตว่า น. ณ ปากน้ำ<br />

เขียนถึงงานสถาปัตยกรรมแบบ “เรือนขนมปังขิง” โดย<br />

วงเล็บภาษาอังกฤษว่า (Ginger Bread) โดยแยกคำว่า<br />

Ginger และ Bread ออกจากกัน ทั้งยังใช้ G ตัวใหญ่<br />

และ B ตัวใหญ่ ในตัวสะกดอีกด้วย คำศัพท์ Ginger<br />

Bread นี้ไม่ปรากฏในพจนานุกรมภาษาอังกฤษ ส่วน<br />

คำที่ถูกต้องคือ “Gingerbread” ซึ่งหมายถึง “ขนมขิง”<br />

การที่เขียนภาษาอังกฤษอย่างไม่ถูกต้องจึงทำให้แปล<br />

คำนิยามศัพท์ว่า “ขนมปังขิง” และด้วยเหตุผลที่หนังสือ<br />

“แบบแผนบ้านเรือนในสยาม” มีความแพร่หลายมากจึง<br />

ทำให้คนไทยคุ้นเคยกับคำว่า “เรือนขนมปังขิง” มาเป็น<br />

เวลานานแทนที่จะเรียกอย่างถูกต้องว่า “เรือนขนมขิง”<br />

term which is derived from the lavishly decorated<br />

traditional western type of dessert with its elaborate<br />

frilly icing, has appeared and was seen in foreign<br />

magazines...”<br />

“In Burma, ten to twenty years ago, houses in<br />

the vicinity of Rangoon airport were predominantly<br />

in the Ginger Bread style whereas in the European<br />

countries, they are now difficult to find. This is due<br />

to the fact that they were mainly built with timber<br />

and decorated with wooden lace-like frills on the<br />

eaves and roof gables which would naturally decay<br />

and deteriorate. A significant number of them have<br />

also been demolished over the period of time, even<br />

in Thailand, to the point that in less than ten years<br />

from now, they will probably all be gone.”<br />

“Whether they are the Manila style or the<br />

Ginger Bread style houses both of which have the<br />

sawn-timber decorations, a lot of people at present<br />

are interested in their fancy carvings and decorative<br />

sawn-timber work in the Ginger Bread style and<br />

อนึ่งในหนังสือ “แบบแผนบ้านเรือนในสยาม” นั้น<br />

น. ณ ปากน้ำ ใช้คำว่า Gingerbread อย่างเจาะจงโดย<br />

หมายความถึง การตกแต่งอาคารด้วยลวดลายฉลุไม้<br />

หรือรูปแบบลวดลายฉลุไม้เท่านั้น แตกต่างจากการ<br />

ใช้คำศัพท์ Gingerbread เกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรม<br />

ของคนอเมริกันซึ่งมีความหมายกว้างกว่าคือหมายถึง<br />

การตกแต่งอาคารอย่างหรูหรา หรือฟุ่มเฟือย โดยมิได้<br />

เจาะจงถึงรูปแบบของการตกแต่งประเภทหนึ่งประเภทใด<br />

โดยเฉพาะ<br />

การแพร่หลายของบ้านไม้ฉลุลาย (Gingerbread<br />

House) การแพร่หลายของบ้านไม้ฉลุลายนั้นน่าจะ<br />

เกิดขึ้นจากการที่สามัญชนในระดับกลาง สมัยรัชกาล<br />

ที่ 5 เลียนแบบการปลูกบ้านของชนชั้นสูง เนื่องจาก<br />

ต้องการแสดงตนเป็นคนที่มีความทันสมัยและมีอารยะ<br />

ส่วนต้นแบบนั้นดูเหมือนว่าจะมีความลงตัวอยู่ที่แบบบ้าน<br />

ไม้ฉลุลาย เนื่องจากมีลักษณะเฉพาะตัวที่โดดเด่น มีการ<br />

ตกแต่งด้วยลวดลายฉลุไม้ที่งดงาม ใช้วัสดุธรรมชาติ<br />

พื้นฐานของไทยคือ ไม้ อยู่สบายเพราะคนไทยชินกับไม้<br />

ไม่ขัดต่อความรู้สึก สามารถสร้างองค์ประกอบช่อง<br />

เปิดให้มีอากาศถ่ายเทได้สะดวกได้ดีกว่าโครงสร้างตึก<br />

use it for example, on cupboards and furniture as<br />

well as interior decorations that currently appear<br />

to be back in fashion...”<br />

From the explanation on page 27 of the book (in Thai<br />

language) it is interesting to note that the author used<br />

the term Ginger Bread (spelt in English in parenthesis)<br />

as being two words, both of which have capital letters.<br />

Such terminology cannot be found in the dictionary, as<br />

the correct term should be “gingerbread”. The incorrect<br />

spelling can lead to misunderstanding and, since the book<br />

has been widely sold (with its 6 th printing in 2012), many<br />

Thai people are confused as to the meaning when the<br />

term has been translated into the Thai language. However,<br />

whether it should be translated into Thai (specifically) as<br />

“Khanompang Khing” which is the familiar term, or (broadly)<br />

as “Khanom Khing”, is debatable.<br />

Furthermore, he used the term in connection with<br />

architecture to refer to only the perforated sawn-timber<br />

decorations or style, which is different from the use of the<br />

word “gingerbread” by the Americans, who use it in a wider<br />

181


แบบกำแพงรับน้ำหนัก ที่สำคัญคือ มีราคาถูกกว่าบ้านตึก<br />

เนื่องจากบ้านตึกมีวิธีการก่อสร้างที่ซับซ้อนกว่า และ<br />

ค่าแรงแพงกว่า<br />

บ้านไม้ฉลุลายหลังแรกที่ปรากฏหลักฐานเก่าที่สุด<br />

ในสยามได้แก่ พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร 12 พระราชวัง<br />

บางปะอิน สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2420 เพื่อเป็นที่ประทับใน<br />

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีลักษณะเด่น<br />

คือ การตกแต่งด้วยไม้ฉลุลายบริเวณหน้าจั่วด้านบน<br />

และบริเวณชายคา ผนังด้านนอกทาสีเขียวแก่สลับ<br />

สีเขียวอ่อนเป็นลายสลับตามแนวนอน แต่การที่ชาวบ้าน<br />

ธรรมดาโดยทั่วไปจะได้มีโอกาสเห็นพระที่นั่งองค์นี้ใน<br />

สมัยรัชกาลที่ 5 คงจะไม่มี อย่างไรก็ดีการใช้ลวดลาย<br />

ฉลุไม้เป็นองค์ประกอบอาคารนั้นพบว่ามีการใช้มากใน<br />

การก่อสร้างตำหนักแบบตึกฝรั่งของข้าราชสำนักฝ่ายใน<br />

ซึ่งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นใน พระบรมมหาราชวัง<br />

และคงจะมีการก่อสร้างราว พ.ศ. 2420 เป็นต้นมา เช่น<br />

• พระตำหนักสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี<br />

มีองค์ประกอบลวดลายฉลุไม้เป็นช่องระบาย<br />

อากาศเหนือหน้าต่างบานเกร็ด และบริเวณ<br />

เหนือประตูภายในพระตำหนัก ลักษณะลายเป็น<br />

sense to encompass all those that have extravagantly<br />

elaborate and superfluous decorative details. Nevertheless,<br />

from here on in this article, the perforated sawn-timber<br />

decorative elements shall be referred to by using a variety<br />

of terms that have the same or similar connotation in order<br />

to avoid excessively repetitive use of the rather verbose<br />

phrasal terminology.<br />

Popularity of the Gingerbread style houses<br />

Houses with perforated sawn-timber decorative elements<br />

in the Gingerbread style became widespread seemingly as<br />

a result of the middle-class people building their houses of<br />

timber imitating the style popular among the elite during<br />

the period of Rama V, because it conveyed a sense of<br />

being sophisticated and modern. Ideal examples at the<br />

time were those that were decorated with sawn-timber<br />

work since they had beautiful and uniquely outstanding<br />

identity, used natural local material which was timber,<br />

comfortable to live in without feeling awkward, allowed<br />

a lot of openings to provide better ventilation than those<br />

built with bricks, and most importantly, less complicated<br />

ลายพรรณพฤกษาแบบตะวันตก คล้ายลายก้านขด<br />

• ตำหนักพระราชชายา เจ้าดารารัศมี ตกแต่งด้วย<br />

ลวดลายฉลุไม้บริเวณช่องระบายอากาศเหนือ<br />

หน้าต่าง ลักษณะลายเป็นลายพรรณพฤกษา<br />

แบบตะวันตก คล้ายลายก้านขด หรือแบบผสม<br />

ผสานลายก้านขดกับลายเรขาคณิต<br />

• เรือนเจ้าจอมเง็ก ชั้นบนตกแต่งด้วยลวดลายฉลุไม้<br />

บริเวณชายคาและช่องระบายอากาศ ลวดลาย<br />

พรรณพฤกษาแบบตะวันตก ชั้นล่างตกแต่งช่วงเสา<br />

ด้านบนด้วยลวดลายฉลุไม้<br />

• ตำหนักพระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์ ตกแต่ง<br />

ด้วยลวดลายฉลุไม้บริเวณช่องระบายอากาศและ<br />

ชายคาบังแดด ตกแต่งจั่วด้านบนด้วยไม้ประดับ<br />

ยอดจั่ว และมีลวดลายฉลุไม้ประดับยอดจั่ว<br />

การใช้ลวดลายฉลุไม้เป็นองค์ประกอบในตัวอาคาร<br />

เริ่มแพร่หลายออกนอกพระบรมมหาราชวัง และวังเจ้านาย<br />

ราว พ.ศ. 2435 - 2440 เป็นต้นมา โดยพบในอาคาร<br />

ที่สร้างโดยเจ้านาย ขุนนางชั้นสูง หรือเครือญาติ เช่น<br />

• กุฏิทรงช่วย วัดพิชัยญาติการาม 13 สร้างเมื่อ<br />

and considerably cheaper to build due to lower labor cost.<br />

The first house that had perforated sawn-timber<br />

decorations in Siam, according to the oldest evidence,<br />

was Phra Thinang Utthayan Bhumi Sathien 12 . Built in<br />

1877 at Bang Pa-in Palace as a residence for Rama V, its<br />

outstanding features are the decorative details along the<br />

edges of the roof, and the alternating dark and light green<br />

horizontal stripes painted on the exterior of the building.<br />

Unfortunately, the ordinary commoners at the time, would<br />

not have had the opportunity to see this extraordinary<br />

building. Such decorative elements were also found used<br />

on many European style brick mansions of the courtiers<br />

at the inner court of the Grand Palace. Presumably built<br />

from around 1877 onwards, the residences with this type<br />

of decorations, to name a few, are as follow:<br />

• The residence of Queen Savang Vadhana: On this<br />

building, the perforated sawn- timber detailing had floral<br />

patterns in the western style and placed above the louvered<br />

windows and doors to provide additional ventilation.<br />

• The residence of Chao Dara Rasmi, the royal<br />

182


พ.ศ. 2440 ช่องระบายอากาศเป็นลวดลายไม้ฉลุ<br />

และตกแต่งลวดลายไม้ฉลุบริเวณชายคาและ<br />

ชายคาบังแดด<br />

• อาคารตึกแบบตะวันตก ในวัดอนงคาราม 14<br />

สร้างเมื่อ พ.ศ. 2442 ตกแต่งด้วยลวดลายไม้ฉลุ<br />

บริเวณช่องระบายอากาศและชายคาบังแดด<br />

• โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระเชตุพน สร้าง<br />

เมื่อ พ.ศ. 2450 เพื่อเป็นที่ระลึกในหม่อมราชวงศ์<br />

หญิงหฤทัย ประวิตร มุขหน้าเป็นโครงสร้างไม้<br />

ตกแต่งด้วยลวดลายฉลุไม้บริเวณหน้าจั่วด้าน<br />

บนตลอดจนเชิงชาย เสาไม้มีหูช้างไม้ฉลุลาย<br />

ประดับ 2 ข้าง<br />

สำหรับบ้านโครงสร้างไม้ที่ตกแต่งด้วยองค์ประกอบ<br />

ไม้ฉลุลายที่ชาวบ้านทั่วไปได้มองเห็นกันมากคือ ตำหนัก<br />

ครึ่งตึกครึ่งไม้ ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิป<br />

ประพันธ์พงศ์ ริมถนนแพร่งนราซึ่งตัดผ่านวังวรวรรณ<br />

และเฉียดตำหนักตั้งแต่ราว พ.ศ. 2435 นอกจากนี้แล้ว<br />

การที่กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ทรงตั้งคณะละคร<br />

ซึ่งเป็นที่นิยมของคนกรุงเทพฯ และทรงสร้างโรงละคร<br />

consort, also had perforated floral pattern detailing in the<br />

western style or a combination of floral and geometric<br />

patterns placed above the windows for ventilation.<br />

• Chaochom Ngek House: The upper storey of this<br />

building had wooden lace-like fascia boards decorating the<br />

eaves of the roof in addition to western style floral pattern<br />

sawn-work set in places for ventilation. The ground floor on<br />

the other hand, had the upper part of the pillars decorated<br />

with sawn-timber work as well.<br />

• The residence of Princess Phuangsoi Sa-ang had<br />

perforated sawn-work designed in places to allow ventilation,<br />

and as decorative elements along the eaves of the roof<br />

together with ornamental wooden finials at the apex.<br />

The use of perforated sawn-timber decoration on<br />

buildings began to spread beyond the palatial compounds<br />

from around 1892-97 onwards and appeared on other<br />

buildings commissioned by royal members, high ranking<br />

officials and their relatives as in the following examples:<br />

• Song Chuay Monk’s residence at Pichaiyatikaram<br />

Temple 13 built in 1897, had perforated sawn-work for<br />

ปรีดาลัยขึ้นในวังวรวรรณยังทำให้บริเวณถนนแพร่งนรา<br />

กลายเป็นแหล่งบันเทิงของกรุงเทพฯ สมัยปลายรัชกาล<br />

ที่ 5 คนทั่วไปจึงมีโอกาสได้ชื่นชมตำหนักโครงสร้างไม้<br />

ซึ่งตกแต่งด้วยลวดลายไม้ฉลุอย่างงดงาม และคงจะเป็น<br />

แรงบันดาลใจที่ทำให้เกิดการเลียนแบบตลอดจนเกิดการ<br />

แพร่หลายของการสร้างที่พักอาศัยโครงสร้างไม้ที่ตกแต่ง<br />

ด้วยลวดลายไม้ฉลุในกลุ่มสามัญชนในเวลาต่อมา<br />

การแพร่หลายของบ้านไม้ฉลุลายนั้นนอกจากใน<br />

กรุงเทพฯ แล้ว ในภาคเหนือก็เริ่มมีการสร้างบ้านไม้<br />

ฉลุลายขึ้นในราว พ.ศ. 2435 - 2440 เช่น คุ้มวงศ์บุรี<br />

ที่จังหวัดแพร่ สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2440 ตามดำริของ<br />

แม่เจ้าบัวถา มหายศปัญญา ชายาองค์แรกในเจ้าหลวง<br />

พิริยเทพวงศ์ เจ้าผู้ครองนครแพร่องค์สุดท้าย โดยได้<br />

ช่างชาวจีนจากมณฑลกวางตุ้ง ประเทศจีน มาควบคุม<br />

การก่อสร้างและช่างพื้นเมืองเป็นผู้ช่วยกระทั่งงานเสร็จ<br />

สมบูรณ์ใน พ.ศ. 2443 คุ้มหลังนี้เป็นเรือนไม้สักทอง<br />

2 ชั้นขนาดใหญ่ สร้างเลียนแบบตึกฝรั่ง ทาสีชมพูอ่อน<br />

ซึ่งเป็นสีดั้งเดิม ตกแต่งด้วยลวดลายฉลุไม้ทั่วตัวอาคาร<br />

เช่น ช่องระบายอากาศ หน้าจั่ว ชายคา เป็นต้น ลวดลาย<br />

เป็นแบบลายพรรณพฤกษา และลายเครือเถา ลักษณะ<br />

ventilation openings, and as decorative elements along<br />

the eaves of the roof and awnings.<br />

• Western style masonry building at Anongkharam<br />

Temple 14 built in 1899, also had decorative sawn-timber<br />

detailing along the eaves of the roof and overhang.<br />

• Phra Pariyatti Dharma School at Phra Chetuphon<br />

Temple which was built in 1907 as a memorial to Mom<br />

Ratchawong Haruetai Pravit, had the front porch decorated<br />

with perforated sawn work for bargeboards on the upper<br />

part of the gable and fascia along the eaves of the roof. The<br />

columns also have decorative sawn-timber lateral brackets.<br />

The most visible house with perforated sawn-timber<br />

decorations commonly seen by the public was the half timber<br />

- half brick mansion of Prince Naradhip Praphanphongse on<br />

Phraeng Nara Road. As previously mentioned, the prince<br />

formed a drama troupe which became very famous, and<br />

also built Pridalai Theatre on the compound of his palace<br />

which made this area a lively entertainment district for<br />

the people of Bangkok towards the end of the period of<br />

183


ลายค่อนข้างละเอียดแสดงถึงคุณภาพและความชำนาญ<br />

ของช่างไม้ท้องถิ่น<br />

อนึ่งการสร้างบ้านไม้สองชั้นโดยทั่วไปแบบเรียบง่ายที่<br />

ไม่มีการตกแต่งด้วยลวดลายไม้ฉลุนั้นไม่ปรากฏหลักฐาน<br />

ที่จะทำให้ทราบถึงช่วงเวลาที่ชัดเจนในการก่อสร้าง<br />

ว่าสร้างขึ้นก่อน หลัง หรืออาจจะสร้างขึ้นในช่วงเวลา<br />

ใกล้เคียงกันกับบ้านไม้ฉลุลาย อย่างไรก็ดีบ้านไม้ฉลุลาย<br />

ของชนชั้นสูงนั้นย่อมมีความสะดุดตา และย่อมเป็น<br />

แรงจูงใจให้มีการเลียนแบบได้มากอย่างแน่นอน และ<br />

การที่สามัญชนนิยมสร้างบ้านไม้ฉลุลายแบบตะวันตก<br />

เลียนแบบบ้านของชนชั้นสูงนั้น ก็เป็นการสนองพระราช<br />

ปณิธานในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่<br />

ทรงมีพระราชประสงค์ให้คนไทยทุกคนจัดระเบียบบ้าน<br />

เรือนของตนตามแบบอย่างที่พระราชวงศ์และขุนนางชั้นสูง<br />

ได้ทำตัวอย่างนำร่องเอาไว้ เพื่อเป็นเครื่องหมายของ<br />

ความทันสมัยและความเจริญของสังคมไทย<br />

การที่งานสถาปัตยกรรมแบบตะวันตกเข้ามามี<br />

บทบาทในการปรับตัวเข้าสู่ความทันสมัยของสังคมไทย<br />

ในสมัยรัชกาลที่ 5 นั้น ที่จริงเป็นการคุกคามต่อวิถี<br />

ทางวัฒนธรรมเชิงประเพณีของไทยโดยตรง พระบาท<br />

Rama V. Because of this, the general public were able to<br />

admire his elaborately decorated mansion which would<br />

have inspired many people to imitate the style and consequently,<br />

led to its popularity which became widespread<br />

among the commoners.<br />

Apart from Bangkok, the popularity of the Gingerbread<br />

style also spread to the northern part of the country around<br />

1892 - 1897. Wongburi Mansion in Phrae province for<br />

example, was ordered built in 1897 by Maechao Buatha<br />

Mahayotpanya, the first wife of Chaoluang Phiriya<br />

Dhepavongse who was the last ruler of Phrae. Using<br />

Cantonese builders from China to undertake the work<br />

assisted by local craftsmen, construction was completed<br />

in 1900. This large western style two-storeyed mansion<br />

was painted pink and decorated with sawn-timber detailing<br />

for ventilation openings as well as along roof edges. The<br />

perforated sawn-work with floral design patterns were<br />

highly intricate and exhibited the skilled craftsmanship of<br />

the local artisans.<br />

As far as the plain two-storeyed timber houses without<br />

สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีความปริวิตกว่างาน<br />

สถาปัตยกรรมแบบไทยประเพณีจะสูญไปจากสังคมไทย<br />

แต่ขณะเดียวกันก็ทรงมีพระราชดำริว่าการที่งานช่าง<br />

แบบประเพณีของไทยจะดำรงอยู่ได้ในสังคมไทย<br />

สมัยใหม่นั้นจะต้องมีการปรับตัว ฉะนั้นจะเห็นได้ว่าการ<br />

สร้างพระอารามสำคัญในรัชกาลนั้นจะมีลักษณะที่เป็นงาน<br />

แบบไทยประเพณีผสมผสานกับองค์ความรู้ทางการช่าง<br />

ของชาวตะวันตก เช่น วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม<br />

ราชวรวิหาร วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม และวัดราชาธิวาส<br />

เป็นต้น<br />

วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร สร้าง<br />

เมื่อ พ.ศ. 2412 เพื่อเป็นวัดประจำรัชกาลที่ 5 นับเป็น<br />

พระอารามหลวงสุดท้ายที่สร้างขึ้นตามประเพณีนี้ และ<br />

ได้โปรดเกล้าฯ ให้จัดองค์ประกอบของผังเชิงประเพณี<br />

อย่างสมบูรณ์ โดยการสถาปนาพระมหาเจดีย์เป็นหลัก<br />

และห้อมล้อมด้วยพระระเบียงผังกลม พระอุโบสถและ<br />

วิหารทิศ ลักษณะโดยทั่วไปเป็นแบบไทยประเพณีแต่<br />

ภายในพระอุโบสถนั้นตกแต่งเป็นแบบคล้ายนีโอโกธิค<br />

โดยออกแบบให้ผนังด้านบนระหว่างช่วงเสามีลักษณะ<br />

เป็นทรงโค้งยอดแหลม เพดานตกแต่งด้วยลวดลาย<br />

the decorative sawn-work are concerned, there is no clear<br />

evidence as to whether they appeared before, after, or<br />

around the same time as those built with the elaborate<br />

ornamentations. Nevertheless, the ornately decorated<br />

houses of the upper-class were undeniably more attractive<br />

and desirable. The fact that commoners chose to imitate<br />

the western style houses of the elite was in effect, also<br />

to comply with the king’s mandate to create orderliness.<br />

They therefore beautified their dwellings by following model<br />

examples of the nobilities and aristocrats in the process<br />

of modernization so as to help present an image of being<br />

a developed society.<br />

Because western style architecture played such<br />

an important role in the modernization process during<br />

the period of Rama V, it also posed a direct threat to<br />

traditional culture and way of life. Aware of this, the king<br />

was concerned that traditional Thai style architecture<br />

would eventually disappear altogether. To overcome such<br />

predicament, his opinion was that in order for traditional<br />

skills and craftsmanship to survive, stylistic adaptations<br />

184


พรรณพฤกษาแบบตะวันตก ประดับลวดลายด้วยการ<br />

ปิดทอง ส่วนกระเบื้องเคลือบที่ตกแต่งผนังภายนอก<br />

อาคารนั้นผลิตมาจากเมืองจีน<br />

วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม พระบาทสมเด็จ<br />

พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2442<br />

สถาปนิกได้แก่ สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์<br />

พระอุโบสถและพระวิหารคด เป็นงานสถาปัตยกรรม<br />

แบบประเพณีไทยแต่ตกแต่งผนังภายนอกด้วยหินอ่อน<br />

จากอิตาลี โดยที่การตัดหินอ่อนนั้นตัดเป็นชิ้นจากอิตาลี<br />

และนำมาประกอบตกแต่งผนังในกรุงเทพฯ ส่วนผู ้ที่รับ<br />

หน้าที่ในการเขียนแบบก่อสร้างสำหรับการตัดหินอ่อน<br />

มาประดับผนังนั้นคงจะได้แก่ นายมาริโอ ตามานโย<br />

สถาปนิกชาวอิตาเลียน<br />

วัดราชาธิวาสราชวรวิหาร เป็นวัดที่พระบาทสมเด็จ<br />

พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้ปฏิสังขรณ์ขึ้น<br />

ภายหลังจากที่ได้เสวยราชสมบัติแล้ว ต่อมาพระบาท<br />

สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้<br />

สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงออกแบบ<br />

พระอุโบสถขึ้นใหม่โดยให้รักษาผนังพระอุโบสถเดิมไว้ด้วย<br />

ตัวพระอุโบสถมีลักษณะรูปทรงเลียนแบบสถาปัตยกรรม<br />

need to be taken into account. Thus it can be seen that<br />

important temples built during his reign, such as Wat<br />

Ratchabophit, Wat Benjamabophit and Wat Rajadhivas<br />

for example, display certain Thai characteristics in which<br />

western technical know-how had been incorporated into<br />

their designs.<br />

Wat Ratchabophit: Built in 1869 as a monastic temple<br />

accorded to Rama V, this was the last that followed the<br />

tradition of building a royal temple pertaining to a king’s<br />

reign. The layout was instructed to be fully comprehensive<br />

and arranged according to tradition with the great stupa<br />

as the principal structure surrounded by a circular gallery,<br />

the ordination hall, and the congregation halls that are<br />

placed at each cardinal point. Overall, the temple was<br />

designed in the traditional Thai style but the interior of the<br />

ordination hall was decorated in a way that resembles the<br />

Neo-Gothic style with its pointed arches. The ceiling is<br />

decorated with gilded western style floral patterns while the<br />

exterior façade of the building is decorated with ceramic<br />

tiles imported from China.<br />

ขอม แต่จิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถซึ่งเป็นเรื่อง<br />

พระเวสสันดรชาดกนั้นเป็นจิตรกรรมแบบ Fresco หรือ<br />

จิตรกรรมแบบปูนเปียก เขียนโดยนายริโกลี จิตรกร<br />

ชาวอิตาเลียน<br />

วัดนิเวศธรรมประวัติราชวรวิหาร<br />

วัดที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

ทรงตั้งพระราชหฤทัยที่จะทรงสร้างให้เป็นแบบตะวันตก<br />

เพื่อให้ดูแปลกนั้นก็คือ วัดนิเวศธรรมประวัติราชวรวิหาร<br />

ซึ่งโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2419 - 2421 วัดนี้<br />

มีลักษณะแบบนีโอโกธิค ออกแบบโดยนายโจอาคิม<br />

กราสซี แต่ก็ได้แฝงแนวคิดเชิงประเพณีเอาไว้อย่าง<br />

แยบยล เช่น การวางผังให้ด้านหลังของโบสถ์โกธิค<br />

กลับมาเป็นด้านทางเข้า ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกตาม<br />

ประเพณีไทย ส่วนทางเข้าตามแบบตะวันตกคือด้าน<br />

หอระฆังนั้นให้เป็นทางด้านหลัง ส่วนหอระฆังนั้นก็<br />

ทรงบรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้ที่ส่วนบนสุด โดยให้<br />

ทำหน้าที่เป็นองค์พระเจดีย์นั้นเอง<br />

สมัยรัชกาลที่ 6<br />

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์<br />

Wat Benjamabophit (The Marble Temple): This<br />

temple was established by Rama V in 1899 with Prince<br />

Narisara Nuvadtivongse (Prince Naris) as the architect. Its<br />

ordination hall and galleries were designed in the traditional<br />

Thai style, but cladded on the exterior with Italian marble.<br />

These marbles came from Carrara and were crafted into<br />

slabs according to specifications drawn up by the Italian<br />

architect Mario Tamagno before they were sent to be<br />

installed on the temple in Bangkok.<br />

Wat Rajadhivas: This temple had been renovated<br />

earlier by Rama IV of the previous reign after his accession<br />

to the throne. Then during the succeeding reign, Rama V<br />

assigned Prince Naris to redesign the temple’s ordination<br />

hall with the condition that the original walls be preserved.<br />

The outcome was a new hall that displayed the influence<br />

of the Khmer style architecture while the interior mural<br />

paintings executed in fresco by the Italian painter, Signor<br />

Rigoli, depicted scenes of the tales from Vessandara Jataka.<br />

Wat Nives Dharmapravati: This is a temple that<br />

Rama V had intended to build in the western style with an<br />

185


พ.ศ. 2453 - 2468) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ไทย<br />

พระองค์แรกที่ทรงได้รับการศึกษาจากประเทศอังกฤษ<br />

ดังนั้นจึงทรงทราบดีถึงความแตกต่างของพื้นฐานการศึกษา<br />

ของสยามกับโลกตะวันตก และทรงเป็นพระมหากษัตริย์<br />

แห่งราชวงศ์จักรีพระองค์แรกที่มิได้ทรงสถาปนาวัดประจำ<br />

รัชกาล เนื่องจากทรงมีพระราชดำริว่าวัดหลวงนั้นมีมากแล้ว<br />

จึงทรงให้ความสำคัญกับการสร้างโรงเรียนเพื่อเป็นการ<br />

บำรุงการศึกษาของชาติเป็นหลัก ในปีแรกของรัชกาล<br />

คือในวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2453 ได้ทรงสถาปนา<br />

โรงเรียนมหาดเล็กหลวงขึ้น ซึ่งต่อมาพระบาทสมเด็จ<br />

พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานนามว่า “โรงเรียน<br />

วชิราวุธวิทยาลัย” สำหรับการศึกษาระดับอุดมศึกษานั้น<br />

ก็ได้ทรงสถาปนา “จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย” ขึ้นเป็น<br />

มหาวิทยาลัยแห่งแรกของสยาม เมื่อวันที่ 26 มีนาคม<br />

พ.ศ. 2459 (พ.ศ. 2460 ตามปฏิทินสากล) และได้เริ่ม<br />

มีการจัดการศึกษาภาคบังคับ 15 โดยได้ประกาศพระราช<br />

บัญญัติประถมศึกษาเมื่อ พ.ศ. 2464<br />

นอกจากพระราชภารกิจด้านการพัฒนาการศึกษาแล้ว<br />

ความเข้าพระทัยเรื่องการเมืองของมหาอำนาจตะวันตก<br />

ก็น่าจะเป็นเหตุหนึ่งที่ทำให้ทรงนำสยามเข้าร่วมกับ<br />

unusual appearance. Built between 1876 and 1878, the<br />

Neo-Gothic style temple was designed by Joachim Grassi<br />

who cleverly amalgamated certain traditional Buddhist<br />

values into his work. For example, he turned the rear end<br />

of the Gothic church-plan into an entrance that faces east<br />

according to the local belief and vice-versa whereby the<br />

entrance with the bell tower in front according to western<br />

planning, becomes the rear end of the building instead.<br />

The bell tower houses Buddha’s relics enshrined at the<br />

topmost part and therefore the structure itself assumes<br />

the role of a chedi or sacred pagoda according to the local<br />

Buddhist tradition.<br />

King Vajiravudh (Rama VI) who reigned from 1910 to<br />

1925, was the first Siamese king to have been educated in<br />

England and was therefore well aware of the differences<br />

between Siam’s education system and that of the Western<br />

world. He was also the first monarch of the House of Chakri<br />

who did not have a temple accorded to his reign due to<br />

his opinion that there were already enough royal temples<br />

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่ 1 ในช่วงเวลาที่<br />

เหมาะสม โดยได้มีประกาศกระแสพระบรมราชโองการ<br />

เข้าร่วมสงครามในวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460 และ<br />

เมื่อสงครามโลกสงบลงก็ได้ทรงริเริ่มการเจรจาเพื่อ<br />

ขอแก้ไขสนธิสัญญาสิทธิสภาพนอกอาณาเขตกับ<br />

ประเทศต่างๆ ตั้งแต่ พ.ศ. 2463 จนกระทั่งประสบผล<br />

สำเร็จโดยสมบูรณ์ใน พ.ศ. 2479<br />

สำหรับการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์<br />

นั้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง<br />

ตระหนักดีว่าในสังคมตะวันตกมีแนวคิดต่อต้านระบอบดัง<br />

กล่าวมาเป็นเวลานาน และต้องการให้มีการเปลี่ยนแปลง<br />

ระบอบการปกครองไปสู่ระบอบที่ราษฎรมีส่วนร่วมในการ<br />

ปกครองมากยิ่งขึ้น และในช่วงสมัยรัชกาลที่ 5 - รัชกาล<br />

ที่ 6 ก็ได้เกิดการปฏิวัติเพื่อล้มล้างระบอบกษัตริย์ใน<br />

หลายประเทศ เช่น การปฏิวัติในตุรกี ใน พ.ศ. 2451<br />

การปฏิวัติในเมืองจีนนำโดย ดร.ซุน ยัด เซ็น ใน พ.ศ.<br />

2454 และการปฏิวัติล้มราชวงศ์โรมานอฟใน พ.ศ. 2460<br />

ส่วนในสยามก็ได้มีความพยายามที่จะเปลี่ยนแปลงการ<br />

ปกครองไปสู่ระบอบประชาธิปไตยใน พ.ศ. 2455 หรือ<br />

เรียกว่า “กบฏ ร.ศ. 130” แต่คณะผู้ก่อการซึ่งประกอบด้วย<br />

around. Instead, he gave priority to setting up schools<br />

and improving the country’s general education system.<br />

On December 29, 1910, in the first year of his reign,<br />

Rama VI established a royal pages school which he later<br />

named Vajiravudh College. After that, at the level of tertiary<br />

education, established Chulalongkorn University on March<br />

26, 1916 (1917 international calendar) as the first university<br />

in the kingdom. Subsequent to that, primary education was<br />

made compulsory under a legislation introduced in 1921 15 .<br />

In addition to his concerns with developing the country’s<br />

education system, Rama VI’s understanding of the politics<br />

practiced by great western power nations was one of the<br />

factors that led Siam to join the alliance forces during the<br />

First World War, as declared on July 22, 1917. After the<br />

War, he began negotiating amendments to extraterritorial<br />

rights agreement with various countries from 1920 onwards<br />

until it was finally concluded in 1936.<br />

As far as the absolute monarchy system was<br />

concerned, the king was also well aware that Western<br />

countries have long been opposed to such system and<br />

186


นายทหารและปัญญาชนกลุ่มหนึ่งได้ถูกจับกุมเสียก่อน<br />

และได้ถูกศาลทหารตัดสินประหารชีวิต แต่พระบาทสมเด็จ<br />

พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระราชทานอภัยโทษ<br />

โดยละเว้นโทษประหารชีวิต อย่างไรก็ดีการคุกคามต่อ<br />

ความมั่นคงของสถาบันกษัตริย์ดังกล่าวน่าจะเป็นเหตุผล<br />

สำคัญที่ทำให้ทรงใช้นโยบาย “ชาตินิยม” มาเป็นเครื่องมือ<br />

ขับเคลื่อนในทางการเมืองการปกครองในรัชสมัย<br />

นโยบายชาตินิยมในพระราชดำรินั้นเป็นการรวม<br />

อุดมการณ์ “ธรรมิกราชา” ซึ่งเป็นนโยบายในพระบาท<br />

สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกที่เป็นการเกื้อหนุนกัน<br />

ระหว่างสถาบันกษัตริย์และสถาบันพุทธศาสนา ผสม<br />

ผสานกันกับแนวคิด “รัฐชาติ” ของพระบาทสมเด็จ<br />

พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงให้คำนิยาม “รัฐชาติ”<br />

ว่าหมายถึง “รัฐ (บ้านเมือง) ที่ประกอบด้วยประชาชน<br />

ที่อาศัยอยู่ในเขตแดนที่กำหนด และมีความสวามิภักดิ์<br />

ต่อผู้มีอำนาจสูงสุดคนเดียวกัน” ซึ่งจะเห็นได้ว่าแนวคิด<br />

รัฐชาติในสมัยรัชกาลที่ 5 นั้นยังเน้นอำนาจสูงสุดของ<br />

พระมหากษัตริย์ (แต่ก็ทรงแสดงความใกล้ชิดกับราษฎร<br />

เช่น การเสด็จประพาสต้น) ส่วนราษฎรนั้นเป็นผู้อยู่ภายใต้<br />

อำนาจการปกครอง<br />

wanted to see changes towards more people-involvement<br />

in the governing process. This opposition was widespread<br />

and particularly apparent during the time of Rama V and<br />

VI, when revolutions took place in several countries to<br />

abolish the monarchial system. For example, the Turkish<br />

Revolution in 1908, the Chinese Revolution led by Dr. Sun<br />

Yat Sen in 1911, and the Russian Revolution that brought<br />

an end to the Romanovs rule in 1917, to name the more<br />

prominent ones.<br />

In Siam, there was also an attempt to change the<br />

governing system in 1912, known as “Kabot Ror Sor 130”<br />

(Ror Sor 130 Rebellion). The attempt, conspired by a group<br />

of high ranking military officers together with a number of<br />

academic intellectuals however, was unsuccessful and<br />

conspirators were arrested and sentenced to be executed.<br />

The king however, issued a royal pardon and lifted the<br />

execution sentence. The growing threat to the monarchial<br />

institution could be said to have been the major incentive<br />

for Rama VI to impose “Nationalism” as a political strategy<br />

during his reign.<br />

สำหรับแนวคิดชาตินิยมในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ<br />

พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้นมีบริบทที่แสดงความทันสมัยขึ้น<br />

โดยมีองค์ประกอบสำคัญคือ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์<br />

แต่ที่แสดงความเป็นรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์สมัยใหม่<br />

ก็คือ การที่พระมหากษัตริย์ทรงยอมรับบทบาทหน้าที่<br />

ของคนไทยในฐานะที่เป็นพื้นฐานของความเจริญของชาติ<br />

ทรงมีพระบรมราชาธิบายว่า ราษฎรไทยจะต้องรักชาติ<br />

มีศรัทธาในพุทธศาสนา และมีความจงรักภักดีใน<br />

พระมหากษัตริย์ หากคนไทยปฏิบัติตนดังนี้แล้วก็เท่ากับ<br />

เป็นการร่วมมือร่วมใจกันเพื่อทำให้ชาติมีความเจริญ<br />

ก้าวหน้า ขณะเดียวกันแนวคิดดังกล่าวนั้นก็เป็นการ<br />

ตอกย ้ำถึงการรักษาความมั่นคงของรัฐชาติไทยภายใต้<br />

ระบอบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั่นเอง<br />

และนอกจากแนวคิดชาตินิยมที่เป็นเชิงอุดมการณ์แล้ว<br />

รูปธรรมที่สำคัญของแนวคิดนี้ก็คือ การที่ได้โปรดเกล้าฯ<br />

พระราชทานธงไตรรงค์ใน พ.ศ. 2460 เพื่อเป็นสัญลักษณ์<br />

ของชาติ ตลอดจนอุดมการณ์ ชาติ ศาสนา และ<br />

พระมหากษัตริย์<br />

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมี<br />

พระราชดำริว่า “ชาติไทย” นั้นหมายถึง คณะคนไทย<br />

The king’s “Nationalism” policy revolved around<br />

the concept of “Dharmikaraj” which was based on the<br />

combination of Rama I’s policy to establish mutual support<br />

between the monarchy and the Buddhist institution, and<br />

Rama V’s idea of a “Nation State” which was defined as<br />

“A state comprising of people that inhabit the area within<br />

the boundary of its territory and share common allegiance<br />

and loyalty to one who has absolute authority.” This idea<br />

of a Nation State clearly emphasized that the king had<br />

absolute authority. Yet at the same time, Rama V also<br />

demonstrated his close affinity with the people during his<br />

visits on royal expeditions to various places and seeing to<br />

their welfare since they were, by default, subjects under<br />

his ruling power.<br />

As for the concept of Nationalism during the reign<br />

of Rama VI, it was intended to reflect the image of being<br />

modern, and comprised of three key institutions which are<br />

Nation, Religion and Monarchy. But what actually constituted<br />

the modern absolute monarchial state was the fact that<br />

the monarchy gave recognition to the role of the people<br />

187


ที่มีอัตลักษณ์ร่วมกัน อันได้แก่ ภาษา ประวัติศาสตร์<br />

และงานศิลปะ โดยเฉพาะงานศิลปะของไทยนั้นเป็นสิ่ง<br />

ซึ่งแสดงความคิดอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของชาติ<br />

ถ้าความคิดซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวนั้นสูญสิ้นไป<br />

“เราก็จะสูญสิ้นความเป็นไทย” ฉะนั้นจึงเป็นพระราชภารกิจ<br />

ของพระองค์ที่จะต้องทรงทำนุบำรุงให้ศิลปะของไทยนั้น<br />

ได้มีชีวิตชีวาขึ ้นมาเพื่อที่จะได้เป็นมรดกตกทอดไปยัง<br />

อนุชนรุ่นหลังต่อไป ล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 6 จึงได้ทรงตั้ง<br />

กรมศิลปากร กรมมหรสพ และโรงเรียนเพาะช่าง<br />

ขึ้นในตอนต้นรัชกาล ทั้งนี้เพื่อให้มีองค์กรราชการที่<br />

รับผิดชอบในการดำเนินงานตามแนวพระราชดำริในการ<br />

ทำนุบำรุงศิลปกรรมประจำชาติดังกล่าว สำหรับโรงเรียน<br />

เพาะช่างนั้นยังได้โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้สมเด็จฯ<br />

เจ้าฟ้าฯ กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราไชย ดำรงตำแหน่ง<br />

ผู้บัญชาการโรงเรียนตั้งแต่ พ.ศ. 2465 - 2466<br />

สถาปัตยกรรม<br />

สำหรับแนวพระราชดำริในด้านการช่างสถาปัตยกรรม<br />

นั้นมีหลักฐานที่ได้ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ตั้งแต่ พ.ศ. 2450<br />

ครั้งยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช<br />

as being the very foundation for the development of the<br />

nation. The king elaborated that Thai citizens must love<br />

their nation, have faith in Buddhism, and be loyal to the<br />

monarchy. If everybody abides by this, then it shall lead to<br />

cooperation in bringing about progress and development.<br />

At the same time, this concept also placed emphasis on<br />

stability and security of the Siamese state under the rule<br />

of absolute monarchy. Apart from ideology, Nationalism<br />

was also manifested by means of instating the Tricolor<br />

Flag as the National Flag in 1917 to represent the three<br />

institutions: Nation, Religion and Monarchy.<br />

King Rama VI conceived that “Thai Nationality” refers<br />

to the Thai group of people who share the same set of<br />

identities in terms of language, history and art. Thai art in<br />

particular, reflects the thinking that produces unique national<br />

identity. Should such thinking be lost, then “we shall lose<br />

our Thai identity”. Thus it was the duty of the king to see<br />

to the preservation of Thai art so that it is kept alive as<br />

heritage to be passed down to subsequent generations. In<br />

light of this, Rama VI had therefore set up the Department<br />

สยามมงกุฎราชกุมาร ในบทพระราชนิพนธ์เรื่อง<br />

เที่ยวเมืองพระร่วง ตอนหนึ่งความว่า “...แต่นอกจากที่<br />

จะเล่าเรื่องไปดูโบราณสถานต่างๆ ให้นักเลงโบราณคดี<br />

ฟังและออกความคิด หวังใจว่าหนังสือเล่มนี้จะมีผล<br />

อย่างอื่นบ้าง คือประการหนึ่ง บางทีจะทำให้คนไทยรู้สึก<br />

ขึ้นมาบ้างว่าชาติไทยเราไม่ใช่ชาติใหม่ และไม่ใช่ชาติ<br />

ที่เป็นคนป่าหรือที่เรียกตามภาษาอังกฤษ “อันซิวิไลซ์”<br />

ชาติไทยเราได้เจริญรุ่งเรืองมามากแล้ว...” และอีกตอนหนึ่ง<br />

ว่า “ยังในส่วนช่างของไทยเรา ซึ่งเวลานี้อยู่ข้างจะโทรม<br />

อยู่มากนั้น บางทีถ้าได้ดูรูปสถานที่และลวดลาย ซึ่งได้<br />

พยายามฉายรูปมาพิมพ์ไว้ในหนังสือนี้จะเกิดรู้สึกขึ้นได้บ้าง<br />

ว่าฝีมือช่างไทยเราได้เคยดีมาแต่โบราณแล้ว หากมา<br />

ทิ้งกันให้เลือนไปเองจึงได้โทรมหนัก และจึงได้พากัน<br />

มัวหลงนึกไปเสียว่าวิชาช่างของเราเลวนักต้องใช้ตาม<br />

แบบฝรั่งจึงจะงาม ที่จริงฝีมือและความคิดของเขากับ<br />

ของเราก็งามด้วยกันทั้งสองฝ่าย แต่งามไปคนละทาง<br />

ถ้าแม้จะใช้ของเขาก็ใช้ให้ทั้งหมด ใช้ของเราก็เป็นของ<br />

เราทั้งหมด ที่น่ารำคาญนั้นคือใช้ปนกันเปรอะ เช่น<br />

มุงหลังคาโบสถ์ด้วยกระเบื้องสิเมนต์ เป็นต้น”<br />

ความดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าพระบาทสมเด็จ<br />

of Fine Arts, Department of Theatrical Recreation, and a<br />

technical school for artisans (Poh Chang) early in his reign.<br />

This was to ensure that there are government agencies to<br />

oversee and undertake responsibilities in carrying out the<br />

king’s initiatives in protecting and nurturing the nation’s<br />

art and culture. Regarding Poh Chang Technical College,<br />

Prince Phetchabun Indrajaya was appointed its Head<br />

Master from 1922 to 1923.<br />

Architecture<br />

On matters of architecture, there is evidence of Rama<br />

VI’s interest through his writings since 1907 when he<br />

was still the Crown Prince. In his essay entitled “Travels<br />

in Mueang Phra Ruang”, there is a passage in which he<br />

wrote to the following effect:<br />

“Apart from giving an account of the various ancient<br />

sites visited for archaeologists to regard and comment,<br />

hopefully this book will also lead to other benefits. For one,<br />

it will perhaps make Thai people realize that we are not a<br />

new nation and not a nation of barbarians or, in another<br />

word, “uncivilized”. Our nation has prospered greatly...”<br />

188


พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีแนวพระราชดำริว่า<br />

งานสถาปัตยกรรมนั้นมีคุณค่าในฐานะที่เป็นภาษาทาง<br />

วัฒนธรรมที่บ่งบอกถึงความเจริญของชาติ นอกจาก<br />

นี้แล้วยังได้ทรงชี้ประเด็นในเรื่องคุณค่าและความสำคัญ<br />

ของวิชาช่างสถาปัตยกรรมแบบประเพณีของไทย<br />

ซึ่งได้มีมาแต่โบราณแต่ในขณะนั้นกำลังถูกทอดทิ้ง<br />

ทั้งยังทรงมีพระราชดำริว่างานช่างสถาปัตยกรรมทั้ง<br />

ของไทยและของฝรั่งนั้น “งามด้วยกันทั้งสองฝ่าย”<br />

แต่ในการออกแบบนั้นสถาปนิกจะต้องออกแบบด้วย<br />

ความเข้าใจ ทั้งยังต้องคิดถึงการใช้วัสดุและเทคโนโลยี<br />

ร่วมสมัยให้เหมาะสมอีกด้วย<br />

ลักษณะงานสถาปัตยกรรมในสมัยรัชกาลที่ 6 นั้น<br />

ก็เป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงแนวพระราชดำริดังกล่าว<br />

ด้วยเหตุที่แบบศิลปสถาปัตยกรรมในรัชสมัยนั้นมีความ<br />

หลากหลายทั้งแบบไทยประเพณีและอาคารแบบตะวันตก<br />

ตลอดจนแบบอาคารพักอาศัยที่มีการผสมผสานลักษณะ<br />

ของอาคารแบบท้องถิ่นและแบบตะวันตกเข้าด้วยกัน<br />

อีกทั้งยังมีงานประเภทไทยประยุกต์ซึ่งเป็นการผสมผสานกัน<br />

ระหว่างรูปแบบสถาปัตยกรรมแบบไทยประเพณีกับ<br />

ประโยชน์ใช้สอยแบบตะวันตก เช่น โรงเรียน ที่มาพร้อมกัน<br />

and in another passage,<br />

“As for our Thai craftsmanship that now appears to<br />

have declined quite somewhat, if we look at the designs<br />

and detailing from the images that are herewith presented,<br />

we can see that the workmanship of our Thai craftsmen<br />

have been of excellent quality since ancient times. Should<br />

they be neglected and left to further decline, it would give<br />

the wrong impression that the skills of our craftsmen are<br />

poor, and that the works could only be beautiful if western<br />

methods were used. Actually, both their craftsmanship and<br />

ours are remarkable, but in different ways. That is if we<br />

were to use either method, theirs or ours, entirely. What is<br />

irritating is the incoherent combination of the two; such as<br />

an ubosot being roofed with cement tiles for instance...”<br />

The above remarks illustrate that King Rama VI’s opinion<br />

was that the value of architecture as a cultural language,<br />

lies in its capacity to convey about the nation’s civilization.<br />

He also pointed out that the discipline of traditional Thai<br />

architecture that has long existed, was being neglected in<br />

terms of its value and significance; and that both Thai and<br />

กับการปรับตัวของสังคมไทย ทั้งนี้เพื่อแสดงความเป็นไทย<br />

ที่มีความทันสมัยและสืบทอดเอกลักษณ์ของไทยที่มีมา<br />

แต่โบราณ ซึ่งเป็นงานสถาปัตยกรรมที่สะท้อนแนวคิด<br />

ชาตินิยมได้ชัดเจน อย่างไรก็ดีงานสถาปัตยกรรม<br />

รูปแบบดังกล่าวมีจำนวนน้อย เช่น หอสวดและอาคาร<br />

คณะต่างๆ (หอพัก) โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย ซึ่งสร้างขึ้น<br />

เมื่อ พ.ศ. 2458 - 2460 สถาปนิกได้แก่ พระสมิทธเลขา<br />

(ปลั่ง วิภาตะศิลปิน) ร่วมกับนายเอ็ดเวิร์ด ฮีลีย์ (Edward<br />

Healey) ส่วนตึกบัญชาการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยนั้น<br />

สร้างเมื่อ พ.ศ. 2458 สถาปนิกได้แก่ นายเอ็ดเวิร์ด ฮีลีย์<br />

นายช่างสังกัดกระทรวงธรรมการ ตัวอาคารเป็นโครงสร้าง<br />

คอนกรีตเสริมเหล็กผสมกับเครื่องก่อ (Masonry) หลังคา<br />

ทรงไทย มีองค์ประกอบที่ได้รับอิทธิพลของศิลปกรรม<br />

เขมรโบราณ นอกจากนี้แล้วก็ยังมีความก้าวหน้าด้าน<br />

วัสดุก่อสร้างที่สำคัญในรัชสมัยได้แก่ การก่อตั้งบริษัท<br />

ปูนซีเมนต์ไทยขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2456 ทำให้สามารถ<br />

ผลิตปูนซีเมนต์ขึ้นในประเทศเป็นครั้งแรก และส่งผล<br />

ให้การก่อสร้างอาคารโดยใช้โครงสร้างแบบเสา-คาน<br />

คอนกรีตเสริมเหล็กมีราคาถูกลงและเป็นที่นิยมใช้กัน<br />

มากขึ้น<br />

Western architecture are beautiful. However, architects<br />

must design with proper understanding and pay attention<br />

to appropriate use of modern materials and technology.<br />

Architectural styles during the period of Rama VI<br />

reflected the king’s views. There were many different styles,<br />

both Traditional Thai and Western styles, as well as the<br />

Applied Thai style. The latter combined Traditional Thai<br />

architecture with Western type of functions, such as schools<br />

for example, that arose out of society’s endeavor to adapt<br />

itself. This was a means of expressing a modern Thainess<br />

that still retained its past identity of olden times and quite<br />

clearly reflected the concept of Nationalism. However, there<br />

were only a few of these in number. The assembly hall<br />

and dormitories of Vajiravudh College for example, were<br />

built circa 1915 to 1917. The architects of these buildings<br />

were Phra Samidhlekha (Plang Vibhata-silpin) and Edward<br />

Healey. Healey, who was employed at Dharmakarn Ministry<br />

(of Education), was also the architect for Chulalongkorn<br />

University’s Administration Building built in 1915. This<br />

masonry building has reinforced concrete structure with<br />

189


ส่วนนายช่างสถาปนิกชาวต่างประเทศที่ทำงานมา<br />

ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 นั้นส่วนใหญ่ก็ยังรับราชการอยู่ใน<br />

สมัยรัชกาลที่ 6 เช่น นายมาริโอ ตามานโยนั้น ได้เป็น<br />

หัวหน้าสถาปนิกในกรมโยธาธิการมาตั้งแต่ พ.ศ. 2453<br />

ท่านผู้นี้ยังรับราชการตลอดมาในสมัยรัชกาลที่ 6 และ<br />

สถาปนิกชาวอิตาเลียนที่มาเริ่มรับราชการในต้นสมัย<br />

รัชกาลที่ 6 คือ นายมันเฟรดี้ (Ercole Manfredi หรือ<br />

นายเอกฤทธิ์ หมั่นเฟ้นดี) ส่วนศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี<br />

(Corrado Feroci) นั้นได้เข้ามาเริ่มรับราชการตั้งแต่<br />

พ.ศ. 2466 นอกจากนี้แล้วก็ได้เริ่มมีนักเรียนไทยที่สำเร็จ<br />

การศึกษาด้านสถาปัตยกรรมจากยุโรปกลับมารับราชการ<br />

ในกรุงเทพฯ เช่น หม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร<br />

เข้ารับราชการในกรมศิลปากร กระทรวงวัง ใน พ.ศ. 2459<br />

ส่วนพระสาโรชรัตนนิมมานก์ (สาโรช ร. สุขยางค์)<br />

ซึ่งเป็นนักเรียนทุนกระทรวงธรรมการที่ได้ทุนไป<br />

ศึกษาวิชาสถาปัตยกรรมที่มหาวิทยาลัยลิเวอร์พูลเป็น<br />

คนแรก ได้กลับเข้ามารับราชการในกระทรวงธรรมการ<br />

เมื่อ พ.ศ. 2463<br />

ดุสิตธานีใน พ.ศ. 2461 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัวได้ทรงจัดตั้งเมืองดุสิตธานีขึ้นในพระราชวังดุสิต<br />

Thai style roof displaying the influence of ancient Khmer art.<br />

An important modern construction material newly<br />

introduced at the time was cement. A Thai cement company<br />

was set up in 1913, making it possible to produce cement<br />

locally for the first time in the country. This allowed reinforced<br />

concrete post-and-beam type structure to be constructed<br />

at lower cost and thus made it increasingly popular.<br />

Most of the foreign architects that have been working<br />

in the kingdom since the time of Rama V, continued to do<br />

so into the period of succeeding reign. Mario Tamagno,<br />

who became the Chief Architect at the Ministry of Public<br />

Works in 1910 for example, served well into the time of<br />

Rama VI when, at the beginning of this new reign, Ercole<br />

Manfredi, another Italian architect, came to be employed.<br />

Then towards the end of the reign, Professor Silpa Bhirasri<br />

(Corrado Feroci - an Italian sculptor), arrived and started<br />

his commission in 1923. During the reign, Thai students of<br />

architecture who have completed their studies in Europe,<br />

began to return from abroad and started working in Bangkok.<br />

Prince Iddhidebsan Kridakara for example, began to work in<br />

และอาจกล่าวได้ว่าเป็นการทดลองเมืองประชาธิปไตย<br />

ของพระองค์ท่าน ที่จริงแล้วเมืองนี้เป็นหุ่นจำลองทั้ง<br />

ทางปฏิบัติและทางด้านกายภาพของเมือง คือนอกจาก<br />

จะเป็นการทดลองการบริหารและการปกครองทางด้าน<br />

การเมือง 16 แล้ว พระองค์ยังทรงวางผังเมืองด้วยพระองค์เอง<br />

และมีองค์ประกอบของเมืองหลายประการที่กรุงสยาม<br />

ในขณะนั้นยังไม่มี เช่น สะพานลอยข้ามแม่น้ำและ<br />

ข้ามท่อส่งน้ำของกิจการประปา เป็นต้น ภายในตัวเมือง<br />

มีอาคารประเภทต่างๆ เช่น อาคารพักอาศัย พระราชวัง<br />

อาคารราชการ เป็นต้น อาคารดังกล่าวล้วนเป็นอาคาร<br />

ซึ่งได้รับการออกแบบอย่างประณีต ทั้งนี้เพื่อเป็นการ<br />

แสดงให้เห็นถึงความเจริญของบ้านเมือง โดยสรุปแล้ว<br />

ดุสิตธานีคือ ภาพสะท้อนของเมืองในอุดมคติของสยาม<br />

ที่ทันสมัยนั่นเอง<br />

ในขณะที่ดุสิตธานีแสดงภาพของเมืองที่ทันสมัยซึ่ง<br />

ใช้ถนนเป็นเส้นทางสัญจรหลัก การพัฒนาทางกายภาพ<br />

ของกรุงเทพฯ ก็สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของชนชั้น<br />

ผู้นำซึ่งนิยมการเดินทางด้วยรถยนต์มากกว่าการใช้<br />

เส้นทางน้ำ และรัฐบาลก็ให้ความสำคัญกับระบบเครือข่าย<br />

ถนนมากกว่าดูแลคูคลอง ส่วนจำนวนรถยนต์ในกรุงเทพฯ<br />

the Department of Fine Arts, Ministry of the Palace in 1916<br />

whilst Phra Saroj Rattananimman (Saroj R. Sukhyang) who<br />

received a Ministry of Dharmakarn (Education) scholarship<br />

to study architecture at the University of Liverpool, was<br />

the first graduate to have returned and served under the<br />

Ministry in 1920.<br />

Dusit Thani<br />

In the year 1918, Rama VI initiated the construction<br />

of Dusit Thani City within the grounds of Dusit Royal Palace.<br />

This can be viewed as his experiment in exercising a<br />

democratic city, and was in fact a simulation city in terms<br />

of both operational and physical aspects. In other words,<br />

apart from experimenting with ruling and political governing<br />

systems,16 the king himself also laid out the plan of the city<br />

which included components that Siam did not have prior<br />

to that, such as bridges that crossed over the river and<br />

water ducts for example. The city also contained various<br />

types of buildings such as residential buildings, palaces and<br />

government buildings, among others, that were carefully<br />

designed as an exemplification of a developed society.<br />

190


ก็เพิ่มจำนวนมากขึ้นเป็นสองเท่าจาก 251 คันในสมัย<br />

รัชกาลที่ 5 เป็น 528 คัน ใน พ.ศ. 2455 ส่วนรถลากซึ่ง<br />

คนกรุงเทพฯ นิยมใช้กันมากนั้นมีจำนวนถึง 2,698 คัน<br />

ในช่วงต้นรัชกาล และเมื่อ Somerset Maugham<br />

นักเขียนชาวอังกฤษเข้ามาเยือนกรุงเทพฯ ใน พ.ศ.<br />

2468 นั้น เขามีความเห็นว่าเมืองหลวงของสยามมี<br />

ลักษณะที่ “...แปลก ขาดความลุ่มลึก และยุ่งเหยิง...”<br />

แต่ Maugham ก็ยังแสดงความชื่นชมความมีสีสันและ<br />

ความโดดเด่นแปลกตาของบรรดาวัดวาอารามต่างๆ ใน<br />

กรุงเทพฯ ด้วย<br />

อนึ่ง “ความยุ่งเหยิง” ตามทัศนะของ Maugham นั้น<br />

น่าจะหมายถึงการสัญจรไปมาบนท้องถนนในกรุงเทพฯ<br />

ซึ่งไม่ค่อยมีระเบียบ และส่อให้เห็นถึงการขัดแย้งกันของ<br />

การใช้ชีวิตแบบวิถีไทยที่มีลักษณะการดำรงชีวิตที่ผ่อน<br />

คลาย (แบบชาวบ้าน) มีความเคยชินกับการพึ่งพาครรลอง<br />

ของธรรมชาติและการใช้ทางน้ำเป็นเส้นทางสัญจรหลัก<br />

กับการใช้ชีวิตแบบคนเมืองในเมืองที่ปรับตัวเข้าสู่ความ<br />

ทันสมัยซึ่งใช้เครือข่ายถนนเป็นเส้นทางสัญจรหลัก และ<br />

ต้องการการมีส่วนร่วมในการรักษาระเบียบวินัยของ<br />

คนเมืองตลอดจนการมีกฎหมายควบคุมการจราจรที่<br />

Thus Dusit Thani was therefore intended to reflect the<br />

ideal image of a modern Siamese society.<br />

While Dusit Thani presented the image of a modern<br />

city with streets as the major means of communication,<br />

the growth and development of Bangkok also reflected<br />

the preference of the elite to use cars for transportation<br />

rather than by means of waterways. The government<br />

also gave more importance to road networks instead of<br />

the maintenance of rivers and canals. The number of<br />

automobiles in Bangkok doubled from 251 in the period<br />

of Rama V, to 582 in the year 1912, while the number of<br />

rickshaws that were popular among the people of Bangkok,<br />

amounted to 2,698 vehicles by the beginning of the new<br />

reign. The British writer W. Somerset Maugham who<br />

came to Bangkok in 1925, expressed his opinion about<br />

the capital city of Siam as being a “strange, flat, confused<br />

city” but admired its colorful and strikingly exotic temples.<br />

By “confused”, Maugham was probably referring to traffic<br />

on the streets of Bangkok which was disorderly and on the<br />

whole, appeared to be incongruous with the Thai way of<br />

มีประสิทธิภาพตามที่ใช้กันอยู่ในโลกตะวันตก<br />

พระราชวัง การออกแบบพระราชวังตั้งแต่สมัย<br />

รัชกาลที่ 6 เป็นต้นไป การวางผังบริเวณจะไม่เน้น<br />

เรื่องการแบ่งเขตพระราชฐาน และการจัดวางตำแหน่ง<br />

ของพื้นที่ใช้สอยบริเวณที่ประทับของพระมหากษัตริย์<br />

เรียงกันตามแนวแกนอย่างเคร่งครัดในเชิงประเพณี<br />

อย่างที่เป็นมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 แต่ให้ความสำคัญ<br />

กับการจัดประโยชน์ใช้สอยตามแบบที่ควรจะเป็นในทาง<br />

สถาปัตยกรรม และการจัดวางตำแหน่งของตัวอาคารให้<br />

สอดคล้องกับสภาพภูมิอากาศตลอดจนเพื่อความสะดวก<br />

สบายในการพักอาศัยเป็นหลัก<br />

พระราชวังพญาไท เป็นพระราชวังที่สำคัญที่สุดใน<br />

สมัยรัชกาลที่ 6 และเป็นพระราชมณเฑียรเพียงแห่งเดียว<br />

ที่มีองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมแบบเรือนยอดที่<br />

มีนัยเป็นสัญลักษณ์ของสถาบันกษัตริย์อยู่ในพระราชวัง<br />

พระราชวังพญาไทเริ่มก่อสร้างตั้งแต่ พ.ศ. 2452<br />

ในสมัยรัชกาลที่ 6 เมื่อ พ.ศ. 2462 โปรดเกล้าฯ ให้<br />

รื้อตำหนักที่สร้างตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 เหลือไว้เพียง<br />

พระที่นั่งเทวราชสภารมย์ และโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง<br />

พระที่นั่งเพิ่มขึ้นอีก 5 องค์ รวมเป็นพระที่นั่งทั ้งสิ้น<br />

life. Specifically, the relaxed lifestyle, accustomed to living<br />

with nature and relying on waterways as the major routes<br />

for transportation, was in contrast with the modern urban<br />

way of life that rely on roads as the main transportation<br />

routes and require people to have discipline in addition<br />

to having effective traffic control measures like those in<br />

western countries.<br />

Royal Palaces<br />

In the design of palaces from the time of Rama VI<br />

onwards, the site plan did not give importance to defining<br />

the royal quarters and organizing spaces along the axes<br />

as strictly as had been in the past since the time of Rama<br />

I. Instead, there were more concerns with organizing<br />

spaces according to their uses and orientating buildings<br />

in appropriate directions with regards to the climate, so<br />

as to provide functional ease and comfort.<br />

Phayathai Palace was the most important royal<br />

palace in the period of Rama VI and was the only palatial<br />

compound to have architectural buildings with a certain<br />

roof style to symbolize the monarchy.<br />

191


จำนวน 6 องค์ โดยมีพระที่นั่งพิมานจักรี เป็นพระที่นั่ง<br />

องค์ประธาน มีหอสูง 17 ยอดแหลม (Spired Tower) อยู่<br />

ที่มุมพระที่นั่งด้านทิศตะวันออก ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ<br />

เรือนยอด (Spired Building) แทนที่อาคารที่มีหลังคา<br />

แบบเรือนยอด (Spired Superstructure) เช่น หลังคา<br />

ยอดมณฑป ซึ่งเป็นสัญลักษณ์เชิงประเพณีของที่ประทับ<br />

ในพระมหากษัตริย์ เช่น ยอดมณฑปของพระที่นั่งจักรี<br />

มหาปราสาท เป็นต้น<br />

สถาปนิกผู้รับผิดชอบในการออกแบบได้แก่ นาย<br />

มาริโอ ตามานโย ผู้ซึ่งมีตำแหน่งเป็นหัวหน้าสถาปนิกใน<br />

กรมโยธาธิการ ลักษณะโดยรวมของพระราชวังสะท้อน<br />

ความเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทันสมัย หลีกเลี่ยงภาพ<br />

ของมิติเชิงประเพณี โครงสร้างอาคารเป็นเสา-คาน<br />

คอนกรีตเสริมเหล็ก ซึ่งทำให้สามารถสร้างช่องเปิด<br />

สำหรับระบายอากาศได้ดี หลังคาทรงปั้นหยา ลักษณะ<br />

ภายนอกเรียบเกลี้ยงไม่มีลวดลายตกแต่งที่ซับซ้อนใดๆ<br />

ส่วนการตกแต่งภายในพระที่นั่งพิมานจักรีนั้น<br />

ค่อนข้างเรียบง่าย มีการตกแต่งด้วยภาพเขียนสี<br />

ประดับตามเพดานและส่วนบนของผนังเป็นลวดลาย<br />

พรรณพฤกษาและภาพพญามังกร อันเป็นสัญลักษณ์<br />

Construction of the palace began in 1909. In 1919,<br />

the king ordered all buildings built in the period of Rama V<br />

be taken down except for Phra Thinang Devaraj Sabharom<br />

Hall, and build five new buildings, thus totaling six altogether,<br />

with Phra Thinang Phiman Chakri as the Main Hall. The<br />

Hall has a spired turret 17 on the east corner of the building<br />

to represent a building with spired superstructure as in<br />

the past, such as Chakri Maha Prasat Throne Hall with<br />

the mondop style roof that was normally used as the<br />

traditional iconographic symbol to indicate the monarch’s<br />

place of residence.<br />

The architect responsible for the design of Phiman<br />

Chakri was Mario Tamagno who was the Chief Architect of<br />

the Ministry of Public Works. The overall design projected<br />

the image of a modern king by avoiding any allusions to<br />

traditional elements. The hipped roof building used reinforced<br />

concrete post-and-beam type structure and therefore many<br />

openings can be placed to allow proper ventilation while<br />

the exterior facades were kept plain and simple without<br />

elaborate ornamentations. The interior decoration of the<br />

ของปีพระราชสมภพ ลวดลายดังกล่าวเขียนขึ้นในแบบ<br />

อาร์ต นูโว ซึ่งเป็นนัยทางศิลปะหมายถึงความทันสมัย<br />

พระที่นั่งในพระราชวังพญาไทที่แสดงให้เห็นถึง<br />

คุณภาพของงานออกแบบสถาปัตยกรรมที่สร้างสรรค์โดย<br />

สถาปนิกชาวอิตาเลียนได้แก่ พระที่นั่งเทวราชสภารมย์<br />

ซึ่งสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2462 เพื่อใช้เป็นท้องพระโรง<br />

ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระพันปีหลวงยังทรงพระชนม์ชีพอยู่<br />

ต่อมาเมื่อสมเด็จพระราชชนนีสิ้นพระชนม์ลงจึงได้<br />

โปรดเกล้าฯ ให้ใช้เป็นท้องพระโรงสำหรับประกอบ<br />

พระราชพิธีหรือใช้เป็นโรงละครตามแต่โอกาส สถาปนิก<br />

ได้แก่ นายมาริโอ ตามานโย ผังเป็นแบบ Latin Cross<br />

มีหลังคาโดมคลุมตรงจุดตัดกันของกากบาท โครงสร้าง<br />

โดยทั่วไปเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก หลังคามุงด้วยตะกั่ว<br />

บริเวณพนักระเบียง หูช้างประดับเสาและชายคา<br />

ล้วนตกแต่งด้วยลวดลายฉลุ ภายในอาคารตกแต่ง<br />

ด้วยภาพเขียนลวดลายพรรณพฤกษาแบบอาร์ต นูโว<br />

ผสมผสานกับรูปคน<br />

พระราชวังสนามจันทร์เป็นพระราชวังที่พระบาทสมเด็จ<br />

พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นที่จังหวัด<br />

นครปฐมตั้งแต่ราว พ.ศ. 2450 เป็นต้นมา และเป็นที่<br />

building was also relatively plain with images painted on<br />

the ceiling, and mural paintings of foliage and dragons<br />

on the upper part of the wall representing the year of the<br />

king’s birth designed in the style of Art Nouveau so as to<br />

convey the image of modernity.<br />

Another building at Phayathai Palace that exhibited<br />

quality creative design by the Italian architect Tamagno was<br />

Phra Thinang Devaraj Sabharom. Built in 1919, it served<br />

as the audience hall at the time when Somdej Phra Sri<br />

Bajarindra the Queen Mother (Queen Saovabha Phongsri)<br />

was still alive. After she had passed away, the hall was used<br />

for royal ceremonies and as a theatre on occasions. The<br />

architect designed the plan in the shape of a Latin cross<br />

with a domed roof over the central space where the arms<br />

intersect. The reinforced concrete structure was roofed<br />

with lead tiles while balustrades on the veranda, corner<br />

brackets on posts, and eaves of roofs were decorated<br />

with perforated sawn-timber work. The interior was also<br />

decorated with floral patterns and images of people painted<br />

in the Art Nouveau style.<br />

192


ประทับมาตั้งแต่ยังทรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระยุพราช<br />

ทั้งยังได้ก่อสร้างหรือซ่อมแซมมาตลอดรัชสมัย นับเป็น<br />

พระราชฐานในหัวเมืองซึ่งเป็นที่โปรดปรานมากที่สุด<br />

ผังบริเวณของพระราชวังสนามจันทร์มีลักษณะคล้าย<br />

สี่เหลี่ยมผืนผ้า มีแนวแกนหลักคือ แกนตะวันออก-<br />

ตะวันตก เป็นแกนเชื่อมตัวสถาปัตยกรรมคือพระที่นั่ง<br />

พิมานปฐม ซึ่งเป็นที่ประทับกับองค์พระปฐมเจดีย์<br />

สะท้อนความผูกพันที่ลึกซึ้งระหว่างพระบาทสมเด็จ<br />

พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวกับองค์พระปฐมเจดีย์ดังที่ได้<br />

ทรงมีพระราชหัตถเลขาใน พ.ศ. 2453 ว่า “ในรัชกาล<br />

ที่ 5 ฉันได้ออกไปพักอยู่ที่นครปฐมบ่อยๆ จึงได้ใฝ่ใจใน<br />

องค์พระนั้นมากแต่นั้นมา”<br />

องค์ประกอบที่สำคัญของผังบริเวณพระราชวัง<br />

สนามจันทร์ได้แก่ ถนน ลำคู สะพาน และอาคารต่างๆ<br />

โดยมีถนนเป็นเส้นทางสัญจรหลักภายในพระราชวัง<br />

ส่วนการจัดการเรื่องน้ำนั้นก็นับได้ว่าเป็นจุดเด่นของ<br />

พระราชวังแห่งนี้ โดยมีหนองอ้อซึ่งเป็นหนองน้ ำขนาดใหญ่<br />

อยู่ทางทิศตะวันตกทำหน้าที่เป็นบ่อกักน้ำ จากหนองอ้อ<br />

มีการขุดทางน้ำเป็นลำคูรูปร่างคล้ายสี่เหลี่ยมผืนผ้าเป็น<br />

เส้นทางนำน้ำเข้าไปยังส่วนต่างๆ ของพระราชวัง ลำคู<br />

Sanam Chandra Palace was the palace that Rama<br />

VI ordered built in Nakorn Pathom province from around<br />

1907 onwards, and was his royal residence since the time<br />

when he was still heir apparent. The palace had been under<br />

constant construction and repair throughout his reign and<br />

was his most favorite rural residence.<br />

The compound has an almost rectangular shape with<br />

the main axis being the east-west axis on which Phra<br />

Thinang Phiman Pathom royal residence is aligned with<br />

Phra Pathom Chedi pagoda. This reflected the profound<br />

attachment that the king had with the pagoda, and is evident<br />

from his writing in 1910 expressing that “During the period<br />

of King Rama V, I have often retired to Nakorn Pathom<br />

and thus have been attached to this pagoda ever since.”<br />

The important features of the palace’s site plan are the<br />

roads, the moat, the bridge and the various buildings, with<br />

roads as the main paths for circulation. Water management<br />

is also a remarkable aspect of this site plan. There is a<br />

large pond on the west serving as a reservoir and from the<br />

pond, trenches were dug to create canal-like moat that<br />

ดังกล่าวยังทำหน้าที่สำคัญอีกประการหนึ่งก็คือการแบ่ง<br />

เขตพระราชวังออกเป็นเขตพระราชฐานชั้นในและ<br />

เขตพระราชฐานชั้นนอก<br />

สถาปัตยกรรมพักอาศัย สถาปัตยกรรมพักอาศัย<br />

ในพระราชวังมี 2 กลุ่ม ได้แก่ พระราชมณเฑียร และ<br />

อาคารที่พักข้าราชบริพาร<br />

พระราชมณเฑียร คือพระที่นั่งและตำหนักที่ประทับ<br />

ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีทั้ง<br />

อาคารแบบไทยประเพณีและแบบตะวันตก<br />

อาคารแบบไทยประเพณี ได้แก่ พระที่นั่งวัชรีรมยา<br />

ใช้เป็นที่ประทับและทรงพระอักษร พระที่นั่งสามัคคี<br />

มุขมาตย์ เดิมเป็นโรงละครและได้ปรับปรุงให้เป็น<br />

พระที่นั่งเมื่อ พ.ศ. 2455 ใช้เป็นท้องพระโรงสำหรับ<br />

ออกขุนนาง พระที่นั่งปาฏิหาริย์ทัศนัย ใช้เป็นที่ประทับ<br />

เพื่อทอดพระเนตรองค์พระปฐมเจดีย์ ส่วนพระตำหนัก<br />

ทับขวัญนั้นเป็นพระตำหนักแบบหมู่เรือนไทยเดิม<br />

สร้างด้วยไม้สักทอง แต่เดิมหลังคามุงจาก<br />

อาคารแบบตะวันตก ได้แก่ พระที่นั่งพิมานปฐม<br />

พระที่นั่งอภิรมย์ฤดี พระตำหนักชาลีมงคลอาสน์<br />

พระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์ และพระตำหนักทับแก้ว<br />

runs in a near-rectangular course. Apart from channeling<br />

water to different parts of the compound, it also serves as<br />

the boundary between the inner zone and the outer zone.<br />

Residential Buildings: There are two categories of<br />

residences on the compound – the ones in the royal<br />

quarters, and those in the attendants’ quarters.<br />

The royal quarters consist of a number of Phra Thinang,<br />

the king’s residence, and residences of the royal family,<br />

that are in both Traditional Thai and European styles.<br />

Traditional Thai style buildings are Phra Thinang<br />

Vatcharee Romya which served as the king’s study and<br />

drawing room, Phra Thinang Samakhi Mukhamataya –<br />

formerly a theatre playhouse which was later turned into<br />

a Phra Thinang in 1912 to serve as the audience hall for<br />

receiving ranking officials, Phra Thinang Patihan Dhassanai<br />

– where the king retired to contemplate on the pagoda,<br />

and Thab Khwan mansion – a group of traditional Thai<br />

style houses built of golden teakwood that originally had<br />

thatched roofs.<br />

European style buildings are Phra Thinang Phiman<br />

193


พระที่นั่งพิมานปฐม เป็นพระที ่นั่งองค์แรกที่ได้<br />

โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2450 และได้มี<br />

พระราชพิธีสมโภชพระที่นั่งเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์<br />

พ.ศ. 2456 พระที่นั่งองค์นี้มีลักษณะเป็นอาคาร 2 ชั้น<br />

แบบตะวันตก ซึ่งเน้นการออกแบบอาคารให้ภายในมี<br />

ความโปร่งสบายเพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะภูมิอากาศ<br />

ในประเทศไทย โดยได้วางผังให้ห้องต่างๆ ได้รับลมจาก<br />

แนวทิศตะวันตกเฉียงใต้ให้ได้มากที่สุด โครงสร้างเป็น<br />

คอนกรีตเสริมเหล็ก มุงกระเบื้องซีเมนต์ พระที่นั่งชั้นบน<br />

มีห้องต่างๆ เช่น ห้องบรรทม ห้องสรง ห้องภูษา ห้องเสวย<br />

และห้องพระ เป็นต้น ผนังห้องชั้นบนเดิมเป็นผนังไม้และ<br />

ได้เปลี่ยนเป็นผนังคอนกรีตใน พ.ศ. 2456 พระที่นั่งองค์นี้<br />

ใช้เป็นที่ประทับ เสด็จออกขุนนาง และเป็นที่รับแขกเมือง<br />

มากกว่าพระที่นั่งและตำหนักองค์อื่นๆ<br />

พระที่นั่งอภิรมย์ฤดี เป็นพระที่นั่งแบบตะวันตก<br />

สูง 2 ชั้น ลักษณะทางสถาปัตยกรรมคล้ายคลึงกันกับ<br />

พระที่นั่งพิมานปฐมแต่มีขนาดเล็กกว่า และสร้างเชื่อมต่อ<br />

กับพระที่นั่งพิมานปฐมไปทางทิศใต้ การวางผังเน้นใน<br />

การรับลมตะวันตกเฉียงใต้เช่นเดียวกัน<br />

พระตำหนักชาลีมงคลอาสน์และพระตำหนักมารีราช<br />

รัตบัลลังก์ เป็นกลุ่มพระตำหนักสองหลังมีสะพานเชื่อม<br />

ต่อกัน ออกแบบโดยหม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร<br />

สร้างขึ้นราว พ.ศ. 2458 และ พ.ศ. 2459 ตามลำดับ<br />

พระตำหนักชาลีมงคลอาสน์มีรูปทรงคล้ายปราสาท<br />

ขนาดเล็ก เป็นงานสถาปัตยกรรมแบบโรมันติกซึ่งมี<br />

อิทธิพลอยู่ในยุโรปโดยเฉพาะในประเทศอังกฤษใน<br />

ราวคริสต์ศตวรรษที่ 19 พระตำหนักองค์นี้มีลักษณะ<br />

ทางสถาปัตยกรรมที่ผสมผสานกันระหว่างลักษณะของ<br />

ปราสาทแบบเรอเนอซองส์ของฝรั่งเศสยุคต้นและบาง<br />

ส่วนได้รับอิทธิพลของอาคารแบบฮาล์ฟทิมเบอร์ (Half<br />

Timber) ของอังกฤษ<br />

ลักษณะของพระตำหนักเป็นตึกสูง 2 ชั้น ทาสีไข่ไก่<br />

หลังคามุงกระเบื้องสีแดง ชั้นบนมีห้อง 2 ห้องเช่น<br />

เดียวกันกับชั้นล่าง ทั้งชั้นบนและชั้นล่างมีระเบียง<br />

โดยรอบ ด้านหน้ามีอนุสาวรีย์ย่าเหล ซึ่งเป็นสุนัขทรงเลี้ยง<br />

ที่ได้ทรงมีความโปรดปรานเป็นพิเศษ ดังที่ได้ทรง<br />

พระราชนิพนธ์บทกลอนไว้อาลัยถึงย่าเหลในจารึกที่<br />

อนุสาวรีย์ตอนหนึ่งว่า<br />

Pathom, Phra Thinang Abhirom Ruedi, Charlie Mongkol<br />

Asana, Marie Rajratta Banlang, and Thab Kaew mansions.<br />

Phra Thinang Phiman Pathom was the first of the<br />

Phra Thinang that Rama VI had ordered built in 1907 and<br />

was inaugurated on February 22, 1915. This two-storeyed<br />

building in the European style has relatively open and<br />

spacious interior suited to the local climate with rooms<br />

arranged to receive as much southwesterly wind as possible.<br />

The structure of the building is reinforced concrete and<br />

roofed with cement tiles. The upstairs rooms such as the<br />

bed-chamber, bathroom, dressing room, dining room and<br />

Buddha room, originally had wooden walls but were later<br />

replaced by concrete in 1915. This building served as<br />

the king’s quarter and used for giving audiences as well<br />

as receiving royal guests, more than the other buildings.<br />

Phra Thinang Abhirom Ruediis also a two-storeyed<br />

European style building similar to Phra Thinang Phiman<br />

Pathom but smaller in size and connected to the latter on<br />

the south side. It is also orientated in the same direction<br />

to receive southwesterly wind.<br />

Charlie Mongkol Asana and Marie Rajratta Banlang<br />

mansions are connected to each other by a bridge. Designed<br />

by Prince Iddhidebsan Kridakara, the mansions were built<br />

around 1917 and 1918 respectively. The former resembles<br />

a small castle in the Romantic style that was prevalent<br />

in Europe, especially England, around the nineteenth<br />

century. This building displays certain characteristics that<br />

are a combination of a castle in the style of Early French<br />

Renaissance and the influence of English half-timber<br />

construction. The cream colored building is two storeys high<br />

and roofed with red tiles. The upper floor has two rooms as<br />

with the lower floor, and surrounded by verandas on both<br />

levels. In front of the house, is a memorial to Jarlet, the<br />

king’s favorite pet dog, inscribed at the base with poetic<br />

royal sentiments that said “Like a friend indeed who to<br />

me was truly faithful.”<br />

Marie Rajratta Banlang on the other hand, is a<br />

two-storeyed European style timber building built of<br />

teakwood and painted reddish brown with high pitched<br />

hip roof clad with diamond-shaped tiles. The flooring on<br />

194


“เพื่อนเป็นเยี่ยงอย่างมิตรสนิทยิ่ง<br />

ภักดีจริงต่อกูอยู่เต็มที่”<br />

พระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์ พระตำหนักองค์นี้<br />

มีลักษณะเป็นเรือนไม้แบบตะวันตก โดยใช้ไม้สักสร้าง<br />

เป็นเรือนสองชั้นทาสีแดง หลังคาทรงปั้นหยายกจั่วสูง<br />

มุงกระเบื้องว่าว พื้นชั้นล่างปูกระเบื้อง พื้นชั้นบนเป็นไม้<br />

มีเสากลมและแกะสลักไม้ลวดลายเป็นแบบนีโอคลาสสิค<br />

พระตำหนักองค์นี้เคยเป็นที่ประทับของสมเด็จพระนางเจ้า<br />

อินทรศักดิศจี พระวรราชชายา และพระสุจริตสุดา<br />

ในช่วงปลายรัชกาล และได้มีการเดินสายไฟฟ้าและ<br />

ต่อท่อน้ำในราว พ.ศ. 2466 อีกด้วย<br />

สะพานข้ามคูคลองซึ่งเชื่อมระหว่างชั้นบนทาง<br />

ด้านหลังของพระตำหนักชาลีมงคลอาสน์ไปยังชั้นบน<br />

ด้านหน้าของพระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์นั้นเป็น<br />

สะพานโครงสร้างไม้แบบโครงถัก ด้านทิศตะวันออก<br />

และทิศตะวันตกของตัวสะพานกั้นผนังยาวและติด<br />

บานกระจกโดยตลอด ตรงกลางสะพานสร้างเป็นหอ<br />

รูปแปดเหลี่ยมและยกส่วนหลังคาส่วนนี้ให้สูงขึ้นเล็กน้อย<br />

จากหอนี้สามารถมองเห็นองค์พระได้อย่างชัดเจน<br />

the lower level is laid with tiles while the upper level is of<br />

timber and has round fluted columns in the Neo-Classic<br />

style. This building was once the residence of Somdej Phra<br />

Nangchao (Queen) Indrasakdi Sachi and Phra Sucharit<br />

Suda the Royal Consort, late in the reign. Electricity cables<br />

and water pipes were later installed around 1925.<br />

Marie Rajratta Banlang and Charlie Mongkol Asana<br />

are connected to each other by a bridge at the upper level.<br />

The bridge is built of timber using wooden truss structure<br />

and is enclosed along the entire length with openings at<br />

intervals on both east and west facing sides. At the middle<br />

of the bridge there is an octagonal-shaped structure with<br />

slightly raised roof, and from this position, the pagoda of<br />

Phra Pathom Chedi is clearly visible.<br />

These two mansions, together with the Jarlet memorial,<br />

relate an account of the affection between true friends, while<br />

the namesake “Jarlet” came from the play “My Friend Jarlet”<br />

written by the British playwrights A. Goldsworthy and E.B.<br />

Norman. In the play, Jarlet (alias Charlie) sacrificed his life<br />

so that his daughter, Marie Leroux, could marry his friend<br />

กลุ่มพระตำหนักชาลีมงคลอาสน์ พระตำหนักมารี<br />

ราชรัตบัลลังก์ รวมทั้งอนุสาวรีย์ย่าเหล เป็นกลุ่มอาคาร<br />

และอนุสรณ์สถานที่แสดงให้เห็นถึงความเป็นมิตรแท้ หรือ<br />

Jarlet ซึ่งล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 6 ทรงนำนามนี้มาจาก<br />

บทละครเรื่อง My Friend Jarlet ของ A.Golsworthy<br />

และ E.B.Norman นักเขียนบทละครชาวอังกฤษ<br />

ในบทละครดังกล่าว Jarlet (ย่าเหล) หรือชาลี เป็น<br />

พ่อผู้ยินยอมสละชีวิตเพื่อให้มารี (Marie Leroux ลูกสาว)<br />

และปอล (Paul เพื่อนพ่อ) ได้แต่งงานกัน<br />

การจัดระเบียบองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม<br />

อันได้แก่ พระตำหนักชาลีมงคลอาสน์ อนุสาวรีย์ย่าเหล<br />

พระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์ สะพานเชื่อมตำหนัก<br />

ล้วนมีความสัมพันธ์ระหว่างกันทางกายภาพ ทั้งยังมี<br />

สาระที่เข้ากันได้ดีกับเนื ้อเรื่องของบทละครที่ให้คุณค่า<br />

ความสำคัญกับความเป็น “มิตร” ทั้งในด้านของความ<br />

เป็นมิตรในเรื่องระหว่างพ่อกับลูกสาว และความเป็นมิตร<br />

ระหว่างเพื่อน<br />

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรง<br />

พระนิพนธ์บทละครเรื่องนี้เป็นภาษาไทยชื่อว่า “มิตรแท้”<br />

และได้ทรงจัดแสดงละครดังกล่าวขึ้นถึง 3 ครั้ง ครั้งแรก<br />

Paul. The four components of this architectural composition<br />

which are Charlie Mongkol Asana, Jarlet monument, Marie<br />

Rajratta Banlang and the bridge, have been interwoven into<br />

a relationship that was cleverly translated into architecture<br />

and gave value to the meaning of “friendship” between<br />

friends as well as between father and daughter. It can<br />

be said that this group of buildings is a reflection of the<br />

king’s deep passion for literature and drama, the strong<br />

affection he had for his true friend Jarlet the dog, and his<br />

interpretation of the meaning of “True Friend”.<br />

King Rama VI had also written the play in Thai with<br />

the title “Mitr Tae” or True Friends, and had it performed<br />

three times. The first time was in 1897 at Parc des<br />

Eaux Vivres, by Lake Geneva in Switzerland where he<br />

resided for a period of time, when it was performed on<br />

the occasion of the royal visit of his father, King Rama V.<br />

In this performance, he played the part of Marie Leroux.<br />

The second performance was held in St. Petersburg, and<br />

the third at Sanam Chandra Palace on March 11, 1921.<br />

Thab Kaew Mansion, another building in the European<br />

195


ใน พ.ศ. 2440 ทรงจัดแสดง ณ พระตำหนัก Parc des<br />

Eaux Vivres ซึ่งเป็นพระตำหนักชั่วคราวริมทะเลสาบ<br />

เจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ในโอกาสที่ได้ทรง<br />

จัดงานรื่นเริงถวายสมเด็จพระบรมชนกนาถ ในครั้งนี้ได้<br />

ทรงแสดงเป็นตัว “มารี เลอรูส์” ต่อมาได้ทรงแสดง<br />

อีกครั้งหนึ่งที่กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบอร์ก และยังได้ทรง<br />

จัดแสดง ณ พระราชวังสนามจันทร์ ในวันที่ 11 มีนาคม<br />

พ.ศ. 2464 อีกด้วย<br />

กลุ่มอาคารและอนุสรณ์สถานนี้จึงเป็นสิ่งที่สะท้อน<br />

ให้เห็นถึงพระอุปนิสัยส่วนพระองค์ที่สำคัญ คือ ความรัก<br />

ในวรรณกรรมและการละคร และความรักความผูกพันที่<br />

ทรงมีต่อ “มิตรแท้” ของพระองค์คือ “ย่าเหล” นอกจากนี้<br />

ก็ยังสะท้อนให้เห็นถึงโลกทัศน์ของพระองค์ที่ทรงมีต่อ<br />

ความหมายของคำว่า “มิตรแท้” อีกด้วย<br />

พระตำหนักทับแก้ว สร้างขึ้นราว พ.ศ. 2457 อยู่<br />

ตรงเชิงสะพานสุนทรถวาย ลักษณะเป็นตึกสองชั้น<br />

แบบตะวันตก หลังคาจั่ว ภายในมีเตาผิงและปล่องไฟ<br />

พระตำหนักองค์นี้เมื่อออกแบบครั้งแรกเป็นตึกชั้นเดียว<br />

ยกใต้ถุนไม่สูงนัก ต่อมาได้มีการแก้ไขแบบให้เป็นตึกสองชั้น<br />

พระตำหนักทับแก้วมีลักษณะภายในที่ค่อนข้างทึบเหมาะ<br />

style, was built around 1914. This two-stroreyed building<br />

at the foot of Sunthorn Thawai Bridge with gabled roof<br />

and chimney, also has a fireplace inside. The building<br />

was originally designed as a slightly raised single storey<br />

building, but was later redesigned to have two storeys with<br />

the appearance of being rather enclosed in response to<br />

the intention of being a winter residence.<br />

The courtiers’ and close royal attendants’ quarters<br />

consist of teakwood houses, each with rooms arranged<br />

all under one roof so that they are easily accessed by<br />

corridors, and may also have internal water-closets. Some<br />

of the bigger houses have a large central space that can<br />

be used to hold parties or other entertaining functions.<br />

This type of planning was clearly influenced by western<br />

style spatial organization. Nevertheless, these buildings<br />

have also incorporated certain characteristics of tropical<br />

houses into their designs such as the first floor being raised<br />

high, the steep-pitched roofs, high ceilings, and ventilation<br />

openings above doors and windows for example. The<br />

size of these houses vary from large, having an area of<br />

สำหรับเป็นที่พักในฤดูหนาว<br />

เรือนที่พักข้าราชบริพารระดับสูงหรือผู้ใกล้ชิดเบื้อง<br />

พระยุคลบาท เรือนเหล่านี้เป็นเรือนซึ่งสร้างขึ้นด้วยไม้<br />

สัก มีการวางผังให้ห้องต่างๆ สามารถติดต่อกันได้อย่าง<br />

สะดวก โดยที่ห้องต่างๆ เหล่านั้นจะอยู่ภายใต้หลังคา<br />

เดียวกัน มีระเบียงทางเดินเป็นตัวเชื่อมต่อห้องต่างๆ<br />

เรือนบางเรือนมีห้องน้ำอยู่บนตัวเรือน เรือนขนาดใหญ่<br />

บางเรือนมีห้องโถงใหญ่อยู่ตรงกลางเพื่อใช้เป็นที่จัดเลี้ยง<br />

หรือจัดงานรื่นเริงต่างๆ<br />

การจัดผังดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลในการ<br />

วางผังอาคารพักอาศัยแบบตะวันตก แต่ถึงอย่างไรก็ตาม<br />

กลุ่มเรือนดังกล่าวก็ยังได้ผสมผสานลักษณะของบ้าน<br />

ในบริเวณเมืองร้อนชื้นเอาไว้ คือเป็นบ้านชั้นเดียว<br />

ยกใต้ถุนสูง มีหลังคาชัน เพดานสูง มีช่องระบายอากาศ<br />

เหนือบานประตู-หน้าต่าง เรือนพักเหล่านี้มีขนาดต่างๆ กัน<br />

เรือนที่ใหญ่ที่สุดมีขนาดประมาณ 400 ตารางเมตร<br />

เรือนขนาดกลางมีขนาดประมาณ 200 ตารางเมตร<br />

ส่วนเรือนขนาดเล็กมีขนาดประมาณ 80-100 ตารางเมตร<br />

เรือนที่พักเหล่านี้มักจะมีมุขหน้ายื่นออกมา ทั้งนี้เพื่อเน้น<br />

ด้านหน้าของตัวเรือนให้มีความสง่างาม<br />

approximately 400 square meters, to medium, roughly 200<br />

square meters, and small, around 80-100 square meters.<br />

The front of the houses generally have a bay projecting<br />

outwards to give added charm.<br />

The architectural characteristics of these residences<br />

not only exhibit the integration of western style houses<br />

with local style, but also reflect western influence on the<br />

lifestyle of people in the upper social echelon. All the houses<br />

were given names by the king, mostly with names that<br />

were inspired by names of Hindu gods and goddesses.<br />

About ten of these residences still exist, but only a few<br />

shall be mentioned here.<br />

Phra Nandikarn House is a single storey teakwood<br />

house with the floor raised above ground on plaster<br />

veneered brick piles, and has gable roof. The floor area<br />

is approximately 400 square meters, and is therefore<br />

considered to be a large house. The building faces north,<br />

has a big central hall surrounded by corridors with rooms<br />

facing east and west, and has an internal bathroom. The<br />

house is spacious and the decorations are mostly just<br />

196


ลักษณะทางสถาปัตยกรรมของกลุ่มเรือนที ่พัก<br />

เหล่านี้เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงการบูรณาการแบบบ้าน<br />

พักอาศัยแบบตะวันตกและแบบท้องถิ่น ทั้งยังแสดงให้<br />

เห็นถึงอิทธิพลของตะวันตกในการดำรงชีวิตของบุคคล<br />

ชั้นสูงในสังคมไทยอีกด้วย<br />

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้<br />

พระราชทานนามให้แก่เรือนที่พักดังกล่าวทุกเรือน ส่วนใหญ่<br />

เป็นนามที่ตั้งขึ้นตามชื่อของเทพเจ้าฮินดู เรือนเหล่านี้<br />

ปัจจุบันยังคงมีเหลืออยู่ในพระราชวังสนามจันทร์ราว<br />

สิบกว่าหลัง ในที่นี้จะขอกล่าวถึงเพียงบางเรือน ดังนี้<br />

เรือนพระนนทิการ เป็นเรือนไม้สักชั้นเดียว<br />

ยกใต้ถุนสูง เสาตอม่อก่ออิฐฉาบปูน หลังคาทรงจั่ว<br />

มะนิลา (Gable) มีพื้นที่ประมาณ 400 ตารางเมตร<br />

จัดอยู่ในกลุ่มเรือนที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในกลุ่มเรือนเดี่ยว<br />

ตัวเรือนหันหน้าไปทางทิศเหนือ<br />

ผังเรือนมีโถงขนาดใหญ่อยู่ตรงกลางมีทางเดินโดยรอบ<br />

มีห้องอยู่ทางด้านทิศตะวันออกและตะวันตก มีห้องน้ำ<br />

อยู่บนเรือน<br />

ทางด้านทิศเหนือทำเป็นระเบียงยื่นออกไปรับกับ<br />

บันไดทางขึ้นเรือนซึ่งขึ้นได้ 2 ข้าง จากทางทิศตะวันออก<br />

straight lines that give a simple and elegant look suited<br />

to the status of the occupant who was Chaophraya Dharmadikarana<br />

Dhibodi (Mom Ratchawong Pum Malakul) the<br />

Palace Minister. The name of this house derived from<br />

the name of the bull Nandi that Shiva used as his mount<br />

for transport. Therefore the emblem of the name of the<br />

house depicts the image of the Hindu God with the head<br />

of a bull. Today, this building is now the residence of the<br />

Mayor of Nakorn Pathom.<br />

Thab Charoen House is a single storey teakwood<br />

house with the floor raised above ground on plaster<br />

veneered brick piles and has hip roof. The floor area is<br />

approximately 400 square meters with up to ten different<br />

rooms, a large central space, and a garage on the south<br />

side. Thab Charoen was built around November of 1924<br />

as a house for Phraya Ramrakhop (Mom Luang Fuea<br />

Pheungboon) the royal aide-de-camp.<br />

Phra Dhanesvara House is a single storey teakwood<br />

house with the floor raised above ground, located on a<br />

small islet in the moat on the north side. The area is<br />

และทางทิศตะวันตก<br />

เรือนนี้มีลักษณะที่โอ่โถง เส้นสายที่ตกแต่งใช้<br />

เส้นตรงเป็นส่วนใหญ่ จึงดูเรียบง่ายแต่มีความสง่างาม<br />

สมฐานะของผู้อาศัยซึ่งได้แก่ เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี<br />

(ม.ร.ว.ปุ้ม มาลากุล) เสนาบดีกระทรวงวัง ชื่อเรือนนี้<br />

นำมาจากชื่อของโคอุสุภราชซึ่งเป็นพาหนะของพระศิวะ<br />

(พระอิศวร) ทั้งยังทำหน้าที่เป็นกรมวังอีกด้วย ฉะนั้น<br />

ป้ายชื่อเรือนจึงเป็นภาพเขียนเทพเจ้าฮินดูมีเศียรเป็นโค<br />

เรือนพระนนทิการปัจจุบันเป็นที่พักผู้ว่าราชการจังหวัด<br />

นครปฐม<br />

เรือนทับเจริญ เป็นเรือนไม้สักชั้นเดียวยกใต้ถุนสูง<br />

เสาตอม่อ ก่ออิฐฉาบปูน หลังคาทรงปั้นหยา (Hip Roof)<br />

เป็นเรือนขนาดใหญ่ เนื้อที่ประมาณ 400 ตารางเมตร<br />

มีห้องต่างๆ ถึง 10 ห้อง มีโถงกลางขนาดใหญ่และมี<br />

โรงรถอยู่ทางด้านทิศใต้ของตัวเรือน<br />

เรือนทับเจริญ สร้างขึ้นในราวเดือนพฤศจิกายน<br />

พ.ศ. 2467 เพื่อเป็นที่พักของพลเอกเจ้าพระยารามราฆพ<br />

(ม.ล.เฟื้อ พึ่งบุญ) ผู้สำเร็จราชการมหาดเล็ก<br />

เรือนพระธเนศวร เป็นเรือนไม้สักชั้นเดียวยกใต้ถุนสูง<br />

ตั้งอยู่บนเกาะในลำคูพระราชวังสนามจันทร์ด้านทิศเหนือ<br />

approximately 250 square meters, which is considered to<br />

be a medium-sized house, and decorated with intricately<br />

perforated sawn-timber work. The design and construction<br />

work on this building is highly immaculate and was the<br />

residence of two Heads of the Royal Household Department:<br />

first, at the beginning of the reign, was Phraya Burutratana<br />

Rajphanlop (Nop Krairiksh) who was appointed to the<br />

position in 1913, and second, near the end of the reign,<br />

was Phraya Udom Rajbhakdi (Toh Sucharitakul) who was<br />

appointed in 1918.<br />

Apart from the houses mentioned, there were also<br />

those of others who were close aides and attendants such<br />

as Phra Karma Sakkhi House, which was the residence of<br />

Phra Nangchao Suvadhana, the royal consort when she<br />

was young, and Ekadhant House which was the residence<br />

of Prince Chatchavalit Kashemsanta, secretary of Royal<br />

Attendants Command Office.<br />

Marigadayavan Rajanives Palace in Cha-am district of<br />

Phetchaburi province, was built in 1923 as a royal seaside<br />

resort. The architect was Mario Tamagno together with<br />

197


มีเนื้อที่ประมาณ 250 ตารางเมตร จัดเป็นเรือนไม้<br />

ขนาดใหญ่ปานกลาง ตกแต่งด้วยลวดลายไม้ฉลุที่มี<br />

ความละเอียดงดงาม<br />

เรือนพระธเนศวรเป็นเรือนที่มีลักษณะทางสถาปัตยกรรม<br />

ตลอดจนการก่อสร้างที่ประณีต และเป็นเรือนที่พักของ<br />

ผู้ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมชาวที่ถึง 2 ท่าน คือในช่วง<br />

ต้นรัชกาลเป็นที่พักของพระยาบุรุษรัตนราชพัลลภ<br />

(นพ ไกรฤกษ์) ซึ่งได้ทรงโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็น<br />

อธิบดีกรมชาวที่ตั้งแต่ พ.ศ. 2456 และต่อมาในช่วงปลาย<br />

รัชกาลเป็นที่พักของพระยาอุดมราชภักดี (โถ สุจริตกุล)<br />

ซึ่งได้ทรงโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นอธิบดีกรมชาวที่<br />

เมื่อ พ.ศ. 2461<br />

นอกจากนี้แล้วก็ยังมีเรือนพักซึ่งมีประวัติเกี่ยวข้อง<br />

กับบุคคลสำคัญหรือข้าราชบริพารผู้ใกล้ชิดเบื้อง<br />

พระยุคลบาทบางท่าน เช่น เรือนพระกรรมสักขี เคยเป็น<br />

ที่ประทับของพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี เมื่อยัง<br />

ทรงพระเยาว์ ส่วนเรือน เอกทันต์ นั้น ในสมัยรัชกาล<br />

ที่ 6 เคยเป็นที่ประทับของหม่อมเจ้าชัชวลิต เกษมสันต์<br />

เลขาธิการกรมบัญชาการมหาดเล็ก<br />

พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน พระราชวังแห่งนี้สร้างขึ้น<br />

his Italian colleagues. This was the only palace built in the<br />

applied style based on the same principles as those for<br />

timber houses of high ranking courtiers at Sanam Chandra<br />

Palace. This palace consists of three groups of buildings<br />

which are Phra Thinang Samosorn Savekamat, Phra Thinang<br />

Samudra Phiman, and Phra Thinang Phisansakorn,<br />

that occupy a stretch of 399 meters wide piece of land<br />

along the beachfront.<br />

Phra Thinang Samosorn Savekamat served as a<br />

royal playhouse. This timber building is a combination of<br />

a playhouse and a bungalow style building with the floor<br />

raised high. The interior has three major spaces which are<br />

the front vestibule, the staircase foyer, and the performance<br />

hall. The royal viewing balcony is located between the<br />

staircase foyer and the performance hall which has simple<br />

interior decorations. The upper part of the walls have<br />

perforated sawn-timber work to allow ventilation, and the<br />

ceilings are painted in the Art Nouveau style.<br />

Phra Thinang Samudra Phimanwas the place for the<br />

king to reside, and also had accommodations for close<br />

เมื่อ พ.ศ. 2466 ที่อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี เพื่อเป็น<br />

ที่ประทับแปรพระราชฐานตากอากาศ สถาปนิก ได้แก่<br />

นายมาริโอ ตามานโย และคณะสถาปนิกชาวอิตาเลียน<br />

เป็นพระราชวังเพียงแห่งเดียวที่สร้างแบบเรือนประยุกต์<br />

โดยใช้หลักการเดียวกันกับการสร้างเรือนไม้ซึ่งเป็นที่พัก<br />

ของข้าราชบริพารระดับสูงที่พระราชวังสนามจันทร์<br />

พระราชนิเวศน์มฤคทายวันเป็นกลุ่มพระที่นั่ง<br />

3 กลุ่ม เรียงกันยาวไปตามชายหาด โดยมีความยาว<br />

ของกลุ่มพระที่นั่ง 399 เมตร ประกอบด้วยพระที่นั่ง<br />

สโมสรเสวกามาตย์ หมู่พระที่นั่งสมุทรพิมาน และ<br />

หมู่พระที่นั่งพิศาลสาคร<br />

พระที่นั่งสโมสรเสวกามาตย์ ใช้เป็นโรงละคร แต่<br />

เป็นพระที่นั่งโครงสร้างไม้ที่มีการผสมผสานรูปแบบ<br />

ของโรงละครกับบ้านแบบบังกะโลยกใต้ถุนสูง ตัวอาคาร<br />

แบ่งพื้นที่ออกเป็น 3 ส่วนคือ โถงหน้า โถงบันได และ<br />

โถงแสดงละคร และมีส่วนที่ประทับทอดพระเนตรละคร<br />

อยู่ระหว่างโถงบันไดกับส่วนโถงการแสดง การตกแต่ง<br />

ภายในเรียบง่าย ส่วนบนสุดของฝาทำช่องระบายอากาศ<br />

เป็นลวดลายฉลุไม้ ฝ้าเพดานกรุด้วยไม้ลูกฝักเขียนสี<br />

เป็นลวดลายแบบอาร์ต นูโว<br />

royal courtiers while Phra Thinang Phisansakorn was the<br />

residence of Somdej Phra Nangchao (Queen) Indrasakdi<br />

Sachi and Phra Sucharit Suda the Principal Consort. This<br />

quarter also had accommodations provided for the royal<br />

attendants as well.<br />

Buildings in the latter two groups of Phra Thinang are<br />

two-storeyed buildings built of golden teakwood with the<br />

floors raised high above the ground on reinforced concrete<br />

post-and-beam structure. There are altogether 108 concrete<br />

posts, all of which have the footing cast like a receptacle<br />

to hold water for preventing insects from climbing up. This<br />

palace employs the modular coordination construction system<br />

using the three-meter square module to determine the size<br />

and dimensions of each building while the construction<br />

members were prefabricated and assembled on site in<br />

order to save time. Some people may consider this to be<br />

the first application of such system in Siam.<br />

Other Royal Residences<br />

Tamnak Somdej Residence, Bang Khunphrom Palace:<br />

198


หมู่พระที่นั่งสมุทรพิมาน เป็นที่ประทับในพระบาทสมเด็จ<br />

พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และที่พักสำหรับข้าราชบริพาร<br />

ฝ่ายหน้า<br />

หมู่พระที่นั่งพิศาลสาคร เป็นที่ประทับของสมเด็จ<br />

พระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา และบ้านพัก<br />

ของพระสุจริตสุดา พระสนมเอก ตลอดจนบ้านพักของ<br />

ข้าราชบริพารฝ่ายใน<br />

อาคารที่หมู่พระที่นั่งสมุทรพิมาน และหมู่พระที่นั่ง<br />

พิศาลสาคร เป็นอาคาร 2 ชั้น โครงสร้างไม้สักทอง<br />

ลักษณะเป็นเรือนไม้ยกใต้ถุนสูงตั้งอยู่บนเสาและคาน<br />

คอนกรีตเสริมเหล็ก เสาคอนกรีตรับกลุ่มอาคารทั้งหมด<br />

มีจำนวน 108 ต้น เสาทุกต้นมีการหล่อบัวทำเป็นขอบ<br />

ลักษณะคล้ายถ้วยน้ำหล่อที่โคนเสาทุกต้นเพื่อป้องกัน<br />

แมลง<br />

พระราชวังแห่งนี้ใช้ระบบประสานพิกัด (Modular<br />

System) ขนาด 3 × 3 ม 2 ในการกำหนดขนาดของ<br />

อาคาร ตลอดจนการสร้างชิ้นส่วนอาคารสำเร็จรูปแล้ว<br />

มาประกอบกันขึ้นเป็นตัวอาคาร (Prefabrication) ใน<br />

สถานที่ก่อสร้าง ทั้งนี้เพื่อความรวดเร็ว นับเป็นครั้งแรก<br />

ในสยามที่มีการใช้เทคนิคดังกล่าว<br />

Prince Paribatra Sukhumbhandhu had this residence which<br />

was designed by a German architect Karl Döhring, built<br />

in 1913 for his mother, Princess Sukhumala Marasri. The<br />

ground floor plan has a reception hall and a staircase foyer<br />

with rooms to the sides while upstairs served as the private<br />

quarters. The exterior of the building is simple yet elegant<br />

and minimally decorated with stucco moldings of floral<br />

designs in Art Nouveau style above windows and front<br />

door, as well as along perimeters of the walls. The interior<br />

is decorated with carved teakwood, also with floral designs<br />

in the Art Nouveau style, in places such as balustrades,<br />

concrete columns, and room partitions.<br />

Tamnak Prathom Residence was built in 1919. It was<br />

the first mansion built at Wang Phetchabun palace as a<br />

temporary residence for Prince Chudadhuj Dharadilok<br />

Kromakhun Phetchabun Indrajaya (1892-1923) the 72 nd<br />

son of King Chulalongkorn (Rama V) and the 8 th born to<br />

Queen Bajarindra the Queen Mother. Tamnak Prathom<br />

Residence is a detached house built of golden teakwood<br />

in applied style with the floor raised high above ground<br />

วังเจ้านาย<br />

ตำหนักสมเด็จ วังบางขุนพรหม สมเด็จฯ เจ้าฟ้า<br />

บริพัตรสุขุมพันธ์ โปรดให้สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2456 และ<br />

ถวายเป็นที่ประทับของพระมารดา สมเด็จพระปิตุฉาเจ้า<br />

สุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี ตำหนักแห่งนี้ออกแบบ<br />

โดยนายคาร์ล ดือห์ริง สถาปนิกชาวเยอรมัน ผังชั้นล่าง<br />

ส่วนกลางเป็นโถงรับรองและโถงบันได มีห้องต่างๆ<br />

อยู่ด้านข้าง ส่วนชั้นบนนั้นเป็นที่ประทับส่วนพระองค์<br />

รูปด้านของตำหนักสมเด็จนั้นดูเรียบง่ายแต่มีความ<br />

สง่างาม ภายนอกอาคารมีการตกแต่งตามสมควร<br />

โดยการใช้ลวดลายปูนปั้นรูปพรรณพฤกษาแบบอาร์ต นูโว<br />

เน้นบริเวณเหนือส่วนที่เป็นช่องเปิดของอาคาร เช่น บริเวณ<br />

เหนือหน้าต่างและการเน้นเหนือทางเข้าหลักด้านหน้า<br />

ตลอดจนการเน้นกรอบผนังหน้าบัน เป็นต้น ส่วนภายใน<br />

อาคารนั้นให้ความสำคัญกับการตกแต่งด้วยไม้สักซึ่ง<br />

แกะสลักเป็นลวดลายพรรณพฤกษาแบบอาร์ต นูโว<br />

อย่างงดงาม เช่น การตกแต่งพนักบันได การตกแต่ง<br />

เสาคอนกรีตและผนังห้อง เป็นต้น<br />

ตำหนักประถม สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2462 เป็นต ำหนักแรก<br />

สำหรับเป็นที่ประทับชั่วคราวภายในวังเพ็ชรบูรณ์ของ<br />

while the rooms are arranged all under one roof to facilitate<br />

accessibility between each other. The plan has three bays,<br />

an area of 100 square meters, and is considered to be<br />

relatively small, but complete with all necessary functions<br />

such as two bedrooms, dressing room, living room,<br />

drawing room, dining room and an attic. Such planning<br />

reflects the western influence in spatial organization. The<br />

interior is spacious with the floor to floor dimension, from<br />

the living room floor to the attic floor being 3.75 meters in<br />

height. Windows were designed to allow good ventilation<br />

by using top-hung louvered casement windows. Roofed<br />

with diamond-shaped tiles, the overall appearance of the<br />

building is simple, light, and orderly.<br />

Tamnak Plai Noen Residence was the residence of<br />

Prince Narisara Nuvadtivongse, built in 1914 at Khlong<br />

Toey Palace. The compound occupied 14.5 rais of land<br />

with buildings in the style of traditional Thai houses grouped<br />

together to serve various functions as follows:<br />

- Sleeping quarters – used as private quarters with<br />

bedroom, dressing room, library, and bathroom.<br />

199


สมเด็จฯ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์<br />

อินทราไชย (พ.ศ. 2435 - 2466) พระราชโอรสองค์ที่ 72<br />

ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ<br />

องค์ที่แปดของสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ<br />

พระพันปีหลวง<br />

ตำหนักประถม เป็นอาคารไม้สักทองแบบบ้านเดี่ยว<br />

ใต้ถุนสูง หรือเรือนประยุกต์ มีการจัดวางห้องต่างๆ ให้<br />

ติดต่อกันได้ภายใต้หลังคาเดียวกัน ผังเป็นแบบ 3 ช่วงเสา<br />

มีเนื้อที่ใช้สอยประมาณ 100 ตารางเมตร จัดเป็นบ้าน<br />

ขนาดเล็กแต่มีห้องใช้งานครบถ้วนได้แก่ ห้องนอน 2 ห้อง<br />

ห้องแต่งพระองค์ ห้องรับแขก ห้องทรงงาน ห้องเสวย<br />

ห้องน้ำ และมีห้องใต้หลังคา (Attic) เป็นที่เก็บของ แสดง<br />

ให้เห็นถึงวิธีการจัดส่วนใช้สอยภายในอาคารแบบตะวันตก<br />

ภายในอาคารมีความโล่ง ระยะพื้นห้องรับแขกถึง<br />

พื้นห้องใต้หลังคามีความสูง 3.75 เมตร การออกแบบ<br />

หน้าต่างเน้นเรื่องการระบายอากาศ เช่น หน้าต่างบานเกร็ด<br />

หน้าต่างบานกระทุ้ง เป็นต้น หลังคาชันทรงจั่วมุง<br />

กระเบื้องว่าว ลักษณะโดยรวมดูเรียบง่าย โปร่งเบา และ<br />

มีความเป็นระเบียบ<br />

ตำหนักปลายเนิน เป็นที่ประทับของสมเด็จฯ เจ้าฟ้า<br />

- Study room – the most frequently used room which<br />

also served as a working space.<br />

- Reception building – this resembles a general<br />

purpose space with three bays surrounded by a<br />

veranda. Originally this building belonged to Phraya<br />

Ratchamontri (Phu) 18 who served Rama III, and<br />

was used as his sitting room. It was bought and<br />

incorporated into this group of buildings to serve<br />

as a reception area.<br />

- Residential quarters – consists of three buildings<br />

for the wife and children of Prince Naris.<br />

The Thai style buildings at Tamnak Plai Noen were not<br />

grouped in the traditional way of facing each other around<br />

a central court and blocking each other from winds and<br />

breezes. Instead, Prince Naris had each building facing<br />

east/west and placed them linearly in alternating manner<br />

connected by porches so as to receive better breezes.<br />

This is considered to be an interesting adaptation in<br />

which the traditional house style is kept, but the grouping<br />

กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ที่วังคลองเตย ทรงสร้างขึ้น<br />

เมื่อ พ.ศ. 2457 บริเวณวังมีเนื้อที่ 14 ไร่ครึ่ง อาคารในวัง<br />

เป็นเรือนไทยโบราณหลายหลังประกอบกันเป็นส่วน<br />

ใช้งานต่างๆ ดังนี้<br />

• ตำหนักบรรทม เป็นที่ประทับส่วนพระองค์ ประกอบ<br />

ด้วยส่วนใช้สอยต่างๆ ได้แก่ ห้องบรรทม ห้องแต่งองค์<br />

ห้องสมุด และห้องสรง<br />

• ห้องทรงเขียน คือห้องทรงงาน เป็นห้องที่ทรงใช้<br />

มากที่สุด<br />

• ตำหนักโถง ลักษณะคล้ายศาลาการเปรียญ ยกพื้น<br />

ยาว 3 ห้อง มีเฉลียงโดยรอบ ตำหนักหลังนี้เดิมเคยเป็น<br />

หอนั่งของพระยาราชมนตรี (ภู่) 18 ซึ่งรับราชการอยู่ใน<br />

สมัยรัชกาลที่ 3 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าฯ<br />

กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงรับซื้อไว้เพื่อทำเป็น<br />

ท้องพระโรง<br />

• เรือนที่พัก เป็นเรือนสำหรับโอรสธิดา และชายา<br />

จำนวน 3 หลัง<br />

เรือนไทยที่ตำหนักปลายเนินมิได้มีการจัดวางตำแหน่ง<br />

ตัวเรือนแบบหมู่เรือนไทยโบราณ คือการวางตัวเรือนหัน<br />

หน้าเข้าหากันล้อมรอบชานเรือน ซึ่งทำให้ตัวเรือนบังลม<br />

arrangement has been improvised to suit the local climate<br />

and environment.<br />

Residences of close high-ranking officials<br />

Chaophraya Mahidhorn Mansion: In 1918, the king<br />

bestowed La-or Krairiksh with the title of Chaophraya<br />

Mahidhorn and appointed him royal secretary in the following<br />

year. He was also awarded a sum of money to build a<br />

house befitting the title 19 and thus built a two-storeyed<br />

house on a piece of land on Ratchavithi Road, beside<br />

a teakwood house built since the time of Rama V. This<br />

new two-storeyed house was built of reinforced concrete<br />

with a third storey of brick masonry at the back of the<br />

central part. The house has hip and gable roof covered<br />

with diamond-shaped tiles while the plan has a central<br />

space with rooms to the sides on both floors. Overall, the<br />

appearance is orderly, simple and elegant.<br />

In 1919, King Rama VI provided residences for each<br />

of his three favorite aides: Chaophraya Ramrakhop, Phraya<br />

Anirudhdeva (both offspring of his childhood nurse) and<br />

Phraya Udom Rajbhakdi. Chaophraya Ramrakhop was<br />

200


กันเอง แต่สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์<br />

ทรงจัดวางตำแหน่งตัวเรือนให้ด้านยาวของอาคารหันไป<br />

ตามแนวทิศตะวันออก-ตะวันตก ทั้งยังจัดวางให้ตัวเรือน<br />

แต่ละหลังยักเยื้องกันโดยมีชานเรือนเป็นตัวเชื่อม ทำให้<br />

เรือนทุกหลังได้รับลมใต้พัดผ่านเพื่อความอยู่สบาย นับ<br />

ว่าเป็นการปรับตัวทางด้านสถาปัตยกรรมที่น่าสนใจคือ<br />

เป็นการรักษารูปแบบอาคารพักอาศัยเชิงประเพณีเอา<br />

ไว้ แต่ปรับปรุงการจัดวางตำแหน่งหมู่อาคารให้เหมาะ<br />

สมกับสภาพภูมิอากาศในแถบร้อนชื้น<br />

บ้านเจ้าพระยามหิธร เมื่อ พ.ศ. 2461 พระบาทสมเด็จ<br />

พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ เลื่อนบรรดาศักดิ์<br />

พระยาจักรปาณีศรีศีลวิสุทธิ์ (ลออ ไกรฤกษ์) เป็น<br />

เจ้าพระยามหิธร ดำรงศักดินา 10,000 และใน พ.ศ. 2462<br />

ได้โปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งราชเลขาธิการ ทั้งยังได้<br />

พระราชทานเงินจำนวนหนึ่งให้สร้างบ้านพักให้<br />

สมเกียรติยศ 19 เจ้าพระยามหิธรจึงได้สร้างบ้านตึก 2 ชั้น<br />

ขึ้นภายในบริเวณที่ดินถนนราชวิถีข้างบ้านไม้สักหลังเดิม<br />

ซึ่งปลูกขึ้นตั้งแต่ปลายสมัยรัชกาลที่ 5<br />

บ้านพระราชทานหลังนี้เป็นบ้านโครงสร้างคอนกรีต<br />

เสริมเหล็กผสมเครื่องก่อ ลักษณะเป็นตึก 2 ชั้น และ<br />

given the Norasingh House, Phraya Anirudhdeva was<br />

given Bantomsindhu House, and Phraya Udom Rajbhakdi<br />

given the Manangkhasila House 20 . The names of these<br />

houses were derived from the emblem of each government<br />

department that the three aides held head positions 21 .<br />

Chaophraya Ramrakhop was head of the theatrical<br />

recreation department which has Norasingh on the emblem,<br />

Phraya Anirudhdeva was head of the royal guards which<br />

has Narai Bantomsindhu, and Phraya Udom Rajbhakdi<br />

was head of the Chao Thi (land) department which has<br />

the Manangkhasila Seat, on their respective emblems.<br />

Norasingh House (current Government House) was<br />

built on a rectangular piece of land, 28 rais in area. The<br />

architect was Mario Tamagno together with Annibale Rigotti<br />

and a group of other Italian architects. The elaborate<br />

two-storeyed mansion was designed in the Romantic style<br />

or the Gothic Revival known as “Venetian Gothic” 22 due<br />

to the fact that the architects were Italians and, as with<br />

Europeans in general, had the impression of Bangkok<br />

as being Venice of the East. Therefore the windows and<br />

ด้านหลังตอนกลางต่อขึ้นไปเป็น 3 ชั้น หลังคาทรงปั้นหยา<br />

ผสมจั่ว มุงกระเบื้องว่าว ผังเป็นแบบโถงกลาง มีห้อง<br />

ด้านข้างทั้งชั้นล่างและชั้นบน ลักษณะโดยทั่วไปมี<br />

ความเรียบง่ายหากแต่มีความสง่างามและเป็นระเบียบ<br />

ใน พ.ศ. 2462 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัวได้พระราชทานเคหสถานให้ราชเสวกที ่ทรง<br />

โปรดปรานเป็นพิเศษ 3 ท่าน ได้แก่ พลเอกเจ้าพระยา<br />

รามราฆพ พระยาอนิรุธเทวา (ทั้งสองท่านนี้เป็นบุตร<br />

ของพระนมของพระองค์) ส่วนอีกท่านหนึ่งคือ พระยา<br />

อุดมราชภักดี<br />

พลเอกเจ้าพระยารามราฆพได้รับพระราชทาน “บ้าน<br />

นรสิงห์” พระยาอนิรุธเทวาได้รับพระราชทาน “บ้าน<br />

บรรทมสินธุ์” ส่วนพระยาอุดมราชภักดีได้รับพระราชทาน<br />

“บ้านมนังคศิลา” 20<br />

นามของบ้านที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัวได้พระราชทานนั้น ได้พระราชทานตาม<br />

ดวงตราประจำกรมที่ท่านเจ้าของบ้านดำรงตำแหน่ง<br />

เป็นหัวหน้างานอยู่21<br />

พลเอกเจ้าพระยารามราฆพ ขณะที่พระราชทาน<br />

ชื่อบ้านกำลังดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการกรมมหรสพ<br />

openings were designed to have pointed arches and round<br />

openings with four-petal tracery pattern above them. The<br />

house faces east with the floor plan of both levels having<br />

three parts. The central part is a hall with rooms on the<br />

north and south sides. At the corner of the building on the<br />

east elevation is a three-storeyed round turret with domed<br />

roof while on the south elevation there is a square turret,<br />

also three storeys high, with flat roof. The internal corridors<br />

of the building are decorated with mural paintings in the<br />

Classic style while the rooms had star-pattern carved<br />

ornaments that decorated the ceilings, also in the Classic<br />

style. The ceilings of the turrets are painted with pictures<br />

in the Classic style using mainly gold paint, while the walls<br />

are left plain. The overall structure is of reinforced concrete<br />

and brick masonry.<br />

Bantomsindhu House (Baan Phitsanulok) was built<br />

on a trapezoid shape piece of land, 26 rais in area. The<br />

architect was Mario Tamagno and his colleagues. This<br />

beautiful three-storeyed mansion in the Venetian Gothic<br />

style is slightly smaller than the Norasingh House. The<br />

201


กรมนี้ใช้ตรานรสิงห์ จึงพระราชทานชื ่อบ้านว่า<br />

“บ้านนรสิงห์”<br />

พระยาอนิรุธเทวา ขณะที่พระราชทานชื่อบ้านดำรง<br />

ตำแหน่งอธิบดีกรมมหาดเล็ก ซึ่งใช้ตราพระนารายณ์<br />

บรรทมสินธุ์ จึงพระราชทานชื่อบ้านว่า “บ้านบรรทมสินธุ์”<br />

พระยาอุดมราชภักดี เป็นอธิบดีกรมชาวที่ ดวงตรา<br />

ประจำกรมเป็นรูปพระแท่นมนังคศิลา จึงพระราชทาน<br />

ชื่อบ้านว่า “บ้านมนังคศิลา”<br />

บ้านนรสิงห์ (ทำเนียบรัฐบาล) ตั้งอยู่ในที่ดิน<br />

รูปสี่เหลี่ยมมีขนาด 28 ไร่ สถาปนิกได้แก่ นายมาริโอ<br />

ตามานโย นายอัลนิบาลเล ริกอตติ และกลุ่มสถาปนิก<br />

ชาวอิตาเลียน ตัวอาคารเป็นคฤหาสน์ 2 ชั้น หรูหรา ซึ่ง<br />

เป็นงานโรมันติก หรือ Gothic Revival แบบ Venetian<br />

Gothic เนื่องจากคณะสถาปนิกชาวอิตาเลียนมีแนว<br />

ความคิดแบบชาวตะวันตกโดยทั่วไปที่มีความเห็นว่า<br />

กรุงเทพฯ คือเวนิสแห่งภาคตะวันออก (Venice of the<br />

East) ผู้ออกแบบจึงได้จัดระเบียบรูปด้านของบ้าน<br />

นรสิงห์แบบ Venetian Gothic 22 โดยเน้นที่การออกแบบ<br />

ช่วงหน้าต่างแบบโค้งยอดแหลมเรียงเป็นแถวเหนือ<br />

หน้าต่างเป็นช่องเปิดรูปกลม ภายในเป็นลวดลายพรรณ<br />

façade treatment is also similar to that of the latter, with<br />

pointed arch windows above which are the round openings<br />

with four-petal tracery pattern.<br />

The plan of the first and second floors have a central<br />

space with rooms along the two sides while the third floor<br />

has a central hall with bedrooms on the left and an open<br />

deck on the right. The prominent feature of this building<br />

is the three storeys high turret at the front that has domed<br />

roof decorated with geometric diamond-shaped coffered<br />

patterns. The interior decoration of the building is minimal,<br />

mainly with designs painted on the ceilings in an applied<br />

style. The overall interior spaces were given more attention<br />

to comfort than to extravagant details. The structure in<br />

general is of reinforced concrete and plaster veneered<br />

brick walls.<br />

Manangkhasila House has a completely different<br />

character from the above two houses altogether, but still<br />

in the Romantic or English Gothic Revival tradition with<br />

half-timber Tudor style influence. The origin of this style<br />

came from the houses built during the Late Gothic period<br />

พฤกษากลีบกลม 4 กลีบ<br />

บ้านนรสิงห์หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ลักษณะผัง<br />

ของทั้งสองชั้นเป็นผังแบบ 3 ส่วน มีโถงกลาง และมี<br />

ส่วนที่เป็นห้องต่างๆ อยู่ทางด้านทิศเหนือและทิศใต้<br />

ของโถงกลาง ที่มุมอาคารด้านทิศเหนือมีหอสูง 3 ชั้น<br />

ทรงกลมหลังคาทรงโดม ทิศใต้มีหอสี่เหลี่ยมสูง 3 ชั้น<br />

หลังคาแบน<br />

การตกแต่งภายในอาคารส่วนที่เป็นทางเดินเป็นการ<br />

เขียนภาพสีและลวดลายแบบคลาสสิค ส่วนที่เป็นห้อง<br />

ใช้สอยประดับด้วยลวดลายแกะสลักรูปดาวเพดานแบบ<br />

ศิลปะคลาสสิค การตกแต่งฝ้าเพดานของหอสูงทั้งสอง<br />

ทางทิศเหนือและทิศใต้เป็นการเขียนภาพสีแบบคลาสสิค<br />

โดยการใช้สีทองเป็นหลัก ผนังห้องเรียบง่าย ลักษณะ<br />

โครงสร้างโดยทั่วไปเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กผสมกับ<br />

กำแพงก่ออิฐ<br />

บ้านบรรทมสินธุ์ (บ้านพิษณุโลก) ตั้งอยู่ในที่ดิน<br />

รูปสี่เหลี่ยมคางหมูเนื้อที่ประมาณ 26 ไร่ สถาปนิกได้แก่<br />

นายมาริโอ ตามานโย และคณะสถาปนิกชาวอิตาเลียน<br />

ตัวอาคารเป็นคฤหาสน์ 3 ชั้น งดงามแบบ Venetian<br />

Gothic แต่มีขนาดเล็กกว่าบ้านนรสิงห์<br />

in England that became popular in the second half of the<br />

nineteenth century during the Tudor Revival period and<br />

commonly known in Great Britain as the Mock Tudor<br />

style 23 . The key person in this movement was Richard<br />

Norman Shaw, a Scottish architect who introduced the<br />

trend in Domestic Revival 24 . Subsequently, the Tudor<br />

Revival style also spread to other colonial countries such<br />

as New Zealand and Singapore where, in Singapore, it<br />

was commonly known as the Black and White House 25 .<br />

Built on 26 rais of trapezoid shape piece of land, the<br />

architect of Manangkhasila House was Edward Healey, a<br />

British employee at the Ministry of Dharmakarn (Education).<br />

The two-storeyed house with hip roof has a T-shaped plan.<br />

The central axis is a hall with rooms on the two arms. This<br />

hall area at the ground level has a driveway running through<br />

dividing it into two spaces; the larger space on the north<br />

side served as a reception room, and the smaller space<br />

across the driveway was the front vestibule of the house.<br />

As for the central part on the upper floor, the north end<br />

has the bedroom, while the south end has the staircase.<br />

202


การจัดระเบียบรูปด้านคล้ายคลึงกับบ้านนรสิงห์คือ<br />

ใช้ลักษณะรูปด้านแบบ Venetian Gothic ที่ประกอบด้วย<br />

ช่องเปิดเป็นแนวโค้งยอดแหลม ส่วนช่องเปิดเหนือ<br />

หน้าต่างเป็นวงกลม ซึ่งภายในเป็นลวดลายพรรณ<br />

พฤกษากลีบกลม 4 กลีบ<br />

ผังบ้านชั้นหนึ่งและชั้นสองจัดแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ<br />

ส่วนโถงกลางและมีห้องพักอยู่ที่ปีกทั้งสองข้าง ส่วนผัง<br />

ชั้นสามทางปีกซ้ายเป็นห้องนอน ส่วนทางปีกขวาเปิดโล่ง<br />

เป็นดาดฟ้า จุดเด่นของอาคารอยู่ที่หอคอยด้านหน้า<br />

อาคารสูง 3 ชั้น หลังคาทรงโดม มีลวดลายประดับใน<br />

กรอบทรงเรขาคณิตรูปคล้ายสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน<br />

การตกแต่งภายในมีไม่มากนัก ส่วนใหญ่จะ<br />

เป็นการเขียนสีเป็นลวดลายแบบประยุกต์ที่เพดานห้อง<br />

ลักษณะภายในโดยทั่วไปจะเน้นความอยู่สบายมากกว่า<br />

ความหรูหรา โครงสร้างทั่วไปเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก<br />

ผนังก่ออิฐฉาบปูน<br />

บ้านมนังคศิลา บ้านมนังคศิลามีรูปแบบที่แตกต่าง<br />

จากบ้านนรสิงห์และบ้านบรรทมสินธุ์อย่างสิ้นเชิง แต่ก็<br />

ยังเป็นบ้านแบบ Romantic หรือ Gothic Revival แบบ<br />

อังกฤษ คือเป็นอิทธิพลของบ้าน Tudor แบบ Half Timber<br />

On the east and west ends of the building, there is a<br />

semi-circular one storey fort-like structure with five sides<br />

that are reminiscent of the Middle-Ages, at each end.<br />

Both interior and exterior decorations are plain and<br />

simple. The walls of the lower floor were constructed with<br />

bricks 26 , while the upper floor has the half-timber structure.<br />

An interesting aspect of the interior is the immaculate<br />

woodwork such as the staircase for example. The attic<br />

is well detailed and orderly, displaying the wooden roof<br />

structure that is highly complex and meticulously executed.<br />

Private residence and other houses<br />

Phraya Amares Sombat House on Samsen Road Soi<br />

3, Bangkok, is a two-storeyed European style building<br />

that has a third storey and an attic above the central part<br />

with hipped-gable roof. Built around 1914 27 by Chinese<br />

builders from Hong Kong, the house has three bays with<br />

a classic style symmetrical plan. The overall plan has a<br />

central hall with rooms on two wings and an attic which<br />

served as a Buddha Room. Originally the building had a<br />

ซึ่งต้นแบบเป็นอาคารพักอาศัยที่สร้างขึ้นในตอนปลาย<br />

สมัย Gothic ของอังกฤษราว ค.ศ. 1485 - 1558 แต่<br />

ในครึ่งหลังของศตวรรษที่ 19 เกิดการแพร่หลายของงาน<br />

Tudor Revival แบบบ้าน Half Timber หรือมักเรียก<br />

กันว่า Mock Tudor 23 ในสหราชอาณาจักร โดยที่ผู้ริเริ่ม<br />

คนสำคัญได้แก่ Richard Norman Shaw สถาปนิกชาว<br />

สก๊อตผู้สร้างกระแสความนิยมในงานแบบ Domestic<br />

Revival 24 ต่อมางานแบบ Tudor Revival แพร่หลาย<br />

ไปตามประเทศอาณานิคมของสหราชอาณาจักร เช่น<br />

New Zealand และ Singapore เป็นต้น โดยที่ใน<br />

Singapore นั้นนิยมเรียกกันว่า Black and White House 25<br />

บ้านมนังคศิลาตั้งอยู่ในที่ดินรูปสี่เหลี่ยมคางหมู<br />

เนื้อที่ประมาณ 26 ไร่ สถาปนิกได้แก่ นายเอ็ดเวิร์ด ฮีลีย์<br />

สถาปนิกชาวอังกฤษ สังกัดกระทรวงธรรมการ<br />

บ้านมนังคศิลาเป็นอาคาร 2 ชั้น หลังคาทรงปั้นหยา<br />

ผังมีลักษณะคล้ายตัว T พื้นที่ส่วนกลางเป็นโถงมีห้อง<br />

ใช้งานที่ปีกสองข้างของโถง โดยที่โถงชั้นล่างนั้นมีถนน<br />

แล่นผ่านแบ่งโถงออกเป็น โถงรับรองขนาดใหญ่ทางทิศเหนือ<br />

ด้านหน้าอาคาร และโถงขนาดเล็กด้านหลังอาคาร<br />

ส่วนโถงชั้นบนนั้นที่ปลายสุดของโถงด้านทิศเหนือเป็น<br />

U-shaped plan with a front porch. Later, the open court<br />

space was renovated and became enclosed to function<br />

as internal spaces on both floor levels. The structure of<br />

the building is presumably load-bearing brick walls with<br />

plaster veneer.<br />

It is interesting to note that the plan of this house<br />

and that of Tamnak Somdej mansion at Bang Khunphrom<br />

Palace are very similar in terms of having developed<br />

from the three-bay grid system with a square plan, and<br />

indicated that the designer had a good understanding of the<br />

Classic plan 28 . The building facades are plain and simple,<br />

with minimal decorative moldings above the windows<br />

which, on the second level, are similar to Palladian style<br />

windows with slightly arched moldings while the windows<br />

at the ground floor level have straight horizontal moldings.<br />

The woodwork on the interior, presumably by Chinese<br />

contractors, is also interesting as can be seen from the<br />

parquet flooring patterns that use alternating dark and<br />

light shade timber, the wooden staircase, and the coffered<br />

ceiling decoration patterns.<br />

203


ห้องนอน ปลายโถงทางทิศใต้เป็นโถงบันได ที่ด้านสกัด<br />

ทางทิศตะวันออกและทิศตะวันตกของตัวอาคารมีป้อม<br />

ครึ่งวงกลม ซึ่งมีลักษณะเป็นห้าเหลี่ยมคล้ายหอรบยุคกลาง<br />

มีความสูงเท่ากับอาคารชั้นเดียว<br />

การตกแต่งทั้งภายนอกและภายในเป็นไป<br />

อย่างเรียบง่ายไม่เน้นความหรูหรา โครงสร้างชั้นล่าง<br />

เป็นผนังก่ออิฐ 26 ชั้นบนเป็นโครงสร้างไม้แบบ Half<br />

Timber องค์ประกอบที่น่าสนใจภายในตัวอาคารได้แก่<br />

ความประณีตของงานฝีมือช่างไม้ เช่น โครงสร้างบันไดไม้<br />

ขนาดใหญ่ที่โถงบันได ส่วนที่ห้องใต้หลังคา (Attic) มีการ<br />

จัดองค์ประกอบอย่างมีระเบียบคล้ายกับเป็นห้องแสดง<br />

นิทรรศการ โครงสร้างไม้ของหลังคาซึ่งเป็นโครงสร้างไม้<br />

ที่มีลักษณะซับซ้อน แต่มีการแก้ปัญหาและจัดระเบียบ<br />

การวางตัวไม้โครงสร้างอย่างลงตัวและสวยงาม<br />

บ้านพระยาอมเรศร์สมบัติ ซอยสามเสน 3 ถนน<br />

สามเสน กรุงเทพฯ เป็นอาคารแบบตะวันตกสูง 2 ชั้น<br />

แต่ช่วงโถงกลางยกขึ้นเป็น 3 ชั้น มีห้องใต้หลังคา (Attic)<br />

หลังคาทรงปั้นหยาผสมจั่วหัวตัด ก่อสร้างขึ้นราว พ.ศ.<br />

2457 27 โดยช่างจีนจากฮ่องกง<br />

ผังเป็นผัง 3 ส่วน มีลักษณะสมมาตรตามแนวแกนหลัก<br />

Ratchadamri Road Houses: Built along Ratchadamri<br />

Road, there were eight houses altogether. These houses<br />

were under the responsibility of Phraya Burutratana<br />

Rajphanlop who had them built between 1920 and 1924<br />

in compliance with the royal advocacy of Rama VI. The<br />

intention was to build and donate them to Vajiravudh<br />

College so that the school can create income by letting<br />

them out and making earnings from the occupants in<br />

order to maintain and run the school. The two-storeyed<br />

buildings were in simple European style with high pitched<br />

gable roofs. An attractive feature of these buildings was<br />

the three storeys high turret-like structure 29 at the front<br />

corner of each house which undoubtedly, was popular<br />

among the elite at the time. The cost of construction<br />

for all eight buildings, including electricity, water supply,<br />

embankments, roads, lawns and fences, totaled 345,874<br />

Baht and 9 Satangs 30 .<br />

Timber Houses: Timber houses in the period of Rama<br />

VI developed from those of the previous reign. There<br />

were two-storeyed timber houses imitating the masonry<br />

แบบผังคลาสสิค ลักษณะโดยทั่วไปเป็นผังแบบโถงกลาง<br />

มีห้องที่ปีกทั้ง 2 ข้างของโถง ห้องใต้หลังคาทำเป็น<br />

ห้องพระ ผังดั้งเดิมเป็นผังคล้ายตัว U มีมุขหน้า ภายหลัง<br />

มีการต่อเติมเป็นผังแบบสี่เหลี่ยมมีมุขหน้า โครงสร้าง<br />

ผนังรับน้ำหนักก่ออิฐฉาบปูน<br />

สิ่งที่น่าสังเกตก็คือ ผังของบ้านพระยาอมเรศร์สมบัติ<br />

และผังของตำหนักสมเด็จ วังบางขุนพรหมนั้นเป็นผังที่<br />

มีลักษณะคล้ายคลึงกันคือ พัฒนามาจากผังสามส่วน<br />

แบบสี่เหลี่ยมจัตุรัส ซึ่งแสดงว่าผู้ออกแบบนั้นมีพื้นฐาน<br />

ความเข้าใจในเรื่องผังแบบคลาสสิคเป็นอย่างดี28<br />

การจัดระเบียบรูปด้านเป็นไปอย่างเรียบง่าย ให้ความ<br />

สำคัญกับการตกแต่งช่องหน้าต่าง โดยเฉพาะการตกแต่ง<br />

ช่องหน้าต่างชั้นที่ 2 ซึ่งเป็นหน้าต่างที่มีลักษณะคล้ายกับ<br />

หน้าต่างแบบ Palladian Window ประดับลวดลาย<br />

บัวปูนปั ้นรูปเส้นโค้งเหนือช่องหน้าต่าง ส่วนหน้าต่างที่<br />

ชั้น 1 จัดจังหวะล้อ Palladian Window ที่ชั้น 2 แต่บัว<br />

เหนือหน้าต่างเป็นบัวปูนปั้นเน้นตามแนวนอน<br />

องค์ประกอบที่น่าสนใจภายในอาคารได้แก่ งานไม้<br />

ฝีมือช่างจีน เช่น พื้นปาเก้ไม้สลับสีอ่อนแก่ และบันไดไม้<br />

ตลอดจนฝ้าเพดานไม้ตกแต่งด้วยองค์ประกอบบัวไม้<br />

houses, and those that were still elaborately decorated<br />

with sawn-timber work 31 . The new development that took<br />

place was the modified or applied design combining the<br />

local feature of houses raised high above ground with the<br />

arrangement of rooms all under one high pitched roof as in<br />

European houses. The result was a western style house<br />

with Thai appearance that reflected the idea of integrating<br />

Thai identity with western way of life as illustrated by the<br />

Nandikarn House and Phra Dhaneshvara House at Sanam<br />

Chandra Palace, and Tamnak Prathom at Phetchabun Palace,<br />

for example. Houses in this style however, were few and<br />

not so popular among the common people. The planning<br />

of houses in this period cannot be precisely concluded<br />

since it has not been possible to collect sufficient data for<br />

empirical analysis. However, three common characteristics<br />

may be deduced as follows:<br />

1. The plans were based on the three-bay grid system.<br />

2. The functions were arranged in three parts based<br />

on a central space flanked by rooms on two sides.<br />

3. The exterior was surrounded by a veranda, as in<br />

204


รูปกรอบสี่เหลี่ยมวางเว้นช่องเป็นจังหวะ เป็นต้น<br />

บ้านริมถนนราชดำริ เป็นบ้านที่สร้างขึ้นบริเวณถนน<br />

ราชดำริจำนวนทั้งสิ้น 8 หลัง บ้านดังกล่าวเป็นบ้านที่<br />

พระยาบุรุษรัตนราชพัลลภรับผิดชอบสร้างขึ้นระหว่าง<br />

พ.ศ. 2463 - 2467 ตามแนวพระราชดำริในพระบาท<br />

สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งนี้เพื่อพระราชทาน<br />

เป็นสมบัติของโรงเรียนมหาดเล็กหลวง (โรงเรียนวชิราวุธ)<br />

สำหรับเก็บผลประโยชน์บำรุงโรงเรียนจากรายได้การให้<br />

เช่าบ้านดังกล่าว<br />

ตัวอาคารเป็นแบบตะวันตก มีลักษณะเรียบง่าย<br />

สูง 2 ชั้น มีจุดเด่นอยู่ที่การยกชั้นมุมอาคารด้านหน้าข้าง<br />

หนึ่งเป็น 3 ชั้น ทำให้มีลักษณะเป็นหอสูง 29 หลังคาจั่ว<br />

ทรงสูง ซึ่งคงจะเป็นแบบบ้านสมัยนิยมของผู้ที่มีฐานะสูง<br />

ในสังคมในช่วงเวลาดังกล่าว ค่าก่อสร้างอาคารทั้ง 8 หลัง<br />

รวมทั้งค่าไฟฟ้า ประปา เขื่อน ถนน สนาม และรั้ว<br />

เป็นเงิน 345,874 บาท 9 สตางค์30<br />

บ้านไม้ บ้านไม้สมัยรัชกาลที่ 6 เป็นการพัฒนา<br />

สืบเนื่องมาจากรัชกาลก่อน คือมีทั้งบ้านไม้สองชั้น<br />

เลียนแบบตึกที่เป็นบ้านไม้แบบเรียบง่ายและบ้านไม้<br />

ฉลุลายที่มีลวดลายละเอียด 31 แต่พัฒนาการที่แตกต่าง<br />

the bungalow style. 32<br />

King Prajadhipok (Rama VII) ascended the throne in<br />

1925 when Siam was undergoing an economic crisis and<br />

had been suffering from budget deficit for four consecutive<br />

years since 1922. Under the circumstance, the king resorted<br />

to using “conservative economic policy” which enabled<br />

the country’s fiscal system to become more stable and<br />

alleviated the economic situation. From 1926 to 1930,<br />

the financial situation of the government improved as<br />

revenue outweighed expenditures. 33 However, the fall of<br />

the New York stock market in 1929 that led to the collapse<br />

of the United States’ economy and subsequent global<br />

economic depression from 1930 onwards, had inevitable<br />

repercussions on Siam, and the country faced yet another<br />

fiscal deficit in 1931. 34<br />

The government continued with the conservative<br />

economic principles by reducing government spending<br />

and laying off a large number of employees. As a result,<br />

the elites and government officials began to lose their<br />

confidence in the government while those opposing the<br />

ในสมัยรัชกาลที่ 6 คือมีบ้านไม้แบบประยุกต์ซึ่งเป็นการ<br />

ผสมผสานกันระหว่างลักษณะบ้านแบบใต้ถุนสูงซึ่งเป็น<br />

ลักษณะแบบเรือนท้องถิ่นของไทย กับการจัดประโยชน์<br />

ใช้สอยในห้องต่างๆ อยู่ภายใต้หลังคาเดียวกันแบบ<br />

บ้านตะวันตก หลังคาทรงสูง เรียกได้ว่าถึงจะเป็นบ้าน<br />

แบบฝรั่งแต่ก็เป็นฝรั่งหน้าตาไทยๆ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึง<br />

แนวคิดในการรักษาเอกลักษณ์ไทยให้มีความสอดคล้อง<br />

กับวิถีชีวิตแบบตะวันตกได้ดี เช่น เรือนนนทิการ<br />

เรือนพระธเนศวร ซึ่งเป็นเรือนพักข้าราชการที่พระราชวัง<br />

สนามจันทร์ และตำหนักประถม วังเพ็ชรบูรณ์ เป็นต้น<br />

แต่บ้านลักษณะนี้มีน้อย และไม่เป็นที่นิยมในหมู่<br />

สามัญชนโดยทั่วไป<br />

ลักษณะของการวางผังไม่สามารถสรุปได้ชัดเจนนัก<br />

เนื่องจากไม่สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงสถิติที่สามารถ<br />

นำมาวิเคราะห์ได้อย่างมีนัยที่น่าเชื่อถือ แต่อาจสรุปได้<br />

อย่างกว้างๆ ว่าผังจะมีลักษณะเด่นคือ<br />

1. ผังเป็นแบบผัง 3 ส่วน (Three Bay Plan)<br />

2. การจัดพื้นที่ใช้สอยแบ่งเป็น 3 ส่วน มีโถงกลาง<br />

เป็นแกน และมีห้องที่ปีกทั้งสองข้าง<br />

3. ผังแบบมีระเบียงล้อมรอบ (ผังแบบบ้านบังกะโล) 32<br />

system of absolute monarchy also took the opportunity<br />

to use this predicament to attack the government’s<br />

competency. 35 The king had always been well aware of<br />

the attitudes that threatened the throne, and had said in<br />

an earlier statement back in 1926 that:<br />

“The King is in a difficult position. Movements by<br />

political activists and people in the country, are obvious<br />

signs indicating that the monarchial ruling system is ever<br />

so nearing its end. If the monarchy were to remain, the<br />

status of the king must be made more secure.” 36<br />

In order to prevent the dissatisfaction with absolute<br />

monarchy from developing into a violent political uprising,<br />

Rama VII planned to grant a constitution in April of 1932<br />

so that the people can have a say in running the country,<br />

and had therefore assigned his foreign advisors together<br />

with Phraya Srivisarnvaja to draft up a constitution. Some<br />

of the advisors however, such as Phraya Kalayana Maitree<br />

(Dr. Francis B. Sayre) for example, were not in favor of<br />

having a parliamentary house of representatives because<br />

their opinion was that people who have voting rights must<br />

205


สมัยรัชกาลที่ 7<br />

เมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้น<br />

ครองราชย์เมื่อ พ.ศ. 2468 นั้น สยามได้ประสบปัญหา<br />

ภาวะการขาดดุลงบประมาณ 4 ปีซ้อน ระหว่าง พ.ศ.<br />

2465 - 2468 ดังนั้นพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

จึงได้ทรงแก้ไขสถานการณ์โดยการดำเนินนโยบาย<br />

เศรษฐกิจตามแนว “อนุรักษ์นิยม” ซึ่งเน้นการรักษา<br />

เสถียรภาพของระบบและทำให้สามารถกู้สถานการณ์<br />

ทางเศรษฐกิจขึ้นมาได้ โดยที่ระหว่าง พ.ศ. 2469-2473<br />

สถานะทางเศรษฐกิจของรัฐบาลอยู่ในภาวะเกินดุล รายรับ<br />

สูงกว่ารายจ่าย 33 แต่การที่ตลาดหุ้นในนิวยอร์คล้มลงใน<br />

พ.ศ. 2472 มีผลต่อการพังทลายของระบบการเงินของ<br />

สหรัฐอเมริกา และมีผลกระทบทำให้เกิดภาวะเศรษฐกิจ<br />

ตกต่ำทั่วโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2473 เป็นต้นมา 34 และมีผล<br />

ทำให้สยามประสบภาวะการขาดดุลงบประมาณแผ่นดิน<br />

ใน พ.ศ. 2474<br />

การดำเนินนโยบายเศรษฐกิจแบบอนุรักษ์นิยมของ<br />

รัฐบาลนั้น วิธีการที่สำคัญคือการตัดงบประมาณรายจ่าย<br />

และการลดกำลังคนในระบบราชการ ซึ่งเป็นสาเหตุ<br />

สำคัญที่ทำให้ชนชั้นนำในเมืองหลวงและข้าราชการ<br />

thoroughly understand the system of governing that involves<br />

the election process, and must be better educated than<br />

they were at the time. Otherwise, the parliamentary body<br />

elected by the people who are inadequately prepared will<br />

only bring catastrophe to the nation. 37 Thus there appeared<br />

to be no other choice but to retain the system of absolute<br />

monarchy for the time being. In any case, the governing<br />

legislation drafted before 1932 was far from being a<br />

constitution of a democratic nature since sovereign power<br />

was still in the hands of the king in the same way as had<br />

always been. Because the legislation was essentially still<br />

a form of absolute monarchy, Rama VII’s plan to grant the<br />

people a constitution was thus left more or less deferred.<br />

Architecture<br />

The period of Rama VII was a transition period in terms<br />

of architecture, as contracts with European architects that<br />

were commissioned to work for the Siamese government<br />

began to expire. In 1925 for example, Mario Tamagno’s<br />

contract had expired and he decided to return to Italy 38 .<br />

With the expiration of the contracts, the European architects<br />

เริ่มสูญเสียความเชื่อมั่นต่อความเป็นผู้นำของรัฐบาล 35<br />

และเป็นจุดอ่อนที่ทำให้รัฐบาลถูกฝ่ายที่ไม่นิยมระบอบ<br />

สมบูรณาญาสิทธิราชย์โจมตีเรื่องประสิทธิภาพในการ<br />

บริหารบ้านเมือง ท่าทีที่แสดงการคุกคามต่อความมั่นคง<br />

ของราชบัลลังก์นี้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

ทรงตระหนักดีดังที่ได้เคยมีพระราชดำรัสใน พ.ศ. 2469<br />

ว่า “พระเจ้าแผ่นดินทรงอยู่ในฐานะลำบาก ความคิดเห็น<br />

ของราษฎรที่เคลื่อนไหวอยู่ในประเทศนี้เป็นสัญญาณ<br />

บ่งชัดว่าการปกครองระบอบราชาธิปไตยใกล้ถึงจุดจบ<br />

เต็มที ถ้าจะให้ราชวงศ์ดำรงอยู่ต่อไปจะต้องทำให้ฐานะ<br />

กษัตริย์มั่นคงกว่านี้” 36 ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันมิให้<br />

ความไม่พอใจต่อระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น<br />

ขยายตัวกลายเป็นเหตุการณ์ทางการเมืองที่รุนแรง<br />

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงได้ทรงมี<br />

พระราชดำริในการพระราชทานรัฐธรรมนูญการปกครอง<br />

ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2475 เพื่อให้ราษฎรได้มีสิทธิ<br />

มีเสียงในการบริหารประเทศ และได้ทรงมอบหมาย<br />

ให้ที่ปรึกษาชาวต่างประเทศ และพระยาศรีวิศาลวาจา<br />

เป็นผู้ร่างกฎหมายการปกครอง แต่ที่ปรึกษาบางท่าน<br />

เช่น พระยากัลยาณไมตรี (ดร.ฟราสซิส บี แซร์)<br />

began to be replaced by local architects who had been sent<br />

to study abroad and have returned after their completion<br />

since the previous reign. Prince Iddhidebsan Kridakara for<br />

example, was given the task after his return, of designing<br />

Phra Thinang Charlie Mongkol Asana at Sanam Chandra<br />

Palace for Rama VI.<br />

With regards to education, Narth Bodhiprasart initiated<br />

an architectural program at Poh Chang Technical College<br />

in 1930. Then in 1933 an Architecture School was opened<br />

at Chulalongkorn University. This was the first school<br />

in the country to teach architecture at the level of the<br />

university. Following that, in 1934, the Association of<br />

Siamese Architects came into existence. 39<br />

During this transition period, April 1932 marked the 150 th<br />

year that Krung Rattanakosin (Bangkok) was proclaimed<br />

the capital city of Siam. To commemorate the anniversary,<br />

Rama VII commanded three architectural projects be<br />

undertaken: the restoration of the Temple of the Emerald<br />

Buddha, the construction of Rama I Memorial Bridge, and<br />

the construction of Sala Chalermkrung Royal Theatre.<br />

206


ไม่เห็นด้วยกับการมีสภาผู้แทนราษฎร โดยให้<br />

ความเห็นว่าประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะต้องเข้าใจ<br />

ระบบการปกครองแบบมีการเลือกตั้งอย่างดี และต้อง<br />

มีการศึกษาสูงกว่าที่เป็นอยู่ในช่วงรัชกาลที่ 7 มิฉะนั้น<br />

แล้วองค์กรเชิงรัฐสภาที่ประชาชน (ซึ่งขาดความพร้อม)<br />

เลือกตั้งขึ ้นมามีแต่จะนำอันตรายใหญ่หลวงมาสู่<br />

บ้านเมือง 37 ฉะนั้นดูไม่มีทางเลือกทางอื่นนอกจากการ<br />

คงไว้ซึ่งระบบการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์<br />

ไปก่อนจะดีกว่า อย่างไรก็ดีร่างกฎหมายการปกครอง<br />

ที่ร่างขึ้นก่อน พ.ศ. 2475 นั้นก็มิได้มีลักษณะที่เป็น<br />

รัฐธรรมนูญในระบอบประชาธิปไตยแต่อย่างใด เพราะ<br />

อำนาจอธิปไตยก็ยังคงเป็นของพระมหากษัตริย์อย่าง<br />

ที่เคยเป็นมา ดังนั้นจึงเป็นแบบของการปกครอง<br />

ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในอีกรูปแบบหนึ่งเท่านั้น<br />

แนวพระราชดำริเรื่องการพระราชทานรัฐธรรมนูญนี้ใน<br />

ที่สุดแล้วก็มิได้มีการดำเนินการต่อไปแต่อย่างใด<br />

สถาปัตยกรรม<br />

สมัยรัชกาลที่ 7 เป็นยุคของการเปลี่ยนผ่านความ<br />

รับผิดชอบทางด้านสถาปัตยกรรมจากฝีมือของสถาปนิก<br />

Restoration of the Temple of the Emerald Buddha<br />

In this project, the king’s elder brother, Prince Nakorn<br />

Sawan Voraphinit was the head of the restoration committee,<br />

and Chaophraya Voraphong Phiphat was in charge of all<br />

works requiring technical tradesmen and artisan skills.<br />

The restoration process began in 1928 and from a list<br />

of nineteen items proposed by Chaophraya Voraphong<br />

Phiphat, the committee chose to restore four major items<br />

that were in highly deteriorated conditions. These were<br />

the ubosot, the gallery and its mural paintings, the open<br />

pavilions, and Hor Phra Monthien Dharma building.<br />

All four items had the same technical problems<br />

concerning dilapidated wooden roof structures that needed<br />

to be replaced in addition to replacing the roofing materials,<br />

and certain parts of the building structures also needed<br />

to be strengthened with reinforced concrete. As for the<br />

restoration of the mural paintings, this was considered to<br />

be a major undertaking to conserve the valuable traditional<br />

artwork and therefore every known highly skilled craftsmen<br />

were recruited to carry out the task. The total cost of the<br />

ชาวต่างชาติมาเป็นความรับผิดชอบของสถาปนิกไทย<br />

เนื่องจากสถาปนิกชาวยุโรปเริ่มหมดสัญญาว่าจ้างใน<br />

การทำงานให้รัฐบาลสยาม เช่น นายมาริโอ ตามานโย<br />

หมดสัญญาใน พ.ศ. 2468 38 และเดินทางกลับประเทศ<br />

อิตาลี ขณะเดียวกันคนไทยที่ไปศึกษาวิชาสถาปัตยกรรม<br />

ที่ยุโรปก็เริ่มจบการศึกษาและเข้ารับราชการในกรุงเทพฯ<br />

ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 6 และเริ่มทำงานออกแบบพระที่นั่ง<br />

ถวายพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวแล้ว เช่น<br />

พระที่นั่งชาลีมงคลอาสน์ ที่พระราชวังจันทร์สนามจันทร์<br />

ออกแบบโดยหม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร<br />

เป็นต้น ขณะเดียวกันก็ได้เริ่มมีการเรียนการสอนวิชา<br />

สถาปัตยกรรมโดยนายนารถ โพธิประสาท เริ่มต้นเปิด<br />

การสอนที่โรงเรียนเพาะช่างเมื่อ พ.ศ. 2473 ต่อมาใน<br />

พ.ศ. 2476 ก็ได้มีการสถาปนาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

ขึ้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นับเป็นการเริ่มให้การ<br />

ศึกษาวิชาสถาปัตยกรรมในระดับมหาวิทยาลัยเป็น<br />

ครั้งแรกในสยาม และมีการก่อตั้งสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ขึ้นใน พ.ศ. 2477 39<br />

ในเดือนเมษายน พ.ศ.2475 เป็นวาระครบรอบ<br />

150 ปีแห่งการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ พระบาท<br />

entire restoration work amounted to 507,400 Baht at the<br />

time of completion.<br />

Construction of Rama I Memorial Bridge<br />

This project involved erecting a monument to Rama I<br />

and constructing an iron bridge that crosses Chao Phraya<br />

River to link Bangkok on the one side with Thonburi on<br />

the other. 40 The undertaking was considered to be the first<br />

major work of architectural engineering and costed four<br />

million Baht altogether.<br />

The monument itself has a tripled-life-size seated<br />

bronze statue of Rama I sculpted by Corrado Feroci (Silpa<br />

Bhirasri). The architectural components of the monument<br />

which are the podium and the background wall, were<br />

designed by Prince Narisara Nuvadtivongse who was<br />

the architect. The wall was designed in the style of a<br />

Palladian façade with three parts. The central part, which<br />

is directly behind the royal statue, is higher and wider than<br />

the other two both of which have the same dimensions.<br />

The part directly behind the statue has a surface plane of<br />

the wall slightly recessed like a shallow niche to further<br />

207


สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่โปรดเกล้าฯ ให้จัดทำโครงการ<br />

ด้านสถาปัตกรรม 3 โครงการ เพื่อเป็นการฉลองสมโภช<br />

พระนครในวาระดังกล่าวได้แก่ โครงการปฏิสังขรณ์วัด<br />

พระศรีรัตนศาสดาราม โครงการสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์<br />

และโครงการโรงภาพยนตร์เฉลิมกรุง<br />

การปฏิสังขรณ์วัดพระศรีรัตนศาสดาราม สมเด็จ<br />

พระเจ้าพี่ยาเธอ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต<br />

ทรงเป็นนายกกรรมการใน “คณะกรรมการจัดการ<br />

ทำนุบำรุงวัดพระศรีรัตนศาสดาราม” ซึ่งเริ่มดำเนินงาน<br />

ตั้งแต่ พ.ศ. 2471 โดยมีเจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ เป็น<br />

ผู้จัดการในการดำเนินงานด้านการช่าง และคณะกรรมการ<br />

ได้เลือกปฏิสังขรณ์อาคารสำคัญซึ่งมีความทรุดโทรม<br />

มาก 4 รายการ จากที่เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์เสนอ<br />

ให้ปฏิสังขรณ์จำนวน 19 รายการ สำหรับรายการซ่อม<br />

ได้แก่ พระอุโบสถ พระวิหารคด และการซ่อมภาพ<br />

จิตรกรรมฝาผนังที่พระวิหารคด ศาลาราย และ<br />

หอพระมณเฑียรธรรม<br />

การแก้ปัญหาทางด้านเทคนิคนั้นอาคารสำคัญทั้ง 4<br />

มีปัญหาเดียวกันคือ โครงสร้างหลังคาทรุดโทรมมากต้อง<br />

เปลี่ยนตัวไม้เครื่องบน และใช้คอนกรีตเสริมเหล็กช่วย<br />

accentuate the sculpture of the king with a frame in the<br />

background. The vertical sides of the framing have half<br />

octagonal-shaped posts on top of which there is a lintel<br />

decorated with sculpted flower garland design. Above<br />

the lintel, there is a horizontal string-course consisting of<br />

the Chakri icon alternating with the unalome symbol in a<br />

row. The top of the wall is ornamented at mid-point with a<br />

gabled niche-like design, also bearing the unalome symbol<br />

that represents Rama I to give added significance. This<br />

detailing is a combination of traditional design together<br />

with simple geometric shapes in Art Deco influenced style.<br />

The front part of the podium has cylindrical shaped<br />

balustrades at the bottom while the upper part has two<br />

square pillars aligned behind in relation to the divine cloth<br />

pennant that has the image of a white elephant in the<br />

middle. The horizontal railing member that runs on top of<br />

the balustrades from a square pillar at one end, through<br />

the divine cloth to the square pillar at the other end, is<br />

also cylindrical in shape. This lower part of the podium<br />

was designed using plain and simple basic geometric<br />

เสริมความแข็งแรงของโครงสร้างบางส่วน รวมทั้งการ<br />

เปลี่ยนกระเบื้องมุงหลังคา ส่วนการซ่อมภาพจิตรกรรม<br />

ฝาผนังนั้นนับว่าเป็นความเคลื่อนไหวครั้งสำคัญของการ<br />

อนุรักษ์งานช่างฝีมือแบบประเพณีของไทยและต้องระดม<br />

ช่างฝีมือชั้นดีจากที่ต่างๆ เข้ามาช่วยกันทำงานในครั้งนั้น<br />

ส่วนงบประมาณขั้นสุดท้ายเมื่อเสร็จสิ้นโครงการแล้ว<br />

นั้นเป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 507,400 บาท<br />

สะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ โครงการนี้<br />

ประกอบด้วยพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จ<br />

พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และสะพานเหล็ก<br />

ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาเชื่อมต่อการคมนาคมระหว่างฝั่ง<br />

พระนครและฝั่งธนบุรี40 นับเป็นงานวิศวะ-สถาปัตยกรรม<br />

(Architectural Engineering) โครงการใหญ่โครงการแรก<br />

ของสยาม ใช้งบประมาณทั้งสิ้น 4 ล้านบาท<br />

พระบรมราชานุสาวรีย์เป็นพระบรมรูปประติมากรรม<br />

ขยายส่วนขนาด 3 เท่าของมนุษย์ เป็นรูปปั้นแบบเหมือนจริง<br />

โดยศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี หล่อสำเร็จด้วยทองสัมฤทธิ์<br />

งานด้านสถาปัตยกรรมได้แก่ ส่วนที่เป็นฐาน<br />

ยกสูงตั้งอยู่บนยกพื้นและพนักหน้ายกพื้น รวมทั้งกำแพง<br />

ด้านหลังรูปปั้น ผู้ที่เป็นสถาปนิกได้แก่ สมเด็จฯ เจ้าฟ้า<br />

forms in the style of Art Deco. The architectural aspect of<br />

this monument according to Narth Bodhiprasart, “was an<br />

attempt to create a style called the Modern Thai style”. 41<br />

The memorial bridge, on the other hand, was designed<br />

and constructed by a British company called Dorman<br />

Long. The width of the bridge is 16.68 meters wide while<br />

the length is 229.76 meters long and is divided into three<br />

sections. The middle section is subdivided into two parts<br />

that are hinged and can be mechanically raised open to<br />

allow ships to pass through. At both ends of the bridge<br />

there are lighthouse-like slightly tapered square towers<br />

with vertically grooved surfaces. At the top of the towers,<br />

lamps are installed to provide illumination. These towers<br />

are also in the Art Deco style and unifies the architectural<br />

features of the monument with the structural engineering<br />

aspects of the bridge.<br />

In plan, the configuration of the bridge has the form<br />

of an arrow which is the symbol of Rama VII. The bridge<br />

represents the shaft of the arrow with the tip pointed in<br />

the direction of the Thonburi side while the tail end has a<br />

208


กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ กำแพงนั้นมีการจัด<br />

องค์ประกอบคล้ายกับการจัดระเบียบของ Palladian<br />

Window คือแบ่งเป็น 3 ส่วน ตรงกลางซึ่งเป็นกำแพง<br />

ด้านหลังพระบรมรูปนั้นยกสูง ส่วนกำแพงขนาบ 2 ข้าง<br />

มีความสูงเท่ากันแต่เตี้ยกว่าและมีความกว้างน้อยกว่า<br />

กำแพงตรงกลาง พื้นที่กำแพงบริเวณด้านหลังพระบรมรูป<br />

มีการลดผนังกำแพงให้ลึกลงไปเป็นกรอบเพื่อเน้น<br />

รูปปั้นพระบรมรูป สองข้างกรอบเป็นเสาแปดเหลี่ยม<br />

รับทับหลังซึ่งประดับด้วยลวดลายพรรณพฤกษารูป<br />

พวงอุบะ เหนือแผ่นทับหลังสลักลายเป็นรูปตราจักรีสลับ<br />

กับดวงตราอุณาโลมในทรงพุ่มข้าวบิณฑ์เรียงเป็นแถวตาม<br />

แนวนอน ตรงกลางส่วนบนสุดของกำแพงออกแบบให้<br />

เป็นซุ้มหลังคาทรงจั่วขนาดเล็ก เพื่อเน้นผนังที่สลักตรา<br />

อุณาโลมซึ่งเป็นพระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 1 ลักษณะของ<br />

องค์ประกอบหน้าจั่วส่วนบนสุดนี้เป็นการผสมผสานกัน<br />

ของลวดลายเชิงประเพณีของไทยกับความเรียบง่ายของ<br />

รูปทรงเรขาคณิตพื้นฐานซึ่งเป็นอิทธิพลของงานศิลปะ<br />

แบบอาร์ต เดโค ส่วนพนักหน้ายกพื้นนั้นตกแต่งเป็น<br />

รูปเสากลมบริเวณส่วนล่าง พนักตอนบนมีลักษณะเป็น<br />

เสาสี่เหลี่ยมประดับสองข้างของผ้าทิพย์ซึ่งมีตราช้างเผือก<br />

U-shaped road in the form of fletching and nock, to direct<br />

traffic on to and down from the bridge on the Bangkok side.<br />

Sala Chalermkrung Royal Theatre<br />

Sala Chalermkrung is located at the corner of the<br />

intersection of Charoen Krung and Tripetch roads. Initially<br />

built as a movie theatre by royal command of Rama VII,<br />

it was a gift to the people on the occasion of the 150th<br />

anniversary of the founding of Bangkok 42 . The king also<br />

contributed 9 million Baht from his own private purse to<br />

fund the project. Construction began in 1930 and after<br />

it had been completed, the first film was premiered on<br />

July 2, 1933.<br />

The project architect was Prince Samaichaloem<br />

Kridakara while Narth Bodhiprasart was responsible for<br />

calculating the structural requirements, and Bangkok<br />

Company was hired as the building contractor. This theatre<br />

was the first public building in Siam that was designed<br />

in the style of Modern Architecture. The building has<br />

the form of a simple pill box with flat roof, clean exterior<br />

อยู่ตรงกลาง มีราวพนักเป็นราวกลมเชื่อมระหว่างเสา<br />

สี่เหลี่ยมขนาดใหญ่ที่มุมพนักและเสาสองข้างผ้าทิพย์<br />

รวมทั้งผ้าทิพย์ องค์ประกอบของพนักด้านหน้าเน้นการ<br />

ใช้มวลที่มีลักษณะเรียบง่ายเป็นรูปทรงเรขาคณิตพื้นฐาน<br />

แบบอาร์ต เดโค ลักษณะทางสถาปัตยกรรมของสะพาน<br />

ปฐมบรมราชานุสรณ์นี้ อาจารย์นารถ โพธิประสาท<br />

ให้ความเห็นว่า “เป็นความพยายามที่จะก่อให้เกิด<br />

แบบแผนที่เรียกว่า ไทยสมัยใหม่” 41<br />

สะพานโครงสร้างเหล็กข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาออกแบบ<br />

และก่อสร้างโดยบริษัทดอร์แมน ลอง ซึ่งเป็นบริษัทสัญชาติ<br />

อังกฤษ สะพานพระพุทธยอดฟ้าเป็นสะพานเหล็กกล้า<br />

3 ช่วง ยาว 229.76 เมตร กว้าง 16.68 เมตร สะพาน<br />

ช่วงกลางแบ่งเป็น 2 ส่วน แต่ละส่วนสามารถยกขึ้นได้<br />

ด้วยพลังไฟฟ้าเพื่อให้เรือผ่านเรียกว่า “สะพานเปิด”<br />

ที่ปลายสะพานทั้งสองฝั่งมีสิ่งก่อสร้างเป็นหอสูงลักษณะ<br />

คล้ายประภาคาร (Lighthouse) สี่เหลี่ยม มีโคมไฟให้<br />

ความสว่างอยู่บนยอด ลักษณะของหอสูงมีความเรียบง่าย<br />

เป็นแท่งสี่เหลี่ยมรูปทรงเรขาคณิตพื้นฐาน เซาะร่องเป็น<br />

จังหวะตามแนวตั้ง โดยสรุปแล้วหอสูงนี้ก็คือประภาคาร<br />

แบบอาร์ต เดโค ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมองค์ประกอบทาง<br />

facades, and openings placed where needed according<br />

to the functions but arranged in an orderly manner. The<br />

interior was environmentally controlled by using mechanical<br />

water cooling system and, equipped with modern acoustic<br />

system, the theatre could also screen soundtrack movies<br />

which at the time was considered to be very advanced.<br />

The plan of the building is asymmetrical with the main<br />

entrance directly at the corner of the road intersection. The<br />

ground floor is divided into two parts – the main lobby,<br />

and the auditorium with a stage and seating that could<br />

accommodate approximately 1,000 people. In the design,<br />

importance was also given to dispersing the audience<br />

through two large exit doors on each side of the auditorium.<br />

The interior is decorated under the theme of shadow-play<br />

figures, using thin metal sheets perforated and cut out<br />

in a combination of traditional Thai and Art Deco style<br />

design. The front façade, under the building signage of<br />

Sala Chalermkrung, is also decorated with thin perforated<br />

metal sheet cut-outs. These cut-outs on the façade are<br />

round, and each one is a mask that represents a monkey,<br />

209


สถาปัตยกรรมบริเวณฝั่งพระนครให้เป็นหนึ่งเดียวกับ<br />

โครงสร้างสะพานเหล็กซึ่งเป็นงานวิศวกรรม<br />

ผังของสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์เป็นรูปลูกศรซึ่ง<br />

เป็นพระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 7 ตัวสะพานเป็นก้านธนู<br />

หัวธนูหันไปทางฝั่งธนบุรี หางธนูมีลักษณะเป็นตัว U<br />

ซึ่งเป็นลักษณะของถนนขึ้นและลงจากสะพานที่<br />

ปลายสะพานด้านฝั่งพระนคร<br />

ศาลาเฉลิมกรุง เมื่อแรกสร้างนั้นเป็นโรงภาพยนตร์42<br />

ที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณา<br />

โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อพระราชทานแก่ราษฎร<br />

ไทยเนื ่องในวาระการฉลอง 150 ปีแห่งการสถาปนา<br />

กรุงรัตนโกสินทร์ โดยได้พระราชทานพระราชทรัพย์<br />

ส่วนพระองค์จำนวน 9 ล้านบาท สำหรับดำเนินการ<br />

โครงการนี้ การก่อสร้างเริ่มขึ้นใน พ.ศ. 2473 และเริ่ม<br />

เปิดฉายภาพยนตร์เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2476<br />

โรงภาพยนตร์เฉลิมกรุงตั้งอยู่ที่หัวมุมถนนตรง<br />

ตำแหน่งซึ่งเป็นจุดตัดกันของถนนเจริญกรุงและถนน<br />

ตรีเพชร สถาปนิกคือ หม่อมเจ้าสมัยเฉลิม กฤดากร<br />

ผู้คำนวณโครงสร้างคือ อาจารย์นารถ โพธิประสาท<br />

ดำเนินการก่อสร้างโดยบริษัทบางกอก ศาลาเฉลิมกรุง<br />

a hermit, and a demon which presumably, are characters<br />

symbolizing Dharma (goodness), Wisdom (mindfulness),<br />

and A-Dharma (evilness) respectively. Cut-out images on<br />

the doors to the auditorium at the foot of the stairs in the<br />

hall depict three basic Thai dance postures while inside the<br />

auditorium, the images mounted above the movie screen<br />

depict Phra Prathone Dharma (the divine master of dance)<br />

to signify the eyes, Phra Vishnu Karma (the divine master<br />

of art) to signify the scenes, and Phra Panja Sinkharana<br />

(the divine master of music) to signify the ears.<br />

The influence of Modern Architecture in the design<br />

of Sala Chalermkrung reflected the changing context and<br />

adapting to the values of developed Western nations with<br />

regards to the governing system under absolute monarchy<br />

in an implicated way. Such adaptation at the level of the<br />

elite could be considered however, as merely a cultural<br />

expression of change by means of architecture which is<br />

physically apparent and straightforward, compared to the<br />

more complex adaptation concerning political changes.<br />

Regarding the latter, although Rama VII was well aware of<br />

เป็นโรงภาพยนตร์ที่ทันสมัยและเป็นงานสถาปัตยกรรม<br />

ประเภทอาคารสาธารณะหลังแรกของสยามที่สร้างขึ้น<br />

ในแบบสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ (Modern Architecture)<br />

ตัวอาคารมีลักษณะเป็นกล่องเรียบง่าย ผนังภายนอก<br />

มีลักษณะเรียบเกลี้ยง หลังคาแบน เจาะช่องเปิดตาม<br />

ประโยชน์ใช้สอยแต่มีการจัดจังหวะของช่องอย่าง<br />

มีระเบียบ ติดตั้งระบบปรับอากาศแบบระบายความร้อน<br />

ด้วยน้ำ มีระบบเสียงที่ทันสมัย สามารถฉายภาพยนตร์<br />

เสียงในฟิล์มได้<br />

ผังเป็นแบบอสมมาตร ทางเข้าอยู่ตรงหัวมุมสี่แยก<br />

ที่ถนนเจริญกรุงตัดกับถนนตรีเพชร ผังชั้นล่างแบ่งเป็น<br />

2 ส่วน คือ โถงทางเข้า และโถงภายในโรงภาพยนตร์<br />

ซึ่งจัดแบ่งเป็นโถงที่นั่งจำนวนประมาณ 1,000 ที่นั่ง และ<br />

เวที การจัดผังให้ความสำคัญกับการระบายคนออกจาก<br />

โรงภาพยนตร์ทางประตูขนาดใหญ่ทางด้านข้างของโรง<br />

ข้างละ 2 ประตู<br />

การตกแต่งใช้แนวคิดหนังใหญ่ แต่ใช้วัสดุเป็น<br />

แผ่นโลหะฉลุลายที่ผสมผสานลักษณะไทยประเพณีกับ<br />

รูปแบบเรขาคณิตพื้นฐานตามแบบศิลปะอาร์ต เดโค<br />

ผนังภายนอกด้านหน้าโรงใต้ชื่อศาลาเฉลิมกรุงตกแต่ง<br />

the mounting political pressure that threatened the system<br />

of absolute monarchy and therefore intended to hand a<br />

constitution to the people soon enough, the nobles and<br />

the aristocrats were not prepared to be on equal terms<br />

with the masses at the expense of their superiority and<br />

social advantages. 43 Inevitably (and ironically), this was<br />

the major catalyst that eventually brought about a drastic<br />

change in the governing system of Siam.<br />

Residential buildings<br />

Residential buildings in the period of Rama VII did<br />

not exhibit any significant changes in style from those in<br />

the period of his predecessor; and in some obvious cases,<br />

continued influence could be seen expressed in the large<br />

mansions that have corner turrets for example. Other than<br />

those with continued influence, house plans became less<br />

rigid and functions were arranged by giving more attention<br />

to the principles of tropical architecture.<br />

Klai Kangwon Palace: The architect of this palace built<br />

by Rama VII in 1927-28 as a seaside resort at Hua Hin<br />

210


ด้วยแผ่นโลหะทรงกลมฉลุลายเป็นรูปหน้าลิง หน้าฤๅษี<br />

และหน้ายักษ์ ซึ่งน่าจะหมายถึง ธรรมะ ปัญญา และ<br />

อธรรม ตามลำดับ ภาพลายฉลุหน้าประตูทางเข้าภายใน<br />

โรงภาพยนตร์ตรงเชิงบันไดใหญ่ทางขึ้นชั้นบนเป็นภาพท่า<br />

ของการรำตามตำรานาฏยศาสตร์ได้แก่ เทพประณม ปฐม<br />

พรหมสี่หน้า ส่วนภาพหน้าจอภาพยนตร์นั้น เป็น<br />

ภาพพระประโคนธรรพ ซึ่งเป็นเทพครูนักรำ หมายถึง<br />

ตา พระวิษณุกรรม ซึ่งเป็นเทพครูช่าง หมายถึง ฉาก<br />

และพระปัญจสิงขรณ์ ซึ่งเป็นเทพครูดนตรี หมายถึง หู<br />

การนำเข้ารูปแบบสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ (Modern<br />

Architecture) ในการออกแบบศาลาเฉลิมกรุงแสดงให้<br />

เห็นถึงความเข้าใจในบริบทของความเปลี่ยนแปลงของ<br />

สังคมที่พัฒนาแล้วในโลกตะวันตกของรัฐบาลราชาธิปไตย<br />

หากแต่การปรับตัวของชนชั้นสูงนั้นเป็นการแสดงออก<br />

ทางวัฒนธรรมผ่านทางงานสถาปัตยกรรม ซึ่งเป็นการ<br />

ปรับตัวที่ว่องไวและง่าย แตกต่างจากการปรับตัวทางการ<br />

เมืองซึ่งทำได้ยากทั้งๆ ที่รัชกาลที่ 7 ทรงพยายามที่จะ<br />

พระราชทานรัฐธรรมนูญ 43 เนื่องจากทรงตระหนักดี<br />

ถึงปัญหาทางการเมืองซึ่งก็คือการคุกคามต่อสถานะ<br />

ของพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์<br />

in Prachuab Khiri Khan Province, was Prince Iddhidebsan<br />

Kridakara. There are altogether five buildings on the 38<br />

rai piece of land with the most important one being Phra<br />

Tamnak Piamsook which was the king’s residence. Other<br />

buildings are Phra Tamnak Noi, Phra Tamnak Oebprem<br />

Aimpridi, Phra Tamnak Pluk Kasem, and Sala Roeng pavilion.<br />

Phra Tamnak Piamsook is a two-storeyed mansion with<br />

simple and relaxed atmosphere built in the Romantic style<br />

that has composite features such as rectangular shaped<br />

openings with Palladian style window arrangements, and<br />

porches with rounded arches for example.<br />

The building has a square plan and on the south<br />

facing part of the ground floor is the recreation room with<br />

porches on its east and west sides. 44 This part of the building<br />

provides a view of the sea and receives pleasant sea<br />

breezes. The north part of the ground floor is the services<br />

area, and the upper floor is where the bed and private<br />

chambers are located. The interior is simple and modern<br />

in the Art Deco style. The thick walls are built of bricks,<br />

and the building sits on reinforced concrete foundations.<br />

ซึ่งกำลังเป็นกระแสที่คุกรุ่นอยู่ แต่การที่ชนชั้นผู้นำ<br />

ไม่สามารถเสียสละความได้เปรียบทางสังคมนั้น ใน<br />

ที่สุดแล้วก็เป็นสาเหตุสำคัญที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลง<br />

ทางการเมืองของสังคมไทย<br />

อาคารพักอาศัย อาคารพักอาศัยในสมัยรัชกาลที่ 7<br />

ไม่มีพัฒนาการทางรูปแบบที่แสดงความแตกต่างจาก<br />

สมัยรัชกาลที่ 6 อย่างชัดเจนนัก ในบางกรณีการสร้าง<br />

บ้านขนาดใหญ่กลับแสดงถึงอิทธิพลสืบเนื่องจากสมัย<br />

รัชกาลที่ 6 เช่น บ้านที่มีหอสูง เป็นต้น ผังมีความเป็น<br />

อิสระมากขึ้นและแสดงการจัดประโยชน์ใช้สอยที่คิดถึง<br />

ทฤษฎีของสถาปัตยกรรมเมืองร้อนมากขึ้น<br />

วังไกลกังวล เป็นพระราชฐานริมทะเลที่รัชกาลที่ 7<br />

ได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2470 - 2471 เพื่อ<br />

เป็นที่ประทับแปรพระราชฐานตากอากาศที่อำเภอหัวหิน<br />

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สถาปนิกคือ หม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์<br />

กฤดากร ที่ดินมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยม เนื้อที่ประมาณ<br />

38 ไร่ มีอาคารในวังจำนวน 5 หลัง อาคารที่สำคัญที่สุดคือ<br />

พระตำหนักเปี่ยมสุข ซึ่งเป็นที่ประทับในพระบาทสมเด็จ<br />

พระเจ้าอยู่หัว อาคารประกอบได้แก่ พระตำหนักน้อย<br />

พระตำหนักเอิบเปรม เอมปรีดิ์ พระตำหนักปลุกเกษม<br />

Other buildings on the compound are also plain<br />

and simple. Phra Tamnak Noi which was built for Queen<br />

Rambhai Barni and her parents, is a simple two-storeyed<br />

building while Phra Tamnak Oebprem Aimpridi built to<br />

accommodate royal family members, is a single-storey<br />

duplex with hip roof. Phra Tamnak Pluk Kasem is also plain<br />

and simple, but has two storeys with a gable roof, and<br />

was used for accommodating other royal family members<br />

as well. Sala Roeng on the other hand, is a multipurpose<br />

pavilion used for relaxation, entertainment and a variety<br />

of other functions.<br />

Phra Tamnak Mai at Sa Pathum Palace: Designed<br />

by Prince Iddhidebsan Kridakara, this mansion was built<br />

around 1926 for Prince Mahidol Adulyadej who was studying<br />

medicine in Boston at the time, and was his place of<br />

residence when he returned from the United States after<br />

having completed his studies in 1928.<br />

The building is placed on an east-west axis and faces<br />

south in order to effectively receive pleasant breezes for<br />

comfortable living. The design is in the Romantic style with<br />

211


และศาลาเริง<br />

พระตำหนักเปี่ยมสุข เป็นตำหนัก 2 ชั้น มีลักษณะ<br />

ผ่อนคลายและเรียบง่าย เป็นงานโรมันติกที่มีลักษณะ<br />

ผสมผสาน เช่น มีการออกแบบหน้าต่างทั้งแบบสี่เหลี่ยม<br />

และหน้าต่างบางส่วนที่ดูคล้ายกับการจัดจังหวะของ<br />

Palladian Window ช่องเปิดตรงระเบียงมีลักษณะเป็น<br />

ช่องเปิดยอดวงโค้ง เป็นต้น<br />

ผังอาคารเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 44 ผังชั้นล่างจัดพื้นที่<br />

ส่วนใหญ่ทางทิศใต้เป็นห้องสำหรับทรงพระสำราญอยู่<br />

บริเวณส่วนกลาง มีระเบียงขนาบทางด้านตะวันออก<br />

และด้านตะวันตก ส่วนนี้จะสามารถมองเห็นทิวทัศน์และ<br />

รับลมทะเลได้ดีที่สุด พื้นที่ด้านเหนือเป็นส่วนบริการ<br />

ชั้นบนเป็นพื้นที่ห้องบรรทม การตกแต่งภายในมีลักษณะ<br />

เรียบง่ายและทันสมัยแบบอาร์ต เดโค ผนังก่ออิฐหนา<br />

โครงสร้างกำแพงรับน้ำหนัก<br />

อาคารประกอบล้วนมีลักษณะที่เรียบง่าย พระตำหนัก<br />

น้อยที่ประทับของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีรวมทั้ง<br />

พระบิดาและพระมารดา ลักษณะเป็นบ้าน 2 ชั้นเรียบง่าย<br />

พระตำหนักเอิบเปรม เอมปรีดิ์ เป็นบ้านแฝดชั้นเดียว<br />

หลังคาปั้นหยา เป็นที่ประทับของพระบรมวงศานุวงศ์<br />

combination of hip and gable roofs while treatment of the<br />

elevations is similar to that of Phra Tamnak Piamsook at<br />

Klai Kangwon Palace which has rectangular windows on<br />

the upper level, and round arches on the porch at ground<br />

level. Walls were constructed with large-sized bricks<br />

imported from England, but the actual structure is that<br />

of reinforced concrete post-and-beam type construction.<br />

The building also sits on reinforced concrete foundation<br />

that relies on the clay and underground water table to help<br />

stabilize the structure.<br />

Chaophraya Voraphong Phiphat Mansion (Phra Ar-thit<br />

House): In 1926 Phraya Voraphong Phiphat was promoted<br />

to Chaophraya and became the Palace Minister in 1927<br />

which was the year that he built his large mansion on Phra<br />

Ar-thit Road. The minister had been a businessman since<br />

1883 and owned many businesses such as sawmills,<br />

brick firing kilns, rice mills, and rail-transport company<br />

among others, while also serving the government at the<br />

same time. Thus the plan of Phra Ar-thit House clearly<br />

reflected his way of life in which the private family areas<br />

พระตำหนักปลุกเกษม เป็นอาคารสองชั้นแบบเรียบง่าย<br />

หลังคาจั่ว เป็นที่ประทับของพระบรมวงศานุวงศ์<br />

ศาลาเริงเป็นศาลาเอนกประสงค์สำหรับจัดงานแสดง<br />

และงานรื่นเริงต่างๆ<br />

วังเจ้านาย<br />

พระตำหนักใหญ่ วังสระปทุม เป็นพระตำหนัก<br />

ที่ประทับของสมเด็จฯ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช ซึ่งทรง<br />

สร้างขึ้นราว พ.ศ. 2469 ขณะประทับอยู่ที่เมืองบอสตัน<br />

ประเทศสหรัฐอเมริกา และเสด็จกลับมาประทับภายหลัง<br />

จากที่ได้ทรงศึกษาสำเร็จวิชาแพทยศาสตร์แล้วใน พ.ศ.<br />

2471 สถาปนิกคือ หม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร<br />

ตัวอาคารวางตามตะวันหรือตามแนวทิศตะวันออก-<br />

ตะวันตก หันหน้าไปทางทิศใต้เพื่อให้ตัวอาคารรับลม<br />

ได้อย่างเต็มที่ มีลักษณะเป็นอาคารพักอาศัยเพื่อความ<br />

อยู่สบาย เป็นงานบ้านแบบโรมันติกมีลักษณะผสมผสาน<br />

หลังคาปั้นหยาผสมจั่ว รูปด้านคล้ายกับพระตำหนัก<br />

เปี่ยมสุข วังไกลกังวล การออกแบบช่องหน้าต่างและ<br />

ช่องเปิดชั้นล่างมีลักษณะคล้ายกันคือ หน้าต่างชั้นบน<br />

เป็นหน้าต่างแบบสี่เหลี่ยม ส่วนช่องเปิดที่ระเบียงชั้นล่าง<br />

เป็นช่องเปิดแบบวงโค้ง ผนังอาคารก่ออิฐหนาเนื่องจาก<br />

were located on the upper floor while the lower floor was<br />

used for business dealings.<br />

The house is a plain and simple two-storeyed building<br />

in the Romantic style with a turret. Both the plans and<br />

elevations have asymmetrical design, and functions were<br />

arranged in a way that would allow for most efficient use.<br />

The front of the building faces the river on its west and has<br />

a large reception hall on the ground floor with a turret at<br />

the north-west corner. Beyond the hall is a corridor with<br />

the dining room, living room and lounge on both sides. At<br />

the end of the corridor is the owner’s private office. On the<br />

upper floor, the front facing part is a sitting area that has<br />

the part of the turret on the north-west corner as with the<br />

lower floor. The bedrooms are on both sides of a central<br />

corridor with the master bedroom at the end.<br />

The prominent feature of this building is the three<br />

storeys high turret with pointed pyramid-shaped roof which<br />

was a popular component among the elite at the time.<br />

Timber houses: The most common type of houses<br />

built during the period of Rama VII were plain and simple<br />

212


ใช้อิฐขนาดใหญ่สั่งจากประเทศอังกฤษ โครงสร้างก่อ<br />

อิฐฉาบปูน<br />

บ้านเจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์(บ้านพระอาทิตย์) ใน<br />

พ.ศ. 2469 พระยาวรพงศ์พิพัฒน์ได้รับการโปรดเกล้าฯ<br />

ให้เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็นเจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ ต่อมา<br />

ใน พ.ศ. 2470 โปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งเสนาบดี<br />

กระทรวงวัง และในปีนั้นเองเจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์<br />

ก็ได้สร้างคฤหาสน์หลังใหญ่ขึ้นที่ถนนพระอาทิตย์ และ<br />

เนื่องจากเจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ได้ทำธุรกิจต่างๆ<br />

มาตั้งแต่ พ.ศ. 2426 เช่น โรงเลื่อยจักร เตาเผาอิฐ<br />

โรงสีข้าว กิจการเดินรถไฟฯ ควบคู่ไปกับการรับราชการ<br />

บ้านพระอาทิตย์จึงสะท้อนรูปแบบของการดำเนินชีวิต<br />

ของบ้านออกมาค่อนข้างชัดเจนคือ มีลักษณะของบ้าน<br />

ที่เป็นที่พักอาศัยส่วนตัวของครอบครัวอยู่บริเวณชั้นบน<br />

และพื้นที่ซึ่งจัดเตรียมไว้ส ำหรับการติดต่อธุรกิจอยู่ที่ชั้นล่าง<br />

ตัวอาคารมีลักษณะเรียบง่ายเป็นบ้าน 2 ชั้น แบบ<br />

โรมันติก มีหอคอยสูง มีลักษณะอสมมาตรทั้งผังและ<br />

รูปด้าน การจัดเนื้อที่ในบ้านให้ความสำคัญกับการจัด<br />

พื้นที่ใช้สอยให้ได้ประโยชน์มากที่สุด ด้านหน้าบ้าน<br />

หันไปทางแม่น้ำหรือทางทิศตะวันตก ผังชั้นล่างด้านหน้า<br />

two-storeyed timber houses with hipped gables while the<br />

sawn-timber decorations used in displaying extravagance<br />

became less elaborate and fewer compared to the previous<br />

period.<br />

Change in the governing system<br />

On April 6, 1932, Rama VII presided over the<br />

opening ceremony of the Rama I Memorial Bridge built<br />

to commemorate the 150 th anniversary of the founding of<br />

Bangkok. Eleven weeks following that, The People’s Party<br />

(Khana Radsadorn) staged a coup d’état and overthrew<br />

the government on June 24, 1932. Consequently, on<br />

December 10, 1932, King Rama VII issued the first official<br />

Constitution ever in the history of Siam.<br />

The political situation after the change in the governing<br />

system was somewhat turbulent. There were many conflicts<br />

within the Party itself, but the real crisis arose when the<br />

pro-monarchy faction attempted a counter-coup led by<br />

Prince Bovoradet, former Minister of Defense, on October<br />

11, 1933. The attempt was unsuccessful and the prince<br />

เป็นโถงรับแขกขนาดใหญ่ มีหอคอยอยู่ที่มุมห้องด้าน<br />

ทิศเหนือ ถัดไปเป็นโถงทางเดินซึ่งขนาบข้างด้วย<br />

ห้องอาหารตลอดจนห้องรับแขกและพักผ่อน ส่วนห้อง<br />

ขนาดใหญ่ซึ่งอยู่ด้านในสุดเป็นห้องทำงานส่วนตัวของ<br />

ท่านเจ้าของบ้าน ผังชั้นบนด้านหน้าเป็นโถงพักผ่อน<br />

ที่มุมห้องทางทิศเหนือเป็นหอคอย มีโถงทางเดิน<br />

เชื่อมต่อห้องนอนซึ่งอยู่สองข้างโถง ส่วนห้องนอนใหญ่<br />

ด้านในสุดเป็นห้องนอนของท่านเจ้าของบ้าน<br />

บ้านหลังนี้มีจุดเด่นอยู่ที่หอคอย 3 ชั้น หลังคาทรง<br />

พีระมิดยอดแหลมที่หน้าบ้าน ซึ่งคงเป็นองค์ประกอบทาง<br />

สถาปัตยกรรมตามสมัยนิยมของชนชั้นนำของสังคมไทย<br />

ในช่วงเวลานั้น<br />

บ้านไม้ บ้านไม้ที่นิยมปลูกกันมากในสมัย<br />

รัชกาลที่ 7 เป็นบ้านไม้สองชั้นที่มีลักษณะเรียบง่าย<br />

การใช้องค์ประกอบลายฉลุไม้ในอาคารมีน้อยลง<br />

ไม่แสดงความหรูหราและฟุ่มเฟือย ลายฉลุไม้มีลักษณะที่<br />

ง่ายไม่ซับซ้อนเหมือนสมัยรัชกาลที่ 6 นิยมใช้หลังคาจั่ว<br />

แบบหัวตัด (Hipped Gable Roof)<br />

การเปลี่ยนแปลงการปกครอง<br />

วันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2475 พระบาทสมเด็จ<br />

fled the country. Then on March 2, 1934, King Rama VII<br />

announced his abdication of the throne and went into<br />

self-exile until he passed away.<br />

King Ananda Mahidol (Rama VIII) reigned from March<br />

2, 1934 to June 9, 1946. At the time of his ascension to the<br />

throne, he was only 8 years old and studying in Switzerland.<br />

The National Assembly had therefore appointed Colonel<br />

Prince Anuvatra Chaturanta, Lieutenant Commander<br />

Prince Aditya Dhibabha, and Chaophraya Yommaraj (Pun<br />

Sukhum) as his regents until he came of age, while the<br />

political administration at the time was in the hands of<br />

Khana Radsadorn (People’s Party) 45 whose major policies<br />

concerned State Customs and Economic Nationalism.<br />

State Customs policy: This policy was decreed during<br />

the period when Field Marshal P. Pibulsonggram (Pibul)<br />

was in his first term as Prime Minister from 1938 to 1944<br />

around the time of the Second World War 46 (1939 - 1945).<br />

The policy was intended to modernize the Thai nation to<br />

equal that of other civilized countries. This notion of building<br />

213


พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินเป็น<br />

องค์ประธานในการเปิดสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์<br />

ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อร่วมในการเฉลิมฉลองวาระการสถาปนา<br />

กรุงรัตนโกสินทร์ครบรอบ 150 ปี 11 สัปดาห์ หลังจากนั้น<br />

คณะราษฎรก่อการยึดอำนาจการปกครองเมื่อวันที่<br />

24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ต่อมาในวันที่ 10 ธันวาคม<br />

พ.ศ. 2475 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวรเป็นครั้งแรกของ<br />

การปกครองในสยาม<br />

สถานการณ์ทางการเมืองหลังการเปลี่ยนแปลง<br />

การปกครองเป็นไปอย่างยุ่งเหยิง เกิดความขัดแย้งกันเอง<br />

ระหว่างฝ่ายคณะราษฎร แต่วิกฤตสำคัญของคณะราษฎร<br />

ก็คือความพยายามของฝ่ายนิยมราชาธิปไตยที่จะ<br />

ยึดอำนาจคืนเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2476 โดย<br />

กองกำลังทหารที่นำโดย พลเอก พระวรวงศ์เธอ<br />

พระองค์เจ้าบวรเดช อดีตเสนาบดีกลาโหม แต่ก็พ่ายแพ้<br />

ต่อกองกำลังของฝ่ายรัฐบาล พระองค์เจ้าบวรเดช<br />

เสด็จหนีไปต่างประเทศ และในที่สุดแล้วพระบาทสมเด็จ<br />

พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงประกาศสละราชสมบัติเมื่อ<br />

วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477<br />

up the nation requires building up “people” to have the<br />

conscience to act and behave in civilized manner in their<br />

daily lives. By this, the Prime Minister envisaged actions<br />

by “power of the people” through majority consent and<br />

issued, between 1939 and 1942, twelve edicts on cultural<br />

mandates, and penalties for violation.<br />

Changing behavioral conduct of the Thai people in<br />

their daily lives, such as being properly dressed and having<br />

proper social manners in accordance with civilized western<br />

ways, had in fact been introduced once before during<br />

the period of absolute monarchy, but applied only to the<br />

ruling class such as royalties, nobilities and aristocrats.<br />

The new mandates however, were aimed at transforming<br />

and “building up the people” throughout the country. This<br />

was a well-intentioned policy but in reality, the change<br />

envisioned by the Prime Minister was too abrupt to adapt<br />

to, as some mandates conflicted with the ingrained way of<br />

the community and people’s way of life; such as chewing<br />

betel nuts and wearing wraparound cloths for example.<br />

Nevertheless, in the long term, some of the mandates 47<br />

สมัยรัชกาลที่ 8<br />

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล<br />

พระอัฐมรามาธิบดินทร ทรงครองราชย์ระหว่างวันที่ 2<br />

มีนาคม พ.ศ. 2477 ถึงวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. <strong>2489</strong><br />

ขณะเสด็จขึ ้นครองราชสมบัติทรงมีพระชนมายุเพียง<br />

8 พรรษาและทรงศึกษาอยู่ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์<br />

จึงได้มีการแต่งตั้งคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์<br />

เพื่อบริหารราชการแผ่นดินจนกว่าจะทรงบรรลุนิติภาวะ<br />

ส่วนอำนาจทางการเมืองนั้นอยู่ในมือของรัฐบาล<br />

คณะราษฎร 45 นโยบายที่สำคัญของรัฐบาลคณะราษฎร<br />

ในช่วงเวลานี้ได้แก่ นโยบายรัฐนิยมและนโยบาย<br />

เศรษฐกิจชาตินิยม<br />

นโยบายรัฐนิยม เป็นนโยบายที่ประกาศใช้ในสมัย<br />

จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรีครั้งแรก<br />

ระหว่าง พ.ศ. 2481 - 2487 ซึ่งเป็นช่วงที่อยู่ในภาวะ<br />

สงครามโลกครั้งที่สอง 46 จุดประสงค์ของนโยบายนี้<br />

คือ การสร้างชาติไทยให้มีความเจริญทัดเทียมกับ<br />

อารยประเทศ โดยแนวคิดในการสร้างชาตินี้เน้นไปที่<br />

การสร้าง “คน” คือการสร้างสำนึกและการปฏิบัติตน<br />

อย่างมีอารยะในชีวิตประจำวันของคนไทยในระดับ<br />

have their virtues and are still practiced today. For example,<br />

being properly attired in public, eating politely, reserving<br />

occupational careers for Thai people, and supporting<br />

industrial, agricultural, and commercial undertakings of<br />

fellow Thais. This also included changing the name of the<br />

country from Siam to Thailand.<br />

Economic Nationalism policy: Supporting industrial,<br />

agricultural, and commercial efforts of fellow Thais was in<br />

fact the main concern of the Economic Nationalism policy<br />

under Prime Minister Pibul’s regime. It was an endeavor<br />

to rectify the economic situation that declined during the<br />

earlier periods of absolute monarchy brought about by<br />

mismanagement, such as the damages that resulted from<br />

the Bowring Treaty in which foreign businesses had better<br />

advantage over local ones, foreign investors benefitting<br />

from large scale industries such as the timber industry, or<br />

farmers in rural areas being taken advantage of by Chinese<br />

merchants for example. The Pibul Government introduced<br />

Economic Nationalism policy so that the government<br />

can have greater role in manipulating important major<br />

214


สามัญชนทั่วไป ทั้งนี้จอมพล ป. ให้เหตุผลว่าต้องการให้<br />

การปฏิบัตินั้นเป็น “อำนาจมหาชน” หรือเป็นการปฏิบัติ<br />

ที่เป็นความเห็นชอบของประชาชนส่วนใหญ่ในชาติ<br />

และมีรายละเอียดในทางปฏิบัติอยู่ในประกาศรัฐนิยม<br />

ระหว่าง พ.ศ. 2482 - 2485 จำนวน 12 ฉบับ ซึ่งประกาศ<br />

พร้อมกับบทลงโทษสำหรับผู้ไม่ปฏิบัติตาม<br />

สำหรับการปรับพฤติกรรมในชีวิตประจำวันของ<br />

คนไทย เช่น การแต่งกาย มารยาทสังคม ฯลฯ เพื่อให้<br />

สอดคล้องกับความเป็นอารยะของโลกตะวันตกนั้น<br />

ได้เคยเกิดขึ้นมาแล้วในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์<br />

แต่เป็นการปรับตัวในหมู่ชนชั้นปกครอง เช่น พระราชวงศ์<br />

และขุนนาง แต่ในสมัยรัฐนิยมนั้นมีจุดมุ่งหมายอยู่ที่การ<br />

ปรับตัวของประชาชนในประเทศหรือเป็น “การสร้างคน”<br />

ซึ่งเป็นแนวนโยบายที่ดี เพียงแต่การปรับตัวตามประกาศ<br />

รัฐนิยมนั้นในความเป็นจริงสำหรับสังคมไทยเป็นการ<br />

ปรับตัวที่ฉับพลัน เนื่องจากจอมพล ป. ต้องการให้<br />

เกิดผลโดยรวดเร็วแต่ระเบียบบางอย่างก็ขัดต่อวิถีชีวิต<br />

ประจำวันที ่เป็นวิถีชุมชน เช่น การกินหมาก การนุ่ง<br />

โจงกระเบน เป็นต้น อย่างไรก็ดีในระยะยาวการปฏิบัติ<br />

ตามประกาศรัฐนิยม 47 ชุดนี้หลายข้อมีส่วนดีที่ยังคงมี<br />

businesses, and exclude Chinese investors from the<br />

Thai economic sector 48 . This led to assisting farmers to<br />

empower themselves by setting up cooperatives whereby<br />

the government has a major share in the organization, or<br />

setting up state enterprises and investing in large scale<br />

industries together with foreign investors in which case the<br />

Thai government and people shall have a majority share<br />

while the foreign share was limited to only 30 percent.<br />

However, Pridi Bhanomyong had the opinion that such<br />

policy was, on the contrary, recentralizing power back<br />

into the hands of high ranking government officials and<br />

senior ranking military officers like in the times of absolute<br />

monarchy when power was centralized in the hands of the<br />

elite ruling class. Pridi thus supported urban businessmen<br />

by using state funds to invest in a joint-venture with the<br />

private sector and established Thai Rice Company to carry<br />

out rice trading businesses. Apart from that, he also set<br />

up the Bank of Asia for developing industries and brought<br />

in leading businessmen to carry out management of what<br />

was considered to be the affairs of the government 49 . The<br />

การปฏิบัติอยู่ เช่น การแต่งกายให้สุภาพเรียบร้อยใน<br />

ที่สาธารณะ มารยาทในการบริโภคอาหาร การสงวนอาชีพ<br />

บางอย่างไว้เฉพาะคนไทย ตลอดจนการสนับสนุน<br />

อุตสาหกรรม การเกษตร และการพาณิชย์ของไทย เป็นต้น<br />

เศรษฐกิจชาตินิยม การสนับสนุนอุตสาหกรรม<br />

การเกษตร และการพาณิชย์ของไทยนั้น ที่จริงแล้วเป็น<br />

เนื้อหาหลักของนโยบายเศรษฐกิจชาตินิยมในรัฐบาล<br />

จอมพล ป. พิบูลสงคราม ซึ่งเป็นนโยบายที่คณะราษฎร<br />

ได้พยายามแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นตั้งแต่สมัย<br />

สมบูรณาญาสิทธิราชย์ เช่นการที่สนธิสัญญาเบาว์ริ่ง<br />

เอื้อประโยชน์ให้กับธุรกิจของชาวต่างชาติมากกว่าธุรกิจ<br />

ของชาวไทย การที่นักธุรกิจชาวต่างชาติได้ประโยชน์<br />

จากการเป็นเจ้าของกิจการอุตสาหกรรมขนาดใหญ่<br />

เช่น อุตสาหกรรมป่าไม้ ตลอดจนการที่ชาวนาในชนบท<br />

ถูกเอาเปรียบจากนักธุรกิจชาวจีน เป็นต้น เมื่อฝ่ายทหาร<br />

ภายใต้การนำของจอมพล ป. พิบูลสงคราม เข้ามา<br />

ควบคุมรัฐบาลก็ได้เสนอแนวคิดเศรษฐกิจชาตินิยม<br />

โดยรัฐบาลเข้าไปมีบทบาทในองค์กรธุรกิจสำคัญต่างๆ<br />

และกำจัดชาวจีนออกไปจากระบบเศรษฐกิจไทย 48 โดย<br />

การสนับสนุนให้ชาวนารวมตัวกันตั้งสหกรณ์ และให้<br />

difference in opinion between Pridi and the military faction<br />

led by Pibul consequently turned into a political conflict<br />

and eventuated in a coup d’état in 1947. Pridi fled the<br />

country and never returned. Nevertheless, from an overall<br />

perspective, Pibul’s Economic Nationalism policy 50 opened<br />

up opportunities for new businesses to emerge and allowed<br />

for accumulation of private funds as well as provided the<br />

foundation for growth and development of internal reserves<br />

in addition to the subsequent development and growth of<br />

the middle class.<br />

Architecture<br />

In the period of Rama VIII, the People’s Party initiated<br />

many large scale architectural construction projects.<br />

The Administration Building of the University of Moral<br />

and Political Sciences 51 , The Athletics Stadium, and the<br />

Middle Rajdamnoen Avenue Redevelopment Project are<br />

some of the examples. At the same time, an important<br />

accomplishment in the academic field of architecture,<br />

was the publication of the book “Architecture in Thailand”<br />

215


รัฐบาลเข้าไปมีหุ้นใหญ่ในองค์กรธุรกิจ เช่น การจัดตั้ง<br />

รัฐวิสาหกิจ หรือการลงทุนอุตสาหกรรมขนาดใหญ่กับ<br />

ชาวต่างชาติ โดยรัฐมีหุ้นใหญ่ร่วมกับชาวไทย และ<br />

ชาวต่างชาติลงทุนได้ 30 % แต่นโยบายเศรษฐกิจ<br />

ชาตินิยมดังกล่าว นายปรีดี พนมยงค์ กลับมองเห็นว่า<br />

อำนาจรัฐกลับมารวมศูนย์อยู่ที่ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่และ<br />

นายทหารอาวุโสเหมือนกับในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์<br />

ซึ่งอำนาจรัฐรวมศูนย์อยู่ที่ชนชั้นปกครอง นายปรีดี<br />

จึงหันไปสนับสนุนนักธุรกิจในเมือง โดยการนำทุนของ<br />

รัฐเข้าร่วมหุ้นกับภาคธุรกิจเอกชนโดยใช้เงินทุนจาก<br />

กระทรวงการคลังจัดตั้งบริษัทข้าวไทยเพื่อทำธุรกิจ<br />

ค้าข้าว นอกจากนี้นายปรีดียังได้จัดตั้งธนาคารเอเชีย<br />

เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรม และนำนักธุรกิจชั้นนำ<br />

เข้ามาเป็นผู้บริหารและถือว่าเป็นธุรกิจของรัฐบาล 49<br />

ความเห็นที่แตกต่างระหว่างกลุ่มทหารนำโดยจอมพล ป.<br />

และนายปรีดีดังกล่าว ในที่สุดแล้วได้กลายเป็นความขัดแย้ง<br />

ทางการเมืองทั้งยังเป็นเหตุให้เกิดการรัฐประหารใน พ.ศ.<br />

2490 นายปรีดี พนมยงค์ ต้องลี้ภัยไปอยู่ต่างประเทศ<br />

จนตลอดชีวิต อย่างไรก็ดีเมื่อมองในภาพรวมแล้ว<br />

อาจกล่าวได้ว่า นโยบายของจอมพล ป. ในเรื่องเศรษฐกิจ<br />

written by Narth Bodhiprasart in 1944. Printed in 1946,<br />

this was the first book on the history of architecture and<br />

also the first Thai text book on architecture authored by<br />

a Thai architect.<br />

The Administration Building of the University of Moral and<br />

Political Sciences<br />

The University of Moral and Political Sciences 52 was<br />

founded in 1934 following the 6th Principle of the People’s<br />

Party concerning education for the public in which the<br />

Party believed that the aristocrats prevented the common<br />

people from receiving adequate education.<br />

The main building of the University, known as The<br />

Dome, was designed by Miu Abhaiwong according to<br />

the criteria set by Pridi Bhanomyong, requiring it to be<br />

“economical, beautiful and modern”. The Dome was<br />

designed in the Romantic style that reflected the sharpness<br />

and skillfulness of the architect in problem solving.<br />

Modifications to the four soldier barracks that were there<br />

originally and converting them into a single building gave<br />

it the appearance of order and simplicity while the addition<br />

ชาตินิยม 50 เปิดโอกาสให้ธุรกิจใหม่ๆ เกิดขึ้น และ<br />

เปิดทางให้มีการสะสมทุนของเอกชน รวมทั้งเป็นพื้นฐาน<br />

ของการเติบโตและความเข้มแข็งของทุนภายในประเทศ<br />

ตลอดจนการเติบโตของชนชั้นกลางในเวลาต่อมา<br />

งานสถาปัตยกรรม ในสมัยรัชกาลที่ 8 รัฐบาล<br />

คณะราษฎรได้สร้างงานสถาปัตยกรรมโครงการใหญ่<br />

หลายโครงการ เช่น ตึกบัญชาการมหาวิทยาลัยวิชา<br />

ธรรมศาสตร์และการเมือง 51 สนามกรีฑาสถาน โครงการ<br />

ปรับปรุงถนนราชดำเนินกลาง เป็นต้น นอกจากนี้แล้ว<br />

ก็ยังมีความก้าวหน้าทางวิชาการสถาปัตยกรรมที่สำคัญ<br />

คือ อาจารย์นารถ โพธิประสาท ได้แต่งหนังสือเรื่อง<br />

“สถาปัตยกรรมในประเทศไทย” เสร็จสมบูรณ์ใน พ.ศ. 2487<br />

นับเป็นหนังสือประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมเล่มแรก<br />

และเป็นหนังสือวิชาการสถาปัตยกรรมเล่มแรกที่เขียนขึ้น<br />

โดยสถาปนิกไทย และได้ตีพิมพ์ในปลาย พ.ศ. <strong>2489</strong><br />

ตึกบัญชาการมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และ<br />

การเมือง มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง 52<br />

สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2477 ตามหลักการของคณะราษฎร<br />

ข้อที่ 6 เรื่องการให้การศึกษากับราษฎรทั่วไป เนื่องจาก<br />

คณะราษฎรมีความเชื่อว่าฝ่ายเจ้าปิดกั้นไม่ให้ราษฎร<br />

of an iconic double-tiered, pointed octagonal hip roof at<br />

the mid-part of the building that resembles the pointed<br />

tip of a lead pencil, is symbolic of the sharpness of the<br />

intellect. Although called The Dome, the structure of the<br />

roof is not that of a typical dome structure.<br />

The Athletics Stadium<br />

Another important quality design work by Miu Abhaiwong<br />

was the Athletics Stadium which was given the name Sanam<br />

Subhachalasai in 1941 and became the main stadium of<br />

The National Stadium of Thailand. Completed construction<br />

in 1941, this Art Deco building was the best of this kind<br />

of style in Thailand. The main stand has a reinforced<br />

concrete roof structure cantilevered to cover the seating<br />

area, and was considered to be highly advanced at the<br />

time. This stadium reflected the intention of the People’s<br />

Party to see that Thai people have good health, by giving<br />

importance to physical education in addition to educating<br />

about ethics and Buddhism.<br />

Middle Rajdamnoen Avenue Redevelopment Project<br />

The most significant architectural project of the People’s<br />

216


ได้รับการศึกษาอย่างพอเพียง<br />

อาคารหลักของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ซึ่ง<br />

เรียกกันทั่วไปว่า “ตึกโดม” นั้นเป็นการออกแบบโดย<br />

นายหมิว อภัยวงศ์ ตามแนวทางของผู้ประศาสน์การ<br />

ปรีดี พนมยงค์ ที่ให้ไว้ว่า “ประหยัด สวยงาม ทันสมัย”<br />

“ตึกโดม” เป็นงานออกแบบแนวโรมันติก ซึ่ง<br />

แสดงถึงความเฉียบแหลมและทักษะในการตอบโจทย์<br />

ทางสถาปัตยกรรมของสถาปนิก ซึ่งปรับปรุงอาคาร<br />

โรงทหารที่มีอยู่เดิมจำนวน 4 หลังเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน<br />

มีลักษณะเรียบง่ายแต่มีระเบียบ แล้วสร้างสัญลักษณ์<br />

เป็นรูปหลังคาแปดเหลี่ยมทรงสูงสองชั้นซ้อนกันตรง<br />

บริเวณอาคารหลักส่วนกลาง หลังคาส่วนบนมีลักษณะ<br />

เป็นทรงกรวยแหลมรูปร่างคล้ายปลายแท่งดินสอ<br />

ซึ่งหมายถึงความเฉียบแหลมของสติปัญญา (เรียกกันว่า<br />

หลังคา “โดม” แต่ไม่ใช่โครงสร้างโดม)<br />

สนามกรีฑาสถาน อาคารคุณภาพฝีมือนายหมิว อภัยวงศ์<br />

อีกอาคารหนึ ่ง คือการออกแบบ “สนามกรีฑาสถาน”<br />

ซึ่งสร้างแล้วเสร็จใน พ.ศ. 2484 และต่อมาเปลี่ยนชื่อ<br />

เป็น “กรีฑาสถานแห่งชาติ” ส่วนสนามกีฬาหลักตั้งชื่อว่า<br />

“สนามศุภชลาศัย” ใน พ.ศ. 2484 สนามกีฬาแห่งนี้เป็น<br />

Party in Bangkok was the Middle Rajdamnoen Avenue<br />

Redevelopment Project which began in 1937 but underwent<br />

major revision by the Pibulsonggram government that<br />

wanted it to be a modern commercial center for Bangkok<br />

like those in Europe. The main features of the design were<br />

the wide boulevard lined with rows of buildings such as<br />

shops, offices, hotels, and theatres in the style of Modern<br />

architecture, with the Democracy Monument at the center<br />

of the strip. The Monument was built between 1939 and<br />

1940 in the Art Deco style with symbols pertaining to the<br />

People’s Party and the day of the coup, such as the notion<br />

of “six” to represent the 6 Principles, the date June 24,<br />

1932, and the placement of the Constitution Manuscript<br />

mockup on its bowl-stand which is the most important<br />

feature of the entire design. Pibul also designated the<br />

monument to be the zero-kilometer mark from which all<br />

roads emanating out of Bangkok to other provinces are to<br />

be measured, and thus signify “the beginning”.<br />

The redevelopment of Middle Rajdamnoen Avenue<br />

was metaphorically in effect a transformation of the symbol<br />

งานสถาปัตยกรรมแบบ Art Deco ที่ดีที่สุดของไทย<br />

อัฒจันทร์หลักประกอบด้วยที่นั่งคนดูและโครงหลังคา<br />

คอนกรีตเสริมเหล็กที่ยื่นคานโครงสร้างหลังคาออกมา<br />

คลุมที่นั่ง ซึ่งนับว่าเป็นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก<br />

ที่ก้าวหน้ามากในสมัยนั้น สนามกีฬาแห่งนี้แสดง<br />

เจตจำนงของ “คณะราษฎร” ที่ต้องการให้ประชาชนไทย<br />

มีพลานามัยที่แข็งแรง เป็นการให้ความสำคัญกับพลศึกษา<br />

นอกเหนือจากจริยศึกษา และพุทธิศึกษา<br />

การปรับปรุงถนนราชดำเนินกลาง โครงการด้าน<br />

สถาปัตยกรรมของคณะราษฎรที่มีความสำคัญที่สุดใน<br />

กรุงเทพฯ คือ โครงการปรับปรุงถนนราชดำเนินกลาง<br />

ซึ่งเริ่มดำเนินการโดยรัฐบาลคณะราษฎรมาตั้งแต่<br />

พ.ศ. 2480 แต่มีการปรับปรุงครั้งใหญ่ในสมัยจอมพล ป.<br />

พิบูลสงคราม ผู้ซึ่งมีความต้องการให้ถนนราชดำเนินกลาง<br />

เป็นศูนย์กลางทางการพาณิชย์ของกรุงเทพฯ ที่มีความเจริญ<br />

และทันสมัยแบบตะวันตก องค์ประกอบหลักได้แก่ ถนน<br />

ขนาดกว้างใหญ่ มีอาคารซึ่งสร้างขึ้นสองข้างถนนในแบบ<br />

สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ ซึ่งประกอบด้วยอาคารพาณิชย์<br />

โรงแรม โรงภาพยนตร์ โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่อนุสาวรีย์<br />

ประชาธิปไตย ซึ่งสร้างขึ้นระหว่าง พ.ศ. 2482-2483 ใน<br />

of absolute monarchy into a symbol of the Thai State<br />

that is advanced, progressive, modern, and international<br />

in outlook, with the focal point being the Democracy<br />

Monument. Thus it is a representation of the democratic<br />

governing system under the constitution and the power<br />

of the People’s Party through artistic and architectural<br />

expressions. In addition, the government also took the<br />

opportunity to use this large project undertaking as a<br />

means of stimulating the country’s economy.<br />

Residential Buildings<br />

Residential buildings that have the appearance<br />

of extravagantly decorated big mansions boasting the<br />

social status of its owner as being superior, began to<br />

disappear. People in general tend to prefer plain and<br />

simple two-storeyed houses with hipped-gables and less<br />

sawn-timber decorations, following the trend that continued<br />

from the period of Rama VII.<br />

Influence of Modern Architecture on the design of domestic<br />

buildings<br />

Sala Chalermkrung (Chalermkrung Theatre) was<br />

217


แบบ Art Deco โดยใช้สัญลักษณ์ที่เกี่ยวข้องกับคณะราษฎร<br />

และวันปฏิวัติมาเป็นเงื่อนไขในการออกแบบ เช่น เลข 6<br />

ของหลัก 6 ประการ และเลข 24 มิถุนายน 2475<br />

ตลอดจนการจัดวางพานรัฐธรรมนูญเป็นองค์ประกอบ<br />

ที่สำคัญที่สุดของอนุสาวรีย์ นอกจากนี้แล้วจอมพล ป.<br />

ยังได้กำหนดให้ถนนสายต่างๆ ซึ่งเป็นเส้นทางคมนาคม<br />

จากกรุงเทพฯ ไปยังต่างจังหวัดเริ่มนับระยะทางโดยใช้<br />

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยเป็นต้นทาง (กิโลเมตรที่ศูนย์)<br />

อีกด้วย<br />

การปรับปรุงถนนราชดำเนินกลางเป็นการนำพื้นที่<br />

ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มา<br />

ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้เป็นพื้นที่ซึ่งแสดงสัญลักษณ์ของ<br />

รัฐไทยใหม่ ซึ่งมีความเจริญก้าวหน้า ทันสมัย และมีความ<br />

เป็นสากล โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่ “อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย”<br />

ซึ่งหมายถึงการปกครองในระบอบประชาธิปไตยภายใต้<br />

กฎหมายรัฐธรรมนูญ และอำนาจการนำของคณะราษฎร<br />

ทั้งนี้โดยการใช้งานสถาปัตยกรรมและงานศิลปกรรม<br />

เป็นเครื่องมือในการสื่อสารความหมาย นอกจากนี้แล้ว<br />

รัฐบาลยังได้ใช้โครงการปรับปรุงถนนราชดำเนินกลาง<br />

ซึ่งเป็นโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่เพื่อเป็นมาตรการ<br />

the first building in Thailand to be designed according to<br />

the principles of Modernism during the period of absolute<br />

monarchy, around 1932. After the change in the ruling<br />

system, the People’s Party government had many important<br />

building projects built in the style of Modern architecture<br />

to project the image of the modern Thai State. Apart<br />

from public buildings, houses also began to appear in the<br />

Modern style around the same time. The main residence or<br />

Tamnak Yai building at Asawin Palace designed by Ercole<br />

Manfredi (alias Ekarit Manfendi) an Italian architect, was<br />

presumably built around the end of the period of Rama VII<br />

or the beginning of Rama VIII 53 while Manfredi’s own house<br />

in Soi Asoke on Sukhumvit Road, also in the Modernist<br />

style, was built in 1935.<br />

Tamnak Yai Residence at Asawin Palace: On the<br />

corner of Ratchavithi Road at Tuek Chai Intersection, this<br />

building was the residence of Prince Bhanubandhu Yugala,<br />

and presently, its grounds is part of Phra Mongkut Klao<br />

College of Medicine’s compound.<br />

The building resembled a plain box with flat roof,<br />

ในการกระตุ้นเศรษฐกิจของไทยอีกด้วย<br />

อาคารพักอาศัย ในสมัยรัชกาลที่ 8 อาคารที่มี<br />

ลักษณะเป็นคฤหาสน์ซึ่งตกแต่งอย่างหรูหรา หรือบ้าน<br />

ที่สร้างขึ้นเพื่อแสดงให้เห็นถึงความมีสถานะทางสังคมที่<br />

เหนือกว่าของชนชั้นสูงหายไป บ้านของสามัญชนทั่วไป<br />

นิยมปลูกบ้านไม้สองชั้นแบบเรียบง่าย การตกแต่งด้วย<br />

ลวดลายฉลุไม้น้อยลง นิยมหลังคาจั่วหัวตัดซึ่งเป็น<br />

แนวโน้มที่สืบเนื่องมาจากสมัยรัชกาลที่ 7<br />

อิทธิพลงานสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในงานออกแบบ<br />

อาคารพักอาศัย ศาลาเฉลิมกรุงเป็นอาคารหลังแรกใน<br />

สยามที่สร้างขึ้นในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ตามหลัก<br />

การของสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในราว พ.ศ. 2475 และ<br />

หลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองรัฐบาลคณะราษฎร<br />

ก็ได้สร้างอาคารสำคัญหลายโครงการในแบบสถาปัตยกรรม<br />

สมัยใหม่เพื่อแสดงความทันสมัยของรัฐไทยใหม่<br />

ซึ่งนอกจากความทันสมัยของงานสถาปัตยกรรมประเภท<br />

อาคารสาธารณะแล้ว ในช่วงเวลาใกล้เคียงกันก็เริ่ม<br />

ปรากฏงานอาคารพักอาศัยที่เป็นงานแบบสถาปัตยกรรม<br />

สมัยใหม่ขึ้นเช่นเดียวกัน เช่น ตำหนักใหญ่ วังอัศวิน<br />

ออกแบบโดยนายเอร์โคเล่ มันเฟรดี้ หรือ นายเอกฤทธิ์<br />

bare walls and no decorative elements. Certain parts<br />

of the building had long horizontal strip of large glass<br />

fenestration that showed the reinforced concrete post-andbeam<br />

structure, and was a dominant feature of Modern<br />

architecture. As such, the new Modern style houses were<br />

easy to build, inexpensive, comfortable to live in and have<br />

spatial arrangements that are functional and convenient.<br />

The International Style of Modern architecture has<br />

developed since the second half of the 19th century to<br />

suit the middle class 54 lifestyle of the capitalistic industrial<br />

society. This collective group of working people were<br />

mainly concerned with having good quality of life, modern<br />

conveniences, and quick and efficient services.<br />

Tamnak Yai Residence at Asawin Palace therefore<br />

represented what was to follow and a sign of the growing<br />

capitalism along with the growth of the middle class sector<br />

that became the steering mechanism of the modern Thai<br />

society. These middle-class people have adopted the<br />

western way of life and lived in western style houses<br />

which became the prominent style that prevailed during<br />

218


หมั่นเฟ้นดี สถาปนิกชาวอิตาเลียน รวมทั้งบ้านพักอาศัย<br />

ของนายมันเฟรดี้ที่ซอยอโศก สุขุมวิท ซึ่งสร้างขึ้นเมื่อ<br />

พ.ศ. 2478 ก็เป็นงานแบบสถาปัตยกรรมสมัยใหม่เช่น<br />

เดียวกัน ส่วนวังอัศวินนั้นน่าจะสร้างขึ้น 53 ราวปลายสมัย<br />

รัชกาลที่ 7 หรือต้นรัชกาลที่ 8<br />

ตำหนักใหญ่ วังอัศวิน ตั้งอยู่ที่สี่แยกตึกชัย ถนนราชวิถี<br />

สร้างขึ้นเพื่อเป็นตำหนักที่ประทับของ พลตรี พระเจ้า<br />

วรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภานุพันธุ์ยุคล ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่ง<br />

ของวิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า<br />

อาคารมีลักษณะเป็นกล่องเรียบง่าย ผนังเรียบเกลี้ยง<br />

ปราศจากลวดลายตกแต่ง หลังคาแบน อาคารบางส่วน<br />

เจาะช่องเปิดเป็นช่องหน้าต่างกระจกยาวเป็นแถบตาม<br />

แนวนอน เพื่อแสดงคุณสมบัติของโครงสร้างเสา-คาน<br />

คอนกรีตเสริมเหล็ก ซึ่งเป็นลักษณะเด่นประการหนึ่ง<br />

ของงานแบบสถาปัตยกรรมสมัยใหม่<br />

บ้านแบบสถาปัตยกรรมสมัยใหม่เป็นบ้านที่ก่อสร้าง<br />

ง่าย ราคาไม่แพง อยู่สบาย มีการจัดพื้นที่ใช้สอยภายใน<br />

อาคารเพื่ออำนวยความสะดวกในการอยู่อาศัย เป็นงาน<br />

สถาปัตยกรรมไร้พรมแดน (International Style) ซึ่ง<br />

ถูกพัฒนาขึ้นมาตั้งแต่ครึ่งหลังของศตวรรษที่ 19 เพื่อให้<br />

the subsequent period of Rama IX.<br />

SUMMARY<br />

Residential architecture in Siam from the period of<br />

King Rama I to Rama VIII (1782 - 1946) could be looked<br />

at under two main periods: the Early Rattanakosin Period<br />

from Rama I to Rama III (1782 - 1851) and the Period of<br />

Westernization from Rama IV to Rama VIII (1851 - 1946).<br />

The Early Rattanakosin Period (Rama 1 - Rama III)<br />

1782 - 1851<br />

King Rama I founded the Chakri Dynasty in 1782. In<br />

establishing Bangkok as the new capital, the Siamese rulers<br />

still had the image of the former glory of Ayutthaya in mind<br />

and built palaces and temples according to tradition while<br />

houses and dwellings of the common people were also<br />

built in the style of the central region that had developed<br />

since the period of Ayutthaya.<br />

At the beginning of the reign, Portugal was the first<br />

เหมาะสมกับวิถีชีวิตของชนชั้นกลาง 54 ในสังคมทุนนิยม/<br />

อุตสาหกรรม ซึ่งเป็นกลุ่มคนทำงานที่ให้ความสำคัญ<br />

กับการมีคุณภาพชีวิตที่ดี รูปแบบการใช้ชีวิตที่มีความ<br />

สะดวก รวดเร็ว แต่มีประสิทธิภาพในการทำงาน<br />

ตำหนักใหญ่ วังอัศวิน จึงเป็นงานสถาปัตยกรรม<br />

พักอาศัยที่เป็นสัญญาณบ่งบอกถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นใน<br />

อนาคตของสังคมไทย ซึ่งได้แก่การเติบโตของทุนนิยม<br />

การเติบโตของชนชั้นกลางซึ่งพัฒนาขึ้นมาเป็นกลุ่ม<br />

พลังขับเคลื่อนสังคมไทยสมัยใหม่ และเป็นกลุ่มที่มี<br />

รูปแบบการใช้ชีวิตแบบตะวันตกและอยู่บ้านแบบตะวันตก<br />

ซึ่งเป็นลักษณะเด่นในภาพรวมของบ้านพักอาศัยใน<br />

สมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช<br />

พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 9 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์<br />

สรุป<br />

สถาปัตยกรรมพักอาศัยในสยามตั้งแต่สมัยรัชกาล<br />

ที่ 1 ถึงรัชกาลที่ 8 (พ.ศ. 2325 - <strong>2489</strong>) นั้นมีลักษณะเด่น<br />

ที่สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ช่วงเวลา ได้แก่ สมัย<br />

รัตนโกสินทร์ตอนต้น (รัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ 3 พ.ศ.<br />

2325 - 2394) และสมัยอิทธิพลตะวันตก (รัชกาลที่ 4 -<br />

รัชกาลที่ 8 พ.ศ. 2394 - <strong>2489</strong>)<br />

western nation to have sent a representative bearing<br />

royal correspondence from Lisbon to the Siamese Court<br />

in 1786. After the Portuguese emissary had been duly<br />

welcomed with honor and dignity, the king then sent his<br />

correspondence in reply to the Portuguese Court.<br />

During the reign of King Rama II, Portugal again sent<br />

emissaries to establish relations with Siam in 1818; and<br />

in 1820, requested to set up a Portuguese consulate in<br />

Bangkok. This was the first foreign consulate to be set<br />

up in the new capital. Meanwhile, an important initiative<br />

considered to be of significant diplomatic move by Siam<br />

also took place in 1818 when Phraya Suriyawongse<br />

Montri (Dis Bunnag) sent a letter written in Portuguese, to<br />

President James Monroe of the United States expressing<br />

that Siam was seeking to procure a certain number of<br />

muskets. This was the first documented contact between<br />

Siam and the United States.<br />

With regards to architecture, projects within the<br />

compound of the Grand Palace were assigned by the king<br />

for his son, Prince Jessada Bodindra, to be in charge of<br />

219


สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (รัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ 3<br />

พ.ศ. 2325 - 2394) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า<br />

จุฬาโลกมหาราชทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ขึ้นเมื่อ<br />

พ.ศ. 2325 การสร้างบ้านแปงเมืองยังยึดถือความรุ่งเรือง<br />

ของอยุธยาเป็นต้นแบบ เช่น การสร้างพระราชวังและวัด<br />

ในวังตามประเพณีอยุธยา บ้านพักอาศัยของสามัญชน<br />

ก็ยังสร้างขึ้นตามประเพณีการสร้างเรือนไทยภาคกลาง<br />

ที่ได้พัฒนาขึ้นมาตั้งแต่สมัยอยุธยา<br />

โปรตุเกสเป็นชาติตะวันตกชาติแรกที่ได้อัญเชิญ<br />

พระราชสาส์นเข้ามายังราชสำนักสยามในตอนต้นรัชกาล<br />

เมื่อ พ.ศ. 2329 และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็ได้<br />

ทรงจัดพิธีต้อนรับอย่างสมเกียรติ ทั้งยังได้ส่งพระราชสาส์น<br />

ตอบกลับไปอีกด้วย<br />

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย<br />

ทางโปรตุเกสได้ส่งทูตเข้ามาขอเจริญสัมพันธไมตรีกับ<br />

ไทยอีกใน พ.ศ. 2361 และใน พ.ศ. 2363 โปรตุเกสก็ได้<br />

ขออนุญาตตั้งสถานกงสุลขึ้น ซึ่งไทยยินยอมด้วยไมตรี<br />

นับเป็นการตั้งสถานกงสุลต่างประเทศเป็นครั้งแรกใน<br />

สมัยรัตนโกสินทร์ นอกจากนี้แล้วการริเริ่มด้านการต่างประเทศ<br />

ที่สำคัญในรัชกาลก็ได้แก่ การติดต่อทางเอกสารกับประเทศ<br />

redeveloping the garden on the eastern section, known<br />

as Suan Khwa, of the palace grounds along with the<br />

construction of several brick buildings that were built later.<br />

As far as dwellings of the commoners were concerned,<br />

there is no clear evidence as to what they were like, but it<br />

is possible to speculate that they were timber or bamboo<br />

houses built on stilts as had been traditionally practiced<br />

since the period of Ayutthaya.<br />

Important religious building projects during the period<br />

of Rama II were mostly those that had been initiated<br />

since the previous reign such as the viharn of Wat Maha<br />

Suthavas (Wat Suthat) for example. However, the Great<br />

Prang of Wat Arun Rajvararam was initiated by Rama II<br />

himself but unfortunately had yet to be completed at the<br />

time of his passing away when only the foundation had<br />

just been laid.<br />

During the period of Rama III, Siam had signed the<br />

first amity and commerce treaty with Britain on June 20,<br />

1826. Known as the Burney Treaty, this was the first treaty<br />

that Siam had signed with a western nation. However,<br />

สหรัฐอเมริกาเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2361<br />

การสร้างพระราชมณเฑียรในพระบรมมหาราชวังนั้น<br />

ได้ทรงมอบหมายให้พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่น<br />

เจษฎาบดินทร์เป็นแม่กองจัดสร้างสวนขึ้นข้างหมู่<br />

พระราชมณเฑียรทางด้านตะวันออกเรียกกันว่า<br />

“สวนขวา” และได้มีการสร้างพระราชมณเฑียรและ<br />

สร้างตึกขึ้นหลายหลัง สำหรับบ้านพักอาศัยของ<br />

สามัญชนนั้น ไม่ปรากฏหลักฐานอ้างอิงที่ชัดเจน<br />

แต่น่าจะยังคงสืบทอดวัฒนธรรมการอยู่อาศัยในแบบ<br />

ประเพณีต่อจากสมัยรัชกาลที่ 1 คือเป็นบ้านเรือน<br />

แบบเรือนไทยเดิมสมัยอยุธยานั้นเอง<br />

สำหรับการสร้างวัดสำคัญในกรุงเทพฯ นั้น รัชกาล<br />

ที่ 2 ได้ทรงสานต่อโครงการก่อสร้างที่ได้เริ่มขึ้น<br />

ตั้งแต่สมัยรัชกาลก่อน เช่น การสร้างพระวิหาร<br />

วัดมหาสุทธาวาส (วัดสุทัศน์เทพวรารามวรมหาวิหาร)<br />

และได้ทรงมีพระราชดำริให้สร้างพระปรางค์ใหญ่ขึ้น<br />

ภายในวัดอรุณราชวราราม แต่เมื่อเริ่มขุดดินวางรากฐาน<br />

พระปรางค์ก็สิ้นรัชกาลเสียก่อน<br />

ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

สยามได้เซ็นสนธิสัญญาเบอร์นีกับสหราชอาณาจักร<br />

Siam’s most important trading partner at the time was<br />

China with whom the king had established and enjoyed<br />

trading relationship since he was still Prince Jessada<br />

Bodindra and served as Minister of Trade and Foreign<br />

Affairs during his father’s reign.<br />

Apart from trading with China, Rama III also developed<br />

a personal taste for Chinese art and as a consequence,<br />

Sino-Thai architectural style became the royal vogue<br />

during his reign. This can be seen for example, from Wat<br />

Raj-Orosaram, the temple that he had restored while serving<br />

as Minister of Trade and Foreign Affairs during the period<br />

of Rama II which later became accorded to his reign after<br />

he had ascended the throne. With regards to temples, the<br />

king, being a highly religious person, had built and restored<br />

altogether 44 temples, which is considered to be a rather<br />

great number compared to that of the previous two reigns.<br />

During the period of Rama III, American missionaries<br />

who arrived and began to settle themselves in Bangkok,<br />

built their houses in the colonial style with two storeys<br />

surrounded by verandas. These houses were built of timber<br />

220


เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2369 ซึ่งนับว่าเป็น<br />

สนธิสัญญาทางพระราชไมตรีและการพาณิชย์ฉบับแรก<br />

ที่สยามเซ็นกับชาติตะวันตก ส่วนคู่ค้าสำคัญของสยาม<br />

ในรัชกาลนี้คือ จีน ซึ่งได้ทรงแต่งสำเภาไปค้าขายตั้งแต่<br />

สมัยรัชกาลที่ 2<br />

การติดต่อค้าขายกับจีนทำให้รัชกาลที่ 3 ทรงมีความ<br />

สนพระราชหฤทัยในงานศิลปะจีน งานสถาปัตยกรรม<br />

ที่ผสมผสานศิลปะแบบจีนในรัชกาลเรียกว่า งาน<br />

สถาปัตยกรรมแบบพระราชนิยม เช่น วัดราชโอรสาราม<br />

ซึ่งได้ทรงบูรณะขึ้นตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 2 และต่อมา<br />

ในรัชกาลที่ 3 ได้โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นเป็น<br />

วัดประจำรัชกาล สำหรับการสร้างและปฏิสังขรณ์วัดใน<br />

รัชกาลนั้น มีจำนวนทั้งสิ้นถึง 44 วัด นับว่าเป็นรัชสมัยที่<br />

พระมหากษัตริย์ได้ทรงสร้างวัดขึ้นเป็นจำนวนมากเมื่อ<br />

เทียบกับสองรัชกาลที่ผ่านมา<br />

ในรัชกาลที่ 3 มิชชันนารีอเมริกันเริ่มเข้ามาเผยแผ่<br />

ศาสนาและปลูกบ้านแบบโคโลเนียลในกรุงเทพฯ ลักษณะ<br />

เป็นบ้านสองชั้นมีระเบียงโดยรอบ โครงสร้างไม้หรือ<br />

โครงสร้างไม้ผสมก่ออิฐ หลังคาทรงปั้นหยาหรือทรงจั่ว<br />

สำหรับบ้านเรือนของชาวสยามนั้น สังฆราชปัลเลอกัวซ์<br />

or timber and brick masonry with hip or gable roofs. As for<br />

houses of the local commoners, a French priest named<br />

Pallegoix, who came to Siam in 1829, noted that the<br />

Siamese people in general, lived in timber houses while<br />

the poor lived in thatched bamboo houses. He also noted<br />

that there were a great number of floating raft houses and<br />

shops along the Chao Phraya River.<br />

Thus from available information, it can be construed that<br />

the dwellings of commoners during the Early Rattanakosin<br />

Period (from Rama I – Rama III) were timber or bamboo<br />

houses built on stilts following the tradition practiced since<br />

the period of Ayutthaya.<br />

Towards the end of Rama III’s reign, Britain sent Sir<br />

James Brooks to Bangkok in 1850 to negotiate amendments<br />

to the treaty signed since the beginning of the reign.<br />

Britain’s demands included setting up a British consulate<br />

and that British subjects residing in Siam be treated in<br />

accordance with British laws. This was undeniably an<br />

obvious move towards demanding extraterritorial rights<br />

and was considered as potential threat to the kingdom’s<br />

ซึ่งเข้ามากรุงเทพฯ ตั้งแต่ พ.ศ. 2372 ได้บันทึกว่า<br />

สามัญชนโดยทั่วไปปลูกบ้านเป็นเรือนไม้แบบเรือนเครื่องสับ<br />

ส่วนคนจนนั้นอยู่บ้านแบบเรือนไม้ไผ่หรือเรือนเครื่องผูก<br />

และยังได้บันทึกด้วยว่า มีเรือนแพเป็นร้านค้าจำนวนมาก<br />

เรียงรายอยู่ตามสองฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา<br />

ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่าบ้านเรือนของชาวสยาม<br />

ในตอนต้นรัตนโกสินทร์ สมัยรัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ 3 นั้น<br />

ยังคงมีลักษณะเป็นเรือนไทยแบบประเพณีที่เป็นวัฒนธรรม<br />

การอยู่อาศัยสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยอยุธยา<br />

ช่วงปลายรัชกาลใน พ.ศ. 2393 สหราชอาณาจักรส่ง<br />

เซอร์เจมส์ บรู๊คส์ เข้ามาเจรจาขอแก้ไขสนธิสัญญาที่ทำ<br />

กันไว้ตั้งแต่ต้นรัชกาล ที่สำคัญคือขอตั้งสถานกงสุลและ<br />

ขอให้คนในบังคับสหราชอาณาจักรอยู่ใต้กฎหมายของ<br />

สหราชอาณาจักร ซึ่งนับเป็นก้าวแรกของสัญญาสิทธิ<br />

สภาพนอกอาณาเขต และเป็นสัญญาณของการคุกคาม<br />

ทางการเมืองต่อสยาม อย่างไรก็ดี ไทยปฏิเสธทุกข้อเสนอ<br />

ที่ทางสหราชอาณาจักรต้องการ ทูตจึงรายงานไปที่กระทรวง<br />

การต่างประเทศ ขอให้จัดการขั้นเด็ดขาดกับสยาม ในช่วง<br />

วิกฤตนี้เองพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2394<br />

sovereignty. Siam thus rejected all demands by the British,<br />

and Brooks returned to England reporting the outcome to<br />

the British Minister of Foreign Affairs with the suggestion<br />

that firm and decisive actions be taken against Siam. It<br />

was during this critical period that King Rama III passed<br />

away on April 2, 1851.<br />

The Period of Westernization (Rama IV - Rama VIII)<br />

1851 – 1946<br />

Under the awareness of political threats imposed by<br />

Great Western Powers that already affected many countries<br />

in Southeast Asia, King Mongkut (Rama IV) resorted to a<br />

more diplomatic approach and signed the Bowring Treaty<br />

with Great Britain. This gave Britain extraterritorial rights and<br />

trading advantages over Siam while Siam lost her judicial<br />

power over British subjects residing in the kingdom. The<br />

decision to sign and enter into agreement was a move to<br />

ease the political tension that was imminent at the time.<br />

However, Rama IV had simultaneously adopted a cultural<br />

221


สมัยอิทธิพลตะวันตก (รัชกาลที่ 4 - รัชกาลที่ 8 พ.ศ.<br />

2394 - <strong>2489</strong>) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

ทรงเข้าพระราชหฤทัยในเรื่องสถานการณ์ทางการเมือง<br />

ระหว่างประเทศได้ดี และทรงตระหนักถึงภัยคุกคามทาง<br />

การเมืองจากมหาอำนาจตะวันตก จึงได้ทรงเซ็นสัญญาเบาว์ริง<br />

กับสหราชอาณาจักร และยินยอมให้สหราชอาณาจักร<br />

ได้รับสิทธิในการมีสิทธิสภาพนอกอาณาเขต กฎหมาย<br />

ฉบับนี้ทำให้สหราชอาณาจักรได้ประโยชน์ในการทำธุรกิจ<br />

กับสยาม ทั้งยังทำให้สยามอยู่ในฐานะเสียเอกราชใน<br />

ทางศาล แต่สยามก็ต้องยินยอมเพื่อเป็นการผ่อนคลาย<br />

สถานการณ์ทางการเมือง ขณะเดียวกันรัชกาลที่ 4<br />

ก็ทรงใช้นโยบายด้านวัฒนธรรมในการแก้ไขปัญหา<br />

โดยการแสดงตนเป็นผู้มีอารยะผ่านทางงานสถาปัตยกรรม<br />

นอกจากนี้แล้วก็ยังมีการปรับตัวของกลุ่มชนชั้นผู้นำ<br />

ของสยามในการศึกษาวิชาการด้านต่างๆ ของชาวตะวันตก<br />

เช่น การศึกษาภาษาอังกฤษ การต่อเรือกลไฟ เป็นต้น<br />

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง<br />

เป็นผู้นำในการแสดงตนเป็นผู้เจริญผ่านทางงาน<br />

สถาปัตยกรรมโดยการสร้างพระราชมณเฑียรหรือ<br />

ที่ประทับของพระมหากษัตริย์ในแบบสถาปัตยกรรม<br />

strategy to ease western threats by demonstrating through<br />

architecture that Siam is a civilized nation. In addition,<br />

the elites also began to adapt themselves by learning<br />

to use the English language, becoming familiar with<br />

western customs, and gaining new knowledge of varying<br />

interests from the West which included the construction<br />

of steamships for example.<br />

Rama IV led the move in demonstrating that Siam<br />

is a civilized nation through architecture by having royal<br />

residences and other buildings built in western style. The<br />

original Ananta Samakhom Throne Hall, which was the<br />

principal building in Phra Abhinaonives group of buildings<br />

erected in the east garden section of the Grand Palace<br />

between 1852 and 1857 for example, had classic style<br />

columns and combination of round and pointed arches.<br />

Buildings that were built in western style during the period<br />

however, were not designed strictly according to any<br />

western architectural theories or principles, and western<br />

influence was confined mainly to within royal palaces<br />

while commoners still lived in traditional Thai houses that<br />

ตะวันตก เช่น พระที่นั่งอนันตสมาคม ซึ่งเป็นพระที่นั่ง<br />

องค์ประธานในพระอภิเนาว์นิเวศน์ สร้างขึ้นบริเวณ<br />

สวนขวาในพระบรมมหาราชวังระหว่าง พ.ศ. 2395 -<br />

2400 พระที่นั่งองค์นี้มีการตกแต่งภายในด้วยเสาแบบ<br />

คลาสสิค การเจาะช่องผนังเป็นแบบผสมผสานมีทั้งแบบ<br />

ซุ ้มโค้ง (Round Arch) และแบบซุ้มยอดแหลม อย่างไร<br />

ก็ดีงานสถาปัตยกรรมแบบตะวันตกในสมัยรัชกาลที่ 4<br />

ยังเป็นงานเลียนแบบที่ไม่ค่อยมีความถูกต้องทางด้าน<br />

ทฤษฎีสถาปัตยกรรมนัก และอิทธิพลของสถาปัตยกรรม<br />

ตะวันตกนั้น ยังคงปรากฏเฉพาะในงานออกแบบอาคาร<br />

ในพระราชวังเท่านั้น ส่วนสามัญชนก็ยังคงอยู่อาศัย<br />

ในเรือนไทยแบบประเพณีอย่างที่เคยเป็นมาตั้งแต่<br />

สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น<br />

การปฏิรูปประเทศในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ<br />

พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชกรณียกิจที่มี<br />

ความสำคัญยิ่ง เพราะเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการพัฒนา<br />

ประเทศในสมัยต่อมา ส่วนในด้านสถาปัตยกรรมนั้น ได้<br />

ทรงจ้างสถาปนิกชาวยุโรปเข้ามารับราชการในกรุงเทพฯ<br />

เพื่อให้มีความรับผิดชอบในการสร้างงานสถาปัตยกรรม<br />

แบบตะวันตกอย่างถูกต้องและมีรสนิยม และได้ทรงมี<br />

continued to be built since Ayutthaya through to the early<br />

Rattanakosin period.<br />

During the succeeding reign of King Chulalongkorn<br />

(Rama V), reformation of the country was highly significant<br />

because it provided a strong foundation for subsequent<br />

development of the kingdom. With regards to architecture,<br />

the king employed European architects to serve in various<br />

government departments in order to produce tasteful<br />

works of quality according to correct design principles<br />

of western style architecture. As for residential buildings,<br />

the king’s objective was for his subjects to organize<br />

and maintain their residences by building well designed<br />

western style houses and using durable building materials.<br />

He therefore instructed royal members and high ranking<br />

officials to be model examples for commoners to follow<br />

and to demonstrate that Siamese people possessed the<br />

mentality and way of life that was on equal level with those<br />

in civilized European countries.<br />

Since the beginning of the reign, Rama V chose to<br />

commission professional European architects. Therefore<br />

222


พระราชประสงค์ที่จะให้ชาวสยามทุกคนพัฒนาความเป็น<br />

อยู่ในบ้านเรือนของตนโดยใช้วัสดุก่อสร้างอันถาวรและ<br />

มีความประณีตทางสถาปัตยกรรม ดังนั้นจึงทรงมีพระบรม<br />

ราชโองการให้พระราชวงศ์และขุนนางชั้นผู้ใหญ่ทำตัว<br />

เป็นแบบอย่างโดยการจัดบ้านเรือนให้เป็นตัวอย่างแก่<br />

ราษฎร เพื่อแสดงว่าคนไทยมีความคิดและความเป็นอยู่<br />

ทัดเทียมกับความเจริญของประเทศในยุโรป<br />

สำหรับการสร้างพระราชมณเฑียรตั้งแต่ต้น<br />

รัชกาลนั้น พระที่นั่งองค์สำคัญที่สุดในพระบรมมหาราชวัง<br />

คือ พระที ่นั่งจักรีมหาปราสาทซึ่งเป็นงานแบบนีโอ<br />

เรอเนอซองส์ แต่หลังคาเป็นทรงมณฑปแบบไทย<br />

ประเพณีซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของพระมหากษัตริย์<br />

ขณะเดียวกันก็แสดงให้เห็นถึงการประนีประนอมกัน<br />

ระหว่างแนวคิดของชนชั้นสูงรุ่นใหม่ซึ่งนิยมตะวันตก<br />

และแนวคิดอนุรักษ์นิยมของกลุ่มขุนนางชั้นผู้ใหญ่<br />

การสร้างอาคารพักอาศัยแบบตะวันตกของสมาชิก<br />

ในพระราชวงศ์และขุนนางชั้นสูงนั้น นิยมสร้างเป็น<br />

บ้านสองชั้น มีรูปแบบที่หลากหลาย เช่น วังบางขุนพรหม<br />

เป็นแบบนีโอบาโรค บ้านเจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์เป็น<br />

แบบนีโอโกธิค เป็นต้น โครงสร้างมีความมั่นคงแข็งแรง<br />

Chakri Maha Prasat Throne Hall, which was the most<br />

important building in the Grand Palace built during the<br />

period, was initially designed in the Neo-Renaissance style<br />

with domed roofs. However, the domes had to be changed<br />

into the mondop style superstructure to symbolize the<br />

Siamese kingship. This combined manner of architectural<br />

expression was thus a reflection of compromise between<br />

the new generation of elites who preferred the western<br />

style, and the more conservative high ranking officials.<br />

Residences of the royalties and high ranking officials<br />

were popularly built as two-storeyed masonry houses<br />

in a variety of western styles. To name a couple, Bang<br />

Khunphrom Palace was built in Neo-Baroque style while<br />

Chaophraya Suravongse Vaiyavatana’s house was built in<br />

Neo-Gothic style for instance. These were strong stable<br />

structures that used masonry load-bearing wall system<br />

or reinforced concrete together with brick masonry which,<br />

towards the end of the reign, reinforced concrete had<br />

become the more favorable type of construction among<br />

the upper class because it was considered avant-garde<br />

เป็นแบบเครื่องก่อ (Masonry) กำแพงรับน้ำหนัก (Wall<br />

Bearing) หรือโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กผสมเครื่องก่อ<br />

และในตอนปลายรัชกาลที่ 5 นั้น มีความนิยมในการสร้าง<br />

อาคารด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กมากขึ้นในหมู่ชนชั้นสูง<br />

เนื่องจากเป็นโครงสร้างแบบใหม่ที่เพิ่งเข้ามาในกรุงเทพฯ<br />

ดังนั้นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กจึงหมายถึงความ<br />

ทันสมัยของผู้เป็นเจ้าของบ้าน<br />

ส่วนการสร้างบ้านแบบตะวันตกของสามัญชนนั้น<br />

ก็คือการสร้างบ้านไม้สองชั้นเลียนแบบบ้านตึกของชนชั้นสูง<br />

ซึ่งน่าจะเริ่มขึ้นราวๆ พ.ศ. 2435 และแบบบ้านซึ่งเป็น<br />

ที่นิยมกันมากทั้งในกรุงเทพฯ และตามต่างจังหวัดก็คือ<br />

บ้านไม้ฉลุลาย (Gingerbread House) เพราะเป็นบ้าน<br />

ที่มีความสวยงาม ทันสมัย และราคาถูกกว่าบ้านตึก<br />

ในสมัยรัชกาลที่ 6 นั้น พระราชวังที่สำคัญที่สุดซึ่ง<br />

สร้างในกรุงเทพฯ ได้แก่ พระราชวังพญาไท อันเป็น<br />

พระราชวังที่มิได้มีลักษณะเชิงประเพณี แต่สร้างแบบ<br />

ตะวันตกในแนวสถาปัตยกรรมโรมันติกที่มีลักษณะ<br />

เรียบง่าย พระที่นั่งองค์ประธานซึ่งเป็นที่ประทับใน<br />

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวคือ พระที่นั่งพิมานจักรีนั้น<br />

แฝงนัยแห่งสัญลักษณ์ของพระมหากษัตริย์เอาไว้ที่<br />

and symbolized modernity at the time.<br />

The average commoners on the other hand, built<br />

western style two-storeyed timber houses imitating the<br />

concrete masonry mansions of the upper class. This trend<br />

appears to have started around 1882 with the most popular<br />

style, built in Bangkok as well as in the provinces, being<br />

the style that had perforated sawn-timber decorations<br />

commonly known as the Gingerbread style. The popularity<br />

of this style derived from its distinctive expressions through<br />

the elegant sawn-work ornamentations while the cost of<br />

construction was also considerably cheaper than building<br />

concrete houses.<br />

During the following reign of Rama VI, the most<br />

important royal palace built in Bangkok to represent his<br />

majesty that ought to have been built according to tradition,<br />

was Phayathai Palace. Built in simple Romantic<br />

style, this western-influenced royal palace was the first<br />

royal residence to symbolize Siamese kingship without<br />

being built in the traditional manner. In this case, the<br />

representation of Siamese kingship was cleverly disguised<br />

223


หอสูงหลังคายอดแหลม (Spired Tower) ซึ่งสร้างขึ้น<br />

ทดแทนหลังคายอดมณฑป (Spired Pyramidal Roof)<br />

ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของพระมหากษัตริย์ตามประเพณี<br />

ดั้งเดิมของสยาม<br />

บ้านของขุนนางชั้นสูงหรือผู้มีฐานะทางสังคมเป็น<br />

บ้านตึกสร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กซึ่งเป็นโครงสร้าง<br />

ที่ทันสมัยผสมกับผนังก่ออิฐ องค์ประกอบของอาคาร<br />

อันเป็นที่นิยมในหมู่ชนชั้นสูงได้แก่ หอสูง ซึ่งมักจะ<br />

ปรากฏอยู่ที่มุมหนึ่งทางด้านหน้าอาคาร<br />

บ้านไม้ของสามัญชนเป็นการพัฒนาที่สืบเนื่องมา<br />

จากรัชกาลก่อน คือมีทั้งบ้านไม้สองชั้นแบบเรียบง่าย<br />

และบ้านไม้ฉลุลาย (Gingerbread House) แต่ลวดลาย<br />

ไม้ฉลุนั้นมีความละเอียด ซึ่งเป็นพัฒนาการที่สืบเนื่อง<br />

มาจากสมัยรัชกาลที่ 5<br />

พัฒนาการของบ้านไม้สมัยรัชกาลที่ 6 ที่มีความแตก<br />

ต่างจากสมัยรัชกาลก่อนก็คือ มีบ้านไม้แบบประยุกต์<br />

ซึ่งเป็นการผสมผสานกันระหว่างบ้านแบบใต้ถุนสูง ซึ่ง<br />

เป็นลักษณะของเรือนท้องถิ่นของสยามกับการจัดห้อง<br />

ต่างๆ อยู่ภายใต้หลังคาเดียวกันแบบบ้านตะวันตก ซึ่ง<br />

สะท้อนให้เห็นถึงแนวคิดในการรักษาเอกลักษณ์ของชาติ<br />

in the design of Phiman Chakri Mansion, which was the<br />

king’s residence and the main building, by using a spired<br />

turret to symbolize the Siamese majesty instead of the<br />

traditional mondop roof style superstructure.<br />

Houses of high ranking officials and the elites during<br />

this reign were also built of reinforced concrete and brick<br />

masonry walls while the distinctive architectural feature<br />

which became popular amongst the upper class was the<br />

high turret attached to the front corner of the house. As<br />

for timber houses of the commoners, these continued to<br />

develop from the previous reign in the style of plain and<br />

simple two-storeyed houses or in the Gingerbread style<br />

but with less intricacy.<br />

The most noticeable development of timber houses<br />

during the Rama VI period was the introduction of the<br />

applied-style timber houses. This was a combination of the<br />

local traditional stilted house style, with all the functional<br />

requirements arranged under one roof as in the western<br />

way of living. Such integration was an attempt to preserve<br />

the local identity while at the same time adopting the<br />

ให้มีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบตะวันตกได้ดี เช่น<br />

ตำหนักประถม วังเพ็ชรบูรณ์ เป็นต้น แต่บ้านลักษณะ<br />

นี้มีน้อย และไม่เป็นที่นิยมในหมู่สามัญชนโดยทั่วไป<br />

ในสมัยรัชกาลที่ 7 คณะราษฎรก่อการปฏิวัติ<br />

เปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.<br />

2475 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก<br />

จึงทรงเป็นพระมหากษัตริย์สยามพระองค์แรกภายใต้<br />

รัฐธรรมนูญ (Constitutional Monarchy) แต่ก็ได้<br />

ทรงสละราชสมบัติเมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477<br />

คณะรัฐบาลจึงได้ทูลเชิญพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า<br />

อานันทมหิดล ขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์<br />

รัชกาลที่ 8 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ พระบาทสมเด็จ<br />

พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร<br />

ประทับอยู่ที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์เพื่อทรงศึกษา<br />

เล่าเรียนตั้งแต่ก่อนรับราชสมบัติจนกระทั่งสิ้นรัชกาล<br />

ใน พ.ศ. <strong>2489</strong><br />

บ้านพักอาศัยของสามัญชนในสมัยรัชกาลที่ 7 และ<br />

รัชกาลที่ 8 เป็นบ้านไม้สองชั้น มีลักษณะเรียบง่าย<br />

ไม่หรูหรา องค์ประกอบตกแต่งที่เป็นลวดลายฉลุไม้มีน้อย<br />

นิยมหลังคาหน้าจั่วหัวตัด (Hipped Gable Roof)<br />

western lifestyle. An example of this is Tamnak Prathom<br />

at Wang Petchabun palace. The applied-style however,<br />

was unpopular among commoners and only a small<br />

number were built.<br />

During the period of King Rama VII , the People’s Party<br />

staged a coup d’état that successfully toppled the system<br />

of absolute monarchy. King Prajadhipok then became<br />

Siam’s first constitutional monarch but later abdicated on<br />

March 2, 1934, and his young nephew, Prince Ananda<br />

Mahidol was crowned King Rama VIII. The young king<br />

had been residing in Switzerland before his ascension to<br />

the throne and continued to study there during the reign<br />

until his untimely death upon his home-leave back to visit<br />

Bangkok in 1946.<br />

Houses of the commoners during the periods of Rama<br />

VII and VIII were simple two-storeyed timber houses with<br />

hipped gables while the sawn-timber decorations used<br />

in displaying extravagance became less elaborate and<br />

less favorable.<br />

Subsequently, the Modern Movement in architecture<br />

224


อาคารพักอาศัยซึ่งสร้างขึ้นอย่างทันสมัยในแบบ<br />

สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ราวปลายรัชสมัยรัชกาลที่ 7<br />

ได้แก่ วังอัศวิน ซึ่งเป็นสัญญาณบ่งชี้ถึงสิ่งที่จะเกิด<br />

ขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 9 เมื่อสังคมไทยพัฒนามาเป็น<br />

สังคมทุนนิยม/อุตสาหกรรม ชนชั้นกลางเติบโตขึ้น<br />

บ้านพักอาศัยในสมัยรัชกาลที่ 9 ในภาพรวมก็คือบ้านของ<br />

ชนชั้นกลาง ซึ่งใช้ชีวิตทันสมัยอยู่ในบ้านแบบตะวันตก<br />

อีกทั้งยังเป็นพลังสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและ<br />

การเมืองในสังคมไทย<br />

made its first appearance in Siam as a public building with<br />

Chalermkrung Theatre which was built circa 1932. As for<br />

residential buildings, Tamnak Yai, the main residence at<br />

Asawin Palace, was one of the first houses built according<br />

to the Modernist language around the late period of Rama<br />

VII. This building therefore was a forerunner of what was<br />

to follow and an indication of the growing capitalism along<br />

with the growth of the middle class sector that became the<br />

steering mechanism of the modern Thai society. These<br />

people have adopted the western way of life and lived in<br />

western style houses which became the dominant style that<br />

prevailed during the subsequent period of King Rama IX.<br />

เชิงอรรถ<br />

1- กรมศิลปากร, ไตรภูมิโลกวินิจฉยกถา ฉบับที่ 2 (ไตรภูมิฉบับ<br />

หลวง), (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา, 2520), หน้า 69 - 70.<br />

2- กรมศิลปากร, จดหมายเหตุการอนุรักษ์กรุงรัตนโกสินทร์,<br />

(กรุงเทพฯ : สหประชาพาณิชย์, 2525), หน้า 70 - 71.<br />

3- น่าจะเป็นการเดินทางไปศึกษาและดูงานการจัดระเบียบบ้านเมือง<br />

ของสิงคโปร์ ซึ่งเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักร<br />

4- ได้รับการสถาปนาเป็น สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ ใน<br />

พ.ศ. 2416<br />

5- พระที่นั่งวิมานเมฆสร้างเสร็จเมื่อปลาย พ.ศ. 2444 รัชกาลที่ 5<br />

โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าหมื่นสรรพเพธภักดี (พระยาบุรุษรัตนราชพัลลภ)<br />

เป็นผู้จัดตกแต่งพระที่นั่งทุกห้อง และให้มีหน้าที่ดูแลรักษาพระที่นั่ง<br />

องค์นี้ต่อไปด้วย<br />

6- ใน พ.ศ. 2445 โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าหมื่นสรรพเพธภักดีเป็นผู้รับ<br />

ผิดชอบในการดำเนินงานก่อสร้างสวนดุสิต (ซึ่งจะเป็นพระราชวัง<br />

ต่อไป) แต่เพียงผู้เดียว และทรงจ้างนายเยนกินส์ ชาวอังกฤษเป็น<br />

ผู้ช่วยในการเพาะปลูกต้นไม้ และทำสวนแบบฝรั่ง<br />

ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2446 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัวได้พระราชทานเลื่อนบรรดาศักดิ์ให้เจ้าหมื่นสรรพเพธภักดี<br />

(นพ ไกรฤกษ์ อายุ 29 ปี) เป็นพระยาบุรุษรัตนราชพัลลภ จางวาง<br />

มหาดเล็ก (the Lord Great Chamberlain) , อ้างจาก “บุรุษรัตน”,<br />

{พระนคร: โรงพิมพ์ตีรณสาร, 2501. พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงาน<br />

พระราชทานเพลิงศพมหาเสวกเอก พระยาบุรุษรัตนราชพัลลภ (นพ<br />

ไกรฤกษ์) 2501}, หน้า 43.<br />

7- ตามที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงบัญญัติว่า<br />

พระเจ้าแผ่นดินที่ลาออกจากราชสมบัติ และยังทรงดำรงพระชนม์ชีพ<br />

อยู่ในรัชกาลใหม่ให้ใช้พระนาม “พระเจ้าหลวง”<br />

Endnotes:<br />

1.- Department of Fine Arts. (1977). Tribhumi loka vinijchaya katha<br />

chabab thi song (Tribhumi chabab luang) (in Thai). [The story of the<br />

three planes of Existence related to Buddhist cosmology, book 2 -<br />

official version]. Bangkok: Kurusapha: 69-70.<br />

2.- Department of Fine Arts. (1982). Jotmaihed karn anurak<br />

Krung Rattanakosin (in Thai). [Accounts on conservation of Krung<br />

Rattanakosin]. Bangkok: Saha Prachaphanich: 70-71.<br />

3.- Presumably Phraya Sri Suriyawongse was sent to study the<br />

organization and city planning of Singapore which was a British<br />

colony.<br />

4.- Chaophraya Sri Suriyawongse was later promoted to the status<br />

of “Somdej Chaophraya Boromaha Sri Suriyawongse” in 1873.<br />

5.- Construction of Vimanmek Mansion was completed at the end<br />

of 1901. Rama V assigned Jao Muen Sappapeth Bhakdi to decorate<br />

every room and be responsible for the care and maintenance of the<br />

mansion.<br />

6.- In 1902, Jao Muen Sappapeth Bhakdi was assigned by the<br />

king to be the sole person responsible for the construction of Suan<br />

Dusit (park) that would later become a palace. The king also hired<br />

an Englishman named Jenkins to do the landscaping in European<br />

style. Then in November 1903, Rama V bestowed Jao Muen<br />

Sappapeth Bhakdi (alias Nop Krairiksh, then 29 years old) with the<br />

title of Phraya Burutratana Rajphanlop, the Lord Great Chamberlain.<br />

Ref: Nop Krairiksh commemorative funeral book (1958). n.p: 43.<br />

7.- According to the protocol set by King Rama V, a king who has<br />

225


8- ในสมัยรัชกาลที่ 6 ได้โปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า “พระราชวัง<br />

ดุสิต”<br />

9- ก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์ใน พ.ศ. 2462 สมัยรัชกาลที่ 6<br />

10- ไม่ทราบปีที่ก่อสร้าง แต่โดยประเพณีแล้วจะพระราชทานที่ให้ปลูก<br />

วังเมื่อเจ้านายฝ่ายหน้ามีพระชนมายุประมาณ 20 ปี ปีที่ก่อสร้างจึงน่า<br />

จะประมาณ พ.ศ. 2424 ส่วนกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์นั้น ทรง<br />

ดำรงตำแหน่งเสนาบดีช่วยว่าการกระทรวงพระคลัง ระหว่าง พ.ศ.<br />

2429 - 2441<br />

11- นักท่องเที่ยวชาวอเมริกันเริ่มใช้คำว่า “Gingerbread” เรียกกลุ่ม<br />

บ้านดังกล่าวราวๆ ค.ศ. 1950 {https://en.wikipedia.org/wiki/Gingerbread_house_(architecture)}<br />

12- มีหลักฐานว่าได้โปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ<br />

นเรศวรฤทธิ์เป็นผู้ออกแบบ โดยพระราชทานเงิน 70 ชั่ง หรือประมาณ<br />

5,600 บาท เป็นค่าก่อสร้าง อย่างไรก็ดีสถาปนิกผู้รับผิดชอบงาน<br />

ออกแบบพระราชวังบางปะอินคือ นายโจอาคิม กราสซี (ขณะนั้นอายุ<br />

40 ปี) ส่วนกรมพระนเรศวรฤทธิ์นั้นโปรดเกล้าฯ ให้ทรงกรมเมื่อ พ.ศ.<br />

2418 หมายความว่าให้เริ่มรับราชการเมื่อพระชันษาได้ 20 ปี ใน พ.ศ.<br />

2420 ทรงมีพระชันษา 22 ปี และไม่ปรากฏว่าเคยทำงานด้านการ<br />

ออกแบบ ดังนั้นจึงน่าจะเป็นผู้รับผิดชอบในการเป็นแม่กองในการ<br />

ก่อสร้างพระที่นั่งมากกว่า ส่วนผู้ออกแบบและรับผิดชอบงานก่อสร้าง<br />

น่าจะเป็นนายโจอาคิม กราสซี อีกประการหนึ่งลักษณะการทาสีสลับ<br />

ตามแนวนอนบนผนังภายนอกนั้นเป็นแนวคิดที่คล้ายคลึงกันกับที่นาย<br />

กราสซีใช้ในการออกแบบผนังภายนอกบ้านเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์<br />

(วร บุนนาค) และวังวินเซอร์ซึ่งเป็นวังของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช<br />

เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมงกุฎราชกุมาร<br />

13- วัดพิชัยญาติการาม เดินเป็นวัดร้าง สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหา<br />

พิชัยญาติ (ทัต บุนนาค) ครั้งเป็นพระยาศรีพิพัฒน์ราชโกษา ปฏิสังขรณ์<br />

abdicated the throne and is still living in the period of his successor,<br />

shall be known as “Phra Chao Luang”.<br />

8.- During the period of Rama VI, the name Suan Dusit was changed<br />

to “Dusit Royal Palace”.<br />

9. The construction of Suan Sunanda Palace was completed in<br />

1919 during the reign of King Rama VI.<br />

10.- It is not known as to when Varavarn Palace was constructed.<br />

However, traditionally, the king would grant the construction of a<br />

palace for each of his sons when they reach the age of twenty. It<br />

is possible therefore, to speculate that this palace would have been<br />

built around 1881. (Prince Naradhip became vice-minister of the<br />

Ministry of Royal Finance from 1886 – 1898).<br />

11.- The word “Gingerbread House” was coined by American tourists<br />

who started calling this style of houses around 1950.<br />

Retrieved from: https://en.wikipedia.org/wiki/Gingerbread_house_<br />

(architecture)<br />

12.- There is evidence that Rama V assigned Prince Nares Vararidhi<br />

to design Utthayan Bhumi Sathien residence at Bang Pa-in Palace<br />

and gave an estimated amount of 5,600 Baht for the construction.<br />

However, the architect responsible for the design of the Bang Pain<br />

Palace was more likely to have been Joachim Grassi who was<br />

then 40 years old. Prince Nares took office in 1875 at the age of<br />

twenty and in 1877 would have been only twenty two years old.<br />

There is no indication of his having any design experience then,<br />

and therefore was probably the project supervisor while the person<br />

who designed and was responsible for the construction would have<br />

ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2384 สมัยรัชกาลที่ 3<br />

14- วัดอนงคารามวรวิหาร สร้างในสมัยรัชกาลที่ 3 โดยท่านผู้หญิง<br />

น้อย ภริยาสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติ<br />

15- ข้าราชการผู้ซึ่งเป็นกำลังหลักในการวางแผนงานการศึกษา<br />

ของชาติ และร่วมผลักดันให้เกิดการดำเนินงานในการบำรุงการศึกษา<br />

ของชาติจนเป็นผลสำเร็จนั้นได้แก่ เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี<br />

(ม.ร.ว.เปีย มาลากุล) และเจ้าพระยาธรรมศักดิมนตรี (สนั่น เทพหัสดิน<br />

ณ อยุธยา)<br />

16- ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช แสดงความเห็นว่าพระบาทสมเด็จ<br />

พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชประสงค์ที่จะสอนเรื่องการ<br />

เทศบาลมากกว่าเรื่องการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระดับ<br />

ประเทศ {อ้างจาก พรเทพ วชิรวรเดช, พระราชวังพญาไท (3), ดุสิต<br />

ธานี เมืองต้นแบบประชาธิปไตย, spirit, ปีที่ 3 ฉบับที่ 34 (เมษายน<br />

- พฤษภาคม พ.ศ. 2550)}, หน้า 102.<br />

17- ลักษณะคล้ายกับบ้านแบบ American Queen Anne ซึ่งเป็นที่นิยม<br />

แพร่หลายอยู่ในอเมริการาว ค.ศ. 1880 - 1910 (พ.ศ. 2423 - 2453<br />

ตรงกับครึ่งหลังของรัชกาลที่ 5) บ้านแบบดังกล่าวมีลักษณะเด่นอยู่ที่<br />

หอสูงตรงมุมบ้าน<br />

18- พระยาราชมนตรี (ภู่) เดิมเป็นจางวางข้าหลวงในสมัยรัชกาลที่ 3<br />

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดปรานมากทรงเรียกว่า<br />

“พี่ภู่” บุตรสาวของพระยาราชมนตรีชื่อ น้อย เป็นหม่อมของพระเจ้า<br />

บรมวงศ์เธอ กรมขุนราชสีหวิกรม (พระองค์เจ้าชุมสาย) พระราชโอรส<br />

ในรัชกาลที่ 3 บ้านของพระยาราชมนตรี (ภู่) อยู่ที่ริมแม่น้ ำตำบลท่าพระ<br />

เรียกว่า บ้านท่าช้าง หอนั่งของบ้านพระยาราชมนตรีคือเรือนที่<br />

สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงซื้อไปทำเป็น<br />

ท้องพระโรง ณ วังคลองเตย {อ้างจาก สุเมธ ชุมสาย, วังท่าพระ,<br />

(กรุงเทพฯ : กรุงสยามการพิมพ์, 2514)}, หน้า 15-16.<br />

been the architect Joachim Grassi. Furthermore, the color treatment<br />

on the façades with horizontal bands of two alternating colors is<br />

reminiscent of the style that Grassi used on the exterior façade<br />

treatment of Chaophraya Suravongse Vaiyavatana (Vorn Bunnag)’s<br />

residence and the Windsor Palace of Crown Prince Vajirunhis.<br />

13.- Wat Pichai Yatikaram was an abandoned temple until Somdej<br />

Chaophraya Boromaha Pichaiyat (Dhat Bunnag) had it restored in<br />

1805 when he was still “Phraya Sriphiphat Ratchakosa” during the<br />

reign of Rama III.<br />

14.- Wat Anongkharam Voraviharn temple was built during the reign<br />

of Rama III by the patronage of Than Phuying (Lady) Noi, wife of<br />

Somdej Chaophraya Boromaha Pichaiyat.<br />

15.- The person who was instrumental in drawing up the National<br />

Education Plan and seeing to its implementation was Chaophraya<br />

Surendra Dhibodi (Mom Ratchawong Pia Malakul) and Chaophraya<br />

Dharmasakdi Montri (Sanan Devahasatin Na Ayutthaya).<br />

16.- Mom Ratchawong Kukrit Pramoj remarked that King Rama<br />

VI was more interested in educating about municipal issues than<br />

about democracy at the national level.<br />

Ref: Pornthep Vajiravoradech. Phayathai Palace (3), Dusit Thani<br />

mueang tonbaeb prachadhipatai (in Thai). [Dusit Thani, prototype<br />

of a democratic city]. Spirit, Volume 3, No. 34, April-May 2007: 102.<br />

17.- The design of Phiman Chakri Hall is similar to the American<br />

Queen Anne style that was popular in USA around 1880 - 1910<br />

which corresponded with the second half of Rama V’s reign. The<br />

outstanding feature is the turret at the corner of the building.<br />

226


19- แม้กระทั่งบ้านย่อส่วนของเจ้าพระยามหิธรใน “ดุสิตธานี” เมือง<br />

จำลองนั้น ท่านผู้หญิงดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยา ธิดาของ<br />

เจ้าพระยามหิธรก็ได้เล่าว่า “คุณพ่อสมัครเป็นทวยนาครแล้วก็ต้อง<br />

มีบ้าน ทีแรกคุณพ่อให้ช่างทำบ้านเล็กๆ ไปตั้งในที่ที่ต้องซื้อ แต่รับสั่ง<br />

ว่าบ้านเล็กเกินไปไม่สมฐานะเสนาบดี คุณพ่อเลยต้องให้ทำใหม่เป็น<br />

ตึกทำด้วยไม้อย่างงดงาม สิ้นค่าทำกว่า 3,000 บาท” {อ้างจาก พรเทพ<br />

วชิรวรเดช, วังท่าพระ, (กรุงเทพฯ : กรุงสยามการพิมพ์, 2514)}, หน้า<br />

102.<br />

20- จมื่นอมรดรุณารักษ์ (แจ่ม สุนทรเวช), ดุสิตธานีเมือง<br />

ประชาธิปไตย, (พระนคร : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช, 2513), หน้า<br />

331.<br />

21- มนตรี ตราโมท, ดุริยสาส์น, (กรุงเทพฯ : ม.ป.ท., 2538), หน้า<br />

126.<br />

22- จุดเด่นของงานสถาปัตยกรรมแบบ Venetian Gothic ก็คือ การ<br />

ออกแบบ Tracery หรือช่องเปิดให้ทำหน้าที่เป็นโครงสร้างรับน้ำหนัก<br />

อาคาร ซึ่งแตกต่างจากการออกแบบ Gothic Tracery โดยทั่วไปที่มี<br />

ลักษณะเป็นลวดลายตกแต่งแต่เพียงอย่างเดียว อย่างไรก็ดีบ้านนรสิงห์<br />

ใช้โครงสร้างแบบเสา - คาน คอนกรีตรับน้ำหนัก หน้าต่างจึงทำหน้าที่<br />

เป็นช่องเปิดที่มีลักษณะเป็นรูปแบบของการตกแต่งหรือสะท้อน<br />

ลักษณะเฉพาะตัวซึ่งเป็นจุดเด่นของ Venetian Gothic ในเชิงภาพ<br />

ลักษณ์เท่านั้น มิได้มีหน้าที่ในการรับน้ำหนักแต่อย่างใด<br />

ความสนใจเกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรมแบบ Venetian Gothic ใน<br />

โลกตะวันตกนั้นเป็นผลมาจากความแพร่หลายของหนังสือเรื่อง The<br />

Stones of Venice ซึ่งเป็นหนังสือชุด 3 เล่ม เขียนขึ้นโดย John<br />

Ruskin ระหว่าง ค.ศ. 1851 – 1853 (พ.ศ. 2394 – 2396 ต้นสมัย<br />

รัชกาลที่ 4) หนังสือดังกล่าวเป็นการศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม<br />

ในเมือง Venice, Italy โดยศึกษาอาคารทางศาสนาสมัย Byzantine,<br />

18.- Phraya Ratchamontri (Phu) was a former chamberlain and<br />

favorite attendant of Rama III who called him “Phee Phu”. He had a<br />

daughter called Noi who became the wife of Prince Ratchasiha Vikrom<br />

(Phra Ongchao Jumsai - son of Rama III). Phraya Ratchamontri’s<br />

house, named Baan Tha Chang, was located by the river at Tha<br />

Phra sub-district. The detached sitting room of this house was<br />

later bought by Prince Naris to use as his reception area at Khlong<br />

Toey Palace. Ref: Sumet Jumsai. (1971). Wang Tha Phra (in Thai).<br />

Bangkok: Krung Siam Karn Phim: 15-16.<br />

19.- Chaophraya Mahidhorn’s daughter, Than Phuying Dushdimala<br />

Malakul Na Ayutthaya remarked that “At first, Father told the builder<br />

to build a small house on a bought piece of land, but His Majesty<br />

said it was too small and not befitting his position. So Father told<br />

the builder to rebuild it and as it turned out, was beautifully constructed<br />

of timber. The cost was over 3,000 Baht”. Ref: Pornthep<br />

Vajiravoradech. Op. cit; p.102.<br />

20.- Jamuen Amorn Darunaraksha (Jaem Sundaravej). (1970).<br />

Dusit Thani mueang prachadhipatai (in Thai). [Dusit Thani city of<br />

democracy]. Phra Nakorn: Thai Wattana Phanich: 331.<br />

21.- Montri Tramoj. (1995). Duriyasarn (in Thai). Bangkok: n.p: 126.<br />

22.- The outstanding feature of Venetian Gothic style architecture<br />

is the tracery design for openings which also act as the structural<br />

component to help bear the load of the building. This is different<br />

from the design of Gothic traceries in general which were purely<br />

for decorative purposes. However, because Norasingh House has<br />

reinforced concrete post-and-beam structure to bear the load, the<br />

Gothic และ Renaissance จำนวน 80 อาคาร แต่เนื้อหานั้นมีการ<br />

อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างงานศิลปะ สถาปัตยกรรม และศีลธรรม<br />

ทั้งยังบรรยายถึงคุณค่าของงานศิลปะและสถาปัตยกรรมโกธิค โดยที่<br />

Ruskin มีความเห็นว่า งานศิลปสถาปัตยกรรมโกธิคนั้น ถึงแม้ว่า<br />

คุณภาพทางเทคนิคจะมีความสมบูรณ์น้อยกว่างานแบบเรเนอซองส์<br />

แต่ก็เป็นผลงานศิลปะที่แสดงให้เห็นถึงความมีศรัทธาในพระเจ้าและ<br />

ความเป็นอิสระในการแสดงความคิดของช่างฝีมือมากกว่างานแบบเร<br />

เนอซองส์ ซึ ่งเป็นงานที่มีกฎเกณฑ์ที่ตายตัว ฉะนั้นงานศิลปะและ<br />

สถาปัตยกรรมสมัยโกธิคจึงแสดงคุณค่าของความเป็นมนุษย์มากกว่า<br />

งานสมัยเรเนอซองส์<br />

การที่ John Ruskin ยกย่องงาน Gothic ในเชิงช่างศิลปะและ<br />

สถาปัตยกรรม ซึ่งสัมพันธ์กับคุณค่าความเป็นมนุษย์และคุณค่าเชิงศีล<br />

ธรรมนี่เองเป็นประเด็นที่ทำให้หนังสือชุด The Stones of Venice ได้<br />

รับความนิยมและเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้เกิดกระแสการฟื้นฟูงานศิลป<br />

สถาปัตยกรรมแบบโกธิค ที่มีลวดลายการตกแต่งที่ประณีตซับซ้อนใน<br />

ช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 19 ในสหราชอาณาจักร ซึ่งเรียกกันว่า<br />

Victorian Gothic และยังแพร่หลายต่อไปในประเทศอื่นๆ ในโลกตะวัน<br />

ตกอีกด้วย<br />

23- Robert Powell, Singapore Good Class Bungalow 1819 - 2015,<br />

(Singapore: Talismen Publishing Pte Ltd, 2016), p.39.<br />

24- John fleming and others, A Dictionary of Architecture, (Middlesex:<br />

Penguin Book Ltd, 1975), p.306.<br />

25- Robert Powell, Singapore Good Class Bungalow 1819 - 2015,<br />

p.39.<br />

26- โครงสร้างหลักของชั้นล่างน่าจะเป็นเสา - คานคอนกรีตเสริมเหล็ก<br />

27- มนัชญา วาจก์วิศุทธิ์ และคณะ, “บ้านสมัยใหม่ในสมัยรัชกาลที่ 5<br />

- 6 -7 กรณีศึกษาชุมชนวัดสามพระยา”, เอกสารการศึกษาในรายวิชา<br />

openings with the Venetian Gothic style design were therefore purely<br />

decorative and did not serve to bear any weight.<br />

The interest in Venetian Gothic style architecture in Western countries<br />

was triggered by the widespread popularity of the three-volume<br />

book “The Stones of Venice” by John Ruskin from 1851-53 (around<br />

the beginning of the period of Rama IV). The book looked at the<br />

architecture of Venice in Italy by studying altogether eighty Gothic<br />

and Renaissance style religious buildings. The content discussed<br />

the relationship between art, architecture and morality. It also<br />

explained about the value of Gothic art and architecture in which<br />

Ruskin had the opinion that although the technical qualities were<br />

not as progressive as that of the Renaissance style, but it reflected<br />

faith in God and freedom of thoughts and expressions of the artists<br />

and builders, better than the Renaissance style which was confined<br />

by rigid principles and criteria. As such, art and architecture during<br />

the Gothic period exhibited the humanistic quality more than those<br />

of the Renaissance period.<br />

Ruskin’s praise for Gothic art and architecture with regards to<br />

humanistic and moral values was the key to the popular success<br />

of his book and therefore was partly responsible for the birth of<br />

Gothic Revival with its refined and intricate ornamentations during<br />

the second half of the 19 th century in England, and was known as<br />

Victorian Gothic style that spread to other countries in Europe as well.<br />

23. Robert Powell. (2016). Singapore Good Class Bungalow 1819<br />

– 2015. Singapore: Talisman Publishing: 39.<br />

24.- John Fleming and others. (1975). A Dictionary of Architecture.<br />

227


ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมไทย 2 ระดับปริญญามหาบัณฑิต คณะ<br />

สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.<br />

28- พระยาอมเรศร์สมบัติ (ต่วน ศุขะวณิช) รับราชการในตำแหน่งเจ้า<br />

กรมการผลประโยชน์ และโดยปกติแล้วบ้านของขุนนางชั้นสูงมักจะ<br />

ออกแบบโดยสถาปนิกชาวยุโรป แต่ไม่ทราบแน่ชัดว่าใครเป็นผู้<br />

ออกแบบบ้านหลังนี้ (พระยาอมเรศร์สมบัติเป็นขุนนางชั้นผู้ใหญ่<br />

ผู้มีความใกล้ชิดกับท่านเจ้าของวังบางขุนพรหม และเนื่องจาก<br />

องค์ประกอบบางอย่างของบ้านหลังนี้ เช่น ผัง และหน้าจั่วหัวตัด<br />

คล้ายคลึงกับตำหนักสมเด็จ สถาปนิกผู้ออกแบบก็อาจจะเป็นคน<br />

เดียวกันคือ นายคาร์ล ดือห์ริง)<br />

29- คล้ายกับบ้านแบบ American Queen Anne<br />

30- “บุรุษรัตน”, พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ<br />

มหาเสวกเอก พระยาบุรุษรัตนราชพัลลภ (นพ ไกรฤกษ์), หน้า 102.<br />

31- ลวดลายไม้ฉลุที่มีความละเอียดและงดงามนั้นได้เริ่มมีพัฒนาการ<br />

มาก่อนหน้านี้แล้วในสมัยรัชกาลที่ 5 เช่น ลวดลายฉลุไม้ที่พระที่นั่ง<br />

อภิเศกดุสิต ซึ่งก่อสร้างขึ้นระหว่าง พ.ศ. 2446 – 2447 และออกแบบ<br />

โดย นายมาริโอ ตามานโย สถาปนิกชาวอิตาเลียน<br />

32- Burkill Hall บ้านบังกะโลที่สิงคโปร์สร้างเมื่อ ค.ศ. 1867 – 1868<br />

(พ.ศ. 2410 – 2411 ปลายสมัยรัชกาลที่ 4 ถึงต้นรัชกาลที่ 5) ผังสาม<br />

ส่วนและมีระเบียงล้อมรอบ {อ้างจาก Robert Powell, Singapore Good<br />

Class Bungalow 1819 – 2015, (Singapore: Talismen Publishing<br />

Pte Ltd, 2016)}, pp.30 – 31.<br />

33- พอพันธ์ อุยยานนท์, เศรษฐกิจไทยในสมัยรัชกาลที่ 7 : รักษา<br />

เสถียรภาพ ปูพื้นฐานการพัฒนา, (กรุงเทพฯ : โครงการจัดพิมพ์คบไฟ,<br />

2558), หน้า 64-65.<br />

34- เรื่องเดิม, หน้า 28.<br />

35- เรื่องเดิม, หน้า 2 - 3.<br />

Middlesex: Penguin: 306.<br />

25.- Powell. Singapore Good Class Bungalow 1819 – 2015. Op.<br />

cit; p.39.<br />

26.- The building structure at the ground floor level of Manangkhasila<br />

House is presumed to be of reinforced concrete with post-and-beam<br />

type construction.<br />

27.- Manatchaya Wajavisudhi and others. Baan samai mai nai<br />

ratchakan thi 5-6-7: Korani sueksa chumchon Wat Sam Phraya (in<br />

Thai). [Modern houses in the periods of Rama V, VI, VII: Wat Sam<br />

Phraya Community case study]. A report undertaken in the course<br />

on History of Thai Architecture II, Master’s degree level, Faculty of<br />

Architecture, Silpakorn University.<br />

28.- Phraya Amares Sombat (Tuan Sukhavanija) was head of the<br />

department of crown assets. Generally, houses of high ranking officials<br />

were mainly designed by European architects. It is not clear who<br />

designed this building, but presumably it was Karl Döhring, due to<br />

the similarity in design with Tamnak Somdej and the owner’s close<br />

association with the proprietor of Bang Khunphrom Palace.<br />

29.- The turret-like structure attached to the houses is similar to<br />

the American Queen Anne style house.<br />

30.- “Burutratana” printed in commemoration of the cremation of<br />

Phraya Burutratana Rajphanlop (Nop Krairiksh): Bangkok: n.p: 102.<br />

31.- The intricately refined designs on perforated sawn-timber work<br />

had already been developed during the time of Rama V, as can be<br />

seen on Phra Thinang Abhisek Dusit, built between 1903 and 1904,<br />

designed by the Italian architect Mario Tamagno.<br />

36- เรื่องเดิม, หน้า 8 - 9.<br />

37- ร่างกฎหมายการปกครองสมัยรัชกาลที่ 7 “ฉบับพระยา<br />

กัลยาณไมตรี” และ “ฉบับพระยาศรีวิสารวาจา”, เข้าถึงได้จาก https://<br />

prachatai.com/journal/2017/04/71108<br />

38- นายมันเฟรดี้ (Ercole Manfredi) ยังคงพำนักอยู่ในกรุงเทพฯ<br />

ภายหลังจากหมดสัญญาจ้างกับรัฐบาลไทย และต่อมาได้รับสัญชาติ<br />

ไทยใน พ.ศ. 2486 ทั้งยังเปลี่ยนชื่อเป็น นายเอกฤทธิ์ หมั่นเฟ้นดี เขา<br />

แต่งงานกับสุภาพสตรีไทยและเสียชีวิตเมื่อ พ.ศ. 2516 ที่กรุงเทพฯ<br />

39 การประชุมครั้งแรกของสมาคมสถาปนิกสยามมีขึ้นในวันที่ 18<br />

เมษายน พ.ศ. 2477 และผู้ที่ทรงมีบทบาทสำคัญในการบริหารงาน<br />

ของสมาคมคือหม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร (16 มกราคม พ.ศ.<br />

2432 – 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477)<br />

40- การพัฒนาฝั่งธนบุรีให้มีความเจริญด้านเศรษฐกิจและด้านการ<br />

สาธารณูปโภคต่างๆ นั้นเป็นข้อเสนอซึ่งที่ปรึกษาชาวต่างประเทศเสนอ<br />

ให้ดำเนินการเร่งด่วนมาตั้งแต่ พ.ศ. 2471 แล้ว ดังมีใจความในรายงาน<br />

บางส่วนว่า “The Question of the development of the West Bank<br />

of the river (ฝั่งธนบุรี) by extending to that area the amenities of<br />

life enjoyed by the East Bank (ฝั่งพระนคร) is one of increasing<br />

urgency ... I remarked that responsibility of the government for<br />

developing roads, lighting, water, etc., on that bank could not be<br />

put off much longer, ... and suggested that an attempt might be<br />

made to find out what line that policy would follow.” อ้างจาก<br />

พอพันธ์ อุยยานนท์, เศรษฐกิจไทยในสมัยรัชกาลที่ 7 : รักษา<br />

เสถียรภาพ ปูพื้นฐานการพัฒนา, (กรุงเทพฯ : โครงการจัดพิมพ์คบไฟ,<br />

2558), หน้า 108-109.<br />

41- นารถ โพธิประสาท, สถาปัตยกรรมในประเทศไทย, (พระนคร:<br />

โรงพิมพ์ไทยเขษม, <strong>2489</strong>), ร.7 รูปที่ 2<br />

32.- Burkill Hall. Bungalows in Singapore built around 1867-68, or<br />

circa the end of Rama IV and beginning of Rama V, have three<br />

bays and surrounded by a veranda.<br />

Ref: Powell. Singapore Good Class Bungalow 1819 – 2015. Op.<br />

cit., p.30-31.<br />

33.- Porphant Ouyyanont. (2015). Sethakit Thai nai samai ratchakan<br />

thi 7: Raksa sathierapap pu phuenthan karn phattana (in Thai). [Thai<br />

Economy under the Reign of King Prajadhipok: Maintaining stability<br />

and laying the foundation for development]. Bangkok: Khobfai: 64-<br />

65.<br />

34.- Ibid; p.28.<br />

35.- Ibid; p.2-3.<br />

36.- Ibid; p.8-9.<br />

37.- On drafts of Governing Legislations in the period of King Rama<br />

VII: “Phraya Kalayana Maitree Version” and “Phraya Srivisarnvaja<br />

Version”. Accessed and retrieved April 10, 1988 from: https://prachatai.com/journal/2017/04/71108.<br />

38.- Whereas Mario Tamagno decided to return to Italy, Ercole<br />

Manfredi chose to remain in Bangkok after his contract had expired.<br />

Manfredi received Thai citizenship in 1943 and changed his name<br />

to Ekarit Manfendi. He married a Thai woman, and died in 1973.<br />

39.- The first meeting of the Association of Siamese Architects<br />

took place on April 18, 1934. One of the prominent supporters of<br />

the Association was Prince Iddhidebsan Kridakara (January 16,<br />

1889 – February 19, 1934).<br />

40.- Development of Thonburi side of the river in terms of economy<br />

228


42- ปัจจุบัน (พ.ศ. 2561) มีสถานะเป็นโรงมหรสพหลวงสำหรับจัดการ<br />

แสดงต่างๆ รวมทั้งการฉายภาพยนตร์ และได้ผ่านการปรับปรุงใน พ.ศ.<br />

2535 ทำให้จำนวนที่นั่งลดลงจากประมาณ 1,000 ที่นั่งเหลือเพียงราว<br />

600 ที่นั่ง<br />

43- ผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับการพระราชทานรัฐธรรมนูญนั้นมีหลายท่าน<br />

เช่น สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ พระยากัลยาณไมตรี<br />

(ดร.ฟรานซิส บี แซร์) และพระยาศรีวิศาลวาจา เป็นต้น<br />

44- สมชาติ จึงสิริอารักษ์, สถาปัตยกรรมแบบตะวันตกในสยาม<br />

สมัยรัชกาลที่ 4 - พ.ศ. 2480, (กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์<br />

พับลิชชิ่ง, 2553), หน้า 524.<br />

45- ตั้งแต่ พ.ศ. 2477 - <strong>2489</strong> นั้น นายกรัฐมนตรีเกือบทุกคนเป็น<br />

สมาชิกคณะราษฎร ยกเว้นระหว่างวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2488 - 31<br />

มกราคม พ.ศ. <strong>2489</strong> ซึ่งผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี คือ ม.ร.ว.เสนีย์<br />

ปราโมช ซึ่งมิได้เป็นสมาชิกของคณะราษฎร แต่เข้ามาทำหน้าที่เป็น<br />

ผู้นำรัฐบาลในการเจรจาต่อรองกับฝ่ายสัมพันธมิตรเรื่องฐานะของ<br />

ประเทศไทยภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่ง ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช<br />

ได้เจรจาให้ประเทศหลุดพ้นจากข้อเสนอให้ประเทศไทยเป็นเมืองใน<br />

อาณัติของประเทศอังกฤษได้สำเร็จ (https://th.wikipedia.org/wiki/<br />

หม่อมราชวงศ์เสนีย์_ปราโมช)<br />

46- สงครามโลกครั้งที่สองเกิดขึ้นระหว่างวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2482<br />

- 2 กันยายน พ.ศ. 2488 และประเทศไทยประกาศสงครามกับฝ่าย<br />

สัมพันธมิตรเมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485<br />

47- ประกาศรัฐนิยมฉบับที่ 1 ลงวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 ให้ใช้<br />

ชื่อประเทศและประชาชนในภาษาไทยว่า “ไทย” ส่วนในภาษาอังกฤษ<br />

ใช้ชื่อประเทศว่า “Thailand” ประชาชนและสัญชาติให้ใช้ว่า “Thai”<br />

การเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่เป็นวันที่ 1 มกราคมนั้น เป็นประกาศของ<br />

รัฐบาลลงนามโดยนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2483<br />

and infrastructure was proposed since 1928 by a foreign advisor who<br />

saw the urgency to do so, as stated in parts of a report according<br />

to the following:<br />

“The question of the development of the West Bank of the river<br />

by extending to that area the amenities of life enjoyed by the East<br />

Bank is one of increasing urgency ... I remarked that responsibility<br />

of the government for developing roads, lighting, water, etc., on that<br />

bank could not be put off much longer, ... and suggested that an<br />

attempt might be made to find out what line that policy would follow.”<br />

Ref: Porphant Ouyyanont. Op. cit; 108-109.<br />

41.- Narth Bodhiprasart. (1946). Sathapattayakam nai prathet Thai<br />

(in Thai). [Architecture in Thailand]. Phranakorn: Thai Khasem:<br />

Rama VII, fig. 2.<br />

42.- Sala Chalermkrung Royal Theatre is presently a venue for<br />

holding traditional performing arts programs, concerts and other<br />

events as well as screening movies. After a major renovation in<br />

1992, the number of seats have been reduced from 1,000 to 600.<br />

43.- Among those who disagreed with giving the people a full<br />

constitution were Prince Damrong Rajanuphab, Francis B. Sayre,<br />

and Phraya Srivisarnvaja.<br />

44.- Somchart Chungsiriarak. (2010). Sathapattayakam baeb<br />

tawan tok nai Siam samai ratchakan thi 4 – por sor 2480 (in Thai).<br />

[Western Style Architecture in Siam from the period of King Rama<br />

IV to 1937]. Bangkok: Amarin: 524.<br />

45.- From 1934 – 1946, every Prime Minister was a member of the<br />

People’s Party except for the post-war period from September 17,<br />

ดังนั้น พ.ศ. 2483 จึงมีเพียง 9 เดือน<br />

ส่วนการใช้อักขรวิธีไทยแบบใหม่นั้นเป็นประกาศสำนักนายก<br />

รัฐมนตรี เรื่อง การปรับปรุงตัวอักษรไทย ลงวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ.<br />

2485 แต่เมื่อจอมพล ป. พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเมื่อปลาย<br />

พ.ศ. 2487 รัฐบาลชุดใหม่ก็ได้ประกาศยกเลิกและกลับไปใช้อักขรวิธี<br />

ไทยแบบเดิม<br />

48- ผาสุก พงษ์ไพจิตร และคริส เบเกอร์, เศรษฐกิจการเมืองไทยสมัย<br />

กรุงเทพฯ, (กรุงเทพฯ : ชิลค์เวอร์ม บุ๊คส์, พิมพ์ครั้งที่สาม, 2546),<br />

หน้า 147.<br />

49- เรื่องเดิม, หน้า 150-151.<br />

50- เรื่องเดิม, หน้า 149.<br />

51- ใน พ.ศ. 2495 รัฐบาลได้เปลี่ยนชื่อมหาวิทยาลัยเป็น “มหาวิทยาลัย<br />

ธรรมศาสตร์”<br />

52- “ม.ธ.ก.” The University of Moral and Political Sciences หรือ<br />

UMPS<br />

53- ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับช่วงเวลาในการก่อสร้างวังอัศวินที่ชัดเจน<br />

54- สังคมไทยเชิงประเพณีในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้นไม่มี<br />

ชนชั้นกลาง เพราะแบ่งชนชั้นในสังคมเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ เจ้านาย (the<br />

Royalty) ขุนนางและข้าราชการ (Peers and ranked officers) ไพร่<br />

(Corvée) และ ทาส (Slaves) อีกนัยหนึ่งมี 2 กลุ่มใหญ่คือ ชนชั้น<br />

ปกครอง (เจ้านาย ขุนนาง และข้าราชการ) และชนชั้นแรงงาน (ไพร่<br />

และทาส) แต่ตามแนวคิดตะวันตกนั้นอธิบายว่า ชนชั้นกลางคือกลุ่ม<br />

คนที่อยู่ระหว่างชนชั้นปกครอง (Ruling elites) และชนชั้นแรงงาน<br />

(Labourers) และชนชั้นกลางจะเติบโตขึ้นตามขนาดของการเติบโต<br />

ทางเศรษฐกิจของแต่ละสังคม อีกนัยหนึ่งการเติบโตของชนชั้นกลาง<br />

จะมีความสัมพันธ์กับพัฒนาการของทุนนิยมและการค้าเสรี ตลอดจน<br />

การเมืองในระบอบประชาธิปไตย<br />

1945 to January 31, 1946 when Mom Ratchawong Seni Pramoj,<br />

who was not a member, headed the government to negotiate with<br />

the Allied Nations regarding Thailand’s position after the end of the<br />

Second World War. As a consequence, the country was free of<br />

obligations to be under British control.<br />

46.- World War II took place from September 1, 1939 to September<br />

2, 1945. Thailand joined the Axis side and declared war against<br />

Allied Nations on January 25, 1942.<br />

47.- The First Mandate of the State Customs policy issued on<br />

June 24, 1939 stipulated that the country shall be called Thailand<br />

(formerly Siam), and the people called Thai.<br />

Government announcement changing the calendar year to begin<br />

on 1st of January was issued on December 24, 1940. Previously,<br />

the New Year began in April. Therefore the year 1940 had only<br />

nine months, as the last 3 months became the first 3 months of<br />

the new year instead.<br />

Changes to Thai alphabets and spelling system was regulated<br />

by the Prime Minister’s Office Announcement on May 29, 1942.<br />

However, after the Pibulsonggram government, the new government<br />

rescinded the announcement and reverted to the use of the former<br />

system at the end of 1944.<br />

48.- Pasuk Phongpaichit and Chris Baker. (2003). Setthakit karnmueang<br />

Thai samai Krungthep (in Thai). [Thai Economy and Politics in the<br />

Bangkok Period]. Bangkok: Silkworm Books, 3rd printing: 147.<br />

49.- Ibid; p.150-151.<br />

50.- Ibid; p.149.<br />

229


ชนชั้นกลางเป็นชนชั้นที่มีโอกาสในการศึกษา มีกำลังซื้อ เข้าใจ<br />

การเมือง มีความสามารถในการจัดการกับระบบการดำเนินชีวิต<br />

โดยเฉพาะการจัดการทางเศรษฐกิจและการจัดการเรื่องรูปแบบการใช้<br />

ชีวิตของตนเองได้อย่างเหมาะสมกับสถานภาพ ในสังคมที่พัฒนา<br />

ชนชั้นกลางโดยเฉพาะชนชั้นกลางระดับล่างจะมีบทบาทมากในการ<br />

กำหนดทิศทางของเศรษฐกิจและการเมืองของสังคมนั้น<br />

นักวิชาการมีความเห็นว่าสังคมไทยมีการพัฒนาทางเศรษฐกิจเข้า<br />

สู่สังคมทุนนิยมอย่างแท้จริงตั้งแต่ราว พ.ศ. 2530 เป็นต้นมา โดย<br />

พิจารณาจากบทบาทของชนชั้นกลางระดับล่าง (คือชนชั้นกลางที่มิใช่<br />

นายทุนผู้ประกอบการขนาดใหญ่) ที่มีต่อการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจ<br />

และการเมืองที่เกิดขึ้นจริงในสังคมไทยในช่วงเวลาดังกล่าว (https://<br />

thaipublica.org/2014/03/middle-class-and-the-social-change/)<br />

51.- In 1952, the government changed the former name of the<br />

university to Thammasat University.<br />

52.- Former name of Thammasat University was University of Moral<br />

and Political Sciences (UMPS).<br />

53.- Exact year of construction on Tamnak Yai at Asawin Palace<br />

is unascertained.<br />

54.- Thai society during the period of absolute monarchy did not<br />

have a middle class but was structured on four strata which were<br />

royalties, nobilities and aristocrats (peers and ranked officers),<br />

commoners, and slaves. In other words, there were two classes of<br />

people: the rulers (consisted of royalties, aristocrats and officials),<br />

and the proletarians (consisted of commoners and slaves). However,<br />

from the Westerners’ point of view, the middle class refers to those<br />

in-between the ruling elites and the plebeians, and that the growth<br />

of the middle class is relative to the growth of the economy of each<br />

society. This implies that the growth of the middle class is correlated<br />

to the development of capitalism, free trade and politics, under the<br />

democratic system.<br />

The middle class have educational opportunities, purchasing<br />

power, understanding of politics, capacity to manage their way<br />

of life (especially in financial aspects), and live a lifestyle of their<br />

own choosing.<br />

In developed societies, the middle class, especially lower middle<br />

class, also have a role in determining the direction of the economy<br />

and the politics of their society.<br />

Some academics have the opinion that Thai society conscientiously<br />

developed its economy in the direction of capitalism from around<br />

1987 onwards, taking into consideration the role of the lower middle<br />

class (non-investors of large scale businesses) in the development<br />

of the economy and politics of the Thai society during that period.<br />

Available from: https://thaipublica.org/2014/03/middle-class-andthe-social-change/.<br />

230


บ้านเรือนในสยาม: การปฏิรูปสู่ความทันสมัย<br />

DOMESTIC ARCHITECTURE IN SIAM: THE REFORMATION PERIOD<br />

สุนนท์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา<br />

Sunon Palakavong Na Ayudhya<br />

ภาพลายเส้น<br />

โดย<br />

นายธนภัทร ธนะโสธร<br />

Mr. Thanapat Thanasothon<br />

นายมนัสวี สุขล้น<br />

Mr. Manasawee Suklon<br />

นายภาณุเดชน์ จันทราศรี<br />

Mr. Panudeth Juntrasri<br />

นางสาวอินทิรา อิงคนินันท์<br />

Miss Intira Engkaninun<br />

231


1. พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร สัญลักษณ์ของพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นคุณค่าทางวัฒนธรรมที่สำคัญที่สุดในสังคมไทย<br />

The Emerald Buddha: A symbol of Buddhism which is the most important cultural value of Thai society.<br />

2. พระมณฑป สร้างสมัยรัชกาลที่ 1 สำหรับประดิษฐานพระไตรปิฎก<br />

Phra Mondop at the Temple of the Emerald Buddha: Built during<br />

the period of Rama I to enshrine the holy Buddhist manuscripts.<br />

232


3. พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท สมัยรัชกาลที่ 1<br />

Dusit Maha Prasat Throne Hall: The first masonry throne hall<br />

that was built within the Grand Palace during the period of Rama I.<br />

4. หอไตร วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร หอไตรเป็นอาคารที่ปรับปรุงมาจากเรือนไม้ใต้ถุนสูง<br />

ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะตัวของเรือนพักอาศัยแบบประเพณีของไทย<br />

Hor Trai (Library) of Wat Rakhang temple: The building had been converted from<br />

the timber stilt house which was typical of traditional Thai style dwelling units.<br />

233


5. พระศรีศากยมุนี พระประธานวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร พระพุทธรูปองค์นี้เป็น<br />

พระพุทธรูปสัมฤทธิ์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสมัยสุโขทัย รัชกาลที่ 1 ทรงโปรดให้อาราธนามาประดิษฐาน<br />

เป็นพระพุทธรูปกลางเมืองหลวงจากพระวิหารหลวง วัดมหาธาตุ สุโขทัย ในช่วงปลายรัชกาล<br />

Phra Sri Sakayamuni: Principal Buddha image at Wat Suthat. The largest cast alloy Buddha image of the<br />

Sukhothai period was brought down from Wat Mahadhat in Sukhothai by King Rama I around the end of the reign.<br />

6. พระวิหาร วัดสุทัศนเทพวราราม<br />

Congregation Hall of Wat Suthat.<br />

234


7. พระปรางค์ วัดอรุณราชวราราม<br />

The Great Prang of Wat Arun (Temple of Dawn).<br />

8. พระอุโบสถ วัดราชโอรสาราม สถาปัตยกรรมแบบไทย-จีน พระราชนิยมในสมัยรัชกาลที่ 3<br />

Ordination Hall of Wat Raj-Orosaram temple: Sino-Thai style architecture<br />

that became the royal vogue during the period of Rama III.<br />

235


9. ตำหนักใหญ่ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ที่ประทับของท่านวชิรญาณภิกขุ (เจ้าฟ้ามงกุฎ) สร้างสมัยรัชกาลที่ 3 ลักษณะเป็นตึก 2 ชั้น<br />

แบบตะวันตก โครงสร้างก่ออิฐฉาบปูน แต่มีลวดลายไม้ฉลุเป็นองค์ประกอบตกแต่งบริเวณหน้าจั่วและระเบียงมุขชั้นบน<br />

Tamnak Yai (Main Residence) at Wat Bovornives: Built during the time of Rama III, this 2-storeyed brick building in European style<br />

with sawn-timber decorations on roof gable and balcony was the residence of Vajirayana Bhikkhu (later King Rama IV).<br />

10. ท้องพระโรง พระที่นั่งอนันตสมาคม ภายในพระอภิเนาว์นิเวศน์ สมัยรัชกาลที่ 4<br />

Ananta Samakhom Audience Hall within Phra Abhinaonives complex<br />

in the Grand Palace during the period of Rama IV.<br />

236


11. ท้องพระโรงกลาง พระที่นั่งอนันตสมาคม ภายในพระอภิเนาว์นิเวศน์ สมัยรัชกาลที่ 4<br />

Ananta Samakhom Principal Throne Hall within Phra Abhinaonives group of buildings during the period of Rama IV.<br />

12. พระที่นั่งอนันตสมาคม องค์พระที่นั่งประดับด้วยองค์ประกอบเสาแบบยุโรป แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลสถาปัตยกรรมแบบตะวันตก<br />

ในอาคารที่ประทับในพระราชวังหลวงสมัยรัชกาลที่ 4 และสะท้อนภาพการเริ่มปรับตัวของสังคมไทยโดยการเลือกรับ<br />

วัฒนธรรมตะวันตกเพื่อรับสถานการณ์การรุกคืบหน้าทางการเมืองของมหาอำนาจตะวันตก<br />

Ananta Samakhom Principal Throne Hall with European style columns and influence on the design of royal residences<br />

during the period of Rama IV. This also reflected the endeavor to integrate western culture with local culture in<br />

a strategy to deal with increasing Western political aggressions.<br />

237


13. พระที่นั่งเพชรภูมิไพโรจน์ พระนครคีรี เพชรบุรี สมัยรัชกาลที่ 4<br />

Phra Thinang Phetbhumi Phairoj at Phra Nakorn Khiri:<br />

Rama IV’s residence in Phetchaburi province.<br />

14. ทิวทัศน์แม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณกรุงเทพฯ – ธนบุรี สมัยรัชกาลที่ 4<br />

มีเรือสินค้าจากต่างประเทศ และมีเรือนแพตามริมฝั่งอยู่เป็นจำนวนมาก<br />

View of Bangkok and Thonburi around the period of Rama IV with foreign merchant boats<br />

and many floating raft-houses along the banks of Chao Phraya River.<br />

238


15. การปฏิรูปสยามในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นการสร้างพื้นฐานที่มั่นคงในการพัฒนาประเทศในสมัยต่อมา<br />

King Chulalongkorn. National reform during the period of Rama V provided a strong foundation<br />

for subsequent progress and development of the kingdom.<br />

16. พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พ.ศ. 2419<br />

Chakri Maha Prasat Throne Hall (1876)<br />

239


17. ตำหนักใหญ่ วังบางขุนพรหม พ.ศ. 2449<br />

Tamnak Yai (Main Mansion), Bang Khunphrom Palace (1906)<br />

18. พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร พระที่นั่งไม้ประดับลวดลายไม้ฉลุ พระราชวังบางปะอิน<br />

ออกแบบโดยนายโจอาคิม กราสซี สร้างเมื่อ พ.ศ. 2420 พระที่นั่งองค์นี้เป็นที่ประทับตากอากาศ<br />

ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและเป็นเรือนไม้สองชั้นประดับลวดลายไม้ฉลุหลังแรกในสยาม<br />

Phra Thinang Utthayan Bhumi Sathien, Bang Pa-in Palace, Ayutthaya: Designed by Joachim Grassi and built in 1877,<br />

this was the vacation residence of King Rama V and was the first building in Siam to have perforated sawn-timber decorations.<br />

240


19. บ้านพระยาบุรุษรัตนราชพัลลภ บ้านแบบโรมันติก พ.ศ. 2448<br />

Phraya Burutratana Rajphanlop’s Residence (1905) in the Romantic style.<br />

20. บ้านพระยาประชากิจกรจักร บ้านไม้ฉลุลาย สมัยรัชกาลที่ 5<br />

Phraya Prachakij Korachakara’s House with decorative sawn-timber work:<br />

Built during the period of Rama V.<br />

241


21. บ้านวินเซอร์ บ้านไม้สองชั้นแบบตะวันตก ประดับด้วยไม้ฉลุลาย คนไทยระดับสามัญชนเริ่มปลูกบ้านไม้สองชั้นแบบตะวันตกแทน<br />

การปลูกเรือนไทยยกใต้ถุนสูงในสมัยรัชกาลที่5 ราวปีพ.ศ. 2430 เป็นต้นมา เพื่อแสดงความเป็นผู้เจริญและแสดงความทันสมัย<br />

ตามแบบอย่างวิถีชีวิตของชนชั้นสูงในสังคมไทย และแบบบ้านซึ่งเป็นที่นิยมกันมากคือบ้านไม้สองชั้นประดับลวดลายไม้ฉลุ<br />

Windsor House in European style: Two-storeyed timber house with decorative sawn-timber work. Commoners<br />

began building two-storeyed timber houses in Western style instead of the traditional stilted houses during<br />

the period of Rama V or around 1887 onwards to show sophistication by imitating the upper class<br />

way of living while the most popular style was that which had sawn-timber decorations.<br />

ผังชั้นบน ผังชั้นล่าง<br />

22. ผังบ้านวินด์เซอร์ ผังสามส่วนมีมุขหน้า<br />

Windsor House Plan: The design was based<br />

on the three-bay grid plan system with a front porch.<br />

242


ลวดลายไม้ฉลุ บ้านวินด์เซอร์<br />

Sawn-timber work decorations on the Windsor House.<br />

23. ลวดลายไม้ฉลุประดับหน้าจั่ว<br />

Sawn-work decoration at the gable end.<br />

24. ลวดลายไม้ฉลุใต้หน้าต่างซ้อนผนัง<br />

Perforated sawn-work decoration with solid backing below the window.<br />

25. ลวดลายไม้ฉลุประดับช่องลม<br />

Decorative perforated sawn-work also serve to allow natural ventilation.<br />

อ้างอิงจาก<br />

กรมศิลปากร, ลายไม้ฉลุแบบขนมปังขิง สุนทรียภาพแห่งกรุงรัตนโกสินทร์, (กรุงเทพฯ: กองโบราณคดี กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม,<br />

2560), หน้า 92, 93, 99.<br />

243


26. พระราชวังพญาไท เริ่มสร้างตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 รัชกาลที่ 6 โปรดเกล้าฯ<br />

ให้สร้างพระที่นั่งและพระตำหนักเพิ่มเติม เพื่อเป็นพระราชวังที่ประทับในกรุงเทพฯ<br />

Phayathai Palace: This project was initiated in 1909 during the late period<br />

of Rama V. Additional buildings were later built under royal command of<br />

Rama VI in order to become another royal palace in Bangkok.<br />

27. บ้านนรสิงห์ สร้าง พ.ศ. 2466-2469 สถาปัตยกรรม Neo-Gothic แบบ Venetian Gothic<br />

Norasingh House: Built during 1923 - 1926 in the Venetian Gothic style.<br />

244


28. ตำหนักประถม วังเพชรบูรณ์ พ.ศ. 2462 บ้านไม้ใต้ถุนสูง จัดห้องพักอาศัยอยู่ภายใต้หลังคาเดียวกัน<br />

เป็นบ้านไทยประยุกต์ แต่บ้านแบบนี้ไม่เป็นที่นิยมในหมู่สามัญชน<br />

Tamnak Prathom, Phetchabun Palace (1919): A stilted house with rooms arranged all under<br />

one roof in an applied Thai style. This however was not a popular trend amongst the people in general.<br />

29. ศาลาเฉลิมกรุง พ.ศ. 2475 อาคารที่สร้างแบบสถาปัตยกรรมสมัยใหม่เป็นครั้งแรกในสยาม<br />

Chalermkrung Theater (1932): Siam’s first building in the style of the Modern Architecture.<br />

245


30. ตำหนักใหญ่ วังอัศวิน บ้านพักอาศัยแบบสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ สร้างราวปลายสมัยรัชกาลที่ 7<br />

เป็นแบบบ้านที่บ่งบอกถึงสิ่งที่จะตามมาในอนาคตเมื่อสังคมไทยพัฒนาเป็นสังคมทุนนิยม<br />

Tamnak Yai (Main Mansion), Asawin Palace: Residential building designed in the style of Modern architecture<br />

(around late Rama VII period). This was a sign of things to come as society began developing in the direction of capitalism.<br />

31. สะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ วันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2475 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธานใน<br />

การเปิดสะพาน ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อร่วมในการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ครบรอบ 150 ปี 11 สัปดาห์ หลังจากนั้นเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475<br />

คณะราษฎรก่อการยึดอำนาจเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบบพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ<br />

Rama I Memorial Bridge, Bangkok, 1932: On April 6th 1932, Rama VII presided over the opening ceremony of the Memorial<br />

Bridge in celebration of the 150th anniversary of the founding of Bangkok. Eleven weeks following that, a coup d’état<br />

took place and changed the governing system from absolute monarchy to constitutional monarchy.<br />

246


32. ตึกบัญชาการมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง สร้างเมื่อ พ.ศ. 2477 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์<br />

ก่อตั้งขึ้นเพื่อที่จะให้การศึกษาแก่ราษฎรอย่างทั่วถึงตามหลักการศึกษาของคณะราษฎร<br />

Administration Building of the University of Moral and Political Sciences, built in 1934: Built in 1934, this university<br />

was set up to provide higher education for the people according to the education policy of the People’s Party.<br />

33. สนามศุภชลาศัย สนามกีฬาแห่งชาติ สร้างแบบ Art Deco เมื่อ พ.ศ. 2480 – 2484 สนามกีฬาแห่งนี้สร้างบนบริเวณพื้นที่<br />

วังวินด์เซอร์ ซึ่งแต่เดิมได้ถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ประทับของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร<br />

รูปแบบและความก้าวหน้าทางโครงสร้างสถาปัตยกรรมของสนามศุภชลาศัยแสดงถึงความประสงค์ของรัฐบาลในการใช้งาน<br />

สถาปัตยกรรมตะวันตกเพื่อสื่อถึงความทันสมัยและการก้าวทันโลกสมัยใหม่ของรัฐไทยใหม่ภายใต้การนำของรัฐบาลคณะราษฎร<br />

Subhachalasai Stadium: Constructed in 1938 in the Art Deco style: Constructed between 1937 & 1941, the main stadium<br />

of the National Stadium of Thailand sports complex was built in the Art Deco style on the land that was once<br />

the Windsor Palace, the residence of Crown Prince Vajirunhis. The advanced structural technology used for<br />

the construction of the stadium at the time was intended by the government to demonstrate how advanced<br />

and progressive the modern Thai state was under the administration of the People’s Party.<br />

247


248


พัฒนาการของเรือนพักอาศัย<br />

ในประเทศไทยผ่านวัสดุมุงหลังคา<br />

THE DEVELOPMENT OF THAI RESIDENCES THROUGH ROOFING MATERIALS<br />

— อาจารย์ชัยบูรณ์ ศิริธนะวัฒน์ • Chaiboon Sirithanawat<br />

249


พัฒนาการของเรือนพักอาศัยในประเทศไทยที ่<br />

จะกล่าวถึงในที่นี้ เป็นภาพรวมของการเปลี่ยนแปลง<br />

แบบแผนและรูปแบบของที่พักอาศัยที่เริ่มจากเรือน<br />

พื้นถิ่น หรือที่เรียกว่า เรือนไทย จนถึงเรือนพักอาศัย<br />

ร่วมสมัยในปัจจุบัน โดยมองผ่านรูปแบบของหลังคาและ<br />

วัสดุมุง หรือวัสดุที่ใช้สร้างหลังคา ที่เป็นองค์ประกอบ<br />

สำคัญส่วนหนึ่งของบ้านที่เห็นได้ชัด<br />

เรือนไทย: จากใบไม้ใบหญ้าสู่กระเบื้องดินเผา<br />

สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเป็นสถาปัตยกรรมที่ชาวบ้าน<br />

พัฒนาขึ้นมา โดยเริ่มต้นที่การใช้วัสดุธรรมชาติที่หาได้<br />

ง่ายในท้องถิ่น สำหรับสถาปัตยกรรมที่พักอาศัย หรือ<br />

เรือนพื้นถิ่นในดินแดนสยามหรือประเทศไทยนั้น วัสดุ<br />

ธรรมชาติที่นำมาใช้มีต่างกันไป เช่น หญ้าคา แฝก<br />

ใบจาก และใบตองตึง (จากต้นสักที่มีใบขนาดใหญ่)<br />

วัสดุมุงหลังคาเหล่านี้มีอิทธิพลกับรูปแบบของหลังคา<br />

โดยเฉพาะความลาดชันของหลังคา ซึ่งสัมพันธ์กับ<br />

ภูมิอากาศเขตร้อนชื้นของภูมิภาคนี้ ความลาดชันของ<br />

หลังคาเรือนพื้นถิ่นแต่ละภาคมีความแตกต่างบ้างตาม<br />

The development of Thai residences in this article<br />

is the summary of the alteration of pattern and form<br />

of residences from traditional Thai houses or “Ruean<br />

Thai” to contemporary houses nowadays through the<br />

types of roofs and roofing materials as the significant<br />

components of houses.<br />

Ruean Thai: From Leaves and Grass to Terracotta<br />

Vernacular architecture had been gradually<br />

developed by local people. Originally, natural objects<br />

available in the vicinity was brought into use. Various<br />

kinds of dried vegetation such as cogon grass, nipa<br />

palm leaves, and big teak leaves were widely used in<br />

vernacular houses in Siam. These roofing materials<br />

determined the pitch and form of the roof due to tropical<br />

climate. There was only slight difference in roof pitch<br />

of houses in different regions across Thailand. These<br />

ลักษณะภูมิอากาศที่ต่างกัน วัสดุมุงหลังคาจากใบหญ้า<br />

ใบไม้ดังกล่าวต้องอาศัยการซ้อนทับกันหลายชั้น และ<br />

ความลาดชันค่อนข้างมากในการมุงหลังคา เพื่อระบาย<br />

น้ำฝนได้เร็ว และป้องกันไม่ให้รั่วซึมเข้าสู่เรือนได้ง่าย<br />

การใช้วัสดุมุงหลังคาของเรือนพื้นถิ่นไทยที่อยู่<br />

ในเขตร้อนชื้นมีความต่างจากในเขตภูมิอากาศอบอุ่น<br />

ที่อากาศหนาวและแห้งกว่าอย่างจีนหรือญี่ปุ่น การ<br />

ซ้อนทับของวัสดุมุงของไทยบางกว่าเพื่อระบายอากาศ<br />

ไม่หนาอย่างจีนหรือญี่ปุ่นที่ช่วยเป็นฉนวนป้องกันความ<br />

หนาวเย็น ข้อด้อยของวัสดุมุงจากใบหญ้าใบไม้เหล่านี้<br />

คือ ไม่ทนทานถาวร ต้องมีการซ่อมแซมทุกปีก่อนฤดูฝน<br />

และเปลี่ยนใหม่ทุกสามถึงห้าปี<br />

เรือนไทยมีพัฒนาการต่อมาเพื่อแก้ไขความไม่<br />

คงทนของหลังคาใบหญ้าใบไม้นี้ วัสดุใหม่ที่ถูกนำมาใช้<br />

ยังคงเป็นวัสดุจากธรรมชาติโดยตรงที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น<br />

นั่นคือ ไม้ ไม้ถูกนำมาเลื่อยเป็นแผ่นบางๆ หนาประมาณ<br />

ครึ่งนิ้ว กว้างประมาณ 4 - 6 นิ้ว ยาวประมาณสองเท่า<br />

ของความกว้าง ปลายมักตัดเรียบ แผ่นมีขนาดเล็กเพื่อ<br />

ความเบา สะดวกต่อการจับถือ และติดตั้งง่ายบนที่สูง วัสดุ<br />

มุงหลังคาที่ทำจากแผ่นไม้นี้เรียกว่า กระเบื้องแป้นเกล็ด<br />

natural materials needed to be thatched in many layers<br />

on a steep pitch to help drain the rainwater rapidly<br />

and prevent leakage.<br />

Roof thatching in a tropical country like Thailand<br />

was different from the countries in temperate zone<br />

like China or Japan. In Thailand, the layers of roofing<br />

materials were thin to encourage the air ventilation<br />

while in China or Japan the layers were thicker to<br />

create the insulation against coldness. However, the<br />

disadvantage of materials made of grass and leaves<br />

is that they are not very durable. Mending is needed<br />

prior to each rainy season and replacement is required<br />

every 3-5 years.<br />

The following development of Ruean Thai solved<br />

the problem of degradable roof and made it more<br />

durable. The new roofing material was still natural<br />

and locally available. It was wood. To reduce the<br />

weight, wood was sawn into thin pieces half an inch<br />

250


มีความทนทานกว่าหญ้าคา จาก หรือใบตองตึง มีอายุ<br />

ยาวนานนับสิบปี นิยมใช้กับบ้านของคหบดี ผู้มีฐานะ<br />

ในขณะที่ชาวบ้านทั่วไปยังคงใช้ใบไม้ใบหญ้ามุงหลังคา<br />

เมื่อชุมชนมีการขยายตัวขึ้น ประกอบกับการทำ<br />

เกษตรกรรมที่เพิ่มขึ้นอย่างมากในเวลาต่อมา ทำให้<br />

พื้นที่ป่าที่เป็นแหล่งทรัพยากรไม้ที่ใช้ทำกระเบื ้องแป้น<br />

เกล็ดลดถอยลง และบางท้องถิ่น บางภูมิภาค อย่าง<br />

อีสานที่มีความแห้งแล้งกว่าภูมิภาคอื่น มีป่า มีไม้<br />

ให้ใช้ทำกระเบื้องแป้นเกล็ดได้น้อยกว่า ทำให้กระเบื้อง<br />

แป้นเกล็ดมีราคาสูงและอาจหาได้ยากขึ้น<br />

วัสดุมุงหลังคาที่มาทดแทนกระเบื้องแป้นเกล็ด ยังคง<br />

เป็นวัสดุจากธรรมชาติที่หาได้ง่ายกว่าไม้ แต่ไม่สามารถ<br />

นำมาใช้ได้โดยตรงเช่นใบไม้และแผ่นไม้ วัสดุชนิดใหม่นี้<br />

คือ ดิน แต่ดินไม่สามารถนำมาใช้ได้โดยตรง ต้องนำมา<br />

เผาในเตาด้วยความร้อน จนกลายเป็น กระเบื้องดินเผา<br />

ที่มีความแข็งแรง ทนทานไม่ต่างจากไม้ แต่ดินหา<br />

ได้ง่ายกว่าและมีอยู่ในทุกภูมิภาค กรรมวิธีการผลิต<br />

ยุ่งยากกว่าการเลื่อยไม้แต่มีราคาถูกกว่า เป็นที่นิยม<br />

แพร่หลายกว่ากระเบื้องไม้แป้นเกล็ดในเวลาต่อมา<br />

รูปแบบของกระเบื้องดินเผาที่ใช้มุงหลังคานี้เลียนแบบ<br />

thick, about 4-6 inches wide, and 8-12 inches long<br />

often with a straight end. These wood sheets were<br />

small and lightweight for the convenience of handle<br />

and installation high above. This new roofing material<br />

was called Paen Kled tile. They were more durable<br />

than dried grass or leaves, stayed for more than ten<br />

years and were also costly. Hence Paen Kled tiles<br />

were used in elite’s residences while thatched roof<br />

remained in villagers’ houses.<br />

Resulted from the community growth and the great<br />

expansion of agricultural fields, the deforestation<br />

started to lessen Paen Kled resources. As it rained<br />

less in northeastern part of Thailand than in other<br />

regions, forests which provided wood for Paen Kled<br />

tiles decreased. Therefore, Paen Kled prices started<br />

to rise as the supply became scarce.<br />

Unlike leaves or wood, the natural material<br />

substituting Paen Kled tiles could be obtained more<br />

มาจากกระเบื้องแป้นเกล็ดทั้งขนาดรูปร่าง และความหนา<br />

เพียงแต่มีข้อดีกว่าตรงที่สามารถทำขอบกระเบื้องด้านหลัง<br />

ส่วนบนให้เป็นบ่าหรือขอบสำหรับเกี่ยวกับระแนงที่รองรับ<br />

แผ่นกระเบื้องได้ โครงสร้างหลังคาและระแนงที่รับแผ่น<br />

กระเบื้องดินเผายังคงเหมือนกับที่ใช้มุงกระเบื้องแป้นเกล็ด<br />

เรียกว่าสามารถเปลี่ยนจากแป้นเกล็ดเป็นกระเบื้องดิน<br />

เผาทดแทนกันบนโครงสร้างหลังคาเดิมได้เลย ภายหลัง<br />

กระเบื้องดินเผาได้รับการพัฒนาให้สามารถเคลือบผิวให้<br />

มีสีสันสวยงามและมันวาว ช่วยให้กระเบื้องคงทนยิ่งขึ้น<br />

เนื้อดินเผาไม่เปื่อยยุ่ยง่ายอย่างดินเผาชนิดไม่เคลือบ และ<br />

แน่นอน มีราคาสูงกว่าดินเผาธรรมดา<br />

การเปลี่ยนวัสดุมุงจากใบหญ้าใบไม้เป็นแผ่นไม้<br />

และกระเบื้องดินเผานี้ ไม่ได้เปลี่ยนความลาดชันของ<br />

หลังคาและรูปแบบของหลังคาที่อาจเป็นจั่ว ปั้นหยา<br />

หรือผสมผสานกันทั้งสองแบบตามแต่ลักษณะเฉพาะ<br />

ของเรือนพื้นถิ่นแต่ละภูมิภาค เนื่องจากทั้งกระเบื้องไม้<br />

และกระเบื้องดินเผาต่างก็มีขนาดเล็กและเป็นแผ่นเรียบ<br />

การป้องกันการรั ่วซึมของน้ำฝนจึงไม่แตกจากวัสดุมุง<br />

ใบหญ้าใบไม้คือ ต้องการการซ้อนทับของแผ่นมุงหลาย<br />

ชั้นและความลาดชันของหลังคาสูง<br />

easily but impossible to use directly. This new material<br />

was clay. To turn it into a tile, clay must be processed<br />

by heat in the kiln to become hard and strong like<br />

wood. Comparing to wood, clay was easier to obtain<br />

and available in all regions. Although the process<br />

was more complicated, clay or terracotta tiles were<br />

cheaper than Paen Kled tiles.<br />

Clay tiles resembled Paen Kled tiles in size, shape<br />

and thickness. However, on the backside of the upper<br />

edge, ridge was made to enable the tile to hang on<br />

the battens. The structure of the roof and the battens<br />

remained the same as those made for Paen Kled<br />

tiles, so clay tiles could fit them right away. Afterwards,<br />

clay tiles became more enhanced with colorful and<br />

shiny glazed surfaces which made them last longer<br />

as well. Glazed clay tiles were not as pervious as<br />

those unglazed and hence they were more expensive.<br />

Moving from plants to wood and clay tiles did not<br />

251


จากเรือนฝรั่งถึงเรือนอาณานิคม: อีเทอร์นิตและซีเมนต์<br />

พัฒนาการของวัสดุมุงชนิดต่อมามาพร้อมกระแส<br />

อิทธิพลตะวันตกที่เข้ามาในประเทศไทยในสมัยรัชกาลที่ 5<br />

มาพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้ชีวิตในเรือน<br />

และมีผลโดยตรงกับรูปแบบสถาปัตยกรรมของพระราชวัง<br />

วัง ตำหนัก และเรือนพักอาศัยในประเทศไทย กระแส<br />

อิทธิพลตะวันตกดังกล่าวตรงกับการปฏิวัติอุตสาหกรรมใน<br />

ยุโรปตะวันตกในคริสต์ศตวรรษที่ 19 หรือราวพุทธศตวรรษที่<br />

24 มีการพัฒนาวัสดุก่อสร้างสถาปัตยกรรมใหม่ชนิด<br />

ต่างๆ ขึ้นใช้แพร่หลายในโลกตะวันตก และเริ่มเข้ามา<br />

ในประเทศไทยในรัชกาลที่ 5<br />

เมื่อมหาอำนาจตะวันตกอย่างประเทศอังกฤษและ<br />

ประเทศฝรั่งเศสเข้ามาแผ่อิทธิพลและล่าเมืองขึ้นใน<br />

ดินแดนเพื่อนบ้านใกล้เคียงไทย พระบาทสมเด็จพระ<br />

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปฏิรูปประเทศให้มีความเจริญ<br />

ทัดเทียมตามชาติตะวันตก พระองค์ทรงว่าจ้างนายช่าง<br />

ฝรั่งจากตะวันตกให้มาออกแบบและก่อสร้างพระราชวัง<br />

วัง ตำหนัก และที่ทำการกระทรวง กรม กองต่างๆ ใน<br />

สมัยของพระองค์<br />

affect the roof pitches, shapes and styles which could<br />

be gable or hip roofs depending on the characteristics<br />

of traditional houses in each region. Same as thatched<br />

roof, to prevent rainwater leakage both wood and clay<br />

tiles, which were small and flat, had to be installed in<br />

several layers, and the roof pitch still had to be steep.<br />

From Westernised Houses to Colonial Residences:<br />

Eternit and Cement<br />

In the reign of King Rama V, a new roofing<br />

substance was introduced into Thailand by the<br />

western influence which changed the way of living<br />

and had major effects on the architecture style of<br />

royal residences, palaces, residential halls, and<br />

houses. This westernisation synchronised with the<br />

Industrial Revolution in western Europe during the<br />

19th century or around the 24th BE. Various kinds of<br />

construction materials were highly developed and<br />

พระราชวังและสถานที่สำคัญต่างๆ ที่รัชกาลที่ 5<br />

ทรงมีพระราชดำริให้สร้างขึ้นโดยช่างฝรั่ง มีแบบแผน<br />

และรูปแบบสถาปัตยกรรมตามอย่างตะวันตกที่นิยมแพร่<br />

หลายในสมัยนั้น ซึ่งเป็นยุคโรแมนติก (Romanticism)<br />

หรือยุคจินตนิยม เป็นช่วงเวลาที่มีความนิยมในการฟื้นฟู<br />

รูปแบบสถาปัตยกรรมยุคต่างๆ ในอดีต เช่น รูปแบบ<br />

หรือ สไตล์นีโอคลาสสิก นีโอกอธิก นีโอเรอเนซองส์<br />

นีโอบาโรก หรือมีการผสมผสานสไตล์ต่างๆ เข้าด้วย<br />

กันในอาคารเดียวกันที่เรียกกันว่า สไตล์อีเคล็กติก<br />

(Eclectic style) โดยรวมอาคารตามแบบแผนตะวันตก<br />

เหล่านี้ มีการจัดผังพื้นที่ค่อนข้างกระชับ (compact)<br />

มีหลังคาทั้งแบบจั่วที่ลาดชันน้อย และที่เป็นรูปทรงโดม<br />

ตามอย่างสไตล์คลาสสิก หรือที่เป็นจั่วหรือปั้นหยาทรงสูง<br />

ลาดชันมากอย่างสไตล์กอธิกและสไตล์สมัยกลาง อาคาร<br />

มีชายคาไม่ยื่นยาว เพราะเป็นรูปแบบที่เกิดในประเทศ<br />

เขตภูมิอากาศอบอุ่นที่อากาศหนาวเย็นเป็นส่วนใหญ่<br />

และต้องการแสงแดดเพิ่มความอบอุ่นให้กับอาคาร<br />

ช่างฝรั่งที่ออกแบบอาคารทรงยุโรปรุ่นแรกๆ นี้<br />

นำวัสดุมุงหลังคาชนิดใหม่จากตะวันตก ทันสมัยที่สุด<br />

ในเวลานั้น มาใช้กับอาคารเหล่านี้ วัสดุชนิดนี้มาพร้อม<br />

imported to Thailand.<br />

To the modernise Thailand against colonization<br />

of Southeast Asia led by Britain and France, King<br />

Rama V commissioned European architects to build<br />

the royal residences, palaces, residential halls and<br />

ministry offices. The royal residences and important<br />

buildings designed by European architects with the<br />

royal commission of King Rama V were constructed<br />

in the prevail Romantic architectural styles. The<br />

European Romanticism brought back the styles of<br />

the past and made them into Revival styles such as<br />

Neoclassic, Neo-gothic, Neo-renaissance,<br />

Neo-baroque, or even a combination of styles in one<br />

building, namely Eclectic style. These westernised<br />

building plans were quite compact. The roofs could<br />

be dome, gable with low-pitched following Classical<br />

style, or high-pitched like Gothic and Medieval styles.<br />

The eaves overhung not too far, which is the<br />

characteristic of the buildings in temperate climate<br />

252


กับเทคโนโลยีที่ก้าวไกลของการปฏิวัติอุตสาหกรรม<br />

มีกระบวนการผลิตที่ยุ่งยาก ใช้เทคโนโลยีแบบอุตสาหกรรม<br />

ที่ต้องผลิตจากโรงงานในต่างประเทศ และนำเข้ามาใน<br />

ประเทศไทย วัสดุที่ว่านี้คือ แผ่นซีเมนต์ใยหิน (asbestos<br />

fibre cement board) ที่มีชื่อเรียกเมื่อเริ่มแรกว่า “แผ่น<br />

อีเทอร์นิต” (Eternit board) หรือ แผ่นนิรันดร์ เพราะ<br />

มีคุณสมบัติที่แข็งแกร่ง เหนียว ทำได้บาง ทนทานกับ<br />

สภาพภูมิอากาศต่างๆ ไม่ยุ่ยเปื่อยง่ายเมื่อเจอความชื้น<br />

หรือน้ำ วัสดุสำคัญที่เป็นส่วนผสมของแผ่นอีเทอร์นิตนี้<br />

คือ ซีเมนต์ และใยหินจากแร่แอสเบสทอส (asbestos)<br />

ซึ่งเมื่อนำมาผสมกันแล้ว ต้องผ่านกระบวนการอัดแรง<br />

รีดขึ ้นรูปเป็นแผ่นบางๆ ด้วยเครื่องจักรในโรงงาน<br />

อุตสาหกรรม<br />

นายช่างฝรั่งได้นำเข้าแผ่นอีเทอร์นิต ที่มีลักษณะ<br />

เป็นแผ่นเรียบ มีความหนาประมาณ 6 - 8 มิลลิเมตร<br />

มาตัดเป็นแผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้า ปลายล่างด้านแคบตัด<br />

เป็นรูปสามเหลี ่ยมมีปลายแหลมชี้ลง แบบเดียวกับ<br />

กระเบื้องหลังคาดินเผาชนิดหางเหยี่ยว แต่เนื่องจาก<br />

แผ่นอีเทอร์นิตมีความเหนียวและแกร่งไม่แตกหักง่าย<br />

อย่างดินเผา จึงสามารถตัดเป็นแผ่นกระเบื้องได้ใหญ่กว่า<br />

where the weather is colder.<br />

The European architects who designed these<br />

early western style buildings imported the newest<br />

and most modern roofing material from the West.<br />

This substance was the result of the advanced<br />

technology brought about by the Industrial Revolution<br />

with the complicated process of making. Manufactured<br />

from the West with the industrial technology and<br />

imported into Thailand, this material was asbestos<br />

fibre cement board or originally called ‘Eternit board.’<br />

It could be manufactured into a sturdy thin sheet with<br />

the weatherproof and water-resistant quality. The<br />

main ingredients of the Eternit board were cement<br />

and asbestos fibre. The mixture was made into thin<br />

sheets by putting into a Hatschek forming machine.<br />

Eternit boards imported by European architects<br />

came in flat rectangular sheets of 6-8 mm thick. The<br />

lower and narrower edge was cut into downward<br />

angle just like a type of narrow clay tile with pointed<br />

กระเบื้องหลังคาดินเผาเป็นสองเท่า ขนาดแผ่นที่ใหญ่<br />

กว่า ทำให้ระยะห่างของระแนงที่รับกระเบื้องกว้างขึ้น<br />

ทำให้ใช้จำนวนแผ่นมุงน้อยลง และด้วยน้ำหนักที่เบา<br />

กว่าดินเผามากจึงช่วยประหยัดโครงสร้าง และเหมาะ<br />

กับผืนหลังคามหึมาที่คลุมผังอาคารที่มีขนาดใหญ่<br />

ของอาคารแบบตะวันตก ความแตกต่างจากกระเบื้อง<br />

ดินเผาอีกประการของกระเบื้องหลังคาอีเทอร์นิต คือ<br />

สีวัสดุที่เป็นสีเทา เหมือนสีซีเมนต์ที่เป็นส่วนผสมหลัก<br />

ของวัสดุ ตัวอย่างอาคารที่มีรูปแบบตะวันตกและใช้<br />

กระเบื้องหลังคาอีเทอร์นิตนี้ คือ พระที่นั่งอัมพรสถาน<br />

ในเขตพระราชวังดุสิต<br />

ย่างเข้าสมัยรัชกาลที่ 6 ภายหลังเมื่อการก่อสร้าง<br />

พระราชวัง และวังต่างๆ ที่เป็นทั้งที่พักอาศัยและเป็นที่<br />

ว่าราชการ ตามพระราชดำริของรัชกาลที่ 5 เสร็จสิ้นลง<br />

นายช่างฝรั่งหลายท่านยังคงพำนักอยู่ต่อในแผ่นดิน<br />

สยาม โดยรับจ้างออกแบบ ก่อสร้างตำหนักและบ้าน<br />

เรือนของเจ้านาย ขุนนาง และคหบดีที่นิยมแบบแผน<br />

บ้านเรือนอย่างตะวันตก รูปแบบบ้านเรือนในยุคนี้เริ่ม<br />

มีการปรับปรุงดัดแปลงจากรูปแบบตะวันตกแท้ๆ ให้<br />

เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศเขตร้อนชื้นที่ต่างไปจาก<br />

end on one side. However, comparing to clay tiles,<br />

Eternit boards were more sturdy and stronger.<br />

Therefore, it was possible to make them twice as big<br />

as clay tiles. With the bigger tile size, the battens<br />

could be installed further apart and less tiles were<br />

needed. Eternit boards weighed much less than clay<br />

tiles. For this reason, the structure could be reduced.<br />

They were also suitable for enormous roofs of huge<br />

western buildings. Another difference between Eternit<br />

tiles and clay tiles was the colour. Eternit tile’s gray<br />

colour came from cement which was the main<br />

component. The example of the western-styled<br />

building with Eternit tile roof is Amphorn Sathan<br />

Residential Hall, Dusit Palace.<br />

In the reign of King Rama VI when all the royal<br />

residences, palaces and government offices<br />

commissioned to build by King Rama V had been<br />

completed, many European architects still resided in<br />

Siam and were hired to design and construct<br />

253


ภูมิอากาศในประเทศตะวันตก<br />

ชาวตะวันตกเมื่อเข้ามาติดต่อทำการค้าและเผยแผ่<br />

ศาสนาคริสต์ในประเทศไทยมากขึ้นได้เริ่มตั้งรกราก<br />

พำนักอาศัยในประเทศไทย เมื่อเริ่มแรกชาวตะวันตก<br />

เหล่านี้ได้สร้างบ้านอยู่อาศัยตามแบบแผนบ้านเรือน<br />

ตะวันตกอย่างที่พวกเขาเคยอยู่มา บ้านเรือนมีลักษณะ<br />

กระชับ ไม่แยกห้องเป็นเรือนเล็กๆ หลายๆ หลังแบบ<br />

เรือนพื้นถิ่นไทย เพราะมาจากประเทศที่ภูมิอากาศหนาว<br />

เย็นกว่า ไม่ต้องการการระบายอากาศระหว่างห้องหับ<br />

และเรือน บ้านเรือนตะวันตกมีพื้นที่ใช้สอยตั้งแต่ชั้น<br />

ล่างติดพื้นดิน ไม่ได้ยกเรือนขึ้นสูงให้มีใต้ถุนโล่ง เพราะ<br />

ไม่ต้องป้องกันน้ำท่วมในฤดูฝนและน้ำหลากเช่นในไทย<br />

นอกจากนั้นชายคาบ้านพักอาศัยของชาวตะวันตกยังไม่ยื่น<br />

ยาวเพื่อป้องกันแดดที่ร้อนแรงอย่างเรือนไทย เพราะเขา<br />

ต้องการแสงแดดส่องเข้าภายในบ้านเพื่อเพิ่มความอบอุ่น<br />

หากเมื่อสร้างบ้านเรือนตามแบบแผนเช่นว่าในไทย<br />

ได้ไม่นาน ชาวตะวันตกก็พบปัญหาความร้อนที่แรงกล้า<br />

จากแสงแดดและฝนที่สาดกระหน่ำเข้าในเรือน พวกเขา<br />

จึงดัดแปลงบ้านให้มีระเบียงหรือทางเดินรอบบ้านที่อยู่<br />

ภายใต้หลังคา แทนการยื่นชายคาอย่างเรือนไทย เพื่อ<br />

residential halls and houses of royals, nobles and<br />

elites who preferred the styles of western residences.<br />

At this point, westernised buildings were slightly<br />

altered from the original western styles to correspond<br />

with tropical climate in Thailand.<br />

After more western people had arrived for trading<br />

and spreading Christianity, they began to settle down<br />

in Thailand. At first, their houses were built in pure<br />

western styles. Unlike a traditional Thai residence<br />

which was a compound of small houses, a western<br />

house was compact under one roof. Since the weather<br />

was colder in the West, the air ventilation was not<br />

the priority. Normally, the utility space in western<br />

houses started from ground floor while in traditional<br />

Thai house, floor was elevated to prevent high water<br />

level and flood in rainy season. In addition, the eaves<br />

of western houses were shorter because sunlight was<br />

needed to keep the house warm.<br />

Soon after building the genuine western house in<br />

ปกป้องแสงแดดมิให้ส่องถึงห้องภายในโดยตรง หลังคา<br />

ยังคงยื่นชายคาเพียงเล็กน้อยอย่างเรือนตะวันตก<br />

เพียงเพื่อให้น้ำฝนหยดไม่ไหลย้อยลงตามผนังเรือน<br />

จากนั้นได้เติมหน้าต่างบานเปิด ลูกฟักบานเกล็ดไม้<br />

หุ้มราวระเบียงและส่วนที่อยู่เหนือราวระเบียงจากด้านนอก<br />

เพื่อป้องกันฝนสาด และช่วยระบายอากาศผ่านช่องเกล็ด<br />

หรือทำบานเกล็ดให้เปิดเป็นบานกระทุ้งอีกชั้นหนึ่ง<br />

ในระหว่างที่ฝนตกและมีอากาศอบอ้าว บ้านเรือนแบบ<br />

ตะวันตกที่มีการปรับเปลี่ยนให้เข้ากับภูมิอากาศร้อนชื้น<br />

ของไทยตามลักษณะนี้ กลายเป็นแบบแผนของ<br />

สถาปัตยกรรมแบบโคโลเนียล (Colonial architecture)<br />

หรือสถาปัตยกรรมอาณานิคมในเขตร้อนชื้น รูปแบบ<br />

เรือนพักอาศัยที่มีการปรับเปลี่ยนแล้วนี้ต่อมาเป็นที่<br />

นิยมแพร่หลายในหมู่เจ้านายและชนชั้นสูงของไทย<br />

ในสมัยรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 ที่เริ่มสร้างตำหนัก<br />

และบ้านเรือนตามอย่างชาวตะวันตก<br />

การปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดผังอาคารและลักษณะ<br />

ช่องเปิดของบ้านเรือนสไตล์โคโลเนียลนี้มาพร้อมการ<br />

เปลี่ยนวัสดุมุงหลังคาอีกครั้ง กระเบื้องอีเทอร์นิตตาม<br />

แบบที่ช่างฝรั่งใช้กับพระราชวัง และวังในยุคก่อนหน้าต้อง<br />

Thailand, western people had to confront the heat<br />

problem from the blistering sunlight and the heavy<br />

rain. Therefore, to avoid direct sunlight, indoor patios<br />

or corridors around the house were designed to work<br />

as Ruean Thai’s long eaves. The roof still consisted<br />

of original western style short eaves just to keep<br />

rainwater off the walls. Then, window shutters with<br />

louvers were installed over the external corridor rails<br />

to block the rain while allowing the air to ventilate.<br />

The louvers were also made into awning windows to<br />

prevent rain and heat. These tropically adapted<br />

western style buildings became the signature of<br />

Colonial architecture or Tropical Colonial architecture.<br />

Later in the reigns of King Rama VI and King Rama<br />

VII, this hybrid architecture gained popularity among<br />

Siamese royals and elites as they began to have their<br />

residential halls and houses built in western styles.<br />

Alternation of the floor plans and openings of the<br />

Colonial style buildings led to another change of<br />

254


นำเข้าจากต่างประเทศ มีราคาแพง และต้องใช้เวลาใน<br />

การสั่งนำเข้าและขนส่ง จึงมีการคิดค้นพัฒนาวัสดุมุง<br />

หลังคาที่ใช้งานได้เหมาะสม ผลิตได้ง่าย และไม่ต้องใช้<br />

เทคโนโลยีขั้นสูงจากโรงงานอุตสาหกรรมอย่างแผ่นอีเทอร์นิต<br />

วัสดุซึ่งเป็นส่วนผสมหลักของการผลิตแผ่นอีเทอร์นิต<br />

นั่นคือ ซีเมนต์ ที่รู้จักและมีใช้ในโลกตะวันตกตั้งแต่ยุค<br />

คลาสสิกโบราณโดยชาวโรมัน<br />

ซีเมนต์ แม้จะมีใช้ในตะวันตกมาแต่ยุคโบราณ แต่ได้<br />

รับการพัฒนาเพิ่มขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ด้วยระบบ<br />

อุตสาหกรรม ทำให้ผลิตได้จำนวนมากจนมีราคาถูก และ<br />

ใช้กันแพร่หลายทั่วโลกในเวลาต่อมา ซีเมนต์เป็นวัสดุ<br />

สมัยใหม่ที่ต้องนำเข้าสำหรับไทยในยุคนั้น แม้ไทยเรา<br />

มีปูนสอ ปูนฉาบ ปูนปั้น ใช้มานานก่อนหน้านี้ แต่เป็น<br />

ปูนตำที่ทำจากเปลือกหอย ไม่ใช่ซีเมนต์อย่างตะวันตก<br />

ซีเมนต์ถูกนำมาใช้ทำกระเบื้องหลังคาแทนที่กระเบื้อง<br />

อีเทอร์นิต กระเบื้องซีเมนต์ลอกเลียนกระเบื้องหลังคา<br />

อีเทอร์นิตและกระเบื้องหลังคาดินเผาชนิดหางเหยี่ยว<br />

กระเบื้องทั้งสองแบบเมื่อมุงซ้อนทับสลับกันหลายชั้น<br />

เพื่อป้องกันน้ำรั่วซึมลงสู่ด้านล่าง จะเห็นปลายแผ่น<br />

กระเบื้องแต่ละชั้นเหลือเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมข้าวหลาม<br />

roofing materials. Eternit tiles used by European<br />

architects in the construction of royal residences and<br />

palaces had to be imported only, cost a lot of money,<br />

and took long time to order and transport. Therefore,<br />

a new roofing substance was invented. This material<br />

was more appropriate to use, easy to produce, and<br />

unlike Eternit, this new material did not have to be<br />

manufactured with high technology. As the main<br />

ingredient of Eternit board, cement had been used<br />

by the Romans since the Classical Age.<br />

Although it had been used since the ancient time<br />

in the West, enhanced by the industrialised system<br />

in the 19th century, a great deal of cement could be<br />

produced. The cost was then reduced and it became<br />

prevalent around the world. Cement became a modern<br />

substance that had to be imported to Thailand.<br />

Although Thai people had also been using primitive<br />

plaster as binding, coating and stuccoing material<br />

but it was made out of finely crushed shells.<br />

ตัดเรียงต่อกันเป็นแถวยาวสลับเป็นชั้นๆ รูปแบบของ<br />

แผ่นกระเบื้องซีเมนต์เลียนแบบรูปข้าวหลามตัด หรือ<br />

รูปว่าว ของกระเบื้องดินเผาหางเหยี่ยวที ่มุงเสร็จแล้ว<br />

นั่นเอง กระเบื้องซีเมนต์จึงมีชื่อเรียกที่รู้จักกันทั่วไปว่า<br />

“กระเบื้องว่าว”<br />

กระเบื้องว่าว หรือกระเบื้องซีเมนต์ที่ว่านี้ ทำจาก<br />

ปูนซีเมนต์ที่มาจาก ผงซีเมนต์ผสมทรายและน้ำ นำมา<br />

เทลงในแบบที่ทำเป็นรูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด มีความ<br />

หนาประมาณ 10-12 มิลลิเมตร ซึ่งหนากว่ากระเบื้องดิน<br />

เผาที่หนาประมาณ 8 มิลลิเมตร หรือ กระเบื้องอีเทอร์<br />

นิตที่หนาเพียง 6 มิลลิเมตร เนื่องจากปูนซีเมนต์มีความ<br />

หยาบกว่าดินที่ใช้เผาเป็นกระเบื้อง เมื่อแผ่นกระเบื้องมี<br />

ความหนากว่า และซีเมนต์มีความแข็งแกร่งกว่าดินเผา<br />

จึงทำขนาดแผ่นได้ใหญ่เท่ากับกระเบื้องอีเทอร์นิตที่ใหญ่<br />

กว่ากระเบื้องดินเผาประมาณสองเท่าคือ กว้างตามเส้น<br />

ผ่าศูนย์กลางกระเบื้องตามนอนประมาณ 27 มิลลิเมตร<br />

และยาวประมาณ 36 มิลลิเมตรทางตั้ง แม้กระเบื้อง<br />

ซีเมนต์จะมีน้ำหนักมากกว่ากระเบื้องดินเผา แต่ขนาด<br />

แผ่นที่ใหญ่กว่า ทำให้ระยะห่างของระแนงที่รับกระเบื้อง<br />

กว้างขึ้น ใช้จำนวนน้อยลง จึงช่วยประหยัดโครงสร้าง<br />

Cement was made into tiles to replace Eternit<br />

tiles. Cement tiles were made to imitate Eternit tiles<br />

and narrow clay tiles with pointed end. To prevent<br />

leakage, both types of tiles were installed in<br />

overlapping layers. The tile edges looked like rows<br />

of diamond shape patterns and so cement tile was<br />

designed to mimic the diamond shape pattern or the<br />

kite-like pattern of the pointed end tiles on the finished<br />

roof. That is why cement tiles were usually known as<br />

“kite tiles.”<br />

Kite tiles or cement tiles are made of cement<br />

powder mixed with sand and water. After that, the<br />

mixture is poured into diamond shape moulds. Cement<br />

tiles are about 10-12 mm thick while clay tiles are<br />

about 8mm thick and Eternit tiles are only 6mm thick.<br />

Since cement tiles are thicker and stronger than clay<br />

tiles, they can be made into the same size as Eternit<br />

tiles or about twice as big as clay tiles. Horizontal<br />

diameter is 27 mm while vertical diameter is 36 mm.<br />

255


หลังคา แผ่นที่ใหญ่กว่าช่วยให้มีรอยต่อที่น ้ำฝนจะรั่ว<br />

ซึมน้อยลง ส่งผลให้สามารถลดความชันของหลังคาได้<br />

มากกว่าการมุงหลังคากระเบื้องดินเผาของเรือนไทยพื้น<br />

ถิ่น โดยทั่วไปความลาดชันของหลังคาเรือนไทยพื้นถิ่น<br />

ภาคต่างๆ อยู่ระหว่าง 35 - 60 องศา หลังคาของเรือน<br />

โคโลเนียลที่มุงกระเบื้องว่าวมักมีความชันอยู่ระหว่าง<br />

30 - 35 องศาเท่านั้น<br />

กระเบื้องหลังคาซีเมนต์ไม่ได้ป้องกันการรั่วซึมของ<br />

น้ำฝนด้วยการซ้อนทับกันของแผ่นกระเบื้องที่ปูสลับทับ<br />

กันหลายชั้นแบบกระเบื้องอีเทอร์นิตหรือกระเบื้องดินเผา<br />

เนื่องจากมีความหนาแผ่นมากกว่ากระเบื้องทั้งสอง<br />

อยู่แล้ว แต่ใช้ประโยชน์ของซีเมนต์ที่หล่อขึ้นรูปได้ไม่ยาก<br />

ด้วยการยกขอบส่วนบนของแผ่นกระเบื้องขึ้นเล็กน้อย<br />

เพื่อกันน้ำฝนที่อาจไหลย้อนและซึมลงที่รอยต่อแผ่น<br />

ขณะเดียวกันส่วนของแผ่นด้านล่างมีการทำขอบคว่ำลง<br />

เพื่อเกี่ยวประกบกับขอบด้านบนของแผ่นที่อยู่ถัดลงมา<br />

ด้านล่าง ให้น้ำไหลลงแผ่นล่างและกั้นไม่ให้น้ำไหลย้อน<br />

ขึ้นด้านบนอีกชั้นหนึ่ง<br />

เทคโนโลยีของการหล่อซีเมนต์เป็นแผ่นกระเบื้อง<br />

หลังคาง่ายกว่าการผลิตกระเบื้องดินเผามาก ปูนซีเมนต์<br />

Comparing to clay tiles, cement tiles are heavier; but<br />

with their larger size, the battens can be placed<br />

wider apart. This way the structure can be reduced.<br />

The larger size help reduce the leaking rainwater<br />

through the gaps between the tiles and the pitch of<br />

the roof can be lower than traditional Thai house roof<br />

with clay tiles. In general, the pitch of Ruean Thai<br />

roofs in every region ranged between 35-60 degrees<br />

while the pitch of the Colonial house roof with kite<br />

tiles could be only 30-35 degrees.<br />

Since cement tiles were thicker than Eternit and<br />

clay tiles, it was not necessary for them to be installed<br />

in several layers to prevent leaking. As they could<br />

be moulded easily, the upper edge was slightly raised<br />

to prevent rainwater from going upward and leaking<br />

through the gaps while the lower edge was slightly<br />

bent downward to attach to the lower tile. This helps<br />

enhance the drainage and stop the upward flow.<br />

Moulding cement tiles is much easier than baking<br />

ที่ผสมเสร็จใหม่ๆ มีลักษณะเป็นของผสมหนืดสามารถ<br />

เทลงแบบหล่อเป็นรูปต่างๆ ได้ เมื่อทิ้งไว้ระยะเวลาหนึ่ง<br />

ปูนหล่อซีเมนต์จะคายความร้อนและทำปฏิกิริยาทางเคมี<br />

เปลี่ยนเป็นของแข็งเมื่อแห้งสนิท กระบวนการผลิตกระเบื้อง<br />

ซีเมนต์จึงสะดวก ง่ายกว่ากระเบื้องดินเผาที่ต้องเผา<br />

ดินในเตาด้วยความร้อน และมีราคาถูกกว่า ส่งผลให้<br />

กระเบื้องว่าวเป็นวัสดุมุงหลังคาที่แพร่หลาย พร้อมกับ<br />

การมาของแบบแผนบ้านโคโลเนียลจากชาวตะวันตก<br />

จากเรือนสมัยใหม่ถึงเรือนร่วมสมัย: คอนกรีต ซีเมนต์<br />

ใยหิน และคอนกรีตเสริมเหล็ก<br />

พัฒนาการของเรือนพักอาศัยในประเทศไทยเริ่มเปลี่ยน<br />

ไปอีกครั้ง เมื่อนักเรียนไทยรุ่นแรกที่ไปเรียนสถาปัตยกรรม<br />

ในประเทศอังกฤษและฝรั่งเศสกลับมาทำงานออกแบบ<br />

อาคาร และก่อตั้งคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ที่จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย ซึ่งเปิดสอนวิชาสถาปัตยกรรมเป็นครั้งแรก<br />

ในประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2476 สถาปนิกนักเรียนนอก<br />

กลุ่มนี้เริ่มนำแบบแผนและรูปแบบสถาปัตยกรรมสมัย<br />

ใหม่ช่วงต้น (Early Modern architecture) ที่เริ่มแพร่<br />

ceramic tiles. Freshly mixed cement was sticky and<br />

mouldable. While the mixture was setting, it released<br />

out heat; and as it became completely dry, it turned<br />

solid due to the chemical reaction. This made the<br />

production of cement tiles a lot more simple and<br />

cheaper than clay tiles which required baking with<br />

high heat. Kite tiles then became famous with the<br />

arrival of the Colonial style.<br />

From Modern Houses to Contemporary Houses: Concrete,<br />

Fiber-reinforced Cement, and Reinforced Concrete<br />

Houses in Thailand evolved once again when the<br />

first group of Thai students who had been studying<br />

Architecture in Britain and France returned home<br />

after graduation. They began to work as architects<br />

and founded the Faculty of Architecture at<br />

Chulalongkorn University in 1933. These architects<br />

imported the Early Modern Architecture trend which<br />

256


หลายในตะวันตกในเวลานั้นมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม<br />

กับภูมิอากาศ และแบบแผนการใช้ชีวิตในบ้านพักอาศัย<br />

ในเมืองที่เริ่มเปลี่ยนไปตามอย่างตะวันตกมากขึ้น คือ<br />

ผังบ้านมีลักษณะการจัดห้องต่างๆ กระชับเข้าด้วยกัน<br />

เป็นหลังเดียว และมีการใช้สอยพื้นที่ตั้งแต่ชั้นล่างเช่น<br />

เดียวกับบ้านโคโลเนียลในยุคก่อนหน้า<br />

บ้านเรือนในยุคนี้ยังคงมีหลังคามุงกระเบื้องและ<br />

ชายคายื่นยาวเป็นลักษณะสำคัญ สิ่งที่เปลี่ยนไปคือ<br />

วัสดุมุงหลังคาชนิดใหม่ กระเบื้องหลังคาคอนกรีตที่<br />

เริ่มมาทดแทนกระเบื้องซีเมนต์ คอนกรีตเป็นวัสดุที่<br />

แข็งแกร่งกว่าปูนซีเมนต์ โดยผลิตจากส่วนผสมของ<br />

ซีเมนต์ ทราย หิน และน้ำ กระเบื้องหลังคาคอนกรีต<br />

ต้องใช้เทคโนโลยีขั ้นสูง ผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม<br />

จากต่างประเทศ และถูกนำเข้ามาในประเทศไทยหลัง<br />

สงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงต้นรัชกาลที่ 9<br />

กระเบื้องคอนกรีตนี้เป็นที่รู้จักในหมู่ชาวตะวันตกว่า<br />

กระเบื้องโมเนีย ผลิตโดย บริษัท โมเนีย แห่งประเทศ<br />

ออสเตรเลีย ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามชื่อของนาย<br />

โจเซฟ โมเนีย (Joseph Monier) วิศวกรชาวฝรั่งเศสที่<br />

ริเริ่มพัฒนาการเสริมเหล็กในคอนกรีตให้แข็งแรงยิ่งขึ้น<br />

was starting to flourish in the West, then adapted it<br />

to the tropical climate and the westernised living.<br />

Rooms were incorporated into a compact house and<br />

the utility space started from the ground floor like<br />

western and Colonial houses.<br />

At this period of time, clay tile roofs and<br />

overhanging eaves were still the main characteristics<br />

of buildings and houses. One significant change was<br />

the new roofing material which won its popularity over<br />

cement tiles--the concrete tiles. With the mixture of<br />

cement, sand, stones and water, concrete was<br />

stronger than cement. Concrete tiles required high<br />

technology to manufacture and were first imported<br />

to Thailand after the WWII early in the reign of King<br />

Rama IX.<br />

In the West during the early 20th century, these<br />

concrete tiles were known as Monier tiles. Produced<br />

by Monier Company in Australia which was named<br />

after Joseph Monier, the first French engineer who<br />

แต่เป็นที่รู้จักในประเทศไทยว่า กระเบื้องวิบูลย์ศรี ตาม<br />

ชื่อบริษัทของไทยที่นำเข้ากระเบื้องหลังคาชนิดนี้<br />

กระเบื้องหลังคาคอนกรีตมีรูปแบบที่ต่างออกไป<br />

จากกระเบื้องดินเผา กระเบื้องอีเทอร์นิต และกระเบื้อง<br />

ซีเมนต์ ที ่พัฒนามาจากหลักการและรูปแบบเดียวกัน<br />

ก่อนหน้า คอนกรีตและปูนซีเมนต์มีส่วนผสมร่วมกัน คือ<br />

ซีเมนต์ ทรายและน้ำ หินเป็นส่วนผสมที่ทำให้คอนกรีต<br />

ต่างไปจากปูนซีเมนต์ และยังผลให้กระเบื้องคอนกรีตมี<br />

ความหนาแผ่นถึง 15 มิลลิเมตร ซึ่งทำให้ผลิตแผ่นได้<br />

ขนาดใหญ่ขึ้นประมาณ 30 x 45 เซนติเมตร นอกจาก<br />

ขนาดแผ่นกระเบื้องที่ใหญ่ขึ้น ช่วยลดรอยต่อการรั่วซึม<br />

ระหว่างแผ่นแล้ว กระเบื้องคอนกรีตวิบูลย์ศรียังมีลอน<br />

ขนาดเล็กไม่เป็นแผ่นเรียบอย่างกระเบื้องก่อนหน้า จึง<br />

ช่วยให้การระบายน้ำฝนเป็นไปได้สะดวกและลดการรั่ว<br />

ซึมจากน้ำที่เอ่อล้นได้ ทั้งหมดนี้ส่งผลให้ความลาดชัน<br />

ของหลังคาลดลงได้ต่ำสุดประมาณ 20 องศา<br />

คุณสมบัติของกระเบื้องคอนกรีตที่ทำให้หลังคาลาด<br />

ลงได้มากขึ้นนี้ สอดคล้องกับรูปแบบบ้านสมัยใหม่จาก<br />

ตะวันตกในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามแนวทางบ้าน<br />

สไตล์แพรรี่ (Prairie Style) ของ แฟรงค์ ลอยด์ ไรต์<br />

invented the reinforced concrete, these tiles were<br />

called Wiboonsri tiles after the name of the importing<br />

company in Thailand.<br />

In terms of form, concrete tiles were different from<br />

those made of clay, Eternit, and cement, which were<br />

developed from the same concepts and styles. Both<br />

concrete and cement consisted of cement, sand, and<br />

water. However, stones which were added to concrete<br />

mixture made the difference. Concrete tiles were<br />

therefore made into 15 mm thick and coluld be<br />

manufactured in the size of 30x45 cm. The enlarged<br />

size helped protect rainwater from leaking through<br />

the gaps between the installed tiles. Moreover, instead<br />

of having a flat surface, the small curves of Wiboonsri<br />

tiles encouraged the drainage of rainwater and<br />

reduced the leakage caused by the overflow. For that<br />

reason, the roof pitch could reach as low as 20<br />

degrees.<br />

The quality of concrete tiles that enables the roof<br />

257


(Frank Lloyd Wright) สถาปนิกชาวอเมริกันที่มีชื่อเสียง<br />

ไปทั่วโลก บ้านสไตล์แพรรี่นิยมใช้หลังคาปั้นหยาลาดชัน<br />

น้อยและยื่นชายคายาว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเน้น<br />

ให้ตัวบ้านมีรูปทรงแผ่ราบตามแนวนอนให้กลมกลืน<br />

กับภูมิประเทศของที่ราบทุ่งหญ้าแพรรี่อันกว้างใหญ่<br />

อันเป็นบริบทที่ตั้งของบ้านที่ไรต์ออกแบบ รูปแบบบ้าน<br />

ที่ว่านี้สอดคล้องเป็นอย่างดีกับภูมิอากาศร้อนชื้นในไทย<br />

ที่ต้องการการกันแดดและการกันฝนรอบด้าน กระเบื้อง<br />

หลังคาคอนกรีตวิบูลย์ศรีช่วยให้บ้านตามสไตล์ของไรต์<br />

ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในต้นรัชกาลที่ 9<br />

รูปทรงหลังคาที่มีความลาดน้อยลงเริ่มเป็นที่นิยม<br />

มากขึ้นเมื่อกระแสสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ยุคต้นอีกแนวทาง<br />

หนึ่งเริ่มแพร่หลายในประเทศไทย ในเวลาไล่เลี่ยกัน<br />

สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ที่ว่านี้มีชื่อเรียกว่า สถาปัตยกรรม<br />

แนวสากลนิยม (International Style) โดยมีลักษณะที่<br />

สำคัญคือ เน้นความเรียบง่าย ไร้การตกแต่งประดับประดา<br />

เน้นความบางเบาที่เกิดจากระบบโครงสร้างเสาและคาน<br />

ที่มาแทนที่ระบบผนังรับน้ำหนักในอดีต เน้นช่องเปิด<br />

ที่มีขนาดใหญ่ และรูปลักษณ์สถาปัตยกรรมอื่นๆ ซึ่งไม่<br />

เคยทำได้ในอดีต ด้วยข้อจำกัดของวัสดุและเทคโนโลยี<br />

pitch to be much lower went together well with the<br />

new modern house style from the West in the early<br />

20th century; it was the Prairie style, introduced by<br />

Frank Lloyd Wright, the world renowned American<br />

architect. The Prairie style house had a low pitch hip<br />

roof with overhanging eaves. The horizontally<br />

expanded house harmonised with the vast Prairie<br />

where it was located. This Prairie house was<br />

remarkably suitable for Thailand where full protection<br />

of sunlight and rain are much needed. With Wiboonsri<br />

roof tiles, Wright’s style houses became very famous<br />

in the beginning of King Rama IX’s reign.<br />

Low-pitched roofs became more popular in Thailand<br />

as a new architectural trend was growing. This<br />

new style was the International style which emphasized<br />

on simplicity, rejection of ornament, lightweight<br />

effect created by the use of columns and beams<br />

instead of load-bearing walls, huge openings, and all<br />

other forms of architecture which had never happened<br />

การก่อสร้างของเวลานั้น<br />

รูปทรงหลังคาที่มีความลาดลดลงจากรูปแบบหลังคา<br />

บ้านสไตล์แพรรี่ของไรต์ เกิดขึ้นได้ด้วยพัฒนาการของ<br />

กระเบื้องหลังคาชนิดใหม่ที่ผลิตจากกระเบื้องแผ่นเรียบ<br />

ใยหิน (Asbestos fibre-reinforced cement board) หรือ<br />

แผ่นอีเทอร์นิต ที่เคยกล่าวถึงก่อนหน้า ด้วยคุณสมบัติ<br />

ของซีเมนต์เสริมใยหินที่สามารถผลิตให้เป็นวัสดุแผ่นเรียบ<br />

ที่มีขนาดใหญ่ถึง 1.20 x 2.40 เมตร และหนาได้น้อย<br />

ที่สุดเพียง 6 มิลลิเมตร ทำให้วัสดุแผ่นเรียบอีเทอร์นิตนี้<br />

มีชื่อเรียกที่แพร่หลายมากกว่าในเวลาต่อมาว่า “กระเบื้อง<br />

กระดาษ” เพราะมีลักษณะบางเหมือนแผ่นกระดาษนั่นเอง<br />

กระเบื้องกระดาษถูกนำมาพัฒนาเป็นวัสดุมุงหลังคาที่<br />

มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นอย่างมาก ด้วยการนำวัสดุซีเมนต์<br />

เสริมใยหินที่เป็นแผ่นบางนี้มารีดขึ้นรูปในระหว่างการผลิต<br />

ให้เป็นลอนโค้งขึ้นและเว้าลงสลับกันไปทั้งแผ่น การทำ<br />

ลอนนี้ช่วยให้ขนาดของแผ่นหลังคาแต่ละชิ้นมีขนาดใหญ่<br />

ได้ถึง 50 x 120 เซนติเมตร สำหรับความหนาแผ่นเพียง<br />

6 มิลลิเมตร ช่วยให้ระยะห่างของระแนงหรือแปที่รองรับ<br />

แผ่นหลังคากว้างได้ถึง 1 เมตร เพิ่มขึ้นจากระยะระแนง<br />

ของกระเบื้องหลังคาคอนกรีตถึงสามเท่า ในขณะที่ลอน<br />

before in the past due to the limitations of materials<br />

and construction technology.<br />

After Wright’s Prairie style roof, lower pitch roofs<br />

were made possible by a new type of tiles which<br />

derived its quality from the asbestos fibre-reinforced<br />

cement board or the Eternit board mentioned above.<br />

With its fibre-reinforced quality which enabled the<br />

production of 1.2x2.4 m flat boards with the minimum<br />

thickness of 6mm, as thin as paper; Eternit boards<br />

were then known as paper tiles.<br />

These paper tiles were further developed into a<br />

more advanced roofing material. The thin<br />

fibre-reinforced cement boards were put into the roll<br />

forming machines to create a series of ridges and<br />

furrows all through the sheets. As they became<br />

corrugated, the size of each tile could be as big as<br />

50x120 cm with the thickness of only 6mm. Hence<br />

the gap between each supporting batten or purlin<br />

could be widened as far as 1 metre, three times<br />

258


ของกระเบื้องคอนกรีตโมเนียสูงประมาณ 2 เซนติเมตร<br />

ลอนของกระเบื้องหลังคาแผ่นซีเมนต์ใยหินทำได้ถึง<br />

5 เซนติเมตร ทั้งหมดนี้ช่วยให้กระเบื้องหลังคาใยหิน<br />

ระบายน้ำได้มากขึ้น เร็วขึ้น มีรอยต่อที่ทำให้น้ำรั่วซึม<br />

ลดลงอย่างมาก ส่งผลให้สามารถมุงหลังคาได้ลาดน้อย<br />

ที่สุดเพียง 15 องศา กระเบื้องหลังคาแผ่นซีเมนต์ใยหิน<br />

มีรูปแบบและขนาดของลอนอยู่สามชนิดที่แพร่หลาย<br />

เรียกกันว่า กระเบื้องลอนคู่ กระเบื้องลอนใหญ่ และ<br />

กระเบื้องลอนเล็ก<br />

ข้อดีอีกประการของกระเบื้องลอนซีเมนต์ใยหินนี้ คือ<br />

น้ำหนักที่เบา และความลาดของหลังคาที่ทำได้น้อยลง<br />

ช่วยลดน้ำหนักแผ่นมุงหลังคาและโครงสร้างหลังคา<br />

ลงอย่างมากเมื่อเทียบกับหลังคากระเบื้องคอนกรีต<br />

จึงช่วยประหยัดค่าก่อสร้างได้มาก กระเบื้องหลังคา<br />

ชนิดนี้เริ่มมีใช้ในประเทศไทยอย่างแพร่หลายเมื่อ บริษัท<br />

กระเบื้องกระดาษไทย จำกัด ในเครือบริษัท ปูนซีเมนต์ไทย<br />

จำกัด สร้างโรงงานผลิตกระเบื้องกระดาษแผ่นเรียบ<br />

และแผ่นลอนสำหรับมุงหลังคา ในราวต้นทศวรรษของ<br />

พ.ศ. 2490 การผลิตกระเบื้องหลังคาแผ่นซีเมนต์ใยหิน<br />

ในประเทศไทยได้เองนี้ ช่วยทำให้กระเบื้องหลังชนิดนี้<br />

wider than that of concrete tile roof. While the ridges<br />

of a Monier concrete tile were 2 cm high, those of a<br />

corrugated asbestos fibre-reinforced cement tile could<br />

reach 5 cm high. All these qualities helped quicken<br />

the drainage of rainwater and avoid leaks by reducing<br />

a lot of gaps between tiles. As a result, the roof pitch<br />

now could reach as low as 15 degrees. These<br />

corrugated asbestos fibre-reinforced cement tiles<br />

were catagorised by the ridge types; double<br />

corrugated tile, big corrugated tile, and small<br />

corrugated tile.<br />

In addition, these lightweight corrugated<br />

fibre-reinforced cement tiles and the low pitch roof<br />

had a huge effect on the weight reduction of the<br />

roofing sheets and the structures, which saved a lot<br />

of construction costs. In Thailand, this type of tiles<br />

became famous when the Siam Fiber-Cement Co.<br />

Ltd., member of the SCG Group opened their factories<br />

to manufacture the flat paper tiles as well as the<br />

ที่มีคุณภาพดีกว่า ราคาถูกกว่าการมุงหลังคาด้วยวัสดุ<br />

ชนิดอื่นๆ เข้ามาแทนที่กระเบื้องคอนกรีตวิบูลย์ศรีที่<br />

หายไปจากความนิยมในที่สุด<br />

รูปแบบของบ้านพักอาศัยที่เน้นรูปทรงหลังคา<br />

ลาดน้อย และใช้กระเบื้องกระดาษชนิดลอนเป็น<br />

วัสดุมุงตามที่กล่าวข้างต้น ได้รับความนิยมแพร่หลาย<br />

อยู่ค่อนข้างยาวนาน และต่อเนื่องมาจนราวทศวรรษของ<br />

พ.ศ. 2520 เมื่ออิทธิพลของสถาปัตยกรรมหลัง<br />

สมัยใหม่ (Postmodern Architecture) จากตะวันตก<br />

เริ่มแพร่หลายเข้ามายังประเทศไทย แนวความคิดของ<br />

สถาปัตยกรรมหลังสมัยใหม่ มีการให้ความสำคัญกับบริบท<br />

ของสถาปัตยกรรม ไม่ว่าจะเป็นที่ตั้ง ชุมชน วัฒนธรรม<br />

และประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง สิ่งเหล่านี้มักถูกละเลย<br />

หรือไม่ก็ถูกต่อต้านจากแนวคิดของสถาปัตยกรรมสมัย<br />

ใหม่ด้วยซ้ำ สถาปัตยกรรมหลังสมัยใหม่เห็นคุณค่าของ<br />

สถาปัตยกรรมในอดีต และต้องการสร้างความสัมพันธ์<br />

กับคุณค่าเหล่านั้น เริ่มมีการศึกษา ฟื้นฟู และอนุรักษ์<br />

อาคารเก่าที่ทรงคุณค่า เริ่มมีการนำรูปแบบสถาปัตยกรรม<br />

จากอดีตมาประยุกต์ใช้กับอาคารที่สร้างใหม่<br />

กระแสสถาปัตยกรรมหลังสมัยใหม่นี้เกิดขึ้นกับ<br />

corrugated roof tiles in the early 1950s. The ability<br />

to produce this higher quality and cheaper type of<br />

tiles domestically caused Wiboonsri tile’s popularity<br />

to finally subside.<br />

The low-pitched roof houses with corrugated<br />

paper tiles as roofing material remained famous for<br />

quite a long period of time. In the 1970s, the influence<br />

of Postmodern Architecture from the West started to<br />

grow in Thailand. This Postmodern Architecture<br />

concept emphasised on the context of architecture<br />

such as location, community, culture, and related<br />

history. All these things had always been omitted or<br />

even rejected by the concept of Modern Architecture.<br />

Postmodernism valued architecture of the past and<br />

attempted to relate to such values. The study on the<br />

precious vintage buildings including the restoration<br />

and the conservation were initiated. The historical<br />

architectural styles were applied in the construction<br />

of new buildings.<br />

259


ประเทศไทยในจังหวะที่กำลังมีการเตรียมการเฉลิมฉลอง<br />

การสถาปนากรุงเทพมหานครครบ 200 ปี ใน<br />

พ.ศ. 2525 ส่วนสำคัญส่วนหนึ่งของการเตรียมการ<br />

เฉลิมฉลองนี้ คือ การศึกษา ฟื้นฟู และอนุรักษ์ศิลปะ<br />

และสถาปัตยกรรมในอดีตที่เป็นมรดกตกทอดทาง<br />

วัฒนธรรมของกรุงรัตนโกสินทร์<br />

มีการบูรณะวัดพระศรีรัตนศาสดารามครั้งใหญ่<br />

รวมทั้งพระราชวัง วัง ตำหนัก และอาคารเก่าที่ทรงคุณค่า<br />

ต่างๆ ในทางวิชาการด้านสถาปัตยกรรม มีการทำวิจัย<br />

เรื่องพัฒนาการของ บ้าน ตลาด วัง และวัด ตั้งแต่เริ่ม<br />

ยุครัตนโกสินทร์จวบจนถึงปีที่เฉลิมฉลอง การอนุรักษ์<br />

สถาปัตยกรรมในอดีตของเวลานั้น ทำให้มีความจำเป็น<br />

ต้องผลิตวัสดุก่อสร้างหลายอย่างตามรูปแบบเดิมเพื่อ<br />

ใช้ในการซ่อมแซมอาคารเก่า บริษัทในเครือปูนซีเมนต์<br />

ไทยได้หวนกลับมาผลิตกระเบื้องหลังคาคอนกรีตใหม่<br />

เพี่อทดแทนกระเบื้องวิบูลย์ศรี โดยให้ชื่อกระเบื้อง<br />

หลังคาคอนกรีตที่ผลิตขึ้นใหม่นี้ว่า กระเบื้องหลังคา<br />

“ซีแพคโมเนีย”<br />

กระแสการอนุรักษ์ซ่อมแซมอาคารเก่านี้ นำมาซึ่ง<br />

ความนิยมชมชื่นในรูปแบบสถาปัตยกรรมและบ้านเรือน<br />

ในอดีตที่ผ่านมา การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและ<br />

ประชากรของไทยจากปลายทศวรรษของ พ.ศ. 2520<br />

ถึงทศวรรษของ พ.ศ. 2530 นำมาซึ่งการขยายตัวของบ้าน<br />

พักอาศัยประเภททาวเฮ้าส์ในเมือง และหมู่บ้านจัดสรร<br />

ชานเมืองจำนวนมาก รูปแบบของบ้านพักอาศัยในช่วง<br />

เวลานี้หวนกลับไปนิยมรูปแบบบ้านในอดีตของไทยยุค<br />

ต่างๆ ทุกรูปแบบ ประชาชนนิยมบ้านที่มีการตกแต่ง<br />

ด้วยลวดบัวปูนปั้น ประตูหน้าต่างที่แบ่งลูกฟักกระจกเป็น<br />

ช่องเล็กๆ อย่างในอดีต ในสมัยที่ยังผลิตกระจกผืนใหญ่<br />

ไม่ได้ ความลาดชันของหลังคาเริ่มกลับไปเพิ่มมากขึ้น<br />

ตามรูปแบบสไตล์ต่างๆ ของอดีต มีการหวนกลับไปผลิต<br />

กระเบื้องหลังคาชนิดต่างๆ ตามแบบเดิม ตามวิธีผลิตเดิม<br />

รวมไปถึงมีการใช้เทคโนโลยีพัฒนาคุณภาพของกระเบื้อง<br />

หลังคารูปแบบเดิม หรือผลิตขึ้นใหม่ด้วยวัสดุชนิดต่างๆ<br />

เพื่อความสวยงาม และความทนทานยิ่งขึ้น<br />

ความนิยมในการสร้างบ้านในยุคนี ้ ที่หวนกลับไป<br />

ใช้รูปแบบบ้านในอดีต ไม่ได้หยุดอยู่ที่รูปแบบที่เคยมี<br />

อยู่ในประเทศไทยเท่านั้น แต่รวมไปถึงความนิยมสร้าง<br />

This initiation of Postmodern Architecture in<br />

Thailand started during the preparations of the<br />

Celebration of the 200th Anniversary of Bangkok in<br />

1982. One of the significant preparations was the<br />

study, the restoration, and the conservation of<br />

traditional arts and architecture honoured as<br />

Rattanakosin’s rich cultural heritage.<br />

There was a complete restoration of the Temple<br />

of the Emerald Buddha, royal residences, palaces,<br />

residential halls, and valuable historic buildings. In<br />

architectural studies, researches on the evolution of<br />

houses, markets, palaces, and temples from the<br />

early Rattanakosin Era up to the year of the<br />

Celebration were studied. The conservation of historic<br />

buildings required the production of many vintage<br />

construction materials for restoration. A company in<br />

the SCG Group launched a new production of concrete<br />

tiles for the substitution of Wiboonsri tiles. The newly<br />

reproduced concrete roof tiles was named “CPAC<br />

Monier.”<br />

The conservation and restoration of historic<br />

buildings brought about the appreciation of historical<br />

architectural styles. As the result of the economy and<br />

population growth in Thailand during the end of the<br />

1970s and the beginning of the 1980s, residences<br />

like townhouses in Bangkok and housing projects in<br />

the outskirts began to rise in great numbers. Every<br />

historiocal style in Thailand was brought back to<br />

popularity. Houses decorated with stucco cornices<br />

became a big hit as well as doors and windows<br />

detailed with small glass frames as in the age when<br />

the making of a large piece of glass was impossible.<br />

The pitch of the roofs returned to rise higher in<br />

accordance with the old styles of the houses. Various<br />

kinds of vintage roof tiles were reproduced with both<br />

original and new techniques. The new production<br />

260


บ้านตามอย่างแบบแผนบ้านเรือนสไตล์คลาสสิก และ<br />

สไตล์พื้นถิ่นของตะวันตกชาติต่างๆ ทั้งแบบอังกฤษ<br />

ฝรั่งเศส เยอรมัน สวิส อิตาเลี่ยน สเปน และเมดิเตอเร<br />

เนียน เป็นต้น ความนิยมที่หลากหลายนี้พุ่งขึ้นถึงจุด<br />

สูงสุดในปลายทศวรรษของ พ.ศ. 2530 ก่อนเศรษฐกิจ<br />

ฟองสบู่แตกในปี พ.ศ. 2540<br />

หลัง พ.ศ. 2540 เศรษฐกิจซบเซา การก่อสร้างบ้าน<br />

เรือนใหม่ๆ ลดฮวบลงอย่างมาก คงเหลือเพียงคหบดี<br />

จำนวนน้อยที่ไม่ได้รับผลกระทบเชิงลบของเศรษฐกิจ<br />

โดยส่วนตัวที่หันมาสร้างบ้านใหม่<br />

ต่อเมื่อไทยผ่านพ้นวิกฤตเศรษฐกิจอันหนักหน่วง<br />

และเศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัวเมื่อย่างเข้าปลายทศวรรษของ<br />

พ.ศ. 2540 จึงเริ่มมีการสร้างบ้านเรือนเพิ่มขึ้นใหม่<br />

อีกครั้งอย่างช้าๆ และจำนวนลดถอยลงอย่างมาก รูปแบบ<br />

บ้านที่สร้างใหม่ในช่วงหลังนี้เริ่มกลับมามีความเรียบ<br />

ง่ายขึ้น แต่ยังคงมีความหลากหลายของรูปแบบบ้าน<br />

สไตล์ต่างๆ ซึ่งเป็นลักษณะสำคัญของสถาปัตยกรรม<br />

ยุคหลังสมัยใหม่<br />

ในความหลากหลายของสไตล์ต่างๆ ของบ้าน<br />

ในทศวรรษของ พ.ศ.2550 มีรูปแบบใหม่ตามอย่าง<br />

สถาปัตยกรรมร่วมสมัยในตะวันตกเพิ่มขึ้นอยู่บ้าง<br />

แนวทางใหม่ที่เริ่มได้รับการยอมรับเพิ่มขึ้น คือ<br />

รูปแบบบ้านที่เป็นกล่องรูปทรงสี่เหลี่ยมเรียบง่าย วางเป็น<br />

อิสระโดดๆ หรือซ้อนทับกัน โดยมีลักษณะที่สำคัญที่<br />

ไม่ค่อยได้รับความนิยมมาก่อนคือ การใช้รูปทรงหลังคา<br />

แบนทำด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก เนื่องด้วยหลังคาแบน<br />

หล่อด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก จะสะสมความร้อนจาก<br />

แสงแดด และส่งผ่านให้ความร้อนเข้าในบ้านมากกว่าการ<br />

มุงหลังคาด้วยกระเบื้องชนิดต่างๆ มาก นอกจากนั้น<br />

หลังคาคอนกรีตเสริมเหล็กมีความเสี่ยงต่อการรั่วซึม<br />

ของน้ำฝนสูง เนื่องจากการแตกร้าวของคอนกรีตที่เกิด<br />

จากการขยายและหดตัวของคอนกรีตระหว่างกลางวัน<br />

และกลางคืนเป็นประจำ<br />

รูปแบบอาคารที่เป็นกล่องสี่เหลี่ยมเรียบๆ หลังคา<br />

แบนดังกล่าว เป็นส่วนหนึ่งของการหวนกลับไปฟื้นฟู<br />

รูปแบบสถาปัตยกรรมในอดีต แต่เป็นอดีตที่ใกล้กว่า<br />

รูปแบบคลาสสิกหรือสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นของชาติ<br />

ต่างๆ เป็นการหวนกลับไปฟื้นฟูรูปแบบสถาปัตยกรรม<br />

technology was used to enhance the quality of the<br />

old-styled roof tiles or to create new types of tiles<br />

with different kinds of materials for better looks and<br />

strength.<br />

Apart from Thai styles, the comeback of house<br />

styles from the past also included the classical style<br />

and European styles such as English, French,<br />

German, Swiss, Italian, Spanish and Mediterranean.<br />

The popularity of these multiple choices of style<br />

rocketed before its downfall in the Thai Financial<br />

Crisis in 1997. The recession after 1997 slowed the<br />

construction activities down significantly. Only some<br />

rich people whose financial status did not suffer from<br />

the crisis continued to build their new houses.<br />

In the 2000s after the serious recession when<br />

Thailand’s economy began to recover, new buildings<br />

were gradually constructed but in much less quantity.<br />

Simplicity was once again applied while the variety<br />

of styles were still in use as the main characteristic<br />

of Postmodern Architecture.<br />

Among the house styles in the 2010s, some<br />

contemporary architectural styles from the West were<br />

introduced. Standalone or stacked simple rectangular<br />

houses with simple exterior and flat concrete roof<br />

began to gain more popularity although such flat roof<br />

had never been so popular before. The flat roofs<br />

constructed with reinforced concrete accumulated<br />

heat from direct sunlight and transferred the heat into<br />

the house in a much higher rate than using any other<br />

roofing materials. Apart from the heat problem, the<br />

risk of leakage in concrete roofs was also high due<br />

to the cracks caused by the thermal expansion and<br />

contraction between daytime and nighttime.<br />

The simple rectangular form of buildings with flat<br />

roofs was a part of the revival of architecture in the<br />

past, which dated back not as far as classical style<br />

261


สมัยใหม่แบบมินิมอลิซึม (Minimalism) ของสถาปนิก<br />

มีส ฟาน เดอ โรห์ (Mies van der Rohe) จากกลาง<br />

คริสต์ศตวรรษที่ 20<br />

โดยสรุป หลังคาเป็นองค์ประกอบสถาปัตยกรรมที่<br />

สำคัญอย่างหนึ่ง เพราะทำหน้าที่คลุมพื้นที่ใช้สอยของ<br />

สถาปัตยกรรม และเป็นดัชนีบ่งชี้ถึงการเปลี่ยนแปลง<br />

ที่สำคัญอันหนึ่งในพัฒนาการของรูปแบบบ้านเรือนใน<br />

ประเทศไทย การเปลี่ยนแปลงของรูปแบบหลังคาที่มี<br />

ผลกับรูปแบบสถาปัตยกรรม มีความสัมพันธ์โดยตรง<br />

กับวัสดุที่ใช้ทำหลังคา ในเรื่องคุณสมบัติของวัสดุ และ<br />

ประโยชน์ใช้สอยที่เอื้อให้กับวัตถุประสงค์และหน้าที่<br />

ของหลังคา นอกเหนือไปจากนี้รูปทรงหลังคายัง<br />

สะท้อนคุณค่าด้านความงาม ความหมายเชิงสัญลักษณ์<br />

ค่านิยม ความเชื่อ แบบแผนการดำรงชีวิต และเทคโนโลยี<br />

ของผู้สร้าง บอกกล่าวและสะท้อนเอกลักษณ์ของถิ่นที่<br />

ตั้งและเวลา กาละและเทศะ (Time and Space) ของ<br />

บ้านเรือนนั้นๆ<br />

or other revival styles. It was the revival of Minimalism<br />

initiated by Mies van der Rohe, the master architect<br />

of the 20 th century.<br />

In conclusion, a roof is one of the important<br />

architectural elements as it protects the utility spaces<br />

of the architecture and functions as the index of the<br />

significant changes in Thailand’s architectural styles.<br />

The alteration of roof styles which affects the forms<br />

of the architecture directly relates to the roofing<br />

materials in terms of quality and functions they deliver.<br />

In addition, each roof design reflects the aesthetic<br />

values, symbolic values, tastes, beliefs, ways of living,<br />

and technology of the builders, as well as tells the<br />

stories and showcases the uniqueness of location<br />

together with “time and space” of architecture.<br />

262


263


264


ที่ว่างทางสถาปัตยกรรม<br />

SPACE IN ARCHITECTURE<br />

— ผู้ช่วยศาสตราจารย์กิจโชติ นันทนสิริวิกรม • Assistant Professor Quijxote Nuntanasirivikrom


พุทธศักราช <strong>2489</strong> ถึง <strong>2559</strong> (ค.ศ.1946-2016)<br />

นับเป็นช่วงเวลาเจ็ดทศวรรษในรัชสมัยของพระบาท<br />

สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถ<br />

บพิตร ประชาชนคนไทยส่วนใหญ่ในปัจจุบันล้วน<br />

เกิดภายใต้รัชกาลของพระองค์แทบทั้งสิ้น ในช่วง<br />

รัชสมัยของพระองค์ สภาพชีวิตของคนไทยได้ผ่าน<br />

การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ไปตามกาลเวลา ท่ามกลาง<br />

ความผันแปร เปลี่ยนแปลง เหตุและผล เราคนไทยจึง<br />

เติบโตและใช้ชีวิตภายใต้กลไกขับเคลื่อนอันสืบเนื่องมา<br />

จากปัจจัยต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นปัจจัยทางสังคม การเมือง<br />

และเศรษฐกิจ<br />

สถาปนิกมักมองว่าเป็นการยากที่จะใช้ข้อมูล<br />

ทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจมาเป็นปัจจัยใน<br />

การออกแบบ ในทางตรงกันข้าม นักสังคมศาสตร์<br />

รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ทำงานในพื้นที่ของตนโดย<br />

อิงข้อมูลเหล่านี้เป็นเรื่องปกติ<br />

“สเปซ (space)” เป็นคำที่สถาปนิกนิยมใช้กัน<br />

อย่างกว้างขวางและมีความหมายเฉพาะในเชิง<br />

สถาปัตยกรรมแบบที่ไม่เหมือนกับสาขาอื่น ถึงแม้<br />

สถาปนิกจะใช้คำนี้บ่อยจนแทบจะเรียกได้ว่าผูกขาด<br />

แต่ผู้รู้ในสาขาวิชาอื่นก็ใช้คำนี้ในศาสตร์ของตนเช่นกัน<br />

พันธมิตรในสาขาวิชาเหล่านี้ศึกษาในสิ่งที่มีความเชื่อม<br />

โยงกับสถาปัตยกรรม สนใจในเนื้อหาเดียวกัน และใน<br />

“สเปซ” เดียวกันกับสถาปัตยกรรม สาขาวิชาเหล่านี้<br />

คือ สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ เราจึง<br />

สามารถนำวิธีการทำงานของพวกเขามาปรับใช้ได้<br />

บทสนทนาเกี่ยวกับสเปซกับพันธมิตรเหล่านี้จึงนำมา<br />

ซึ่งความเข้าใจที่ถ่องแท้ขึ้นกับการสำรวจความหมาย<br />

ของคำว่า “สเปซ”<br />

The years 1946 to 2016 cover seven decades<br />

under the reign of His Majesty the King Rama 9. Most<br />

of Thai people who are alive today were born under<br />

his reign. The passing time of the long reign naturally<br />

brings about evolutions in life. Along the changes,<br />

the shifts, the causes and the effects that occurred,<br />

Thai people grow up and live their lives under the<br />

driving mechanism of social factors, political issues<br />

and lastly economics concerns.<br />

The social factors, the political issues, and the<br />

economics concerns have always been taken as<br />

difficulties for architects to cope with. On the contrary,<br />

sociologists, political scientists, and economists<br />

work on these platforms that often overlap with the<br />

architectural space.<br />

‘Space’, a jargon commonly used by architects<br />

carries a specific meaning in architecture which is hardly<br />

shared by others. Although terminologically, the term<br />

’space’ seems to be most frequently used in architecture, it<br />

has always been referred to by non-architect practitioners<br />

in their built environment studies. There are allies in this<br />

inhabitation whose works are closely linked to architecture<br />

and even concern on the same issues within the same<br />

‘space’ as architecture. Social Science, Political Science,<br />

and Economics are the cases in point. Their ways of<br />

working with ‘space’ could, then, be employed. The<br />

result of discussion on ‘space’ with these architect’s allies<br />

provides the extensive understanding with the more<br />

conclusive exploration within ‘space’.<br />

266


“ถ้าอยากสร้างชีวิตให้อะไรบางอย่าง ต้องปรึกษาธรรมชาติ แล้วนั่นมันก็คือจุดที่เนื้อหา<br />

เกี่ยวกับการออกแบบมันจะเกิดขึ้นมาเอง.”<br />

หลุยส์ ไอ คาห์น<br />

“When you want to give something presence, you have to consult nature. And there is where<br />

design comes in.”<br />

Louis I. Kahn<br />

แบบร่างการจัดเรียงและรวบรวมฐานข้อมูลสาหรับ<br />

กาลานุกรม<br />

sketch for chronology diagram and collective data<br />

267


สถาปัตยกรรมเป็นแค่ส่วนเล็กๆ ของสภาพแวดล้อม<br />

ตำแหน่งแห่งที่และขนาดของมันเล็กจิ๋วเมื่อเทียบกับ<br />

ความใหญ่โต ซับซ้อน และหลากหลายของธรรมชาติ<br />

และสภาพแวดล้อม อีกนัยหนึ่งก็คือการศึกษาด้าน<br />

สถาปัตยกรรมศาสตร์นั้นเป็นเพียงสิ่งเล็กๆ เท่านั้นเมื่อ<br />

เทียบกับปัจจัยอื่นๆ เมื่อพิจารณาความจริงข้อนี้ ผู้จัดท ำ<br />

จึงปรับเปลี่ยนการจำกัดความและแนวทางของงานวิจัย<br />

ชิ้นนี้เสียใหม่ โดยขยายขอบเขตการศึกษาไปสู่ความ<br />

เข้าใจในบริบทของศาสตร์อื่นที่อาจมีความเกี่ยวเนื่องกับ<br />

สถาปัตยกรรมด้วย โดยเริ่มจากการพูดคุยในเนื้อหาที่ว่า<br />

ด้วยเรื่อง “สเปซ” กับพันธมิตรในสาขาวิชาต่างๆ อาทิ<br />

สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ ซึ่งทำให้วิธี<br />

การวิจัยโครงการนี้พัฒนาขึ้นจากวิธีธรรมดาทั่วไป สู่การ<br />

ปรึกษาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักสังคมศาสตร์ นัก<br />

รัฐศาสตร์ และนักเศรษฐศาสตร์ไปพร้อมๆ กัน ดังนั้น<br />

ประเด็นเรื่องสังคม รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์จึงถูก<br />

นำมาร้อยเรียงอยู่ในเนื้อหาของงานวิจัยครั้งนี้ด้วย<br />

ภายใต้บริบทในเชิงสังคม การปกครอง และ<br />

เศรษฐกิจ ผู้จัดทำได้พยายามรวบรวมเนื้อหาและ<br />

เงื่อนไขต่างๆ ในทางสถาปัตยกรรมรวมทั้งเรื่องของ<br />

การออกแบบและขั้นตอนการออกแบบ ดังนั้นงานวิจัย<br />

ชิ้นนี้จึงเป็นการศึกษาแบบบูรณาการของสามสาขา<br />

วิชาดังกล่าวร่วมกับสถาปัตยกรรม ว่าปัจจัยทางสังคม<br />

การเมือง และเศรษฐกิจ มีผลต่อสถาปัตยกรรมอย่างไร<br />

รูปแบบของโครงการวิจัยนี้เป็นลักษณะเชิงกว้าง<br />

โดยผู้จัดทำพยายามรวมรวมข้อมูลที่มีประโยชน์ เข้าใจ<br />

ง่าย และมีระเบียบ เพื่อขยายขอบเขตแนวคิดของศิลปะ<br />

การก่อสร้างอาคารโดยคำนึงถึงองค์ประกอบทางสังคม<br />

การเมือง และเศรษฐกิจซึ่งเป็นสิ่งใกล้ตัวเราทุกคน<br />

Architecture exists as a small part in built<br />

environment. It is scaled and it is positioned in<br />

extremely small extent compared to the vast, complex,<br />

and dynamic attribute of nature and environment. In this<br />

sense, education of an architect declares itself within<br />

the smallest procedure in environment compared to<br />

the others. Taking this issue into account, the scale of<br />

this architectural research project is redefined whereas<br />

its positioning is also shifted. This is to extend the<br />

scope of study to the interdisciplinary context involved<br />

with architecture. The allies in inhabitation which are<br />

social factors, political issues and lastly economics<br />

concerns, in a sense, initiate the further discussion<br />

on ‘space’. Therefore, the project has developed itself<br />

from conventional methodology to formal consultation<br />

with social science, political science, and economics,<br />

at the same time. Significantly and substantially, the<br />

so-called socio-politico economics issue is, then,<br />

applied into the project.<br />

Under the socio-politico-economics issue,<br />

the research attempts to accumulate context and<br />

conditions that architecturally involve movement in<br />

architectural design and also architectural design<br />

process. Therefore, the research will cross the<br />

discipline from where those three subjects were<br />

literally referred to by conventional research on<br />

architecture into where the design research base<br />

project could engage into social factors, the political<br />

issues, and the economics concern, substantially.<br />

The methodology of this design research project<br />

appears in a very loose format. It is also an attempt<br />

to provide useful information but still under intelligibly<br />

and substantially organised structure. This is to<br />

allow the research to extend formal concept of the<br />

art of building by introducing a more integral context<br />

that should be considered and even confronted by<br />

architects.<br />

268


คณะทำงานได้ส่งบัตรเชิญออกไปจำนวนสองหมื่น<br />

ใบเพื่อเรียนเชิญผู้ที่ให้ความสนใจได้เสนอชื่อบ้านที่<br />

น่าจะได้รับการรวบรวมเอาไว้อยู่ในหนังสือเข้ามา เพื่อ<br />

เป็นการรวบรวมข้อมูลและกำหนดขนาดขอบเขตของ<br />

การวิจัย ถึงแม้จำนวนบ้านที่ส่งกลับมาจะน้อย แต่<br />

ความหลากหลายในชนิดของบ้านนั้นน่าสนใจมาก<br />

ในส่วนของนัยยะเชิงภูมิศาสตร์ ก็มีบ้านที่ตั้งอยู่ใน<br />

พื้นที่ห่างไกลที่งานวิจัยอื่นๆ ยังครอบคลุมไปไม่ถึง<br />

ในบรรดาบ้านน้อยหลังที่ส่งเข้ามา เราได้พบบ้านที่<br />

เอาชนะข้อจำกัดทางภูมิประเทศ บ้านที่ใช้ประโยชน์<br />

20,000 invitation cards were given out. The objective<br />

is not only to accumulate collective data but also to define<br />

the boundary of this research. Although there is minimal<br />

feedback of informed cases by the public, but in terms<br />

of typology of the houses, the research gains substantial<br />

information on categories of these houses. Also, on the<br />

notion of geography, despite little number of informed<br />

cases, there are case studies from far and remote area<br />

where conventional research could not reach yet. From<br />

that small number, there is are house that overcame their<br />

constraints of topographical conditions. There are houses<br />

that applied local conditions into, especially on, their uses<br />

จากสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น โดยเฉพาะวัสดุที่หาได้ใน<br />

พื้นที่เพื่อแก้ปัญหาเรื่องภูมิอากาศ และสุดท้ายคือบ้านที่<br />

ไม่ได้ใช้สถาปนิก แต่ตัวผู้อยู่อาศัยเป็นผู้ออกแบบเอง<br />

บ้านที่ใช้ผู้รับเหมาท้องถิ่นเพราะอยู่ในพื้นที่ห่างไกล ไม่มี<br />

สถาปนิก หรือสถาปนิกไปไม่ได้ด้วยเหตุผลบางประการ<br />

อีกทั้งยังขยายผลให้ครอบคลุมประเด็นและเนื้อหา<br />

เรื่องภูมิศาสตร์และภูมิทัศน์วัฒนธรรมของบ้าน ความ<br />

หลากหลายของบ้านที่เป็นผลมาจากปัจจัยในการอยู่<br />

อาศัยมากกว่าคำนึงถึงเรื่องรูปแบบในเชิงการออกแบบ<br />

เป็นหลัก ทำให้กรอบของงานวิจัยนี้กว้างขวางมากขึ้น<br />

of materials and their micro climatic concerns. Lastly, the<br />

notion of house as architecture without architect could<br />

also be explored. There are houses built and designed by<br />

the dwellers who live in the house. There are houses built<br />

by local contractors in remote areas where and when<br />

architects are scarce or cannot be there due to personal<br />

constraints. The cultural geography of house, could,<br />

then, be extensively portrayed. The more dynamic range<br />

of ‘house’ in terms of its dwelling conditions rather than<br />

its form-oriented design criteria provides the research<br />

with more extensive framework on architectural design<br />

for the research to be engaged with.<br />

269


“สิ่งปลูกสร้างที่ออกแบบมาเพื่อคนทั้งมวล ปราศจากประตูหน้าต่าง และไม่ได้ใช้สถาปนิก”<br />

บางบาล อยุธยา<br />

เครดิตภาพ: ภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตาร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

‘universal design house without fenestration and without architect’<br />

Bangban, Ayuthaya<br />

cr: Department of Architecture, Faculty of Architecture, Kasetsart University<br />

270


271


272


สนทนา<br />

CONVERSATION<br />

— ศาสตราจารย์ ดร.ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ • Professor Dr. Chaiwat Satha Anand<br />

— ผู้ช่วยศาสตราจารย์กิจโชติ นันทนสิริวิกรม • Assistant Professor Quijxote Nuntanasirivikrom


อาจารย์กิจโชติ: สืบเนื่องจากบทความที่อาจารย์<br />

ได้มอบให้ บ้านเป็นสัญลักษณ์สำคัญที่ทำหน้าที่รองรับ<br />

ความสัมพันธ์อันแสดงออกถึงความเป็นบ้าน เรียนขอให้<br />

อาจารย์ขยายความดังกล่าวเพิ่มเติมครับ ถึงความเป็น<br />

สัญลักษณ์ของบ้านในเชิงรัฐศาสตร์นั้นมีนัยยะที่สำคัญ<br />

หรือมีประเด็นที่น่าสนใจอย่างไรครับ<br />

อาจารย์ชัยวัฒน์: มีบทสนทนาระหว่าง Diogenes<br />

Laertius กับ เพลโต ปรากฏอยู่ใน The lives and<br />

opinions of eminent philosophers (1853) ตอนหนึ่ง<br />

Diogenes กล่าวกับเพลโตว่า “ท่านชอบพูดเรื่องความ<br />

เป็นโต๊ะกับความเป็นถ้วย แต่สิ่งที่ฉันเห็นมีแต่โต๊ะกับถ้วย”<br />

เพลโตก็ตอบว่า “ถูกแล้ว ท่านเห็นเพียงโต๊ะกับถ้วย เพราะ<br />

การจะเห็นโต๊ะกับถ้วยได้ต้องใช้ตา แต่การจะเห็น “ความ<br />

เป็นโต๊ะ” กับ “ความเป็นถ้วย” ได้ต้องใช้ปัญญา ซึ่งท่านมี<br />

ตาแต่ไม่มีปัญญาจึงไม่เห็น” ผมลองคิดว่า จริงๆ แล้วงาน<br />

สถาปัตยกรรมตามที่ผมเข้าใจ ตัวบ้านมาที่หลังความเป็น<br />

บ้าน เพราะฉะนั้นความมหัศจรรย์ของวิชาสถาปัตยกรรม<br />

ในความเห็นของคนนอกอย่างผม คืออะไรบางอย่าง<br />

ซึ่งสามารถจะใส่ จินตนาการ imagination, ความคิด<br />

สร้างสรรค์ Creativity และ สิ่งที่ “สมบูรณ์” เป็นรอยต่อ<br />

ระหว่างความเป็นโต๊ะกับโต๊ะ ความเป็นถ้วยกับถ้วย<br />

ความเป็นบ้านกับบ้าน คือเราต้องใช้ทั้งสองอย่างคือ<br />

สายตาและปัญญา งานที่คณะทำงานทำมานั้นส่วนใหญ่<br />

ไปเน้นทางสายตามากไปหน่อยหรือไม่?<br />

อาจารย์กิจโชติ: คือแต่เดิมเวลาทำวิจัยนะครับ<br />

ส่วนใหญ่จะเน้นไปทางสายตา เน้นรูปแบบของการ<br />

ออกแบบ งานชิ้นนี้ตามวัตถุประสงค์แล้วนั้น คือความ<br />

พยายามที่จะเข้าถึงสิ่งที่อยู่นอกเหนือรูปแบบของบ้าน<br />

ที่เป็นผลมาจากการออกแบบ เพื่อให้เข้าถึงความเป็น<br />

บ้านมากขึ้นครับ<br />

อาจารย์ชัยวัฒน์: เพราะฉะนั้นพอผมเห็นตาราง<br />

ที่ทางคณะทำงานส่งมา ผมก็เลยกังวลเล็กน้อย เพราะ<br />

รู้สึกว่าผมไม่ได้พูดเรื่องบ้าน คือสิ่งที่เห็นจากงานของ<br />

คณะทำงานเท่าที่ผมรู ้สึกค่อนข้างเป็นงานเชิงประจักษ์<br />

คือมันมีบ้านจริงๆ มีเงื่อนไขจริงๆ และจัดวางบ้านไว้ใน<br />

บริบททางประวัติศาสตร์ งานของผมจะฉีกออกไปเล็ก<br />

น้อย เพราะไม่ได้วางไว้บนประวัติศาสตร์ แต่วางไว้ใน<br />

ความคิดว่า ตกลงไม่ว่าประวัติศาสตร์จะเป็นอย่างไรใน<br />

70 ปีแห่งรัชสมัยของในหลวง ร.9 แต่ความเป็นบ้าน<br />

Quijxote: From your article, a house is an important<br />

symbol that supports relationships that show the<br />

essence of a house. Could you explain further about<br />

the significance of a house as a symbol in the societal<br />

context? What are the interesting facts in your view?<br />

Chaiwat: In The Lives and Opinions of Eminent<br />

Philosophers (1853), there is a conversation between<br />

Diogenes Laertius and Plato where Diogenes once<br />

said to Plato that: “You often talk about tablesness<br />

and cupness. But I only see a table and a cup”. Plato<br />

responded: “That’s right. You only see a table and a<br />

cup because it takes eyes to see a table and a cup.<br />

But to see tableness and cupness, it takes wisdom.<br />

You only have eyes but no wisdom, hence, you do<br />

not see it.” From my understanding, houseness<br />

comes before a house. So from the perspective of an<br />

outsider like myself, the magic of architecture is how<br />

you use imagination and creativity to fulfill the lines<br />

between a table and tableness, a cup and cupness,<br />

or a house and houseness. And that takes both eyes<br />

and wisdom. The question is does this project focus<br />

too much on what can be seen with the eyes?<br />

Quijxote: In the past when we do research, we<br />

focused on forms and what can be seen with the<br />

eyes. But this work is an attempt to explore beyond<br />

the form of a house or design and focus more on<br />

the houseness.<br />

Chaiwat: That’s why I became a little worried<br />

when the agenda was sent to me. I felt that I was<br />

not talking about the actual house. But what was<br />

sent to me is quite empirical in the sense that there<br />

are actual houses and actual conditions. And these<br />

houses exist in historical contexts. My work is slightly<br />

274


อันนี ้อาจจะยังอยู่ เพราะฉะนั ้นสิ่งที่ผมสนใจเลยไม่ใช่<br />

ตัวบ้าน แต่เป็นความเป็นบ้านที่เปลี่ยนแปลงผ่าน<br />

ตัวบ้านในประวัติศาสตร์<br />

อาจารย์กิจโชติ: มันมีคำๆ หนึ่งนะครับที่ผมได้ยิน<br />

และได้ฟังมาจากอาจารย์หลายๆ ท่าน ทั้งอาจารย์ทาง<br />

รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ สังคมศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์<br />

เป็นคำๆ หนึ่งที่ใช้กันบ่อยมากในงานสถาปัตยกรรมคือ<br />

คำว่า space แล้วผมก็ได้รับรู้มาจากอาจารย์หลายๆ<br />

ท่านอีกว่า จริงๆ แล้วอาจารย์ทุกท่านในทุกๆ สาย ส่วน<br />

ใหญ่ได้เคยกล่าวกันเอาไว้ว่า จริงๆ แล้วทั้งหมดมันอยู่<br />

ร่วมบนพื้นที่ทำงานเดียวกันคือคำว่า space เพียงแต่<br />

มันแยกกันทำหน้าที่ในรายละเอียดที่แตกต่างกันออกไป<br />

คนละอย่าง ในรัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ สังคมศาสตร์ และ<br />

เศรษฐศาสตร์ แล้วก็มีตัวสถาปัตยกรรมกับเรื่องของเมือง<br />

เป็นหนึ่งในตัวขับเคลื่อน อยากให้อาจารย์ให้ความเห็น<br />

เกี่ยวกับคำจำกัดความของคำว่า space ในเชิงรัฐศาสตร์<br />

ที่มันอาจจะพาดพิงเกี่ยวเนื่องมาถึงสถาปัตยกรรมครับ<br />

อาจารย์ชัยวัฒน์: ดีเลย แต่ว่าเวลาอาจารย์บอกว่าทาง<br />

รัฐศาสตร์ผมไม่รู้เขาจะรับผมเป็นนักรัฐศาสตร์มาตรฐาน<br />

หรือไม่ เพราะผมอยู่ตรงไหนก็ไม่รู้ ผมไม่ค่อยสนใจ<br />

เท่าไรนักว่าอยู่สาขาอะไร แต่ประเด็นนี้สำคัญเพราะว่า<br />

แนวคิดเรื่องของ space นั้น เอาเข้าจริงโดยเฉพาะในสาย<br />

สังคมศาสตร์มีวิวัฒนาการของคอนเซ็ปต์มาก่อนหน้านั้น<br />

สิ่งที่ใกล้กับคอนเซ็ปต์เรื่อง space มากที่สุดคือ คอนเซ็ปต์<br />

เรื่อง place ซึ่งมันเป็นคนละคำกันนะครับ “สถานที่”<br />

กับ “พื้นที่” ความต่างอยู่ที่ว่า space เป็น conceptual<br />

categories เป็นแนวความคิดที่มีความเป็นนามธรรมสูง<br />

ของที่คู่กันมาคือ time แต่ไม่ใช่ place สิ่งที่เกิดขึ้นเป็นผล<br />

มาจากความคิดของอิมมานูเอล คานท์ (Immanuel Kant)<br />

ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งส่งผลกระทบกับวิชาการ<br />

อย่างฝรั่งทั้งหมด ผมคิดว่าแม้แต่วิชาสถาปัตยกรรมได้<br />

รับผลกระทบด้วยเช่นกัน เพราะฉะนั้นถ้าผมถูก สิ่งซึ่ง<br />

เป็น place ถูกทำให้กลายเป็น space ในความหมายนี้<br />

แต่เวลาเราใช้ ณ ขณะนี้เราใช้ปนกัน ถามว่าทำไม<br />

นักวิชาการใช้คำว่า space เพราะมันมีวงศาวิทยาของ<br />

ตัวคำนี้ซึ่งวิ่งกลับไปที่ conceptual categories ได้ง่าย<br />

แต่เวลาเราพูดกับชาวบ้าน ชาวบ้านไม่ได้ใช้คำนี้ เพราะ<br />

ในวิชามานุษยวิทยา ถ้าถามคำถามเขาว่าที่อยู ่ของเขา<br />

อยู่ไหน เขาไม่ได้ตอบว่า space เป็นอะไร เขาอาจจะ<br />

ตอบว่า place ของเขาเป็นอะไร อยู่ที่ไหน ในคำตอบ<br />

different because it’s not based on history. It is based<br />

on the idea that no matter what history is during King<br />

Rama IX’s 70 years reign, the houseness is still there.<br />

Therefore, what interests me is not the house itself,<br />

but more of the houseness that evolves through the<br />

physical houses during the course of history.<br />

Quijxote: There is one term widely used by many<br />

scholars in different fields, from political science,<br />

sociology, law, to economics. The term is “space”.<br />

It is also often used in architecture. It seems that<br />

most scholars are on the same page that everything<br />

operates on the same one platform which is “space”.<br />

Only functions and details of execution are different,<br />

depending on the context whether it’s political, legal,<br />

social or economics, while architecture and the city<br />

are the driving forces. What is your opinion on the<br />

political definition of space that you think would be<br />

relevant to architecture?<br />

Chaiwat: That’s good. But I don’t know if people<br />

think of me as a standard political theorist or not.<br />

Because I really don’t know where I am. I don’t pay<br />

much attention to what field I’m in. But the issue of<br />

“space” is an important one. Because the concept<br />

of space as a social category has evolved through<br />

times. Prior to this, the closest thing to “space” was<br />

the concept of “place”. But they are different. Space<br />

is a highly abstract concept. And it is space that<br />

comes with time. The whole idea of space derived<br />

from Immanuel Kant’s theory in the 18th century which<br />

had such great impacts on almost all studies in the<br />

Western world. I think even architectural studies were<br />

also influenced by it. If my understanding is right,<br />

what had been regarded as “place” became “space”<br />

because of this. But we now use these two terms<br />

275


ของชาวบ้านหมายถึง place ไม่ใช่ space เวลาที่<br />

นักวิชาการคิด นักวิชาการ transform ของแบบนี ้ให้<br />

กลายเป็น concept อย่าง space ผมคิดว่าในวิชา<br />

สถาปัตยกรรมก็จำเป็นต้องทำเช่นนั้น เพราะคุณต้อง<br />

มองเห็นความเป็นไปได้ และทำงานกับความเป็นไปได้<br />

พอทำงานกับความเป็นไปได้ในแบบนี้แล้วค่อยกลับไปที่<br />

ความจริงในเชิงประจักษ์แล้วดูว่าลงตัวไปกันได้หรือไม่<br />

ผมเข้าใจว่าวิชาสถาปัตยกรรมเป็นเช่นนี้ และโดยเฉพาะ<br />

การออกแบบของสถาปัตยกรรมก็เลยไม่ใช่ place เป็น<br />

space ต้องใช้การจัดวาง การจัดการ การคำนวณเพื่อ<br />

รับน้ำหนักอะไรต่างๆ สิ่งเหล่านี้ไม่ใช่คอนเซ็ปต์ของคน<br />

ทั่วไปแต่เป็นแนวคิดวิชาการที่เรายกมาครอบลงบนสิ่ง<br />

ที่เรากำลังพูดถึงในฐานะหลักวิชา<br />

อาจารย์กิจโชติ: จากประสบการณ์ตั้งแต่เรียน ทำงาน<br />

จนกระทั่งมาสอนหนังสือ คำว่า space นั้น มันเป็นคำ<br />

ที่ใหญ่คำหนึ่ง และเรามักจะละมันเอาไว้ในฐานที่เข้าใจ<br />

อยู่เสมอๆ แล้วพอมีประสบการณ์ในการทำงานมากขึ้น<br />

มันสำนึกได้และย้อนกลับไปสมัยเรียนครับว่า สมัยเรียน<br />

นั้นในหลักสูตรมีการกำหนดให้เรียนเศรษฐศาสตร์ เรียน<br />

จิตวิทยา สังคมศาสตร์ มีเรียนมนุษย์กับวิทยาศาสตร์<br />

แต่ตอนเรียนด้วยความที่เป็นเด็กเลยไม่ค่อยเห็นความ<br />

เชื่อมโยงเท่าไหร่กับการออกแบบ จนมาปัจจุบันผม<br />

พยายามหาวิธีการคิดที่จะเชื่อมโยงของเหล่านี้เข้าด้วยกัน<br />

และพยายามชี้ให้นักเรียนที่ผมสอนอยู่เห็นความเชื่อม<br />

โยงของสิ่งเหล่านี้อยู่เสมอ เพราะจริงๆ แล้วมันคือองค์<br />

รวมของการทำงาน แล้วมันก็น่าจะมีส่วนในการให้คำ<br />

จำกัดความต่อคำว่า space ได้ในระดับหนึ่งครับ โดย<br />

เฉพาะเนื้อหาของคำว่า space โดยที่ไม่ต้องมาพูดกัน<br />

แค่ว่าจริงๆ แล้ว space มันแปลว่าอะไร<br />

อาจารย์ชัยวัฒน์: คือถ้าคิดต่อจากที่อาจารย์พูดก็<br />

จะเห็นว่า สิ่งที่สถาปนิกทำที่ชาวบ้านเรียกว่าออกแบบ<br />

บ้าน พอเราเอาแผนพัฒนาไปจับก็มีความเข้าใจเรื่อง<br />

space แบบหนึ่ง เช่นแปลงความเข้าใจไปเรียก “พื้นที่”<br />

เหล่านั้นว่า “developmental space” คือประเทศทั้ง<br />

ประเทศกลายเป็น “developmental space” หรือ พื้นที่<br />

การพัฒนาตามแผนนี้ ปัญหามีอยู่ว่าเวลาเราเอาบ้าน<br />

วางใน developmental space เราเห็นบ้านแบบหนึ่ง<br />

อาจจะกลายเป็นอาคารพาณิชย์ กลายเป็นที่อยู่อาศัย<br />

ซึ่งมีแนวทางการจัดการพื้นที่แบบหนึ่ง มีคอนเซ็ปต์<br />

เรื่องเมือง เรื่องชนบท มีอะไรอีกร้อยอย่าง ทั้งหมด<br />

interchangeable. Why do scholars like to use the<br />

term “space”? Because it contains more conceptual<br />

connotation while other people do not use this term<br />

that much. When asked where they live, people do<br />

not usually respond in terms of space, but place. But<br />

from a scholar’s point of view, they tend to transform<br />

these things into a more conceptual idea. I think in<br />

the architectural domain, it’s necessary to do so.<br />

Because architects need to be able to see what the<br />

possibilities are and start with that, before evaluating<br />

factual environment to see if the possibilities they<br />

have in mind can be realized. That’s my understanding<br />

of how architectural studies work. And that’s why in<br />

the architectural world with tasks such as design<br />

composition, management, weight-bearing calculation<br />

and all sorts of thing, a place has become a space.<br />

It’s more of an academic idea that we use to explain<br />

the concept.<br />

Quijxote: In my experience from studying,<br />

working, and teaching, “space” is a big word which<br />

is usually left as understood. After gaining more work<br />

experience, I started to look back to my student days<br />

that besides architecture, the curriculum required us<br />

to learn about economics, psychology, social studies,<br />

anthropology and science. Being very young at the<br />

time, I could not see how they are relevant to design.<br />

But now I try to find ways to relate them and make<br />

my students realize their relevance to architecture.<br />

Because they can help us explain the word “space”<br />

and its implications to a certain level, without sticking<br />

too much to the literal definition of the term.<br />

Chaiwat: What architects do is designing<br />

buildings-places to live and work. If we approach<br />

it from a development point of view, “space” will<br />

be interpreted in a certain way. Space will become<br />

276


นี้เพราะไปบังคับมันให้เป็น developmental space<br />

ทีนี้ปัญหาที่ตามมาก็คือ แล้วสิ่งที่เคยอยู่มาก่อนไม่ได้<br />

อยู่บน space พวกนี้นะ แต่อยู่บน living space เป็น<br />

พื้นที่ชีวิตของเขา อะไรเป็นพื้นที่ชีวิตของเขาอันนี้เลย<br />

น่าสนใจ เวลาที่ผมเขียนในบทความ เมื่อกษัตริย์อเล็ก<br />

ซานเดอร์มหาราชถาม พระองค์ถามหา “living space”<br />

อันนั้นเป็นการออกแบบ space ตามภาพของราชามหา<br />

กษัตริย์ หรืออาณาจักรที่เขาคิด ก็เหมือนกับแผนการ<br />

พัฒนาพื้นที่ของรัฐเช่นกัน ซึ่งในที่สุดแล้วปัญหาที่ตาม<br />

มาก็คือ แล้วคนจะอยู่อย่างไร จะเป็นอย่างไรเมื่อเวลาที่<br />

คุณไม่ได้สนใจหรือสนใจแต่วางเกณฑ์ไปโดยไม่ได้คิดถึง<br />

ผู้คนแบบนี้ก็เลยเกิดปัญหามากมาย เพราะฉะนั้นบ้านใน<br />

บริบทของแผนพัฒนาเศรษฐกิจอาจจะไม่ใช่สิ่งซึ่งรองรับ<br />

แผนพัฒนาเศรษฐกิจ แต่เป็นร่องรอยแห่งการต่อสู้กับ<br />

แผนพัฒนาเศรษฐกิจก็ได้ด้วยนะครับ แต่ส่วนมากมักจะ<br />

พ่ายแพ้ เพราะฉะนั้นคำถามในเชิงวิชาสถาปัตยกรรม<br />

คือ ถ้าอย่างนั้นสถาปนิกควรตัดสินใจเรื่องนี้อย่างไรใน<br />

การวางทั้งหมดนี้เป็น developmental space แล้วทำ<br />

อย่างนั้นหรือทำอย่างอื่น อะไรเป็นตัวกำหนด หรือถ้า<br />

พูดก็คือ อะไรเป็นอิทธิพลที่เบียดมันอยู่ เพราะมีทั้งรัฐ<br />

และทุนกำกับโลกแห่งการทำงานสถาปัตย์อยู่ สถาปนิก<br />

จะทำอย่างไร จะวางตำแหน่งอย่างไรให้ living space<br />

ยังอยู่ใน place เดิม<br />

อาจารย์กิจโชติ: มันมีเรื่องของ place แล้วก็เรื่อง<br />

ของ space กับ time ที่มันเปลี่ยนแปลงไป ในความ<br />

คิดเห็นของผมนั้น มันเหมือนกับว่าภายในระยะเวลา<br />

70 ปี (พ.ศ. <strong>2489</strong> - <strong>2559</strong>) มันน่าจะพอมีวิธีการในการ<br />

กำหนดตำแหน่งหรือพอจะแจกแจงแบ่งกาลานุกรมได้<br />

อย่างไรบ้างหรือไม่ครับ<br />

อาจารย์ชัยวัฒน์: ในช่วง 70 ปีนั้นมีความน่าสนใจ<br />

ในตัวเอง พอเราเอาช่วงพระชนม์ชีพของรัชกาลที่ 9<br />

ช่วงเวลาที่พระองค์ท่านอยู่ในรัชสมัยเป็นตัวตั้ง สิ่งที่เรา<br />

เห็นก็คือความเปลี่ยนแปลงที่อยู่ในมิติของเวลา 70 ปี<br />

ซึ่งยาวนานประมาณ 3 ช่วงอายุคน อย่างประโยค<br />

“ฉันเกิดในรัชกาลที่ 9” ประโยคนี้คำว่า “ฉัน” เป็นคน<br />

อายุ 2 ขวบก็ได้ เป็นคนอายุ 63 ก็ได้ เกิดในตอนต้น<br />

รัชกาลก็ได้ ตอนกลางก็ได้ เกิดตอนท้ายรัชกาลก็ได้<br />

วิธีที่ประชาชนปฏิสัมพันธ์กับรัชสมัยก็ไม่เหมือนกัน<br />

ในสมัยที่พระองค์ท่านยังทรงศึกษาอยู่ก็เป็นอย่างหนึ่ง<br />

ตอนเริ่มเสด็จนิวัติพระนครก็เป็นอย่างหนึ่ง ตอนเสด็จ<br />

developmental space. The whole country is now a<br />

developmental space based on the development<br />

strategy used. The catch is that housing developed<br />

in a developmental context brings about a different<br />

type of houses. Commercial buildings become people’s<br />

homes. The concept of urban and rural areas and all<br />

sorts of conditions have to be taken into account.<br />

This is because we force ourselves to look at it as<br />

developmental space. Then what about things that<br />

are not a part of this so-called developmental space<br />

but exist in the living space. What is a living space?<br />

Alexander the Great once used the word “living<br />

space”. Space in the king’s point of view is also a<br />

kind of state’s developmental space. The problem of<br />

this type of perception is how do people live in that<br />

context? What happens if people are ignored. Of<br />

course, all sorts of problems will follow. So sometimes<br />

a house is not necessarily a satisfactory product of<br />

the economic development plan, but a trace of its<br />

combat with such a plan. Often times, it loses. The<br />

question is how should architecture approach this<br />

idea of developmental space? What are the influential<br />

factors? In the world driven by state authority and<br />

capitalism, how can architects make sure that the<br />

living space and living place co-exist?<br />

Quijxote: Besides the issue of place and space,<br />

there is also a matter of time and its evolution during<br />

the past 70 years. Is there a way to define it in<br />

chronological manner?<br />

Chaiwat: The 70 -year reign is a very interesting<br />

period of time. We’ve seen so many changes taking<br />

place during the time. 70 years covers the span of about<br />

three generations. The phrase “I was born during the<br />

reign of King Rama IX” is itself problematic. Because<br />

277


ทรงดนตรีก็เป็นอย่างหนึ่ง ตอนที่ทรงพระราชอำนาจ<br />

สูงสุดก็เป็นอย่างหนึ่ง ตอนที่พระองค์ท่านประชวรก็เป็น<br />

อย่างหนึ่ง เพราะฉะนั้นคำกล่าวนี้วางอยู่บนห้วงเวลา<br />

ที่น่าสนใจมาก เพราะช่วยให้เห็นความเปลี่ยนแปลง<br />

ได้อย่างแสนอัศจรรย์ ถ้าพูดถึงบ้าน บางบ้านก็ยอม<br />

เปลี่ยนแปลงไปตามความเปลี่ยนแปลงนี้ บางบ้านก็<br />

ยืนไม่เปลี่ยน ยืนไม่เปลี่ยนเพราะอะไร? ยืนไม่เปลี่ยน<br />

ได้อย่างไร? ผมคิดว่าโจทย์แบบนี้น่าสนใจมากทีเดียว<br />

ถ้าจะพูดจากบ้านตัวเองที่ถนนเดโช สีลม บ้านผมก็อายุ<br />

เกิน 70 ปี เพราะฉะนั้นคำถามที่น่าสนใจคือ เราจะยืน<br />

อยู่ได้อีกนานเท่าใดภายใต้ development plan แบบนี้<br />

ภายใต้การรุกรานจากรัฐโดย development plan หรือ<br />

การรุกรานจากทุนด้วยตึกสูงตึกสมัยใหม่ เราจะอยู่กับ<br />

สิ่งเหล่านี้ได้อย่างไร<br />

อาจารย์กิจโชติ: มันมีสิ่งที่ใกล้เคียงกันอีกสิ่งหนึ่ง<br />

ครับอาจารย์ซึ่งก็คือ ใน 70 ปีที่อาจารย์ได้อธิบายไว้ มัน<br />

ก็มีเวลา 70 ปีของสังคมโลกที่มันเคลื่อนไปพร้อมๆ กัน<br />

โดยเฉพาะช่วง 70 ปีตั้งแต่ในหลวงทรงขึ้นครองราชย์<br />

จนกระทั่งเสด็จสวรรคต มันอยู่ในยุคที่สำคัญอีกยุคหนึ่ง<br />

ที่เรียกกันว่า modernism ความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้<br />

จริงๆ แล้ว ในเชิงรัฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์<br />

นิติศาสตร์ หรือสถาปัตยกรรมแล้ว เราใช้คำเหล่านี้เหมือน<br />

กันบนนัยยะที่อาจแตกต่างกันออกไปบ้างในแต่ละศาสตร์<br />

หรือในแต่ละสาขา โดยเฉพาะคำว่า modernism, post<br />

modernism หรือแม้แต่หลัง After modernism ที่เป็น<br />

Deconstructionism อยากฟังความเห็นของอาจารย์ครับ<br />

เพราะว่าจริงๆ แล้วในเชิงสถาปัตยกรรมนั้นมันเป็นเชิง<br />

เหมือนท้ายน้ำของคำเหล่านี้ ซึ่งเรามักจะเรียนรู้จาก<br />

นักเศรษฐศาสตร์ นักสังคมศาสตร์ นักมานุษยวิทยา<br />

นักรัฐศาสตร์ หลักๆ เลยคนที่บัญญัติคำเหล่านี้ในเนื้อหา<br />

ทางสถาปัตยกรรมส่วนใหญ่ก็จะหยิบยืมคำมาจากศาสตร์<br />

ต่างๆ เหล่านี้ครับ อยากให้อาจารย์ช่วยให้ความเห็นใน<br />

ความเปลี่ยนแปลง 70 ปีที่ผ่านมาที่มันเกี่ยวโยงกับคำ<br />

4 คำนี้คือ modern, postmodern, After modern และ<br />

Deconstruction ครับ<br />

อาจารย์ชัยวัฒน์: คือผมเข้าใจแบบนี้นะครับ เอา<br />

คำว่า modern ก่อน คำอื่นๆ เป็นคำที่พัฒนาต่อมา<br />

จากคำนี้ คำว่า modern ก็เป็นคำโบราณ เพราะใน<br />

ยุคเดิมสิ่งที่เขาทำก็คือ เขาแบ่งเป็น ancient กับ<br />

modern ยุคโบราณกับยุคใหม่ สิ่งที่เรียกว่าใหม่คืออะไร<br />

the person can be 2 years old or 63 years old. They<br />

could be born during the beginning, the middle, or the<br />

end of the reign. Everyone has different interactions<br />

with the reign. When the King was a young student,<br />

when he returned to his homeland, when he was<br />

playing music to university students at Thammasat<br />

or Chulalongkorn, when he reigned supreme or when<br />

he was ill, people reacted to those times differently.<br />

It is so interesting that these changes are unfolded in<br />

the most magical way. Some houses adapted to the<br />

change. Some did not. Why and how did they remain<br />

unchanged? I think it’s such an interesting question.<br />

My own house on Decho road in Silom area is over<br />

70 years old. How long can we keep it unchanged in<br />

the context of economic changes, notwithstanding<br />

intrusions from government’s regulations and<br />

capitalists’s money that come in the forms of big tall<br />

buildings almost everywhere in the city. How can we<br />

live together with that?<br />

Quijxote: During the King Rama IX’s 70 years<br />

reign, the world was also evolving. One of the important<br />

movements is Modernism, which is widely recognized<br />

though somewhat used differently in many fields of<br />

studies like political theory, social studies, economics,<br />

and law, from which architecture borrows these<br />

philosophical terms. From modernism, postmodernism,<br />

after -postmodernism, and deconstructionism, how<br />

do you think the changes in the past 70 years are<br />

related to these 4 ideas?<br />

Chaiwat: From my understanding, every term is<br />

the offspring of the word “modern”, which is an old<br />

word. In the old days, things were categorized as<br />

“ancient” and “modern”. Where did the modern age<br />

start is one of the most important questions in human<br />

278


ยุคใหม่ของโลกเริ่มตอนไหนกลายเป็นคำถามสำคัญใน<br />

ประวัติศาสตร์อารยธรรมมนุษย์ เพราะมันเป็นผลรวม<br />

ของความเปลี่ยนแปลงทางอารยธรรมหลายอย่าง เช่น<br />

ถ้าคุณเอา renaissance เป็นจุดเปลี่ยนที่สำคัญ คุณก็<br />

กำลังพูดถึงคริสต์ศตวรรษที่ 15-16 ซึ่งอันนี้ในฝั่งยุโรป<br />

เพราะในฝั่งอาหรับคริสต์ศตวรรษที่ 9 ก็ใช่แล้ว เพราะ<br />

ในแบกแดดมีการผ่าตัดต้อกระจกเกิดขึ้นแล้วในโลก<br />

อาหรับแต่ในยุโรปเวลานั้นยังทำไม่ได้<br />

ผมคิดว่าถ้าพูดถึงความเป็น modern ทางสังคมศาสตร์<br />

เขาก็จะบอกว่ารัชสมัยที่ทำให้สังคมไทย modern ไม่ใช่<br />

รัชกาลที่ 9 แต่เป็นรัชกาลที่ 5 สิ่งที่รัชกาลที่ 5 ทรงทำ<br />

ก็คือ modernize ของหลายสิ่งในประเทศนี้ โดยเฉพาะ<br />

อย่างยิ่งเรื่องการศึกษา เรื่องสถาปัตยกรรม เรื ่องการ<br />

ก่อสร้าง เรื่องสาธารณูปโภค ทั้งหมดนี้อยู่ในบริบทของ<br />

การสถาปนารัฐชาติไทยขึ้นซึ่งเพิ่งเกิดในสมัยรัชกาลที่ 5<br />

เพราะฉะนั้นรัฐชาติเป็นของ “ใหม่” เป็นสิ่งสร้างในสมัย<br />

modern ก่อนหน้านั้นไม่ใช่ ถ้าพูดอย่างนี้ถูกก็หมายความว่า<br />

รัชกาลที่ 5 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกที่พา<br />

สยามเข้าสู่ความเป็นโมเดิร์น<br />

มักอธิบายความสำคัญของในหลวงรัชกาลที่ 5 ทาง<br />

สังคมศาสตร์ว่าคือ การปฏิรูปราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2346<br />

อีกอันหนึ่งก็คือ การที่พระองค์ท่านต้องตกลงกับฝรั่งใน<br />

ยุคอาณานิคมทั้งอังกฤษและฝรั่งเศส เพื่อกำหนดขอบ<br />

ขัณฑสีมาประเทศ แล้วทรงทำสัญญากับฝรั่งเศสทาง<br />

ทิศตะวันออก และอังกฤษทางทิศตะวันตกและทิศใต้<br />

เพื่อให้ร่างของประเทศปรากฏขึ้น เพราะฉะนั้นที่อยู่<br />

place ของคนไทยคนสยามมันก็เลยกลายเป็น National<br />

space ผ่านข้อกำหนดแบบนี้ อันนี้ก็เป็นโมเดิร์น ก่อน<br />

หน้านี้ไม่เป็น ในสมัยโบราณภูมิศาสตร์ที่มีอยู่เป็น<br />

ภูมิศาสตร์ศักดิ์สิทธิ์ เช่น การเดินทางของเทพเทวดา<br />

หรือการเดินทางของพระพุทธองค์ คนเชื่อว่ามีรอย<br />

พระพุทธบาทที่สระบุรี สำหรับคนโบราณแล้วไม่แปลก<br />

แต่ทั้งหมดนี้เปลี่ยนหมดเลยในยุคโมเดิร์น แล้วเหตุผล<br />

ที่อาจารย์ถามว่าข้อแตกต่างคืออะไร สำหรับผมก็คือ<br />

ความศักดิ์สิทธิ์ที่หายไป อาการของ modernity คือการ<br />

ที่ความศักดิ์สิทธิ์ซึ่งหายไปถูกทดแทนด้วยความรู้ ส่วน<br />

มากเป็นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เป็นความรู้ที่พิสูจน์ได้<br />

เช่น การที่สรรพสิ่งตกสู่พื้นโลก ในอดีตอาจจะเห็นเป็น<br />

เรื่องอัศจรรย์ของเทพเทวดา แต่ตอนนี้ถูกแทนด้วย<br />

กฎแรงโน้มถ่วงของนิวตัน อันนี้ก็คือลักษณะโมเดิร์นที่<br />

เปลี่ยนแปลงไป พอเป็นเช่นนี้ modernity ก็ครอบคลุม<br />

ชีวิตของคน แล้วเพื่อทำให้ modernity ชัดเจนการแบ่ง<br />

civilization. If we are to take Europe’s renaissance<br />

era in the 15th or 16th century as the defining point<br />

of modern age, we also have to keep in mind that the<br />

Arabs were far more advanced. Cataract operation<br />

was done in Baghdad since the 9 th century.<br />

Sociologically, many would argue that Thailand<br />

became modern not in the reign of King Rama IX,<br />

but in the reign of King Rama V. He modernized the<br />

country in many ways, from education, architecture,<br />

building and construction, and infrastructure, as a<br />

part of the modern nation state project that was first<br />

concocted during that time. Nation state is a new<br />

thing and a modern idea. I think we can say that King<br />

Rama V is the first King that led Siam to become a<br />

modern nation-state.<br />

Chaiwat: Some of King Rama V’s most outstanding<br />

accomplishments were the Government Reformation<br />

in 1803 and border demarcation negotiation with the<br />

then imperial power of France and Britain. He wrestled<br />

with France on the eastern border and England in the<br />

west and the south. As a consequence, the place<br />

of Thai people became a national space. This also<br />

happened in the modern age.<br />

In the old days, sacred landmarks were used<br />

in geography. Travel routes of the gods or Lord<br />

Buddha’s passage were important, for example, the<br />

Buddha’s footprint in Saraburi. All these changed<br />

when we turned modern. And what’s missing is the<br />

idea of sacredness. It’s been replaced by verifiable<br />

“scientific” knowledge. In the past, things falling to the<br />

ground could be perceived as the magical act of gods.<br />

Now it’s been replaced with Newton’s laws of gravity.<br />

Modernity has taken over. For a pronounced concept<br />

279


ประเภทก็ต้องชัดเจน ที่นี้พอชีวิตมนุษย์เปลี่ยนแปลง<br />

มากขึ้นสิ่งที่แบ่งชัดเจนมากก็เริ่มมีปัญหา คือในโมเดิร์น<br />

ต้องชัดเจน เช่น คุณสองคนเป็นผู้หญิง เราสองคนเป็น<br />

ผู้ชาย แต่พอคุณเคลื่อนไปผ่านเวลาที่เปลี่ยนแปลงไป<br />

ความเป็นเพศเริ่มไม่เสถียร เลยเริ่มไม่แน่ใจที่จะบอกว่า<br />

เป็นหญิงหรือชาย เลยต้องทำให้เส้นแบ่งเป็นสองเพศที่<br />

เคยแน่นอนชัดเจนอ่อนจางลง ดังนั้น Deconstruction<br />

ก็คือ Deconstruct ของสิ่งซึ่งมันแน่นอน ชัดเจน เพราะ<br />

“ความจริง” มันไม่ค่อยชัดแล้ว แล้วตัววิทยาศาสตร์ก็<br />

พิสูจน์ว่าในตัวเรามีทั้งชายและหญิง ความรู้เดิมก็ถูกตั้ง<br />

คำถาม สิ่งที่เรียกว่าความเป็นชายหรือหญิงที่แน่นอน<br />

เริ่มมีปัญหา สิ่งต่างๆ พวกนี้เริ่มมีปัญหารวมถึงความ<br />

เป็นไทยด้วย เพราะฉะนั้นมาถึงวันนี้สิ่งที่คุณจะเรียกว่า<br />

สถาปัตยกรรม “ไทย” ก็ค่อนข้างตลก<br />

ถ้าถามว่าสิ่งที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 คืออะไร<br />

ในความเห็นของผมสิ่งที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 คือ<br />

ใช่ พระองค์ modernize ประเทศนี้ แต่ความสามารถ<br />

ของพระองค์คือ ความสามารถของการผนวกผสาน<br />

เก่าและใหม่ให้เข้ากันสนิท สิ่งที่เห็นชัดคือเห็นผ่าน<br />

งานสถาปัตยกรรม เช่น พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท<br />

เป็นตัวอย่างของการที่เอาของโบราณกับของสมัยใหม่<br />

มาอยู่ด้วยกันได้ แต่อย่างพระที่นั่งอนันตสมาคมไม่ใช่<br />

เป็นการยกสถาปัตยกรรมแบบฝรั่งมา เพราะฉะนั้นโจทย์<br />

ของพัฒนาการของประเทศเราตลอดมาก็คือการต่อสู้กัน<br />

ระหว่างตึกสองแบบ คือตึกแบบพระที่นั่งอนันตสมาคม<br />

กับตึกแบบพระที่นั่งจักรี ลานแบบลานพระบรมรูปทรง<br />

ม้าที่เหมือนของฝรั่งเศสกับลานแบบริมคลอง ลักษณะ<br />

แบบนี้ต่อสู้กันในสังคมไทย สิ่งที่ถูกม้วนเข้าไปในความ<br />

เปลี่ยนแปลงและการต่อสู้นี้ก็คือ ชีวิตของคนไทยเอง<br />

ซึ่งแปรเปลี่ยนไปในบริบทของการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้<br />

อาจารย์กิจโชติ: อาจารย์ถ่ายทอดเกี่ยวกับรัชกาล<br />

ที่ 5 ที่มีการเผชิญหน้ากันระหว่างแนวคิดที่เป็นของ<br />

สยามประเทศกับแนวคิดของตะวันตกโดยยกตัวอย่าง<br />

ผ่านสถาปัตยกรรม จริงๆ แล้วกลับทำให้ผมรู้สึกได้ว่า<br />

ด้วยวิธีการเหล่านั้นในยุคนั้นมันตรงกับเนื้อหาวิธีการ<br />

แบบ postmodernism ก่อนที่จะเป็นยุคของ postmodern<br />

จริงๆ มั้ยครับ คือวิธีการคิดดังกล่าวมันตรงกับวิธี<br />

การที่ฝรั่งบัญญัติยุคหนึ่งว่า postmodern คือการหวน<br />

กลับไปหารากของวัฒนธรรมบางประเภทในอดีตที่มี<br />

ประสิทธิภาพเพียงพอในการถูกหยิบยกขึ้นมาให้ชัดเจน<br />

อีกครั้งผ่านการตีความกับมัน<br />

of modernity, categorization has to be clear-cut. Once<br />

“man” and “woman” was very clearly defined, but<br />

as human society becomes more advanced, the line<br />

separating one category from another has become<br />

increasingly blurred. Gender is no longer definite.<br />

Ambiguity is starting to be a norm. The line used to<br />

categorize the two sexes begins to fade. The concept<br />

of deconstruction works with things that are definite.<br />

But since our reality is no longer clearly defined, how<br />

do we deconstruct it now? Science has proved that<br />

there are both masculinity and femininity in all of us.<br />

Traditional gender categorization is now challenged.<br />

It’s the same thing with Thainess. It’s almost ridiculous<br />

to pinpoint something as “Thai” architecture now.<br />

Yes, King Rama V modernized this country. But I<br />

think the most outstanding achievement was his talent<br />

to seamlessly blend the old and the new. And it showed<br />

in architecture. Chakri Maha Prasat Throne Hall is a<br />

great example of the old merging with the new. On the<br />

other hand, Ananta Samakhom Throne Hall is purely<br />

western architecture. The development of this country<br />

has always been a duel between the Ananta Samakhom<br />

and the Chakri Maha Prasat types of building, or the<br />

French-influenced King Rama V Equestrian Statue<br />

patio and the Thai-style yard along the canal. Amid the<br />

battling out between these two sets of idea, the lives of<br />

Thai people inevitably have to change.<br />

Quijxote: You talked about the clash of Thai<br />

culture and western culture as shown in architecture.<br />

It seems to me that this is a very postmodern concept<br />

that happened long before the idea of postmodernism<br />

was conceived. As postmodern is once described as<br />

going back to the culture that is efficient enough to<br />

be reinterpreted.<br />

280


อาจารย์ชัยวัฒน์: คือผมมีปัญหากับคอนเซ็ปต์แบบนี้<br />

คือคำว่า postmodern เองมันก็มีปัญหา คำว่า modern<br />

เองมันก็มีปัญหา คำว่า postmodern ที่ ฌอง-ฟรังซัวร์<br />

ไลโอตารด์ (Jean-François Lyotard) ใช้มาตั้งแต่ต้น<br />

กำลังอธิบายว่า สิ่งที่เคยใช้อธิบายสิ่งต่างๆ ในยุคก่อน<br />

ที่เป็นเรื่องเล่าขนาดใหญ่มีโครงเรื่องเป็นรูปแบบชัดเจน<br />

เริ่มมีปัญหาแล้วจะกลับไปคิดแบบนั้นไม่ได้ เหมือนกับ<br />

เรื่องเล่าของสังคมไทยที่บอกว่า ประเทศไทยมีอายุตั้งแต่<br />

700 ปีที่ผ่านมาเป็นช่วงต่อกันอย่างสนิทระหว่างสุโขทัย<br />

อยุธยา และรัตนโกสินทร์ เริ่มฟังไม่ขึ้น เหตุผลก็คือว่า<br />

สิ่งที่เรียกว่า “ไทย” เองไม่เสถียร หากแปรเปลี่ยนอยู่เสมอ<br />

เมื่อมีคำถามเกิดขึ้นตัวตนเลยไม่รู้จะไปอยู่ตรงไหน แต่นี่<br />

ผมคิดว่าไม่ใช่รัชกาลที่ 5 ผมคิดว่าในสมัยรัชกาลที่ 5<br />

สิ่งที่เกิดขึ้นก็คือการ redefine ตัวตนใหม่ แต่พระองค์ท่าน<br />

ก็มีตัวตนที่ค่อนข้างนิ่งแต่เปิดรับสิ่งที่เข้ามาหลากหลาย<br />

หลักฐานก็คือ นโยบายของพระองค์ท่านที่พระองค์<br />

ท่านไม่เคยเรียกร้องชนกลุ่มน้อยให้เข้ามาเป็นคนไทย<br />

เหตุผลของพระองค์ท่านก็คือเราเป็นคนไทยได้หลายแบบ<br />

ถ้าคุณเป็นแขกก็เป็นแขกไปแต่ในเวลานั้นก็ไม่ใช่เรื่องที่<br />

เป็นปัญหา แต่จะมาเป็นปัญหาหลังมีการสถาปนาความ<br />

เป็นไทยที่แข็งตัวขึ้นในสมัยหลังคือ ช่วงหลังจอมพล ป.<br />

ซึ่งเป็นช่วงปลายรัชกาลที่ 8 ต่อต้นรัชกาลที่ 9<br />

อาจารย์กิจโชติ: ในรัชสมัยของรัชกาลที่ 9 ถ้า<br />

เปรียบเทียบกับตัวอย่างในช่วงรัชสมัยของรัชกาลที่ 5<br />

ดังที่อาจารย์ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นนั้นมีความเหมือน<br />

หรือความต่างกันอย่างไร<br />

อาจารย์ชัยวัฒน์: ต่างกัน ผมคิดว่าในสมัยรัชกาล<br />

ที่ 5 ศูนย์กลางของการสถาปนาความเปลี่ยนแปลง<br />

ถูกรวมศูนย์อยู่ที่พระองค์ท่าน เพราะฉะนั้นเราไม่ใช่<br />

สมบูรณาญาสิทธิราชย์มาตั้งแต่เริ่มแรก เรามาเป็น<br />

สมบูรณาญาสิทธิราชย์ก็ในสมัยรัชกาลที่ 5 ไม่ใช่ก่อน<br />

หน้านั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ความสามารถของพระองค์ท่าน<br />

คือ ความสามารถที่จะจำลองรัฐชาติไทยใหม่ ที่ใหม่เท่า<br />

ที่ต้องสู้กับฝรั่ง แต่ในแง่ประเพณียังคงอยู่แทบทั้งหมด<br />

แล้วพระองค์ท่านก็ transform เรื่องพวกนี้เข้าสู่ตัวพระ<br />

องค์ท่าน แล้วพระองค์ท่านก็ปรากฏตัวในฐานะสิ่งเหล่านี้<br />

เพราะฉะนั้นความน่าสนใจของรัชกาลที่ 5 ในความเห็น<br />

ของผมคือว่า เรื่องกฤษดาภินิหารของพระองค์ท่านก็อยู่<br />

ได้กับความเป็นโมเดิร์นอย่างค่อนข้างแนบสนิท ทางด้าน<br />

หนึ่งท่านก็พัฒนาประเทศให้เป็นสมัยใหม่ ในอีกด้าน<br />

Chaiwat: Actually I have a problem with these<br />

concepts, with the terms “postmodern” or “modern”.<br />

Jean-Francois Lyotard explained that the traditional<br />

knowledge used to describe a metanarrative has become<br />

obsolete. We can no longer use this method. We’ve<br />

been taught that all through 700 years of history, the<br />

Sukothai, Ayutthaya, and Rattanakosin periods have<br />

followed each other consecutively without interruptions.<br />

Now that is not convincing anymore. Because the<br />

characteristics of “Thai” kept changing. So what is<br />

our sense of self and where do we stand? I feel that<br />

King Rama V redefined our identity. I think he knew<br />

who we were as Thai people but he opened up to new<br />

things. The proof of this is he never demanded the<br />

minorities to convert. Because you can be Thai no<br />

matter what nationalities. For example, you can be a<br />

Thai who’s an Indian descendant. The issue of “being<br />

Thai” only became a problem after the nationalism<br />

craze originated by the Field Marshal Pibunsongkram’s<br />

government during the last years of King Rama VIII<br />

to the early years of King Rama IX.<br />

Quijxote: How is King Rama V’s period different<br />

from King Rama IX’s period?<br />

Chaiwat: I think for King Rama V, he was the<br />

center of all changes. Thailand was not an absolute<br />

monarchy state in the beginning. I think the regime<br />

only started in the reign of King Rama V. He was so<br />

brilliant in establishing the modern Thai nation-state<br />

to leverage with colonialism, while keeping most<br />

traditions intact. He even portrayed himself as the<br />

symbol of this belief. Stories of his magical powers<br />

and the country’s modernization go together almost<br />

seamlessly. In a way, he modernized the country.<br />

But in another way, he still endorsed people’s need<br />

281


ก็คงความวิเศษอัศจรรย์เหล่านั้นไว้ ยายผมซึ่งเกิดใน<br />

แผ่นดินพระพุทธเจ้าหลวงเคยเล่าให้ฟังว่าตอนมีไฟไหม้<br />

สำเพ็ง รัชกาลที่ 5 เสด็จฯ แล้วพระองค์ก็ทรงทำให้ไฟดับ<br />

ด้วยการชักพระแสงและโบก ลองคิดถึงบุคคลซึ่งสร้าง<br />

สิ่งต่างๆ ที่เป็น “สมัยใหม่” แต่ขณะเดียวกันผู้คนกลับ<br />

เชื่อว่าพระองค์ท่านทรงดับเพลิงด้วยพระแสงแทนที่จะ<br />

เป็นใช้น้ำฉีดเข้าไป อย่างนี้น่าสนใจ คือท่านรู้ว่าท่านเป็น<br />

อะไร ท่านอยู่ได้ทั้งสองโลก จะทรงเครื่องแบบฝรั่งก็ได้<br />

หรือแต่งแบบไทยก็ได้ ทำให้เห็นว่าสองอย่างนี้อยู่ด้วย<br />

กันได้ ซึ่งไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 9 เหตุผล<br />

สำคัญก็คือว่าตั้งแต่ต้นรัชกาล บทบาทของพระเจ้าอยู่หัว<br />

ต่อการพัฒนาประเทศในแง่ของ space ผมไม่คิดว่า<br />

เหมือนในสมัยรัชกาลที่ 5 เพราะโครงสร้างของรัฐเปลี่ยน<br />

พระองค์ทรงกลายเป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ<br />

แล้วตัวละครอื่นๆ ที่เล่นก็เล่นตามบทอีกหลายอย่าง<br />

อย่างเช่นต้องทำตามรัฐบาลในเวลานั้น ต้องทำตาม<br />

อิทธิฤทธิ์ของมหาอำนาจอย่างสหรัฐอเมริกา ต้องทำ<br />

ตามความรู้สมัยใหม่ที่ปรากฏชัดเจนขึ้นเรื่อยๆ จึงออกมา<br />

เป็นการวางแผนในเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจ ผมเข้าใจว่า<br />

ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีพระบรมวงศานุวงศ์ไปเรียนเมืองนอก<br />

แต่ไม่มีใครที่เรียนด้านเศรษฐศาสตร์มาเลย แต่ใน<br />

สมัยรัชกาลที่ 9 การเดินทางไปเรียนในต่างประเทศ<br />

มีหลายหลายสาขามากขึ้น ซึ่งก็เป็นผลมาตั้งแต่หลัง<br />

เปลี่ยนแปลงการปกครองมีทั้งออกแบบ เศรษฐศาสตร์ ฯลฯ<br />

ความน่าสนใจก็คือว่า ในเวลาต่อมาสิ่งที่จะเชื่อมร้อยให้<br />

กลับมาเป็น postmodern เลยไม่ค่อยมี<br />

อาจารย์กิจโชติ: วิธีการเหล่านี้ในความเป็น modern<br />

และ postmodern แบบนี้นั้นเป็นแบบเดียวกับที่เกิด<br />

ขึ้นในสังคมโลกโดยทั่วไปไหมครับ ยกตัวอย่างเช่น<br />

ภาพรวมของโลกที่มันมีการกำหนดยุคเป็น modern<br />

postmodern โดยเฉพาะยุคคริสต์ทศวรรษ 1950 และ<br />

1960 ที่เป็นโมเดิร์น พอมายุคคริสต์ทศวรรษ 1980<br />

ก็เป็น postmodern แล้วพอยุคคริสต์ทศวรรษ 1990<br />

ก็เป็น deconstruction ครับ<br />

อาจารย์ชัยวัฒน์: สิ่งที่ผมลังเลเล็กๆ ก็คือว่า เวลา<br />

เราใช้ concepts เหล่านี้ มันมีที่มาที่ไป แต่ผมกำลังคิด<br />

ว่าถ้าผมเป็นฮินดู concept นี้สงสัยจะใช้ไม่ได้ เพราะใน<br />

บางครั้งพระศิวะและพระแม่อุมาก็ปรากฏตัวรวมกันก็ได้<br />

คือในสังคมฮินดูการผนวกรวมอะไรต่างๆ แบบแนวคิด<br />

หลังสมัยใหม่เกิดขึ้นมานานแล้ว ดังนั้นสำหรับในอินเดีย<br />

to believe in miracles. My grandmother who lived<br />

during his reign told me about a fire in Chinatown<br />

(Sampeng). The King put out the fire simply just by<br />

raising and waving his sword. Think about it. This<br />

person who led the country to modernism is the<br />

same one people believed that he could put out the<br />

fire with his royal sword. This is so interesting. He<br />

knew who he was. He lived in both worlds. He could<br />

don western attire as comfortably as Thai garments.<br />

It shows that these two things can co-exist, which<br />

is not quite the case in King Rama IX period. I think<br />

it’s because the role of the King in the country’s<br />

development had changed. State structure is no longer<br />

the same as during King Rama V’s time. The regime<br />

had changed to constitutional monarchy. The King<br />

had to be under the constitution. Other characters<br />

had to act along scripts given by the government at<br />

the time, directed by a big player like the US. New<br />

knowledge was formulated into economic development<br />

strategies. King Rama V sent his children to study<br />

abroad but I think none of them studied economics.<br />

But in the realm of King Rama IX, people started to<br />

go abroad studying a wider range of subjects including<br />

economics as a result of the revolution. Now that the<br />

time had passed, it became less and less relevant<br />

from the postmodern perspective.<br />

Quijxote: Do you think it’s consistent with modern<br />

and postmodern movements that happen in other parts<br />

of the world? That the 50s and 60s are defined as<br />

modern, 80s as postmodern and 90s as deconstruction.<br />

Chaiwat: I’m a bit reluctant to define things with<br />

these terms. Because if I’m a Hindu, these concepts<br />

won’t apply. In Hindu culture, Shiva and Uma sometimes<br />

are considered as one. Merging things or blurring<br />

282


เรื่องพวกนี้ไม่มีอะไรประหลาด คือสิ่งนี้ประหลาดสำหรับ<br />

ฝรั่งแต่ไม่ประหลาดสำหรับคนอีกกลุ่มหนึ่ง ผมก็เลยไม่<br />

แน่ใจและคิดว่า concepts เหล่านี้มีประโยชน์ก็จริงแต่ถ้า<br />

วางมันกลับมาใน space ที่อาจจะเป็นจริง เราก็จะเห็น<br />

ของอีกแบบหนึ่งซึ่งน่าจะอยู่ร่วมกันในบางลักษณะได้<br />

อาจารย์กิจโชติ: ในทางสถาปัตยกรรมมักกำหนดรูป<br />

แบบทางสถาปัตยกรรมเป็น modern เป็น postmodern<br />

เป็น deconstruction หรือ after อย่างในปัจจุบันก็ยัง<br />

คงมีการถกเถียงกันอยู่ว่าเป็นยุคไหนกันแน่ หรือมันคือ<br />

ความหมายอะไรกันแน่ครับ<br />

อาจารย์ชัยวัฒน์: ผมกลับเข้าใจว่าแนวทางการใช้<br />

สิ่งเหล่านี้มาจากวิชาสถาปัตยกรรมตั้งแต่ต้น คือวิชา<br />

ต่างๆ ยืมมา สำหรับสถาปนิกส่วนใหญ่เรื่องเหล่านี้น่าจะ<br />

ชัดเพราะเป็นเรื่องที่สัมพันธ์กับความจำเป็น อย่างเช่น<br />

ถ้าคุณอยู่ในเขตร้อนการออกแบบบ้านก็ต้องสัมพันธ์กับ<br />

ความเป็นจริงของเขตร้อน ถ้าเป็นอย่างอื่นคงลำบาก จน<br />

กระทั่งเทคโนโลยีพัฒนาไปมีแอร์ คุณก็สร้างบ้านอีกแบบ<br />

หนึ่ง คือสามารถแบ่งยุคสถาปัตยกรรมได้ เพราะการแบ่ง<br />

ยุคเหล่านั้นตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมและวิธีที่มนุษย์อยู่<br />

กับสิ่งแวดล้อมซึ่งเปลี่ยนไปตามเงื่อนไขของข้อเท็จจริง<br />

วิธีที ่มนุษย์อยู่กับสิ่งแวดล้อมจะขอเรียกง่ายๆ ว่า<br />

เทคโนโลยี เพราะฉะนั้นเมื่อเอาของสองอย่างมาอยู่ด้วยกัน<br />

การออกแบบก็แปรผันตามของพวกนี้<br />

อาจารย์กิจโชติ: แต่มันมักจะถูกกำหนดโดยรูปแบบ<br />

แล้วจึงนำไปโยงเข้ากับคำศัพท์ที่เป็นยุคต่างๆ เหล่านี้<br />

แล้วทุกคนมักจะพูดว่าเป็นการนำเอามาจากมานุษยวิทยา<br />

บ้าง หรือไม่ก็สังคมวิทยาบ้าง หรือไม่ก็เป็นรัฐศาสตร์ครับ<br />

มันเหมือนกับว่าในเชิงสถาปัตยกรรม สมมุติว่าออกแบบ<br />

บ้านหลังหนึ่งขึ้นมา ถ้ามันมีรูปแบบที่ทำการลดทอนราย<br />

ละเอียดก็จะถูกกำหนดว่าเป็นยุคโมเดิร์น ถ้ามียุคที่เป็น<br />

เหมือนเอารูปแบบในอดีตมาตีความใช้ใหม่ก็จะถูกบอก<br />

ว่าเป็น postmodern เพราะว่ามันเป็นยุคที่คนเริ่มเบื่อ<br />

โมเดิร์นที่ต่างก็ต้องทำตามรูปแบบ จึงทำให้มันเหมือนกัน<br />

เกือบทั้งโลก เริ่มเรียกร้องเรียกหาอัตลักษณ์ส่วนเฉพาะของ<br />

ความเป็นถิ่นที่ขึ้นมา ดังนั้นเมื่อมีรูปแบบสถาปัตยกรรม<br />

ที่เพิ่มขึ้นมาจากความเรียบง่ายของโมเดิร์นก็จะถูกเรียก<br />

ว่า postmodern มาถึง deconstruction มันก็จะเป็นยุคที่<br />

เมื่อ postmodern ดำเนินมาถึงจุดหนึ่งแล้วทุกคนเริ่มคิด<br />

เริ่มมีคำถามต่อรูปแบบอีกครั้งว่าแล้วรูปแบบของมันจะ<br />

lines dividing different or opposing categories is not<br />

a new thing in India. It’s happened long before these<br />

concepts were conceived. I agree that these concepts<br />

have their own merits. But in some particular space<br />

or setting, some seemingly opposite things can exist<br />

together in a certain manner.<br />

Quijxote: In architecture, we also categorize<br />

it as modern, postmodern, deconstruction, and<br />

afterdeconstruction. People are still debating as to<br />

which category today architecture should be and<br />

what it means.<br />

Chaiwat: On the contrary, I think these concepts<br />

originate from architecture to begin with. It should<br />

be very obvious to architects because it’s related to<br />

existing conditions. If you live in a tropical country,<br />

your house has to be designed in consistent with the<br />

realities of the tropics. It would not work otherwise. But<br />

since technology evolved, air-conditioner was invented,<br />

the house also changed. I think architecture can be<br />

categorized based on time. Because architectural<br />

characteristics are responsive to both the physical<br />

and temporal environment. And how men live with the<br />

environment is changeable in relation to conditions of<br />

reality. It is “technology” that respond to the challenges<br />

of how people live in different environments. When these<br />

two things are put together, it has an effect on design.<br />

Quijxote: But it’s usually defined by its look first,<br />

then categorized with those borrowed terms. For<br />

example, we design a house. If it looks minimal, it’s<br />

categorized as modern. If it looks like a reinterpretation<br />

of something in the past, it’s labelled as premodern?.<br />

Because people started to be fed up with modern<br />

designs that follow the same pattern everywhere and<br />

283


คงอยู่ต่อไปถึงไหน เพราะฉะนั้นในสถาปัตยกรรมมันจึง<br />

มีการแบ่งยุคตามรูปแบบเช่นนี้ แล้วมันก็ถูกโยงกลับไป<br />

บางส่วนในรูปแบบบ้านที่เคยถูกกำหนดกันมาในแง่มุม<br />

ของสถาปัตยกรรมครับ<br />

70 ปีของในหลวง ร.9 มันชัดมากว่า ยุคเริ่มต้นมัน<br />

เป็นช่วงเวลาที่สัมพันธ์กับยุคโมเดิร์นของฝรั่ง ยุคกลางๆ<br />

ก็จะเป็นยุค postmodern โดยเฉพาะตอนท้ายๆ รัชกาล<br />

ก็จะเป็นยุค deconstruction ในส่วนสถาปัตยกรรมก็จะมี<br />

องค์ประกอบที่เหมือนปะติดปะต่อการทำงานตีความใหม่<br />

ในตัวของมันเองครับ ที่นี้มันเลยดูว่า คำศัพท์ในการ<br />

กำหนดยุคกำหนดรูปแบบดังที่อาจารย์ให้ความเห็นเอาไว้ว่า<br />

ในเชิงสถาปัตยกรรมมันชัด แต่ทางสถาปัตยกรรมเองก็<br />

จะบอกว่าเป็นการนำมาหรืออ้างอิงมาจากศาสตร์อื่นครับ<br />

อาจารย์ชัยวัฒน์: ผมคิดว่าไม่ว่ามันจะมาจากที่ไหน<br />

แต่คนที่จะต้องคิดเกี่ยวกับเรื่องนี้มากหน่อยคือสาขาทาง<br />

สถาปัตยกรรม เหตุผลก็คือว่า สมมุติว่าเราต้องออกแบบ<br />

บ้าน คุณจะออกแบบอย่างไร คุณต้องถามว่าบ้านหลังนี้<br />

อยู่ที่ไหน คือ place ของบ้านสำคัญ พอ place ของบ้าน<br />

สำคัญ environment ของบ้านก็สำคัญ ถ้า environment<br />

กับ place ของบ้านสำคัญก็ต้องถามต่อไปว่า เจ้าของ<br />

บ้านต้องการอะไรด้วย resources มีแค่ไหนคือมันมีเหตุ<br />

ปัจจัย แต่ถึงให้ resources มากขนาดไหน สมมุติว่า<br />

resources มีมากในระดับหนึ่งซึ่งคุณสามารถออกแบบ<br />

บ้านให้มัน transcend geography ของมันได้หรือไม่<br />

คำตอบคือได้แต่คงต้องแพงมาก สถาปัตยกรรมแบบนั้น<br />

ก็เลยไม่ใช่ตัวแทนของยุคสมัย ไม่ใช่ตัวแทนของชีวิตและ<br />

ความเป็นจริงไง มีตัวอย่างที่ดีอย่างในซาอุดิอาระเบียมี<br />

ความสามารถที่จะทำให้อากาศในพื้นที่เย็นโดยใช้ก้อน<br />

น้ำแข็งทำให้อุณหภูมิในนั้นมันลดลง ถามว่าทำแบบนี้<br />

ทำได้หรือไม่ ทำได้นะแต่ราคาสูง ที่นี้พอราคาสูงเลย<br />

มีโจทย์อื่นๆ ที่ตามมาอีกเยอะเลย แต่ผมว่าอันนี้ชี้ว่ายุค<br />

สมัยหนึ่งๆ ทำอะไรให้เป็นไปได้บ้าง แต่มันไม่ใช่ตัวแทน<br />

ของยุคสมัย เพราะถ้าจะให้เป็นตัวแทนภาพสะท้อนสังคม<br />

นั้นๆ คงต้องแปรผันไปตามสภาพแวดล้อม ถ้าอยู่ในดิน<br />

แดนที่มีแต่ฝนตก หลังคาก็ควรจะเป็นแบบหนึ่ง แต่จะไม่<br />

เป็นอย่างนั้นได้หรือไม่ ก็สามารถทำได้เหมือนกันแต่ต้อง<br />

มีเงื่อนไขอื่นมาประกอบ ยิ่งเวลาต่อไป resource ต่างๆ<br />

จำกัด ผมคิดว่ามันจะจำกัดทางเลือกมากขึ้น เช่น ราคา<br />

ที่ดินสูง space จำกัด คุณคอยดูต่อไปผมคิดว่าโอกาสที่<br />

อาคารสาธารณะจะมีห้องสำหรับหญิงและชายแยกกันจะ<br />

มีลดลง ผมไม่คิดว่ามันเป็นแบบนี้เพราะ postmodern<br />

demanded to see local individuality. Everything that’s<br />

embellished beyond the simplicity of modernism was<br />

then called postmodern. After a while, people started<br />

to question how long the postmodern design can go<br />

on. Therefore, deconstruction movement happened.<br />

This is why and how architecture is categorized.<br />

It’s quite obvious that the beginning of King Rama<br />

IX’s 70 years reign is the same period as modern age<br />

in the West. The midlife phase is postmodern. And<br />

his later years coincided with deconstruction period.<br />

In architecture, we interpret these terms in our own<br />

way. Although you said that it’s an obvious thing for<br />

architects, but we still think of them as borrowed terms.<br />

Chaiwat: No matter where they’re from, I think<br />

the field that needs to pay a lot of attention to it is<br />

architecture. When designing a house, an important<br />

question that needs to be asked is where is the<br />

house? Place of the house is important. Environment<br />

of the house is also important. Then the next<br />

questions are what does the home owner want? And<br />

what are the resources available? If there’s a bucket<br />

load of resource, can you design a house that transcends<br />

geography? I think you can but it would be<br />

extremely expensive. And that kind of architecture is<br />

not representative of its time, life, or reality. It is said<br />

that in Saudi Arabia, they could make the air cooler<br />

by using ice berg from the North. It is something<br />

doable but will certainly be extremely expensive.<br />

But it shows what can be done during a certain time<br />

though it doesn’t represent the norm of the time. To<br />

be representative of the time, it has to be consistent<br />

with environment all around. If you live in a country<br />

that rains all the time, the roof has to be a certain<br />

way. But is it a must? Not necessarily if you have<br />

284


แต่ผมคิดว่า economics มันบังคับ จำนวนประชากรเพิ่ม<br />

พื้นที ่ลดลง ราคาที่ดินสูง ก็เลยต้องบีบให้เป็นอย่างนี้<br />

อีกตัวอย่างคือ เครื่องบิน แทบไม่มีเครื่องบินสายการ<br />

บินไหนที่แยกห้องน้ำชายหญิง ห้องน้ำบนเครื่องบิน<br />

ซึ่งเป็นวัตถุโมเดิร์นเป็น unisex มานานแล้ว ไม่ใช่เพราะ<br />

postmodernism แต่เหตุผลคือพื้นที่มันจำกัด เขาต้องใช้<br />

พื้นที่ในการตั้งเก้าอี้ขายผู้โดยสารมากกว่า ดังนั้นเขาจะ<br />

แบ่งห้องน้ำตาม class ไม่ได้แบ่งตามเพศ เพราะฉะนั้น<br />

ในทางกลับกันสิ่งที่เรียกว่า postmodern conditions ใน<br />

คริสต์ศตวรรษที่ 21 อาจจะไม่เหมือนกับ postmodern<br />

conditions ในอดีต เพราะอาจเป็นเงื่อนไขที่จำเป็นใน<br />

การอยู่กับ resources ที่จำกัด<br />

อาจารย์กิจโชติ: มาถึงคำอีกคำที ่มีความน่าสนใจ<br />

คือคำว่า geography ครับอาจารย์ จากที่อาจารย์<br />

อธิบายในเรื่องต่างๆ มาตั้งแต่ต้น มันมีคำว่าภูมิศาสตร์<br />

geography ขึ้นมาหลายๆ ครั้ง เหมือนที่อาจารย์เพิ่ง<br />

จะกล่าวถึง transcend geography ซึ่งจริงๆ แล้วคำว่า<br />

geography มันเหมือนมิติๆ หนึ่งที่เป็นฐานรองรับของ<br />

นัยยะต่างๆ ที่มันเคลื่อนตัวอยู่บนนั้น ในเชิง geography<br />

อยากจะขอให้อาจารย์อธิบายเพิ่มเติมในมุมมองของ<br />

อาจารย์ในเชิงรัฐศาสตร์ว่า geography เวลาที่คำคำ<br />

นี้ถูกใช้ในเชิงรัฐศาสตร์แล้วมันกินความหรือมีนัยยะที่<br />

สำคัญอย่างไรครับ<br />

อาจารย์ชัยวัฒน์: คือต้องพูดอีกครั้งว่าไม่อาจจัด<br />

ตัวเองเป็นนักรัฐศาสตร์ได้นะครับ สำหรับผม geography<br />

เป็นวิชา ซึ่งเกิดขึ้นเพราะมีความจำเป็นสำหรับการ<br />

วัด space เป็นการวัดภาพของพื้นโลก ทำอย่างไร<br />

ถึงจะวัดภาพของพื้นโลกได้ก็เลยเกิดมาเป็นวิชานี้ ซึ่ง<br />

geography เองก็เปลี่ยน สมัยก่อนเวลาพูดถึง geography<br />

มักเอาส่วนย่อย (subset) ของ geography มาเป็น<br />

เรื่องหลักที่เรียกว่า cartography คือศาสตร์ของการทำ<br />

แผนที่ แต่แผนที่เป็นเทคโนโลยีอันหนึ่งสำหรับการวัด<br />

เพื่อแสดงออกว่า geography เป็นแบบนี้ ณ วันนี้มันเลย<br />

ไปแล้ว เท่าที่ผมเข้าใจยุคนี้หลายแห่งเน้นในสิ่งที่เรียก<br />

ว่า human geography กลายเป็นอีกอย่างหนึ่ง เมื่อ<br />

ก่อน geography เป็นเรื่องของความลึกของชั้น เป็น<br />

ป่าเป็นเขาจะเน้นตรงนี้ แล้วมันก็คู่กับ history คือเอา<br />

ภูมิศาสตร์กับประวัติศาสตร์มาอยู่ด้วยกัน ภูมิศาสตร์ทำ<br />

กับ space ประวัติศาสตร์ทำกับ time แต่ตัววิชามันแปร<br />

สภาพไปตามความรู้ ตามความเปลี่ยนแปลงของการรับรู้<br />

other solutions. With less resources available as time<br />

goes by, our choices are more and more limited.<br />

Land has become much more expensive and there’s<br />

less space for everyone. I think there’s a chance that<br />

public buildings in the future will have communal<br />

toilets for both men and women. And I don’t think it’s<br />

because of the postmodern trend but more because<br />

of economics. Increase of population, decrease of<br />

space, and scarcity of land are driving factors. When<br />

you fly, no airplanes offer separate toilets for men<br />

and women. Airplane toilets have always been unisex,<br />

and not due to the postmodern movement but the<br />

limited space on the plane. They need that space for<br />

seats. So the airplane industry categorizes toilets in<br />

the sky based on class, and not gender. I think that<br />

postmodern conditions in the 21 st century is not the<br />

same as those in the past anymore because one of<br />

the conditions now is limited resources.<br />

Quijxote: Another interesting issue is geography.<br />

You mentioned this word a few times like the phrase<br />

“transcend geography” that you used. Can you share<br />

with us your opinion on how the term is used in<br />

politico perspective?<br />

Chaiwat: Again, I don’t categorize myself as<br />

representative of “political perspective”. For me geography<br />

is a subject that was born out of necessity: the need to<br />

measure space of the earth for living and travel. Geography<br />

has also gone through changes. In the old days, cartography<br />

or the art of making maps was considered geography when<br />

in fact it was just a subset of geography. But geography<br />

has evolved so much since then. There are numerous kinds<br />

of geography now like human geography. In the past, it<br />

was about depth and layers. Forests are here, mountains<br />

are there. And geography usually came hand-in-hand<br />

with history. What geography did with space, history did<br />

285


และบทวิพากษ์ของตัววิชานั้นเอง วันนี้จึงมีผลต่อความ<br />

เข้าใจ geography แบบ human geography ความคิดที่<br />

กลับมาใหม่ อย่างในวิชารัฐศาสตร์สมัยก่อนเข้าก็สนใจ<br />

ว่าประเทศจะมีทางออกทะเลหรือไม่ เขาเรียกว่าวิชา<br />

ภูมิรัฐศาสตร์ ประเทศอยู่ตรงไหนของยุโรป สามารถคุม<br />

ยุโรปได้หรือไม่ แต่ทุกวันนี้ของเหล่านี้ตายหมดเลยเพราะ<br />

เทคโนโลยี เพราะขีปนาวุธข้ามทวีป เพราะฉะนั้นความ<br />

คิดเดิมที่บอกว่าอยู่ตรงนี้แล้วไม่มีทางออกทะเลทำอะไร<br />

ใครไม่ได้มันไม่ใช่อีกแล้ว เพราะฉะนั้น geography ใน<br />

วันนี้สำคัญไหม สำหรับผมผมว่ามันสำคัญมาก เพราะ<br />

ทำให้เห็นมนุษย์ในสภาพแวดล้อมที่ค่อนข้างจะ concrete<br />

และ abstract ไปด้วยกัน เช่น แผนที่<br />

อาจารย์กิจโชติ: จากที่เรียนสัมภาษณ์อาจารย์มา<br />

ตั้งแต่ต้นครับ คำว่า space, geography นั้นมีมิติที่ใกล้<br />

เคียงกันไม่ได้หลุดออกจากกันมาก<br />

อาจารย์ชัยวัฒน์: แต่ไม่เหมือนกันเลย เพราะว่า<br />

เรากำลังพูดถึงของ 2 อย่าง เรากำลังพูดถึง concept<br />

(แนวคิด) และ discipline (สาขาวิชา) แต่ discipline ก่อ<br />

กำเนิดตัวมาจาก concepts บางอย่าง แล้ว concept<br />

นี้ในโลกโมเดิร์นหรือโลกฝรั่งเราสามารถย้อนกลับไปได้<br />

ว่าเริ่มมาอย่างไร ผมคิดว่ามันเริ่มที่ อิมมานูเอล คานต์<br />

เพราะคานต์แบ่งชุดความคิดของมนุษย์ออกเป็น 12 ชุด<br />

2 ในนั้นคือ space และ time แล้วการแบ่งและความ<br />

เข้าใจเช่นนี้ก็ให้กำเนิดความรู้จำนวนหนึ่ง ความรู้เหล่า<br />

นี้เมื่อจัดระเบียบเป็นระบบสถาบันก็กลายเป็นสาขาวิชา<br />

เช่น วิชาภูมิศาสตร์ เพราะฉะนั้น geography กับ<br />

space จึงสัมพันธ์กันแน่ แต่ไม่ใช่สิ่งเดียวกัน<br />

อาจารย์กิจโชติ: สิ่งหนึ่งที่ทำให้ผมรู้สึกว่ามันมีส่วน<br />

เชื่อมโยงกันคือ geography กับ space มันสามารถทำให้<br />

เราเห็นมิติ แล้วเราก็สามารถกำหนดเฟรมเวิร์คของเราได้<br />

ว่ามิตินี้บนเฟรมเวิร์คของวิธีคิดแต่ละวิธีทำงานนั้นมัน<br />

อยู่ตรงไหน มันเป็นอย่างไร มาถึงคำศัพท์อีกชุดหนึ่ง<br />

ครับที่หลังๆ ผมมักจะย้ำในการเรียนการสอนอยู่เสมอ<br />

นั้นคือ scale กับ positioning พอมันประกบกันทั้งหมด<br />

มันก็สามารถสร้างเป็น method ขึ้นมาแล้วก็เห็นภาพ<br />

ได้ชัดเจนว่า การกำหนด scale กับ positioning ของ<br />

เราในการทำงานบน geography หรือ space นั้นปัจจัย<br />

with time. But the subjects kept evolving based on new<br />

knowledge, comprehension, and analysis. The result is new<br />

understanding of geography. In the past when we studied<br />

political science, we always considered if a country is or<br />

is not landlocked? Where is it located in Europe? Does<br />

the country’s location allow it to be a powerful nation in<br />

the area? This is called geopolitics. But all of that is now<br />

obsolete because of technology. Cross-continent missiles,<br />

among other things, changed the whole scenario, including<br />

the military balance of power. I think geography is very<br />

important because in geography, we see people in both<br />

concrete and abstract environments.<br />

Quijxote: From what you said, it seems like space<br />

and geography are not that far apart from each other.<br />

Chaiwat: Yet very different. We’re talking about<br />

2 separate things, concept and discipline. Disciplines<br />

derived from concepts. In western philosophy, tracing the<br />

origin of concept back to Immanuel Kant, he identified<br />

12 categories as conditions for human cognition, 2<br />

of which are space and time. This characterization<br />

predicated sets of knowledge that once organized and<br />

institutionalized, became disciplinary subjects. And<br />

geography is one of them. So geography is definitely<br />

related to space, but not the same thing.<br />

Quijxote: I feel that geography and space are related<br />

because they both allow us to see dimensions and define<br />

framework of the thinking process and working method.<br />

Another set of words that I reiterate a lot to my students<br />

is scale and positioning. By specifying scale and work<br />

positioning, we will clearly see where we are and the<br />

environment around us. Is it similar to your work method?<br />

Chaiwat: Very similar indeed. If we want to propose<br />

286


ต่างๆ ทั้งหมดมัน locate ตัวเองอยู่ที่ตรงไหน และใน<br />

environment อย่างไร ในเชิงที่อาจารย์ทำงานอยู่มัน<br />

ใกล้เคียงกับกระบวนการนี้ไหมครับ<br />

อาจารย์ชัยวัฒน์: ใกล้กันมากเลยนะในความหมาย<br />

ที่ว่า ถ้าเราจะเสนออะไรสักอย่างหนึ่ง คำถามสำคัญที่<br />

ต้องถามคือ positioning ของตัวเราเองอยู่ตรงไหนใน<br />

การเสนอ เมื่อไม่มี proposal ในทางการเมืองเสนอไป<br />

proposal แบบนี้ไปที่ไหนในสิ่งที่เรากำลังพูดถึง scale<br />

ของสิ่งที่เราต้องการเห็น เช่น สมมุติว่าเราต้องการเห็น<br />

การเปลี่ยนแปลง เราอยากจะเสนอมันแค่ไหน ยกตัวอย่าง<br />

เช่น งานที่เคยทำในอดีตเป็นกรรมการสมานฉันท์ เวลา<br />

คนเห็นบทสัมภาษณ์ที่เราทำ คนก็วิจารณ์ว่าทำไมไม่พูด<br />

แบบนี้แบบนั้น คำตอบของเราก็คือว่า สถานะของเราไม่<br />

สามารถพูดแบบนั้นได้ ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิด<br />

ขึ้นก็เกิดเท่าที่จะทำได้ ดังนั้น scale และ positioning<br />

ก็มีความสำคัญในงานที่เราทำ<br />

อาจารย์กิจโชติ: วันที่ได้ไปฟังอาจารย์ดำเนินรายการ<br />

ที่สยามสมาคมมีคำหนึ่งคำที่น่าสนใจครับ เป็นคำที่<br />

อาจารย์เล่าและผมคิดว่ามันเกี่ยวข้องกับสถาปัตยกรรม<br />

และเมือง อาจารย์ได้ให้ความเห็นเรื่องอัตลักษณ์ identity<br />

ในเชิง unitary ผ่านสิ่งที่อาจารย์เล่าให้ฟังว่า นักท่อง<br />

เที่ยวนั้นจริงๆ แล้วเขามา เขาอยู่ในสภาพชีวิตที่ไม่ปกติ<br />

ตามวิธีคิดในเชิง identity กับ unitary อยากเรียนขอให้<br />

อาจารย์ให้ความเห็นเพิ่มเติมครับว่า เมื่อนัยยะดังกล่าว<br />

มาอยู่ในเมืองหรือการออกแบบสถาปัตยกรรมแล้วมัน<br />

ได้สร้างหรือมันถูกหยิบยกขึ้นมา หรือมันเป็นสิ่งที่เรา<br />

ต้องคำนึงถึงมากขนาดไหนและอย่างไรครับ<br />

อาจารย์ชัยวัฒน์: identity ที่ทุกคนมีอยู่มันไม่เคยมี<br />

ลักษณะเชิงเดี่ยวหรือ unitary หมายความว่าตัวเราเป็น<br />

อะไร เวลาเราถามตัวเอง เช่น เราเป็นผู้ชายอายุ 60 ปี<br />

ตามเกณฑ์ราชการคือแก่แล้ว ควรต้องเกษียณแล้ว เรา<br />

เป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย เราเขียนหนังสือบ้าง เราเป็น<br />

นักเรียนโรงเรียนอัสสัมชัญ เราเป็นมุสลิม เราเป็นคนไทย<br />

พอเอามารวมกันจะเป็น ชัยวัฒน์ เพราะฉะนั้น concept<br />

เรื่อง unitary identity อัตลักษณ์เชิงเดี่ยวหรือเอกลักษณ์<br />

ของคนหรือสังคม เป็นเรื่องที่ไร้สาระและตลกร้ายที่สุด<br />

อย่างหนึ่งในความคิดทางการเมือง เพราะเป็นไปไม่<br />

an idea, an important question is what is our positioning<br />

for this proposal? And what is the scale? If we want<br />

to see considerable change, how strongly do we want<br />

to propose it? For example, I used to be a member of<br />

the National Reconciliation Commission under former<br />

Prime Minister Anand Panyarachun. I often got criticized<br />

for my interviews. People asked me why I didn’t say<br />

it like this or like that. My answer was I was not in the<br />

position to say those things. Because of that, we could<br />

not expect many changes. So scale and positioning<br />

are very important when it comes to work.<br />

Quijxote: You used to talk about unitary identity in<br />

one of your forums. Do you think it exists in architecture?<br />

Can you elaborate a bit more on the idea?<br />

Chaiwat: Our identity never exists unitarily. If I<br />

ask myself who am I? I am a man in my sixties, an<br />

old man from an official standard. I should be retired<br />

by now. I am a college professor. I write books<br />

occasionally. I went to Assumption College. I am a<br />

Muslim and a Thai. All those things combine to make<br />

me this “Chaiwat”. So the concept of unitary identity<br />

in a person or society is one of the most nonsensical<br />

and ridiculous things in political theory. It’s impossible<br />

to force that on people. Everyone has countless<br />

identities patched inside. And those pieces produce<br />

individuals that are never the same as anyone else.<br />

If isolated, some pieces might be similar but once<br />

hemmed together, it always creates uniqueness. To<br />

brand it as this or that is ridiculous. To me, confining<br />

the identity or a house to a certain genre is also<br />

ridiculous. There are 2 problems with this kind of<br />

assumption. First, it’s a serious misunderstanding of<br />

the word identity. Because identity is never a singular<br />

thing. It’s about diversity. It can be molded into one<br />

287


ได้ที่จะบังคับให้คนเป็นเช่นนั้น เพราะทุกคนมีรอยต่อ<br />

ของ identity นับชนิดแทบไม่ถ้วนอยู่ในตัว มนุษย์ที่มี<br />

รอยต่อของ identity แทบนับไม่ถ้วนชนิดเลย produce<br />

คนคนหนึ่งที่ไม่เหมือนใครเลย คือวิธีที่มันมาต่อสัมผัส<br />

สัมพันธ์กัน แต่ถ้าแยกเป็นส่วนก็จะมีส่วนที่เหมือนกัน<br />

บ้างเป็นบางอย่าง เพราะฉะนั้นการบังคับให้ต้องเป็น<br />

อย่างนี้อย่างนั้นเพียงอย่างเดียวจึงไร้สาระ รวมไปถึง<br />

การบอกว่าอัตลักษณ์ของบ้านและสถาปัตยกรรมอย่างนี้<br />

จึงจะเป็นอย่างนี้ สำหรับผมเลยเป็นเรื่องไร้สาระมาก<br />

เพราะคิดและเชื่อเช่นนี้มีปัญหา 2 อย่าง อันดับแรกคือ<br />

เข้าใจ identity ผิดอย่างร้ายแรง เพราะ identity ไม่ใช่<br />

เรื่องของความเป็นหนึ่ง แต่เป็นเรื่องของความหลาก<br />

หลาย ซึ่งเมื่อรวมกันแล้วกลายเป็นหน่วยๆ หนึ่ง ซึ่งไม่<br />

สามารถหลอมรวมกันให้เป็นหนึ่งเดียวกันได้ชนิดไร้รอยต่อ<br />

เพราะไม่เหมือนกัน หมายความว่าอาจจะรวมกันได้แต่<br />

ก็ไม่เหมือนกัน ต่อให้มาจากบ้านเดียวกันเป็นพี่น้องกัน<br />

พ่อแม่เดียวกันก็ต่างกัน แม้จะมีสิ่งที่เหมือนกันแต่ก็ต้อง<br />

มีสิ่งที่ต่างกัน อันนี้เลยเป็นสิ่งที่น่าทึ่งมากสำหรับผม<br />

ปัญหาอันที่สองคือ power ที่บังคับว่าคุณต้องเป็น<br />

แบบนี้ คือมันบังคับกันไม่ได้ไง คือคนอาจจะยอมบ้าง<br />

ในบางห้วงบางขณะ แต่ถ้าบังคับมากไปคนก็ไม่ยอม<br />

เพราะการบังคับไปกระทบ identity ของคนคนนั้น เช่น<br />

ผู้หญิงมุสลิมคลุมฮิญาบ ในสมัยหนึ่งรัฐบาลไทยได้ออก<br />

กฎบังคับให้ผู้หญิงเหล่านี้ต้องถอดฮิญาบออกเพื่อถ่ายรูป<br />

บัตรประชาชน ผลก็คือผู้หญิงมุสลิมจำนวนหนึ่งก็ไม่ไป<br />

ทำบัตรประชาชน คือมีตัวเลือกว่าไม่ถอดคือไม่ถ่าย กับ<br />

ถอดผ้าคลุมแล้วไปถ่าย แต่คุณคิดว่าคนที่ถอดผ้าฮิญาบ<br />

มันเป็นตัวเขาหรือ รัฐต้องการตัวเขาอย่างที่เป็นจริงหรือ<br />

ต้องการตัวเขาแบบลวงๆ ถ้าคำตอบคือคุณต้องการตัว<br />

เขาจริงๆ คำสั่งแบบนี้ไร้สาระมาก<br />

อาจารย์กิจโชติ: มีสิ่งที่อาจารย์ย้ำในวันที่อาจารย์<br />

เป็นผู้ดำเนินรายการที่สยามสมาคมนะครับ อาจารย์<br />

ย้ำว่า ของบางอย่างต้องคิดอะไรที่มีความยากมากกว่า<br />

ปกติขึ้นมาบ้าง มันเป็นความจำเป็นสำหรับประเทศที่<br />

เราคิดอะไรกันง่ายๆ เรียนขอให้อาจารย์ให้ความคิดเห็น<br />

ตรงนี้เพิ่มเติมครับ ในประเด็นที่กำลังสนทนากันอยู่ว่า<br />

ด้วยเรื่องของ geography เรื่องของ space เรื่องการ<br />

ที่ทุกอย่างทำงานอยู่ร่วมกัน โดยผมอาจจะมีเรื่องของ<br />

สถาปัตยกรรมเป็นตัวขับเคลื่อนครับ อยากให้อาจารย์<br />

unit but can never be seamless because it contains<br />

a bunch of different things. Even sisters or brothers<br />

are not the same. There are common qualities that<br />

are shared but there are also differences. The second<br />

problem is using power in forcing people to be a certain<br />

way. These things can’t be forced. People might give<br />

in occasionally in some scenarios. But if you force<br />

them too much, they are going to resist because their<br />

identity is threatened. The Thai government used<br />

to demand Muslim women to take off their hijabs to<br />

take photos for official ID cards. The result is a lot<br />

of Muslim women chose not to register for ID cards<br />

because they didn’t want to take off their hijabs. Do<br />

you think they are their true selves without the hijab?<br />

The government wanted to see who they really were<br />

or an illusory version of them? If the government<br />

wanted them for who they were, then this rule was<br />

utterly self-defeating.<br />

Quijxote: One thing you said in your forum at Siam<br />

Society is we need to start thinking about difficult<br />

things more. It’s very important for our country because<br />

we tend to gravitate towards simple ideas. Now that<br />

we’re discussing how geography and space work<br />

together, and in my agenda, driven by architecture,<br />

why do you think it’s important that we have to start<br />

thinking about complicated things?<br />

Chaiwat: When you design a public buildings, you<br />

think about essential basic functions like restaurants,<br />

meeting rooms, toilets. The question that follows is<br />

should we include something else that responds to the<br />

changes in people’s needs? What about a religious<br />

space? With new conditions included, designing the<br />

space is more difficult. But if we don’t start thinking<br />

about difficult things, there will be no improvements.<br />

For example, I’m very uncomfortable using toilets of<br />

288


ให้ความเห็นในแง่นี้เพิ่มเติมครับว่า ความจำเป็นที่เรา<br />

อาจต้องมองอะไรให้ยากขึ้นอีกในระดับหนึ่งนั้น เพื่อ<br />

ให้เราเข้าถึงมิติที่กำลังขับเคลื่อนกันไป และมันก็เป็น<br />

ผลของการทำงานอยู่ร่วมกัน<br />

อาจารย์ชัยวัฒน์: สมมุติว่าเราออกแบบตึกสาธารณะ<br />

space ที่เราต้องใช้สำหรับฟังก์ชั่นต่างๆ ก็ต้องมี เช่น<br />

ห้องอาหาร ห้องประชุม ห้องน้ำ อันนี้เป็นพื้นฐาน<br />

คำถามต่อไปก็คือว่า เราอาจจะต้องออกแบบไหมเพื่อที่<br />

จะมีห้องเล็กๆ สำหรับทำอะไรสักอย่างในยุคสมัยที่มัน<br />

เปลี่ยนแปลงไปที่สามารถตอบสนองคนได้ หรืออาจจะ<br />

ต้องมีพื้นที่ทางศาสนา ถ้าคิดแบบนี้การใช้ space จะยาก<br />

ขึ้นกว่าเดิม แต่ถ้าไม่คิดก็บังคับให้มันเป็นอยู่อย่างหนึ่ง<br />

เช่น การออกแบบห้องน้ำในอดีต ผมเข้าไปใช้ห้องน้ำ<br />

ลำบากมากเลย เพราะห้องน้ำไม่มีสายฉีดชำระมีแต่<br />

กระดาษชำระ สำหรับผมการใช้กระดาษไม่แน่ว่าจะสะอาด<br />

เมื่อมันไม่สะอาดปัญหาก็ตามมาคือถัดจากนั้นผมต้องไป<br />

ละหมาดแต่ตัวผมไม่สะอาด แล้ววันหนึ่งผมต้องละหมาด<br />

5 เวลา ผมอาจจะแอบละหมาดอยู่ที่มุมใดสักมุมหนึ่ง<br />

แต่ตัวผมไม่สะอาดตั้งแต่ต้น เพราะคุณออกแบบห้องน้ำ<br />

แบบนี้ แล้วคุณจะออกแบบห้องน้ำแบบไหน คำตอบก็<br />

คือ สมมุติว่าคุณแทนกระดาษด้วยสายฉีดชำระซึ่งก็จะ<br />

น่าสนใจมาก ตัวอย่างเช่น โรงแรม ถ้าให้ผมเลือกผม<br />

ก็จะเลือกโรงแรมที่มีห้องน้ำสะดวกสำหรับผม ดังนั้น<br />

ก็หมายความว่าคุณคิดการออกแบบที่ยากขึ้นกว่าเดิม<br />

นิดหน่อย ที่ยากเพราะเป็นการออกแบบที่อยู่บนฐาน<br />

ของความแตกต่างหลากหลายของมนุษย์ไม่ใช่ความ<br />

เหมือน (differences-based design) ซึ่งสิ่งนี้นั้นเอง<br />

ที่มีความเป็น postmodern ที่อาจารย์ว่าตั้งแต่ต้นไม่ใช่<br />

unitary เพราะฉะนั้นถ้าใช้กระดาษ ทุกคนใช้ได้ไหม<br />

ถ้าคุณคิดว่าทุกคนเหมือนกันก็คือใช้ได้ แต่ถ้าคิดว่า<br />

คนต่างกันทางวัฒนธรรมก็ต้องตอบว่าไม่ได้ ต้องไปหา<br />

ว่าจะใช้ระบบทำความสะอาดแบบไหนที่รองรับความต่าง<br />

ทางวัฒนธรรมได้ ในแง่นี้ ถ้าใช้น้ำทุกคนอาจจะใช้ได้<br />

ง่ายกว่า แต่ถ้าคุณมีทั้งสองอย่าง ราคาค่าก่อสร้างอาจ<br />

จะสูงขึ้น คุณก็ต้องเลือกว่าจะทำอย่างไร ประเด็นนี้คือ<br />

ตัวอย่างของการที่จะต้องถามคำถามที่ยากขึ้น เพราะ<br />

คำถามที่ง่ายทำให้มีปัญหา เช่น โรงพยาบาลในจังหวัด<br />

ชายแดนภาคใต้ในสมัยก่อน ชาวบ้านเคยตัดสินใจ<br />

ไม่ไปรักษา ไม่ใช่เพราะหมอไม่เก่งเครื่องมือไม่ทันสมัย<br />

old design because there are no bidet sprays. Using<br />

just toilet paper doesn’t feel clean enough for me. I<br />

have to pray 5 times a day but I feel unclean because<br />

toilets are designed like that. My question is what<br />

kind of toilets are you going to design now? If you<br />

replace toilet paper with bidet spray, it will definitely<br />

speak to me. When I choose a hotel, of course I will<br />

choose the one with a bathroom that suit my needs.<br />

So now your job is a little harder because you’re<br />

working with human differences and not some plastic<br />

generalization. This is the postmodern idea that you<br />

mentioned in the beginning. It’s not unitary. Is toilet<br />

paper okay for everyone? If you think everyone is the<br />

same, then yes. But if you consider cultural differences,<br />

then the answer is no. You have to figure out what<br />

cleaning system works in different cultures. Water<br />

seems to be more suitable in this case. If you use<br />

both, construction cost will be more expensive. So you<br />

might have to choose. This is an example of asking<br />

more difficult questions. Because easy questions bring<br />

problems in the end. In the past, people in the deep<br />

south of Thailand decided not to go to hospitals, not<br />

because doctors were not qualified or equipments<br />

dated, but because they were Muslims and toilets in<br />

the hospitals did not work for them. After toilets were<br />

changed to suit their cleaning culture, a lot of people<br />

started going to hospitals for their treatments. As you<br />

said, in teaching architecture, you can’t neglect these<br />

four things; geography, space, scale, and positioning.<br />

Quijxote: When we started working on this book<br />

(Seven decades of house in Thailand), we inserted<br />

postcards in architectural magazines given away at<br />

the Architect Expo, asking people to send in houses<br />

that they think are representatives of King Rama IX’s<br />

reign. Only 1 percent responded. I think they feel<br />

289


แต่เพราะห้องน้ำไม่สะดวกกับพวกเขา และด้วยชาวบ้าน<br />

ส่วนใหญ่เป็นมุสลิม ผลคือเขาไม่อยากไป แต่พอเปลี่ยน<br />

ห้องน้ำให้รับกับวัฒนธรรมทำความสะอาดที่แตกต่าง<br />

หลากหลาย คนก็ไป แบบนี้คือตรงกันกับที่อาจารย์พูด<br />

ตั้งแต่ต้นว่า การสอนสถาปัตยกรรมศาสตร์คุณต้องคิด<br />

เรื่อง geography ต้องคิดเรื่อง space คิดเรื่อง scale<br />

คิดเรื่อง positioning ทั้งสี่อันเลย<br />

อาจารย์กิจโชติ: กลับมาที่หนังสือเล่มนี้ (หนังสือบ้าน<br />

เรือนถิ่นไทยฯ) นะครับ เริ่มต้นโดยตอนแรกที่ดำเนินการ<br />

เชิญชวนผ่านโปสการ์ดสอดไปในนิตยสารฉบับ “สถาปนิก<br />

ของแผ่นดิน” ในงานสถาปนิก ผลปรากฏว่ามีตอบกลับ<br />

มาแค่เพียง 1% ปัญหาส่วนหนึ่งก็คือพอมันเป็นเรื่อง<br />

ยาก คนก็เลยรู้สึกว่ามันเป็นเรื่องใหญ่ โดยที่มันเกี่ยว<br />

กับบ้านในรัชสมัย คนจึงไม่กล้าส่ง อยากขอความเห็น<br />

จากอาจารย์เพิ่มเติมครับเกี่ยวกับโครงร่างที่ถูกกำหนด<br />

ให้เป็นกรอบในการทำงานของโครงการ อาจารย์มีความ<br />

เห็นเกี่ยวกับโครงร่างและโครงการนี้อย่างไรบ้างครับ<br />

อาจารย์ชัยวัฒน์: ในทางกลับกันพออาจารย์มา<br />

ถามผม ผมก็รับเขียนให้เหมือนกัน ก็คงมีคนจำนวนหนึ่ง<br />

ที่เห็นว่าสำคัญ การที่คนส่งโปสการ์ดมีน้อยไม่ได้เป็น<br />

ตัวบอกว่าอันนี้ไม่ประสบความสำเร็จหรือประสบความ<br />

สำเร็จ เขาอาจจะไม่เข้าใจในสิ่งที่เรากำลังจะทำซึ่งก็<br />

เป็นเรื่องปกติ สำหรับผมไม่ค่อยสนใจเรื่องปริมาณใน<br />

เรื่องเช่นนี้ ขอเพียงแค่คนที่ส่งเข้ามาเข้าใจในสิ่งที่เราทำ<br />

อาจารย์กิจโชติ: 70 ปีในความเห็นของอาจารย์จะ<br />

สามารถแบ่งช่วงเวลาออกได้อย่างไรบ้างครับ คืออย่าง<br />

ที่อาจารย์ให้ความเห็นว่า ของบางอย่างมันขึ้นกับช่วงที่<br />

พระองค์ทรงมีกิจวัตรบางประการที่เป็นสัญลักษณ์ให้<br />

กับช่วงรัชสมัยในแต่ละช่วง อาจารย์พอจะแบ่งชัดเจน<br />

ได้ไหมครับ หรือว่าอาจารย์จะมีความเห็นว่าในรัชสมัย<br />

ของพระองค์นั้นพระองค์ทรงอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญจึงมี<br />

เรื่องนโยบายของรัฐบาลเข้ามาเกี่ยวข้อง หากเป็นเช่น<br />

นั้นแผนพัฒนาเศรษฐกิจก็น่าจะใช้เป็นเกณฑ์ได้ในระดับ<br />

หนึ่งไหมครับ<br />

อาจารย์ชัยวัฒน์: ทำได้หลายวิธี คือผมคิดว่า<br />

ถ้าอาจารย์เลือกแผนพัฒนาเศรษฐกิจแปลว่าอาจารย์<br />

เลือก organization ในการทำอันนี้ให้เป็น history คือ<br />

แผนพัฒนาเศรษฐกิจก็จะไปตามระบบราชการที่แบ่ง<br />

that the topic is quite daunting because it’s about<br />

the King’s reign. What do you think about this project<br />

framework?<br />

Chaiwat: On the contrary, when you asked me,<br />

I agreed to do it. That means there must be some<br />

people who think that it’s important. The number of<br />

postcards sent back doesn’t necessarily mean that the<br />

project is successful or not. Quantity is not important<br />

to me as long as those who sent back the postcards<br />

understand what we do.<br />

Quijxote: How would you divide the King’s 70<br />

years period? You said that the King’s stages of life<br />

are indicative of how his reign was responded. Being<br />

a monarch under the constitution, with government<br />

policies involved, do you think economic development<br />

plan can be one of the criteria?<br />

Chaiwat: It can be done in many ways. If you<br />

choose to use economic development plan, it means<br />

you look at it from the perspective of historical timeline.<br />

The national economic development plan categorizes<br />

things based on timeline. Without a doubt, it’s very<br />

important. It’s a huge driving factor of changes in the<br />

country. But I probably would not choose it as criteria.<br />

I’d choose his phases of his personal life. Like when<br />

his ascension to the throne, when his children were<br />

born, when he made trips abroad, when he came<br />

back to Thailand. And for his later years, when he<br />

started talking about Phra Maha Chanok or when he<br />

introduced the idea of sufficient economy. Clothes<br />

that he chose to wear. The change of objects he held<br />

in his hands whether it’s a camera or a map. When<br />

he was ill. Where he stayed during different phases<br />

of his life. This is geography, scale, positioning, and<br />

290


ช่วงเวลาของประเทศตามแผนพัฒนาของชาติ ถามว่า<br />

สำคัญไหมมันก็สำคัญ เพราะสิ่งนี้เป็นตัวแปรใหญ่ของ<br />

การเปลี่ยนแปลงทั้งประเทศ แต่ผมอาจจะไม่เลือกวิธีนี้<br />

ผมอาจจะเลือกช่วงพระชนม์ชีพของพระองค์ท่าน<br />

ผมอาจจะเลือกที่เห็นได้เด่นชัด ซึ่งก็จะเป็นตอนที่ทรงขึ้น<br />

ครองราชย์ ตอนที่ทรงมีพระราชโอรสและพระราชธิดา<br />

ตอนที่เสด็จต่างประเทศ ตอนที่เสด็จนิวัติพระนคร ใน<br />

ระยะหลังอาจจะเป็นตอนที่เริ่มต้นพูดเรื่องพระมหาชนก<br />

ตอนเสนอความคิดเศรษฐกิจพอเพียง หรืออาจจะเป็น<br />

ฉลองพระองค์ที่พระองค์ทรงใช้ สิ่งที่พระองค์ทรงถือ<br />

ที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น กล้องถ่ายรูป แผนที่ ซึ่งของ<br />

พวกนี้เป็นเทคโนโลยีที ่อยู่กับพระองค์ท่าน จนกระทั่ง<br />

ตอนท้ายที่ทรงประชวร หรือจะเป็นสถานที่ประทับใน<br />

แต่ละช่วงแห่งพระชนม์ชีพของพระองค์ท่าน นี่ก็คือ<br />

geography นี่คือ scale คือ positioning คือ space ที่<br />

พระองค์ทรงประทับอยู่ทั้งนั้นเลย แล้วประโยคที่บอกว่า<br />

“ฉันเกิดในรัชกาลที่ 9” ก็จะมีความหมายอีกแบบหนึ่ง<br />

เพราะ “ฉัน” มีเยอะแยะไปหมด อีกทั้งยังมีช่วงเวลาที่<br />

แตกต่างกันออกไปด้วยครับ<br />

space. If we think about it this way, then the phrase<br />

“I was born during the reign of King Rama IX” will<br />

become increasingly meaningful. The “I” and the time<br />

will turn out to be beautifully complex.<br />

291


ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อัมมาร สยามวาลา<br />

จบการศึกษาในระดับปริญญาตรีด้าน<br />

เศรษฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยลอนดอน<br />

และปริญญาเอกด้านเศรษฐศาสตร์จาก<br />

มหาวิทยาลัยฮาวาร์ด<br />

เคยเป็นอาจารย์สอนวิชาเศรษฐศาสตร์ที่<br />

มหาวิทยาลัยเยล และมหาวิทยาลัย<br />

ธรรมศาสตร์ เป็นนักเศรษฐศาสตร์<br />

อดีตประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา<br />

ประเทศไทย (TDRI) อดีตสมาชิกสภา<br />

นิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นผู้เชี่ยวชาญ<br />

เรื่องข้าว เศรษฐศาสตร์การเกษตรกรรม<br />

และการพัฒนา<br />

ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อัมมาร สยามวาลา<br />

ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขา<br />

เศรษฐศาสตร์ พ.ศ. 2529<br />

Professor Dr. Ammar Siamwalla<br />

One of Thailand’s most prominent<br />

economists. He obtained his B.Sc. in<br />

Economics from the London School of<br />

Economics and a Ph.D. in Economics<br />

from Harvard University.<br />

He was the former director of Thailand<br />

Development Research Institute (TDRI),<br />

the former member of the National<br />

Legislative Assembly.<br />

In 1986, Prof.Dr. Ammar Siamwalla was<br />

honoured with national excellent<br />

researcher in Economics.<br />

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.อานันท์ กาญจนพันธุ์ ศาสตราจารย์ ดร.ชัยวัฒน์ สถาอานันท์<br />

วุฒิการศึกษา:<br />

Ph.D. (Anthropology), Cornell University, USA<br />

M.A. (Anthropology), Cornell University, USA<br />

M.A. (Southeast Asia History), Cornell<br />

University, USA<br />

ร.บ. (รัฐศาสตรบัณฑิต) เกียรตินิยม<br />

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์<br />

ความสนใจ:<br />

มานุษยวิทยาเศรษฐกิจ<br />

ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและสังคมชนบท,<br />

ประวัติศาสตร์สังคม, ทฤษฎีสังคมและ<br />

การพัฒนา<br />

Professor Emeritus Dr. Anan Ganjanapan<br />

Ph.D. (Anthropology), Cornell University,<br />

USA<br />

M.A. (Anthropology), Cornell University,<br />

USA<br />

M.A. (Southeast Asia History), Cornell<br />

University, USA<br />

B.Pol.Sc. (Honour)<br />

Economic Anthropology, History of<br />

Economics and Social Studies in the<br />

Rural Area, Social and Development<br />

Theory<br />

จบการศึกษารัฐศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยม<br />

อันดับหนึ่ง) สาขาการเมืองการปกครอง จาก<br />

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จากนั้นเข้าศึกษา<br />

ต่อด้านรัฐศาสตร์ที่ มหาวิทยาลัยฮาวาย<br />

ประเทศสหรัฐอเมริกา ด้วยทุนการศึกษาจาก<br />

East-West Center เมื่อ พ.ศ. 2524<br />

ศาสตราจารย์ประจำสาขาวิชาการเมือง<br />

การปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย<br />

ธรรมศาสตร์ ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ<br />

สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ในปี<br />

พ.ศ. 2549<br />

Professor Dr. Chaiwat Satha Anand<br />

He obtained his Bachelor of Political<br />

Science (First Class Honour) from<br />

Thammasat University. He continued his<br />

Postgraduate Studies at University of<br />

Hawaii at Manoa with the scholarship from<br />

East-West Centre in 1981.<br />

He is professor of political science at<br />

Thammasat University, Bangkok and<br />

director of the Thai Peace Information<br />

Centre. He is an expert on non-violence,<br />

theory as well as activism, and on Islam.<br />

In 2006, Professor Dr.Chaiwat Satha<br />

Anand was honoured with national<br />

excellent researcher in Political Science.<br />

292


ศาสตราจารย์เกียรติคุณอรศิริ ปาณินท์<br />

จบการศึกษาในระดับปริญญาตรีด้าน<br />

สถาปัตยกรรมไทย จากมหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากรและปริญญาโทด้านสถาปัตยกรรม<br />

เมืองร้อนจาก Pratt Institute, New York<br />

ผู้เชี่ยวชาญเรื่องสถาปัตยกรรมและทฤษฎี<br />

การออกแบบสถาปัตยกรรมตลอดจน<br />

สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นและภูมิทัศน์<br />

วัฒนธรรมในงานสถาปัตยกรรม ปัจจุบัน<br />

เป็นศาสตราจารย์ และผู้มีความรู้ความ<br />

สามารถพิเศษ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

ศาสตราจารย์เกียรติคุณอรศิริ ปาณินท์<br />

ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขา<br />

ปรัชญา พ.ศ. 2547<br />

Professor Emeritus Onsiri Panin<br />

She obtained her Bachelor Degree in<br />

Thai Architecture from Silpakorn<br />

University. She continued her<br />

Postgraduate study in Tropical<br />

Architecture at Pratt Institute, New<br />

York.<br />

Her expertise is on architecture and<br />

theories of architectural design, also,<br />

Vernacular Architecture and its Cultural<br />

Landscape. She is Professor of<br />

Emeritus at the Faculty of Architecture,<br />

Kasetsart University.<br />

In 2004, Professor Onsiri Panin was<br />

honoured with national excellent<br />

researcher in Philosophy.<br />

อาจารย์ชัยบูรณ์ ศิริธนะวัฒน์<br />

จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี<br />

สถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต เกียรตินิยม<br />

จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จบการศึกษา<br />

ในระดับปริญญาโทจาก McGill University,<br />

Canada และ University of Pennsylvania,<br />

U.S.A.<br />

Chaiboon Sirithanawat<br />

He obtained his Bachelor Degree in<br />

Architecture (Honour) from Chulalongkorn<br />

University. He continued his Postgraduate<br />

study in McGill University, Canada and<br />

University of Pennsylvania, U.S.A.<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์กิจโชติ นันทนสิริวิกรม<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำภาควิชาสถาปัตยกรรม<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร์ จบการศึกษาในระดับ<br />

สถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต จากคณะ<br />

สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

เมื่อ พ.ศ. 2536 ได้รับทุนรัฐบาลให้ไปศึกษาต่อ<br />

ในระดับปริญญาโทถึงปริญญาเอกที่ประเทศ<br />

อังกฤษในปี พ.ศ. 2539 สำเร็จการศึกษาในระดับ<br />

สถาปัตยกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต [M.Arch<br />

(architectural Design), Dipl. Arch.] จาก The<br />

Bartlett School of Architecture, University<br />

College London ศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก<br />

ทางด้านประวัติศาสตร์และทฤษฎีสถาปัตยกรรม<br />

ที่ The Architectural Association School of<br />

Architecture ภายใต้หัวเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ<br />

Psychoanalysis and Space แต่ไม่สามารถ<br />

เขียนวิทยานิพนธ์ได้สำเร็จตามเงื่อนไขเวลาของ<br />

การรับทุน เดินทางกลับมาเข้ารับราชการในปี<br />

พ.ศ. 2545<br />

ปัจจุบันยังปฏิบัติหน้าที่ในการสอนทั้งในส่วนของ<br />

ทฤษฎีทางสถาปัตยกรรมและปฏิบัติการออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรมควบคู่กันไป<br />

ปัจจุบันยังผลิตผลงานทางวิชาการและผลงาน<br />

วิชาชีพควบคู่กันไป<br />

Assistant Professor Quijxote Nuntanasirivikrom<br />

is an assistant professor in the Department<br />

of Architecture, Faculty of Architecture,<br />

Kasetsart University. He obtained his<br />

Bachelor Degree of Architecture from the<br />

Faculty of Architecture in 1993. In 1996, he<br />

was granted a scholarship to study abroad<br />

by the Royal Thai Government. He<br />

completed his post graduate studies<br />

[M.Arch (Architectural Design), Dipl. Arch.]<br />

from the Bartlett School of Architecture,<br />

University College London. He continued<br />

his study in Ph.D. Histories and Theories<br />

at the Architectural Association School of<br />

Architecture with his thesis topic on<br />

Psychoanalysis and Space. The thesis<br />

could not be completed within the duration<br />

of time allowed by the scholarship that he<br />

was awarded. He returned home in 2002<br />

and has performed his duty as a government<br />

officer since then.<br />

He continually operates the histories and<br />

theories classes and the architectural design<br />

studio classes.<br />

He consistently keeps producing his works<br />

in both academic practice and professional<br />

practice.<br />

293


294


บ้านเรือนถิ่นไทย<br />

ในช่วงเจ็ดทศวรรษ :<br />

พ.ศ. <strong>2489</strong>-<strong>2559</strong><br />

ปี <strong>2489</strong> 2490<br />

สังคม ก่อน พ.ศ. 2500<br />

ช่วงที่ 1 ยุคจารีตแบบแผน<br />

2490 บ้านผู้ใหญ่ถวิล<br />

การปกครอง <strong>2489</strong> - 2493<br />

สถานะของการวางรากฐานเพื่อความมั่นคงสร้างครอบครัว<br />

เศรษฐกิจ 2490 - 2501<br />

ชาตินิยมเชิงเศรษฐศาสตร์<br />

และ การคอรัปชั่น :<br />

การวางรากฐาน<br />

แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ<br />

ปัจจัยเกี่ยวเนื่อง <strong>2489</strong> - 2500<br />

หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 : เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย ชาตินิยม<br />

2490 โรงรับจำนำ ทองไทย (สามแยก)<br />

295


ปี<br />

2491 2492 2493 2494 2495<br />

สังคม<br />

ก่อน พ.ศ. 2500<br />

ช่วงที่ 1 : ยุคจารีตแบบแผน<br />

1 ภาวะสับสนวุ่นวายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2482-2488) เพราะเป็นช่วงที่<br />

ได้รับผลกระทบด้านต่างๆ ทั้งทางเศรษฐกิจและ การเมือง<br />

2 สภาวะทางสังคมยังไม่ชัดเจน พวกเขาจึงต้องรักษาวิถีแบบเดิม ๆ อย่างที่เคย<br />

เป็นอยู่เอาไว้ก่อน ช่วงเวลานี้จึงอาจจัดได้ว่าเป็นยุคจารีตแบบแผน<br />

3 การเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็นค่อยไป<br />

การปกครอง<br />

เศรษฐกิจ<br />

<strong>2489</strong> - 2493<br />

สถานะของการวางรากฐานเพื่อความมั่นคงสร้างครอบครัว<br />

1 ช่วงเวลาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งเศรษฐกิจล่มสลาย<br />

2 รัสเซียและจีนซึ่งยังมีเงินได้เผยแพร่ลัทธิการปกครองแบบคอมมิวนิสต์เข้ามา<br />

แทนจักรวรรดินิยม<br />

3 ประเทศในเอเชียที่เพิ่งพ้นจากการเป็นเมืองขึ้นของตะวันตกกำลังพะวงและยัง<br />

ไม่มีความชัดเจนในเรื่องของระบอบการปกครอง<br />

4 การวางรากฐานในเชิงสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครองเพื่อรองรับ<br />

การพัฒนาที่จะเกิดขึ้นต่อไปในอนาคตอันใกล้<br />

2490 - 2501<br />

ชาตินิยมเชิงเศรษฐศาสตร์ และการคอรัปชั่น : การวางรากฐาน<br />

1 รัฐบาลที่ถูกครอบงำโดยกองทัพ<br />

2 ช่วงแรกเริ่มซึ่งกลุ่มผู้มีอิทธิพลสองกลุ่ม คือ กองทัพ และกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองซึ่งเคยเป็นปฏิปักษ์<br />

ต่อกันมา ก่อนเริ่มสร้างความสัมพันธ์ในเชิงความร่วมมือต่อกัน ซึ่งทำให้เกิดระบบสินบาทสินบน และส่งผลมาถึง<br />

ยุคต่อมา<br />

3 ภาวะเงินเฟ้อหลังสงครามโลก<br />

4 ทางการไทยแสดงท่าทีต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์<br />

5 กลุ่มชาวจีนในประเทศไทยเริ่มที่จะเอาใจออกห่างประเทศอันเป็นมาตุภูมิ และเริ่มมีการวางรากฐาน<br />

(อย่างไม่เป็นทางการ) การร่วมมือทางธุรกิจกับต่างชาติ<br />

2494 - 2500 สถานะของพ่อแห่งแผ่นดินพระราชบิดา<br />

2493 บ้าน 12<br />

(บ้านหม่อมเจ้าประสมสวัสดิ์ สุขสวัสดิ์)<br />

ปัจจัยเกี่ยวเนื่อง<br />

<strong>2489</strong> - 2500 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 : เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย ชาตินิยม<br />

2493 - 2513 การบูรณะหลังสงครามโลก<br />

2493 - 2528 ยุคสงครามเย็น<br />

2493 บ้านแห่งชีวิต<br />

296


ปัจจัยเกี่ยวเนื่อง เศรษฐกิจ<br />

การปกครอง<br />

สังคม ปี<br />

2496 2497 2498 2499 2500<br />

4 การยึดโยงอยู่กับระบบเครือญาติ และครอบครัวขยายเป็นหลัก<br />

5 ระบบราชการเองจึงพยายามเริ่มวางโครงสร้างให้มีระเบียบแบบแผน และเริ่ม<br />

ขยายออกไปตามท้องถิ่นต่าง ๆ ในภูมิภาคมากขึ้น<br />

6 ถ่ายทอดอิทธิพลของรูปแบบอาคารจากชนิดที่เป็นที่นิยม<br />

7 ยังไม่มีความจาเป็นในการจ้างสถาปนิกมาออกแบบอาคารบ้านเรือนของสามัญชน<br />

2500 - 2510<br />

ช่วงที่ 2 : ยุคนำเข้า<br />

ความเป็นสมัยใหม่<br />

2494 - 2500 สถานะของพ่อแห่งแผ่นดินพระราชบิดา<br />

: ขยายความเชื่อมั่นในฐานะของผู้นำในการสร้างปัจจัยที่จะมีความสำคัญต่อไปเป็นระยะยาวในอนาคต<br />

2497 - 2502 สถานะของพ่อและคนไทยคนหนึ่งที่ไม่มีช่องว่างระหว่างกษัตริย์กับราษฎร<br />

: เสด็จเยี่ยมราษฎร ๔ ภาคครั้งแรกในรัชกาล<br />

2498 - 2512 สถานะของนักประดิษฐ์<br />

: ฝนหลวง<br />

2500 - 2516 สถานะของ<br />

นักดนตรีและการสื่อสารฯ<br />

<strong>2489</strong> - 2500 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 : เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย ชาตินิยม<br />

2493 - 2513 การบูรณะหลังสงครามโลก<br />

2493 - 2528 ยุคสงครามเย็น<br />

2500 - 2516<br />

เผด็จการสามจอมพล<br />

297


ปี<br />

2501 2502 2503 2504 2505<br />

สังคม<br />

2500 - 2510<br />

ช่วงที่ 2 : ยุคนำเข้าความเป็นสมัยใหม่<br />

1 สถาบันการศึกษาขั้นสูงในประเทศได้ขยายตัวอย่างมาก<br />

2 ผลิตบุคลากรรุ่นใหม่ขึ้น ทั้งในระบบราชการตามสายอาชีพตลอดจนกลุ่มสายอาชีพที่<br />

เข้าทางานกับหน่วยงานเอกชน<br />

3 การก่อตัวขึ้นของกลุ่มชนชั้นกลางใหม่ ที่มาจากระบบการศึกษา ตลอดจน<br />

เป็นการขยายตัวของสายอาชีพ<br />

4 การขยายตัวของสถาบันการศึกษายังเป็นปัจจัยหนุนให้ผู้คนจากส่วนภูมิภาคย้าย<br />

ถิ่นเข้าสู่เมืองกรุงมากขึ้น<br />

5 กาลังซื้อและสภาวะของการใช้ชีวิตในการแยกตัวออกมาเป็นครอบครัวเดี่ยว<br />

การปกครอง<br />

2497 - 2502<br />

สถานะของพ่อ<br />

2502 - 2510<br />

สถานะของนักการทูต<br />

: ทรงบำเพ็ญพระองค์เป็นสัญลักษณ์แห่งความสามัคคีและมิตรภาพที่มั่นคงในโลกเสรี<br />

: ประพาสต่างประเทศมากที่สุด<br />

เศรษฐกิจ<br />

2498 - 2512<br />

สถานะของนักประดิษฐ์ : ฝนหลวง<br />

2500 - 2516<br />

1 การสื่อสารกับพสกนิกรอย่างต่อเนื่องและทั่วถึงมากขึ้น<br />

สถานะของนักดนตรีและการสื่อสารมวลชน 2 ช่องทางการสื่อสารบนนัยยะของความเป็นไทยผ่านกระบวนการอย่างสากล<br />

2501 - 2516 1 การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่มีรากฐานมาจากการเกษตร การปฏิรูปเศรษฐกิจภายในระบบซึ่งเป็นการปฏิรูป<br />

ยุคทองแห่งความพัฒนา ในวงกว้างมากที่สุดในยุคหลังสงคราม/ การปรับเปลี่ยนทิศทางของนโยบายทางเศรษฐกิจจากการกาหนดทิศทาง<br />

คร่าวๆ สะเปะสะปะภายใต้แนวคิดเศรษฐศาสตร์ชาตินิยมมาเป็นการส่งเสริมธุรกิจเอกชน รวมทั้งบรรษัทต่างชาติ<br />

มากขึ้น<br />

2 การที่การปฏิรูปเศรษฐกิจในยุคนี้มีผลในวงกว้างและประสบความสาเร็จ เป็นการบ่งชี้ว่ากลุ่มอามาตยาธิปไตย<br />

(bureaucracy) ในระบบเก่าให้การยอมรับและสนับสนุนการปฏิรูปเช่นนี้มากขึ้น ซึ่งเป็นจุดกาเนิดของกลุ่ม<br />

นักปกครองยุคใหม่ที่มีความรู้ความสามารถทางด้านวิชาการ หรือที่เรียกกันว่าเทคโนแครต (technocracy)<br />

ปัจจัยเกี่ยวเนื่อง แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ<br />

2493 - 2513 การบูรณะหลังสงครามโลก<br />

2493 - 2528 ยุคสงครามเย็น<br />

2503 บ้านพรหมคง<br />

2504 - 2506<br />

ฉบับที่ 1 (ระยะที่ 1)<br />

มุ่งหนักไปในด้านเพิ่มประสิทธิภาพและปริมาณของการ<br />

ผลิตพืชผลเกษตรกรรม รวมทั้งการสงวนป่ากับ<br />

การปรับปรุงการขนส่งและสื่อสารให้สะดวกรวดเร็ว<br />

ยิ่งขึ้น ส่วนการขยายตัวของอุตสาหกรรมนั้นอาศัย<br />

การส่งเสริมการลงทุนเป็นเครื่องมือสนับสนุนให้เอกชน<br />

ดาเนินการ กิจการด้านพลังงานและสาธารณูปโภค<br />

อื่นๆ จะขยายออกไปได้ตามสมควร<br />

2504 บ้านเหรียญทอง<br />

2500 - 2516 เผด็จการสามจอมพล<br />

298


ปัจจัยเกี่ยวเนื่อง แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ เศรษฐกิจ<br />

การปกครอง<br />

สังคม ปี<br />

2506 2507 2508 2509 2510<br />

2502 - 2510<br />

สถานะของนักการทูต<br />

2498 - 2512<br />

สถานะของนักประดิษฐ์<br />

2500 - 2516<br />

สถานะของนักดนตรีและการสื่อสารมวลชน<br />

2501 - 2516<br />

ยุคทองแห่งความพัฒนา<br />

2493 - 2513 การบูรณะหลังสงครามโลก<br />

2493 - 2528 ยุคสงครามเย็น<br />

2510 - 2520<br />

ช่วงที่ 3 :<br />

ยุคสายลมแสงแดด<br />

1 สงครามเย็น 2 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศพระราชกรณียกิจทางการทูตที่ส ำคัญ และเป็นประโยชน์ยิ่งต่อ<br />

ประเทศไทย 3 การดำเนินนโยบายกันชนทางลัทธิความเชื่อ ระหว่างลัทธิคอมมิวนิสต์และลัทธิเสรีประชาธิปไตย<br />

2508 - 2523 สถานะของการผู้บรรเทาความขัดแย้งทางความเชื่อ ระหว่างลัทธิ<br />

คอมมิวนิสต์และลัทธิเสรีประชาธิปไตย : วันเสียงปืนแตก<br />

2508 - 2510<br />

: ฝนหลวง สถานะของนักประดิษฐ์ : เรือใบ<br />

3 สร้างบทบาทสาคัญให้กับเศรษฐกิจมหภาค<br />

4 รัฐบาลให้ความสาคัญกับการลงทุนและการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ไม่เพียงแต่มีการเจริญเติบโตทาง<br />

เศรษฐกิจเท่านั้น แต่มีการกระจายความมั่งคั่งไปยังพื้นที่ยากจนตามถิ่นทุรกันดารอีกด้วย<br />

5 มีการก่อตั้งสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (สกท.)<br />

6 การขยายตัวของภาคการเกษตร<br />

7 เริ่มมีการถมที่แม่น้า รื้อถอนรางรถไฟ ตัดไม้ถางป่า เพื่อจัดสรรพื้นที่ให้กับโครงการตัดถนน<br />

และมีการขายสัมปทานโครงการตัดไม้ให้แก่บริษัทเอกชน<br />

8 การชลประทาน/ เขื่อนชลประทานเจ้าพระยา/ เขื่อนยันฮี<br />

9 กาเนิดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ<br />

2507 - 2509<br />

ฉบับที่ 1 (ระยะที่ 2)<br />

การยกมาตรฐานการครองชีพของประชาชนให้มีระดับสูงขึ้นกว่าเดิมด้วยการระดม<br />

และใช้ทรัพยากรเศรษฐกิจของประเทศให้เป็นประโยชน์มากที่สุดเพื่อขยายการผลิต<br />

และเพิ่มพูนรายได้ประชาชาติให้รวดเร็วยิ่งขึ้น หรือจะกล่าวอีกนัยหนึ่งเป็นการเพิ่ม<br />

ปริมาณสิ่งของและให้บริการแก่ประชาชนแต่ละคนให้สูงมากขึ้น อันเป็นทางช่วยให้<br />

ประชาชนสามารถดำรงชีพอยู่ได้ด้วยความผาสุขทั้งในด้านวัตถุและด้านจิตใจ<br />

ทั้งนี้โดยถือว่าสิ่งของและบริการที่เพิ่มขึ้นนั้นจะต้องไปถึงประชาชนโดยทั่วถึงตาม<br />

ส่วนที่เป็นธรรม<br />

2508 บ้านไทยยืนยง<br />

2510 - 2514<br />

ฉบับที่ 2<br />

2510<br />

บริษัท เชียงใหม่ธาราภัณฑ์ จำกัด<br />

2500 - 2516 เผด็จการสามจอมพล<br />

299


ปี<br />

2511 2512 2513 2514 2515<br />

สังคม<br />

2510 - 2520<br />

ช่วงที่ 3 : ยุคสายลมแสงแดด<br />

1 วิกฤตพลังงานอันเกิดจากภาวะนา้มันขาดแคลน พ.ศ.2516<br />

2 ผลกระทบทางเศรษฐกิจ ผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การเรียก<br />

ร้องประชาธิปไตย<br />

3 บูรณาการพัฒนาการทางความคิดที่ต่อเนื่องจากช่วงก่อนหน้าแสดงออกอย่าง<br />

ชัดเจนมากขึ้นผ่านการมีอิสระทางความคิด รองรับด้วยพัฒนาการของการผลิตทั้ง<br />

ในแง่ของวัสดุอุปกรณ์อาคารและวิธีการก่อสร้าง<br />

4 การทางานระบบระเบียบวิธีคิดที่ถึงแม้มีอิสระมากขึ้นแต่ยังคงอยุ่ภายใต้ข้อจากัด<br />

ที่เกิดจากสภาวะทางเศรษฐกิจ<br />

การปกครอง<br />

เศรษฐกิจ<br />

2511 - <strong>2559</strong> : โครงการหลวง<br />

สถานะของนักพัฒนา<br />

2508 - 2523<br />

สถานะของการผู้บรรเทาความขัดแย้งทางความเชื่อ ระหว่างลัทธิคอมมิวนิสต์และลัทธิเสรีประชาธิปไตย<br />

2498 - 2512 : ฝนหลวง<br />

สถานะของนักประดิษฐ์<br />

2500 - 2516<br />

สถานะของนักดนตรีและการสื่อสารมวลชน<br />

2501 - 2516<br />

ยุคทองแห่งความพัฒนา<br />

ปัจจัยเกี่ยวเนื่อง แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ<br />

2510 - 2514<br />

ฉบับที่ 2<br />

2493 - 2513 การบูรณะหลังสงครามโลก<br />

2493 - 2528 ยุคสงครามเย็น<br />

2512 บ้านอาจารย์อรศิริ<br />

1 ระดมทรัพยากรกาลังคน ทรัพยากรธรรมชาติ และทุนมาใช้ให้เกิดคุณประโยชน์<br />

สูงสุดในด้านเศรษฐกิจตามหลักวิชาการและวิทยาการแผนใหม่ เพื่อขยายพลัง<br />

การผลิตของประเทศอันจะเป็นการเพิ่มพูนรายได้ประชาชาติ<br />

2 ส่งเสริมและรักษาไว้ซึ่งความเป็นธรรมของสังคม เชิดชูสถาบันที่สาคัญของชาติ<br />

ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงาม สงเคราะห์ราษฎรซึ่งอยู่ใน<br />

เขตทุรกันดารห่างไกลและที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้เต็มที่<br />

3 รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและการเงินการคลัง เพื่อให้การพัฒนาประเทศ<br />

ได้ลุล่วงไปด้วยดีและเพื่อเป็นหลักประกันอนาคตของชาติ<br />

4 สนับสนุนการรักษาความมั่นคงของชาติ โดยถือหลักว่าความมั่นคงของชาติ<br />

ย่อมอาศัยพลังทางเศรษฐกิจและความสามัคคีเป็นอันเดียวของระบบสังคม<br />

2515 - 2519<br />

ฉบับที่ 3<br />

2500 - 2516 เผด็จการสามจอมพล<br />

2514 หมู่ตำหนักกว๊านพะเยา<br />

300<br />

2512 บ้านพักรับรองสวนสองแสน


ปัจจัยเกี่ยวเนื่อง แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ เศรษฐกิจ<br />

การปกครอง<br />

สังคม ปี<br />

2516 2517 2518 2519 2520<br />

2517- 2540 : ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง<br />

สถานะของนักพัฒนา<br />

2508 - 2523<br />

สถานะของการผู้บรรเทาความขัดแย้งทางความเชื่อ ระหว่างลัทธิคอมมิวนิสต์และลัทธิเสรีประชาธิปไตย<br />

2501 - 2516<br />

ยุคทองแห่งความพัฒนา<br />

2516 - 2528<br />

วิกฤตน้ามัน<br />

: ภาวะสุ่มเสี่ยงไม่มั่นคง<br />

2520 - 2530<br />

ช่วงที่ 4 :<br />

ยุคโชติช่วงชัชวาล<br />

1 ความรุ่งเรืองที่ถูกขับเคลื่อนโดยอุตสาหกรรม วิกฤตน้ามัน พ.ศ. 2516, 2522<br />

2 ความสามารถในการผลิตผลิตผลทางการเกษตรในระดับโลก<br />

3 การลดลงของโอกาสทางการเกษตร/ แรงงานที่ย้ายถิ่นฐานมาอยู่บริเวณอุตสาหกรรมอยู่นานขึ้นเพราะมีงาน<br />

ประจาทาในโรงงาน การแข่งขันชนิดใหม่ในสินค้าประเภทใช้แรงงานเบา เช่น เสื้อผ้า อัญมณี เครื่องประดับ<br />

เครื่องกระป๋อง และไลน์การผลิตประเภทสินค้าอิเล็กทรอนิกส์<br />

1 กำหนดแนวทางพัฒนาส่วนรวมขึ้นก่อนแล้วจึงวางแนวทางพัฒนาโครงการและมาตรการแต่ละสาขา<br />

ให้สอดคล้องกับแนวทางพัฒนาส่วนรวม<br />

2 ประสานโครงการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและโครงการพัฒนาด้านสังคมเข้าด้วยกันให้ใกล้ชิดยิ่งขึ้น<br />

โดยให้สนับสนุนซึ่งกันและกัน<br />

3 เพิ่มความสำคัญในการพัฒนาส่วนภูมิภาค และได้จัดทำแผนพัฒนาระดับภาคและระดับจังหวัดขึ้น<br />

โดยให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาฯ ส่วนรวม<br />

4 ผนวกโครงการที่เกี่ยวข้องกับการเตรียมพร้อมแห่งชาติเข้าไว้กับแผนพัฒนาฯ ส่วนรวมด้วย<br />

เพื่อสนับสนุนการรักษาความมั่นคงของประเทศ<br />

5 วางนโยบายในด้านการวางแผนครอบครัวและการมีงานทำขึ้นเป็นครั้งแรก<br />

6 ขยายการวางแผนในส่วนเอกชน โดยสนับสนุนหลักการให้รัฐบาลและเอกชนได้มีส่วนช่วยเหลือเกื้อกูลกัน<br />

ในการพัฒนาประเทศอย่างใกล้ชิด<br />

2493 - 2528 ยุคสงครามเย็น<br />

2520 สตูดิโอมณเฑียร<br />

2520 อาคารเลียววิริยะ<br />

2520 - 2524<br />

ฉบับที่ 4<br />

2500 - 2516<br />

เผด็จการสามจอมพล<br />

2520 บ้านพัก สืบ นาคะเสถียร<br />

2520 - 2531<br />

ประชาธิปไตยครึ่งใบ<br />

301


ปัจจัยเกี่ยวเนื่อง แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ เศรษฐกิจ<br />

การปกครอง<br />

สังคม ปี<br />

2521 2522 2523 2524 2525<br />

2520 - 2530<br />

ช่วงที่ 4 : ยุคโชติช่วงชัชวาล<br />

2511 - <strong>2559</strong> : โครงการหลวง<br />

สถานะของนักพัฒนา<br />

2508 - 2523<br />

สถานะของการผู้บรรเทาความขัดแย้งทางความเชื่อ<br />

ระหว่างลัทธิคอมมิวนิสต์และลัทธิเสรีประชาธิปไตย<br />

2516 - 2528<br />

วิกฤตน้ามัน<br />

2520 - 2524<br />

ฉบับที่ 4<br />

2493 - 2528 ยุคสงครามเย็น<br />

2520 - 2531 ประชาธิปไตยครึ่งใบ<br />

1 การเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว<br />

2 การค้นพบแหล่งพลังงานทางเลือกนามาซึ่งมาตรการการเร่งรัดในแผนพัฒนา<br />

เศรษฐกิจ<br />

3 การลดบทบาทลงของภาคเกษตรกรรมที่สวนทางกับการเพิ่มบทบาทของ<br />

อุตสาหกรรมที่ให้ความสาคัยต่อการส่งออก<br />

4 การปรับตัวทั้งในด้านวิถีชีวิตและการประกอบอาชีพ<br />

23 เมษายน พ.ศ. 2523<br />

นโยบายใช้การเมืองนำ<br />

การทหาร<br />

4 รัฐวิสาหกิจเข้ามามีบทบาทเกี่ยวกับด้านพลังงาน<br />

5 การแบ่งขั้วทางการเมืองภายในประเทศ<br />

6 การแบ่งขั้วดังกล่าวทาให้เกิดการชะงักงันในภาคการเงิน การลงทุน และยับยั้งการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน<br />

หลายโครงการ<br />

1 เร่งเสริมสร้างระบบเศรษฐกิจหลังจากที่ได้ซบเซาลงในช่วงหลังของแผนพัฒนาฯ 2525 - 2529<br />

ฉบับที่ 3 ให้สามารถขยายกำลังผลิต การลงทุนและเสริมสร้างการมีงานทำในช่วง ฉบับที่ 5<br />

ปี 2520 และ 2521<br />

2 ลดช่องว่างในฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมในหมู่ประชาชนให้ลดน้อยลง โดยเร่ง<br />

ให้มีการกระจายรายได้และยกฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมของชาวนาชาวไร่ผู้ใช้<br />

แรงงาน คนยากจนและกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ให้มั่นคงมีความเป็นอยู่ดีขึ้น ตลอดทั้ง<br />

การเร่งกระจายความเจริญทางด้านเศรษฐกิจและการขยายบริการสังคมให้ไปถึงมือ<br />

ประชาชนในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่นชนบทอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น<br />

3 ปรับปรุงคุณภาพของประชากรตลอดทั้งการเพิ่มการจ้างงานในประเทศ โดยมุ่งลด<br />

อัตราเพิ่มของประชากรให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมและได้ดุลยภาพกับทรัพยากรและ<br />

อัตราการพัฒนาของประเทศ<br />

4 เร่งบูรณะและปรับปรุงการบริหารทรัพยากรหลักตลอดทั้งสิ่งแวดล้อมของชาติ<br />

โดยเฉพาะการพัฒนาบูรณะและบริการจัดสรรที่ดิน ป่าไม้ แหล่งน้ำ และแหล่งแร่ให้<br />

เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจสูงสุด และป้องกันมิให้เกิดความเสื่อมโทรมจนเป็นอันตราย<br />

ต่อสภาวะสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาประเทศในอนาคต<br />

5 สนับสนุนขีดความสามารถในการป้องกันประเทศและแก้ปัญหาในบางพื้นที่เพื่อ<br />

ความมั่นคง โดยมุ่งที่จะพัฒนาทรัพยากรที่จำเป็นต่อการป้องกันประเทศ<br />

2522 - 2532 การล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์<br />

2523 - 2533 การผ่อนคลายกฎระเบียบทางการค้าและการเปลี่ยนโอนกิจการของ<br />

รัฐให้เป็นของเอกชน<br />

302


ปี<br />

2526 2527 2528 2529 2530<br />

สังคม<br />

2520 - 2530<br />

ช่วงที่ 4 : ยุคโชติช่วงชัชวาล<br />

5 การเล็งเห็นช่องทางที่มากขึ้นในด้านเศรษฐกิจเชิงบริการ<br />

6 เกิดคนกลุ่มใหม่ ชนชั้นพนักงาน<br />

7 เกิดสังคมเมืองสมัยใหม่<br />

8 การกระจายตัวสู่ชนบท<br />

9 การแสวงหาความแตกต่างหลากหลาย<br />

การปกครอง<br />

2517- 2540<br />

สถานะของนักพัฒนา<br />

: ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง<br />

เศรษฐกิจ<br />

2528 - 2538<br />

ยุครุ่งเรืองของอุตสาหกรรม<br />

ปัจจัยเกี่ยวเนื่อง แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ<br />

ประการแรก : เน้น “การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ” มากกว่า “การมุ่งขยายอัตราความเจริญทางเศรษฐกิจ”<br />

ประการที่สอง : เน้น “ความสมดุล” ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ<br />

ประการที่สาม : เน้น “การแก้ปัญหาความยากจน” ของคนชนบทในเขตล้าหลัง<br />

ประการที่สี่ : มุ่งการประสานงานพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการบริหารงานรักษาความมั่นคงของชาติ<br />

ประการที่ห้า : เน้นการแปลงแผนไปสู่ภาคปฏิบัติโดยการปฏิรูปขบวนการวางแผนงาน<br />

ประการสุดท้าย : เน้น “บทบาทและระดมความร่วมมือจากภาคเอกชน”<br />

2493 - 2528 ยุคสงครามเย็น<br />

2520 - 2531 ประชาธิปไตยครึ่งใบ<br />

2522 - 2532 การล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์<br />

2528 - ปัจจุบัน ยุคโลกาภิวัฒน์<br />

2529<br />

บ้านร้านค้า “สงวนโพธิ์พระ”<br />

2530 - 2534<br />

ฉบับที่ 6<br />

303


ปัจจัยเกี่ยวเนื่อง แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ เศรษฐกิจ<br />

การปกครอง<br />

สังคม ปี<br />

2531 2532 2533 2534 2535<br />

2530 - 2540<br />

ช่วงที่ 5 ยุคหลุดจากราก 1 2 ต่อยอดการเจริญเติบโตทางด้านอุตสาหกรรมการส่งออก<br />

การขยายตัวของเศรษฐกิจในภาคบริการ<br />

3 แนวความคิดเชื่อมโยงตลอดจนการเข้าสู่สังคมโลกอย่างเต็มรูปแบบ<br />

4 ความหนาแน่นที่มากขึ้นจนเลยจุดสมดุลต่อการอยู่กับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ<br />

5 การขยายตัวอย่างรวดเร้วนามาซึ่งการลงทุนเพื่อแสวงหาผลกาไรในอนาคต<br />

2511 - <strong>2559</strong><br />

สถานะของนักพัฒนา<br />

2528 - 2538<br />

ยุครุ่งเรืองของอุตสาหกรรม<br />

2530 - 2534<br />

ฉบับที่ 6<br />

2531 - 2543 รัฐบาลบุฟเฟ่ต์<br />

: โครงการหลวง<br />

2532 - 2536<br />

สถานะของนักประดิษฐ์<br />

2520 - 2531<br />

ประชาธิปไตยครึ่งใบ<br />

2522 - 2532 การล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์<br />

: กังหันน้ำชัยพัฒนา<br />

1 เริ่มมีการจัดประมูลโครงการจัดสรรสาธารณูปโภคพื้นฐาน / การคมนาคม และ<br />

การโทรคมนาคมกับภาคเอกชน<br />

2 สัญญาณของวิกฤตฟองสบู่แตก<br />

3 การขยายของความรู้ทางวิชาการ / การฝึกสอนงานพนักงาน<br />

4 การลดความหนาแน่นของกิจกรรมทางเศรษฐกิจในกรุงเทพฯ / การกระจายระบบ<br />

สาธารณูปโภคพื้นฐานสู่พื้นที่รอบนอก, กาหนดสิทธิพิเศษทางด้านการเสียภาษีผ่าน สกท.<br />

5 การเข้าสู่กระแสของอุตสาหกรรมใหม่<br />

1 เพิ่มประสิทธิภาพในการพัฒนาประเทศ ทั้งในด้านทรัพยากรมนุษย์ วิทยาศาสตร์<br />

และเทคโนโลยี และทรัพยากรธรรมชาติ<br />

2 ปรับปรุงระบบการผลิต การตลาด และยกระดับคุณภาพปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจ<br />

เพื่อให้ต้นทุนสินค้าลดลง กระจายชนิดสินค้าให้มากขึ้นควบคู่ไปกับการขยายตลาด<br />

และพัฒนาระบบตลาดในประเทศไปพร้อมๆ กัน<br />

3 มุ่งกระจายรายได้และความเจริญไปสู่ภูมิภาคและชนบทมากขึ้น โดยให้ยึดกลุ่มผู้<br />

มีรายได้น้อย ทั้งในภูมิภาคและชนบท เป็นกลุ่มเป้าหมายหลักที่ควรได้รับผลจาก<br />

การพัฒนาประเทศ<br />

2535 - 2539<br />

ฉบับที่ 7<br />

2523 - 2533 การผ่อนคลายกฎระเบียบทางการค้าและการเปลี่ยนโอน<br />

กิจการของรัฐให้เป็นของเอกชน<br />

2528 - ปัจจุบัน ยุคโลกาภิวัฒน์<br />

304


ปัจจัยเกี่ยวเนื่อง แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ เศรษฐกิจ<br />

การปกครอง<br />

สังคม ปี<br />

2536 2537 2538 2539 2540<br />

2528 - 2538<br />

ยุครุ่งเรืองของอุตสาหกรรม<br />

2517- 2540<br />

สถานะของนักพัฒนา<br />

: ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง<br />

2539 - 2540<br />

วิกฤตเศรษฐกิจ<br />

1 รักษาอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมเพื่อให้การเจริญเติบโตเป็นไปอย่างต่อเนื่องและ<br />

มีเสถียรภาพ<br />

2 การกระจายรายได้และกระจายการพัฒนาไปสู่ภูมิภาคและชนบทให้กว้างขวางยิ่งขึ้น<br />

3 เร่งรัดพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ<br />

2531 - 2543 รัฐบาลบุฟเฟ่ต์<br />

2537 บ้านอาจารย์สุริยา<br />

2540 - 2545<br />

ไอเอ็มเอฟ<br />

2540 - 2544<br />

ฉบับที่ 8<br />

2528 - ปัจจุบัน ยุคโลกาภิวัฒน์<br />

305


ปี<br />

2541 2542 2543 2544 2545<br />

สังคม<br />

หลัง พ.ศ. 2540<br />

ช่วงที่ 6 ยุคกับดักความขัดแย้ง<br />

1 วิกฤตเศรษฐกิจและการเงินครั้งใหญ่ “ฟองสบู่แตก”<br />

2 สภาวะทางสังคมที่ก่อให้กิดการหันกลับมาทบทวนเพื่อคิดค้นและหาทางเลือก<br />

3 ความขัดแย้งทางการเมืองที่กระตุ้นให้เกิดความหลากหลายทางความคิด<br />

4 การปฏิรูปเชิงโครงสร้าง เพื่อสร้างกลไกและสถาบันทางสังคมรูปแบบใหม่ๆ<br />

มารองรับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในอนาคต<br />

5 รูปแบบที่มีความแตกต่างหลากหลายภายใต้การจาแนกหมวดหมู่สามัญ<br />

เศรษฐกิจ<br />

การปกครอง<br />

2544 บ้าน (นอก) เข้ากรุง<br />

2544 - 2548<br />

ยุคทักษิณ<br />

2540 - 2545<br />

ไอเอ็มเอฟ<br />

1 ช่วงขาลงของธุรกิจภาคเอกชน<br />

2 ปัญหาในการบริหารจัดการทรัพย์สินหลุดจำนอง<br />

ปัจจัยเกี่ยวเนื่อง แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ<br />

2540 - 2544<br />

ฉบับที่ 8<br />

1 พัฒนาศักยภาพของคนทางด้านจิตใจให้เป็นคนดี มีคุณธรรม มีจิตสำนึกที่ดีต่อ<br />

สังคมส่วนรวม<br />

2 พัฒนาคนทุกคนให้สามารถคิดวิเคราะห์บนหลักของเหตุผล มีการเรียนรู้อย่างต่อ<br />

เนื่องตลอดชีวิต มีโลกทัศน์กว้าง รวมทั้งมีประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตสูงขึ้น<br />

สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทางด้านเศรษฐกิจและสังคม<br />

3 ส่งเสริมให้คนมีสุขภาพพลานามัยดีถ้วนหน้า มีความรู้ความเข้าใจและความ<br />

สามารถในการป้องกันโรคและดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวได้อย่างมี<br />

ประสิทธิภาพ<br />

4 เพื่อเสริมสร้างโอกาสให้ประชาชนกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทุกกลุ่มได้รับการคุ้มครองช่วย<br />

เหลือ และได้รับบริการพื้นฐานทางสังคมทุกด้านอย่างเหมาะสมทั่วถึงและเป็นธรรม<br />

2531 - 2543 รัฐบาลบุฟเฟ่ต์ 2544 - 2556 : เผด็จการรัฐสภา<br />

2545 - 2549<br />

ฉบับที่ 9<br />

2528 - ปัจจุบัน ยุคโลกาภิวัฒน์<br />

306


ปี<br />

2546 2547 2548 2549 2550<br />

สังคม<br />

2546 บ้านเอื้ออาทร<br />

การปกครอง<br />

เศรษฐกิจ<br />

2544 - 2548 1 ยุทธศาสตร์ทวิวิถี<br />

ยุคทักษิณ 2 การดำเนินนโยบายประชานิยม<br />

2546 - 2549<br />

โครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์<br />

2549<br />

รัฐประหาร<br />

2550<br />

รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550<br />

1. องค์กรอิสระ<br />

2. สิทธิพลเมืองและพลัง<br />

มวลชน/ บทบาทที่เพิ่ม<br />

มากขึ้นขององค์กรพัฒนา<br />

เอกชน (NGOs)<br />

ปัจจัยเกี่ยวเนื่อง แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ<br />

ฉบับที่ 9 : 2545 - 2549 เป็นแผนที่ได้อัญเชิญแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรัสของ<br />

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาเป็นปรัชญานำทางในการพัฒนาและบริหารประเทศ โดยยึดหลักทางสายกลาง<br />

เพื่อให้ประเทศรอดพ้นจากวิกฤตสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคง และนำไปสู่การพัฒนาที่สมดุล มีคุณภาพและ<br />

ยั่งยืน ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และสถานการณ์เปลี่ยนแปลง<br />

(1) ฟื้นฟูเศรษฐกิจให้มีเสถียรภาพและมีภูมิคุ้มกัน สร้างความเข้มแข็งของภาคการเงิน ความมั่นคงและ<br />

เสถียรภาพของฐานะการคลัง ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเพื่อให้เศรษฐกิจระดับฐานรากมีความเข้มแข็งและสามารถ<br />

พึ่งตนเองได้มากขึ้น<br />

(2) วางรากฐานการพัฒนาประเทศให้เข้มแข็ง ยั่งยืน สามารถพึ่งตนเองได้อย่างรู้เท่าทันโลก<br />

(3) เน้นการปฏิรูประบบบริหารจัดการภาครัฐ การบริหารจัดการที่ดีของภาคธุรกิจเอกชน การมีส่วนร่วมของ<br />

ประชาชนในกระบวนการพัฒนา การสร้างระบบการเมืองที่รับผิดชอบต่อสังคมและลดการทุจริตประพฤติมิชอบ<br />

(4) แก้ปัญหาความยากจนและเพิ่มศักยภาพและโอกาสของคนไทยในการพึ่งพาตนเอง ให้ได้รับโอกาส<br />

ในการศึกษาและบริการทางสังคมอย่างเป็นธรรมและทั่วถึง สร้างอาชีพ เพิ่มรายได้ ยกระดับคุณภาพชีวิตของ<br />

ประชาชน<br />

2544 - 2556 : เผด็จการรัฐสภา<br />

2550 - 2554<br />

ฉบับที่ 10<br />

2528 - ปัจจุบัน ยุคโลกาภิวัฒน์<br />

2549 สตูดิโอศรีราชา (ดร. สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา)<br />

307


ปี<br />

สังคม<br />

2551 2552 2553 2554 2555<br />

หลัง พ.ศ. 2540<br />

ช่วงที่ 6 ยุคกับดักความขัดแย้ง<br />

2554 บ้านคุณทัศนีย์ แก้วแจ่ม<br />

การปกครอง<br />

2511 - <strong>2559</strong><br />

สถานะของนักพัฒนา<br />

: โครงการหลวง<br />

2553 บ้านแพ<br />

2552 บ้านเขาใหญ่<br />

2554 หัวหินฮัท<br />

ปัจจัยเกี่ยวเนื่อง แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ<br />

2550 - 2554<br />

ฉบับที่ 10<br />

1 สร้างโอกาสการเรียนรู้คู่คุณธรรม จริยธรรมอย่างต่อเนื่องที่ขับเคลื่อนด้วย<br />

การเชื่อมโยงบทบาทครอบครัว สถาบันศาสนาและสถาบันการศึกษา เสริมสร้าง<br />

บริการสุขภาพ อย่างสมดุลระหว่างการส่งเสริม การป้องกัน การรักษา และ<br />

การฟื้นฟูสมรรถภาพ และสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน<br />

2 เพิ่มศักยภาพของชุมชน เชื่อมโยงเป็นเครือข่าย เป็นรากฐานการพัฒนา<br />

เศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต และอนุรักษ์ ฟื้นฟู ใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ<br />

สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน<br />

3 ปรับโครงสร้างการผลิตสู่การเพิ่มคุณค่า (Value Creation) ของสินค้า และบริการ<br />

บนฐานความรู้และนวัตกรรม รวมทั้งสนับสนุนให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างสาขา<br />

การผลิต เพื่อทําให้มูลค่าการผลิตสูงขึ้น<br />

4 สร้างภูมิคุ้มกัน (Safety Net) และระบบบริหารความเสี่ยงให้กับภาค การเงิน<br />

การคลัง พลังงาน ตลาดปัจจัยการผลิต ตลาดแรงงาน และการลงทุน<br />

5 สร้างระบบการแข่งขันด้านการค้าและการลงทุนให้เป็นธรรม และคํานึงถึงผลประโยชน์<br />

ของประเทศ รวมทั้งสร้างกลไกในการกระจายผลประโยชน์จากการพัฒนาสู่ประชาชน<br />

ในทุกภาคส่วนอย่างเป็นธรรม<br />

6 เสริมสร้างความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและคุณค่าความหลากหลาย<br />

ทางชีวภาพ ควบคู่กับการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้เป็นฐานที่มั่นคงของการพัฒนา<br />

ประเทศ<br />

7 เสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศสู่ภาครัฐ ภาคธุรกิจ เอกชน<br />

และภาคประชาชน และขยายบทบาทขีดความสามารถขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น<br />

2544 - 2556 เผด็จการรัฐสภา 2554<br />

มหาอุทกภัย<br />

2528 - ปัจจุบัน ยุคโลกาภิวัฒน์<br />

2555 - <strong>2559</strong><br />

ฉบับที่ 11<br />

308


ปัจจัยเกี่ยวเนื่อง แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ การปกครอง<br />

สังคม ปี<br />

2556 2557 2558 <strong>2559</strong> 2560<br />

2511 - <strong>2559</strong><br />

สถานะของนักพัฒนา<br />

: โครงการหลวง<br />

1 ยึดหลักการปฏิบัติตาม “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ตั้งแต่ระดับปัจเจก ครอบครัว ชุมชน สังคม จนถึง<br />

ประเทศ<br />

2 ยึดแนวคิดการพัฒนาแบบบูรณาการเป็นองค์รวมที่มี “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” ปรับจากการมุ่งเน้นการ<br />

เติบโตทางเศรษฐกิจมาเป็นการพัฒนาที่ยึด “คน” เป็นตัวตั้ง ให้ความสาคัญกับผลประโยชน์และความอยู่เย็นเป็นสุข<br />

ของประชาชนเป็นหลัก<br />

3 พัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและเชื่อมโยงทุกมิติของการพัฒนาอย่างบูรณาการและเป็นองค์รวม ทั้งมิติตัวคน<br />

สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และการเมือง<br />

4 ยึดกรอบแนวคิดของการพัฒนาบนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประเทศมีสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นเสา<br />

หลักของความเป็นปึกแผ่นของคนในชาติ ครอบครัวมีความสุขเป็นพื้นฐานที่สร้างคนเป็นคนดี ชุมชนมีความเข้ม<br />

แข็งและมีบทบาทในการพัฒนา ระบบเศรษฐกิจมีเสถียรภาพและ มีความสามารถในการแข่งขัน มีการบริการ<br />

สาธารณะที่มีคุณภาพ มีกฎ ระเบียบและกฎหมายที่บังคับใช้อย่างเป็นธรรม และประเทศไทยมีความเชื่อมโยงกับ<br />

ประเทศในภูมิภาคและอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์บนพื้นฐานของการพึ่งพาและผลประโยชน์ร่วมกัน<br />

2528 - ปัจจุบัน ยุคโลกาภิวัฒน์<br />

2560 - 2564<br />

ฉบับที่ 12<br />

309


1<br />

จำนวนประชากร (ล้านคน)<br />

2<br />

ปี (พ.ศ. / ค.ศ.)<br />

3<br />

บ้าน<br />

4<br />

ปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง<br />

5<br />

แผนภาพสรุปรูปแบบบ้านในช่วงเจ็ดทศวรรษ<br />

1<br />

4<br />

3<br />

5<br />

2<br />

310


SEVEN DECADES<br />

OF HOUSES IN<br />

THAILAND :<br />

1946 - 2016 A.D.<br />

Year 1946 1947<br />

Socio<br />

Before 1957 A.D.<br />

1 st Period: The Conservativism<br />

1947<br />

Thavil (Head of villager)’s house<br />

Politico 1946 - 1950<br />

Status of the foundation of security and family building<br />

Economics 1947-1958<br />

Economic Nationalism<br />

and Corruption:<br />

Laying the Foundations<br />

National Economic<br />

and Social<br />

Development Plan<br />

Others 1946 - 1957 After WW II :<br />

Propaganda slogan of the leader, nationalism<br />

1947 Tongthai Pawnshop<br />

311


Socio Year<br />

1948 1949 1950 1951 1952<br />

Before 1957 A.D.<br />

1 st Period: The Conservativism<br />

1 Crisis after World War II (1939 - 1945) because of economic depression<br />

and political situation<br />

2 Due to uncertainty in social situation, people had to maintain the living status<br />

quo. It can be called a “traditional conservative” period<br />

3 Gradual change<br />

Politico<br />

Economics<br />

1946 - 1950<br />

Status of the foundation of security and family building<br />

1 Post-World War II period with great economic depression<br />

2 Russia and China support funding to spread Communism as a strategy to<br />

eliminate imperialism<br />

3 Many countries in Asia had just gained their independence over their<br />

imperialism oppressors and were not yet certain of their regime system<br />

4 A foundation of social, economic, and political development plan for<br />

the near future<br />

1947-1958<br />

Economic Nationalism and Corruption: Laying the Foundations<br />

1 Military-dominated government<br />

2 Formative period during which the two elites, military/political business, starting from a position animosity,<br />

were forging an alliance and developing system of payoffs which would be perfected in the following period<br />

3 Post - War Inflation<br />

4 Thai authorities took a more strident anti-Communist stance<br />

5 The Chinese in Thailand began to be weaned away from the ties that bound them to their mother land/<br />

through this process the foundation were laid (almost inadvertently) for the incorporation of a foreign community<br />

1951 - 1957 As a father of the nation and a king<br />

1950 House 12<br />

(M.C. Prasomsvasti Sukhsvasti)<br />

others<br />

1946 - 1957 After WW II : Propaganda slogan of the leader, nationalism<br />

1950 - 1970 Post - War Reconstruction<br />

1950 - 1985 Cold War Period<br />

1950 Baan Haeng Cheewit<br />

(House of Life)<br />

312


1953 1954 1955 1956 1957<br />

Year<br />

Socio<br />

4 Mainly sticking to the system of kinship and expansive family<br />

5 Construction of bureaucratic structure and expansion of local public<br />

administration<br />

6 Influencing the style of buildings<br />

7 The hiring of architects to design the houses for civilians was still unnecessary<br />

1957 - 1967<br />

2 nd Period:<br />

Imported Modernism<br />

Politico<br />

1951 - 1957 As a father of the nation and a king<br />

: Affirm the leadership status which would affect the long-term future<br />

1954 -1959 As a father of the citizens and as a Thais, there was no gap between the King and his citizen<br />

: His Majesty visits people in 4 regions of the country for the first time in history of the rulers<br />

1955 - 1969 As an Inventor<br />

: Royal Rain Making Project<br />

1957- 1973 As a Musician<br />

and a mass communicator<br />

Economics<br />

others<br />

1946 - 1957 After WW II : Propaganda slogan of the leader, nationalism<br />

1950 - 1970 Post - War Reconstruction<br />

1950 - 1985 Cold War Period<br />

1957 - 1973<br />

Dictatorship<br />

313


Socio Year<br />

1958 1959 1960 1961 1962<br />

1957 - 1967<br />

2 nd Period: Imported Modernism<br />

1 An expansion of higher education institution in Thailand<br />

2 An increase of technocrats in the public administration, governmental<br />

office, and private sector<br />

3 A formation of the new middle class of well-educated people and an<br />

expansion of careers<br />

4 The expansion of education institute is a driving factor that increased the<br />

number of migrants<br />

from rural area to the capital<br />

5 Changes in purchasing power and livelihood of people as single family<br />

Politico<br />

1954 -1959<br />

As a father<br />

1959 - 1967<br />

As a Diplomat<br />

: His Royal Duties concern freedom, independence and peace of the world<br />

: His Majesty made the most diplomatic visits to many countries<br />

Economics<br />

1955 - 1969<br />

As an Inventor : Royal Rain Making Project<br />

1957- 1973<br />

1 Continuously and expansively communicate with the citizens<br />

As a Musician and a mass communicator 2 Spread out Thai identities under international standard way of communication<br />

1958-1973<br />

1 The agricultural driven growth instituting extensive economic reform within<br />

The Golden Age of Growth<br />

the system- the most extensive in the post war period/ a redirection of economic<br />

policies from a vague and haphazard policy of economic nationalism into a<br />

more open economy and the promotion of private business, including foreign-owned<br />

enterprises<br />

2 The reforms were extensively and successfully implemented indicated their<br />

acceptance levels within bureaucracy marked the birth of technocracy, or more<br />

accurately, the technocracy<br />

others NESD*<br />

1950 - 1970 Post - War Reconstruction<br />

1960 Phrom Kong’s House<br />

1961 - 1963<br />

The First Plan (Phase 1)<br />

The plan focuses on enhancing the capacity and<br />

the production of agricultural products. It includes<br />

the conservation of forestry and the development<br />

of the transportation and communication. In<br />

respect of economic development, it urges<br />

the private sector on the investment. The business<br />

in energy and other public utilities are supported to<br />

a certain extent<br />

1950 - 1985 Cold War Period<br />

1961 Rian Thong House<br />

1957 - 1973 Dictatorship of the three Marshals<br />

314<br />

National Economic and Social Development Plan *


Year<br />

Socio<br />

1963 1964 1965 1966 1967<br />

1967 - 1977<br />

3 rd Period :<br />

The Sun and the Wind<br />

Politico<br />

Economics<br />

others NESD*<br />

1959 - 1967<br />

As a Diplomat<br />

1955 - 1969 : Royal Rain Making<br />

As an Inventor Project<br />

1957- 1973<br />

As a Musician and a mass communicator<br />

1958-1973<br />

The Golden Age<br />

1950 - 1970 Post - War Reconstruction<br />

1950 - 1985 Cold War Period<br />

1 Cold War 2 International Relations, His Royal Diplomatic Duties were important to the status of<br />

Thailand in the world 3 Buffer state policy between the Communism and the Liberal Democracy<br />

1965 - 1980 As a compromiser of the conflict between communist and<br />

liberal democratic : The 1965 Communism Conflict<br />

1965 - 1967<br />

As an Inventor<br />

: Sailboat<br />

3 Placing the key role of macroeconomics<br />

4 Development/extensive government investment in basic infrastructure not only accelerating economic<br />

growth, but also spreading of prosperity to the impoverished rural areas<br />

5 Setting up the Board of Investment (BOI)<br />

6 Expansion of agricultural sector<br />

7 Gradually expanded away from the river and rail lines/ forested lands were cleared and converted into<br />

paddy field/Deforestation by road building programme and large logging concessions to private companies<br />

8 Irrigation /Chaophraya Irrigation Dam/ Yanhee Dam<br />

9 The birth of National Development Plan<br />

1964 - 1966<br />

The First Plan (Phase 2)<br />

The plan focuses on uplifting the living standard of the people by utilizing the<br />

country’s economic resources at its best to increase productivity and national<br />

income. It can be said that the plan focuses on increasing the numbers of<br />

products and services provided to each citizen at better level with the intention<br />

to uplift the living standard of people both at the material and sentimental<br />

level. The increase of products and services provided to people must be at<br />

the fair proportion<br />

1965 Thai Yuen Yong House<br />

1967 - 1971<br />

The Second Plan<br />

1967 Chiang Mai Tarapan Co.,Ltd.<br />

(Tarapan Shop, Wat Ket)<br />

1957 - 1973 Dictatorship of the three Marshals<br />

National Economic and Social Development Plan *<br />

315


Socio Year<br />

1968 1969 1970 1971 1972<br />

1967 - 1977<br />

3 rd Period : The Sun and the Wind<br />

1 Energy crisis due to oil shortage in 1973<br />

2 The consequences of economic crisis drove the country to political<br />

change and uprising for democracy<br />

3 Changes in the way of thinking reflected in more independence of people.<br />

Development in production showed in the way of material usage and<br />

construction<br />

4 Ideas behind the designs became more systematic and despite of high<br />

independence, there were constraints due to economic situation<br />

Politico<br />

Economics<br />

1968 - 2016<br />

As a Developer<br />

: The royal project<br />

1965 - 1980 As a compromiser of the conflict between communist and liberal democratic<br />

1955 - 1969 : Royal Rain Making<br />

As an Inventor Project<br />

1957- 1973<br />

As a Musician and a mass communicator<br />

1958 -1973<br />

The Golden Age of Growth<br />

others NESD*<br />

1967 - 1971<br />

The Second Plan<br />

1950 - 1970 Post - War Reconstruction<br />

1950 - 1985 Cold War Period<br />

1969<br />

Professor Emeritus Onsiri<br />

Panin’s House<br />

1 Utilizing human resource, natural resource and funding upon economic<br />

development together with the utilization of academic and modern<br />

knowledge to expand the power of production of the country which would<br />

help increase national income<br />

2 Support and maintain social equity. Glorify the importance of national<br />

institutions, traditions, and culture. Support the poor citizens who are living in<br />

the remote places who are not fully able to help themselves.<br />

3 Maintain the stability in economy and public finance to support the<br />

development of the country and to ensure the future of the nation<br />

4 Support the maintenance of national security by hold on to the power of<br />

economic development and social harmony<br />

1972 - 1976<br />

The Third Plan<br />

1957 - 1973 Dictatorship of the three Marshals<br />

1971 Phayao Lake<br />

Palace<br />

316<br />

1969 Suan Song Saen Rest House,<br />

first building in the Royal Project<br />

National Economic and Social Development Plan *


Year<br />

Socio<br />

1973 1974 1975 1976 1977<br />

1977 - 1987<br />

4th Period :<br />

The Flourishing Glory<br />

Politico<br />

1974 - 1997 : Sufficiency Economy Philosophy<br />

As a Developer<br />

1965 - 1980 As a compromiser of the conflict between communist and liberal democratic<br />

1977 Montien Atelier<br />

Economics<br />

NESD*<br />

1973 -1985<br />

The Oil Shocks<br />

: Teetering on the Brink<br />

1 The industrial driven boom The Oil Shocks 1973,1979<br />

2 The worldwide expansion in agricultural production capacity<br />

3 Shrinking agricultural opportunity/ longer stay of migrants in more permanent factory jobs a new<br />

comparative in product of light labour-intensive<br />

manufacturing, notably garments, gems and jewellery, canned products and assembly line of<br />

electronics products<br />

1 Deciding on the overall development guidelines, then decide on the guidelines of each development<br />

project and strategy to respond with the overall guidelines.<br />

2 Working closer on the economic development projects and the social development projects and<br />

making them support each other<br />

3 Focusing on the importance of regional development and make plans for regional and provincial<br />

development that conform with the overall development plan<br />

4 Combining the projects related with the national preparation with the overall development plan to<br />

support the maintenance of national security.<br />

5 Making of family planning policy and a policy that introduces people to job-hunting culture for the first time<br />

6 Expanding the plan to the private sector by supporting a closercooperation between the government<br />

and the private sector upon national development<br />

1977 Liewviriya Building<br />

1977 - 1981<br />

The Fourth Plan<br />

others<br />

1950 - 1985 Cold War Period<br />

1977<br />

Sueb Nakhasathien House<br />

1977 - 1988<br />

Semi - democracy<br />

National Economic and Social Development Plan *<br />

317


Socio Year<br />

1978 1979 1980 1981 1982<br />

1977 - 1987<br />

4 th Period : The Flourishing Glory<br />

1 Rapid economic growth<br />

2 Discovery of alternative energy source which bring about the urge in<br />

the implementation of economic plans<br />

3 Reduce the role of agricultural sector in vice versa with the urge to<br />

emphasize the role of industrial sector and export<br />

4 Change in lifestyle and career of people<br />

Politico<br />

1968 - 2016 : The royal project<br />

As a Developer<br />

1965 - 1980<br />

As a compromiser of the conflict between<br />

communist and liberal democratic<br />

23 April 1980 Policy of<br />

Politics-led Military<br />

Economics<br />

1973-1985<br />

The Oil Shocks<br />

4 public enterprises dealing with energy<br />

5 The domestic political polarisation<br />

6 Plaguing the financial sector/dampen investment considerably /postpone many infrastructural<br />

investments<br />

others NESD*<br />

1977 - 1981<br />

The Fourth Plan<br />

1950 - 1985 Cold War Period<br />

1977 - 1988 Semi - democracy<br />

1 Urging the construction of economic system after economic depression<br />

during the final half of the Third plan by aiming to expand the capacity of<br />

productivity, investment and support job-hunting activities of the people<br />

during the years of 1977 - 1978<br />

2 Narrowing down economic and social gaps between people by urging<br />

income distribution and uplifting the economic status of the farmers, the<br />

laborersand the low-incomers aiming to provide them with better living standard.<br />

Increasing the distribution ofthe benefits of economic growth and services to<br />

the people in local and rural areas<br />

3 Decrease birthrate to maintain population density and increase the domestic<br />

employment by focusing on the birth-control to maintain balance between the<br />

population numbers and the national resources<br />

4 Repairing and improving the management of the main national resources<br />

and natural resources, especially, the allocation of land, forest, water and mineral<br />

source for the best economic utility. Preventing the damage in environment<br />

which will affect national development in the future<br />

5 Supporting the capacity of national defense and solving issues in problematic<br />

areas by focusing on the development of the resources that are crucial to<br />

the national defense<br />

1979 - 1989 Collapse of Communism<br />

1980 - 1990 Deregulation and Privatisation<br />

1982 - 1986<br />

The Fifth Plan<br />

318<br />

National Economic and Social Development Plan *


Year<br />

1983 1984 1985 1986 1987<br />

Socio<br />

1977 - 1987<br />

4 th Period : The Flourishing Glory<br />

5 More business opportunity for service sector<br />

6 Birth of the white collars in Thailand<br />

7 Birth of the modern urban society<br />

8 Urbanization<br />

9 The demand for diversity<br />

Politico<br />

1974 - 1997<br />

As a Developer<br />

: Sufficiency Economy Philosophy<br />

Economics<br />

1985-1995<br />

The Industrial Boom<br />

others NESD*<br />

First : focus on “the restructuring of economic construction” more than “the expansion of economic<br />

development”<br />

Second : focus on “the balance” of economic and social development<br />

Third : focus on “the issues of poverty” of people in the rural areas<br />

Forth : focus on the coordination between the economic and social development and the national<br />

security administration<br />

Fifth : focus on turning plans into action by reforming the process of planning itself<br />

Final : focus on “the role and cooperation of the private sector”<br />

1950 - 1985 Cold War Period<br />

1977 - 1988 Semi - democracy<br />

1987 - 1991<br />

The Sixth Plan<br />

1979 - 1989 Collapse of Communism<br />

1985 - Present Globalisation<br />

1986 “Sa - nguan Pho Phra”<br />

Merchant House<br />

National Economic and Social Development Plan *<br />

319


Socio Year<br />

1988 1989 1990 1991 1992<br />

1987 - 1997<br />

5 th Period:<br />

The Up-rootedness<br />

1 Continuous growth of export industry<br />

2 Expansion of service sector<br />

3 Idea of connecting to the international community<br />

Politico<br />

1968 - 2016<br />

As a Developer<br />

: The royal project<br />

1989 - 1993<br />

As an Inventor<br />

: Chaipattana Aerator<br />

Economics<br />

1985-1995<br />

The Industrial Boom<br />

1 Beginning of privatising the provision of basic services / transport and telecommunication<br />

2 Speculative bubble burst<br />

3 Expanding technological skills/ training the workers<br />

4 Reducing the concentration of economic activities in Bangkok / spread of infrastructural services,<br />

differential tax treatment through BOI privilege<br />

5 Streaming to the new factories<br />

others NESD*<br />

1987 - 1991<br />

The Sixth Plan<br />

1988 - 2000 Buffet cabinet<br />

1977 - 1988<br />

Semi - democracy<br />

1979 - 1989 Collapse of Communism<br />

1980 - 1990 Deregulation and Privatisation<br />

1985 - Present Globalisation<br />

1 Enhancing the capacity of national development in all areas:<br />

human resources, science and technology and natural resources<br />

2 Reforming the production system and marketing, uplifting the standard of<br />

economic factors to decrease the cost of products. Diversifying the choices<br />

of products along with the expansion of the market and the development of<br />

domestic market at the same time<br />

3 Focusing on the income and development distribution to the regional and<br />

local area by targeting the low-incomers as the main beneficiaries of national<br />

development<br />

1992 - 1996<br />

The Seventh Plan<br />

320<br />

National Economic and Social Development Plan *


Year<br />

1993 1994 1995 1996 1997<br />

Socio<br />

1987 - 1997<br />

5 th Period:<br />

The Up-rootedness<br />

4 The increase of population density that affected the balance of natural environment<br />

5 Rapid expansion which bring about investment for future benefits<br />

Politico<br />

1974 - 1997<br />

As a Developer<br />

: Sufficiency Economy Philosophy<br />

Economics<br />

1985-1995<br />

The Industrial Boom<br />

1994 Suriya’s House<br />

1996 - 1997<br />

Economic Crisis<br />

1997 - 2002<br />

IMF<br />

others NESD*<br />

1 Maintaining the economic expansion rate at the appropriate level to support the continuous<br />

and stable growth<br />

2 Expanding the distribution of income and development to the regional and rural areas<br />

3 Urging the development of human resource, living standard, environment and natural resource<br />

1988 - 2000 Buffet cabinet<br />

1997 - 2001<br />

The Eighth Plan<br />

1985 - Present Globalisation<br />

National Economic and Social Development Plan *<br />

321


Socio Year<br />

1998 1999 2000 2001 2002<br />

After 1997<br />

6 th Period: Trap of Conflicts<br />

1 Great economic crisis “bubble burst”<br />

2 Social situation that led people to reconsider alternative ways of living<br />

3 Series of political conflicts that bring about differentiation in the way of<br />

thinking<br />

4 Constructive reformation to build up a better mechanism and social<br />

institute as a preparation for future change<br />

5 Diversity in styles under common categorization<br />

Politico<br />

1968 - 2016<br />

As a Developer<br />

: The royal project<br />

Economics<br />

1997 - 2002<br />

IMF<br />

2001 Ban (Nok) Khao Krung<br />

2001 - 2005<br />

Thaksin<br />

1 Delveraging in the private secto<br />

2 Problem on managing the nonperforming assets<br />

others NESD*<br />

1997 - 2001<br />

The Eighth Plan<br />

1 Developing the quality of human resource mentally by aiming for a person<br />

to become more moral and socially responsible<br />

2 Developing human resource with education, supporting the culture of<br />

critical thinking and lifelong learning, widening the vision, and increasing<br />

the capacity in response to abrupt changes of the economy and society<br />

3 Supporting healthy lifestyle and health education for a better healthcare<br />

and a better quality of self-prevention of individuals and their families<br />

4 Increasing chances for people of all minority groups to access the<br />

protection and assistance and fairly provide them with the appropriate<br />

fundamental services<br />

2002 - 2006<br />

The Ninth Plan<br />

1988 - 2000 Buffet cabinet 2001 - 2013 Dictatorial Parliament<br />

1985 - Present Globalisation<br />

322<br />

National Economic and Social Development Plan *


Year<br />

2003 2004 2005 2006 2007<br />

Socio<br />

2546 Baan UarArthorn<br />

(Government Housing Project)<br />

Politico<br />

1968 - 2016<br />

As a Developer<br />

: The royal project<br />

Economics<br />

2001 - 2005<br />

Thaksin<br />

2003 - 2005<br />

OTOP<br />

1 Dual Track Strategies<br />

2 Series of populist policies<br />

2006<br />

coup d état<br />

2007<br />

The 2007 Constitution<br />

1 The independent<br />

Agencies<br />

2 Rights of People<br />

and of Communities/<br />

greater roles of nongovernmental<br />

organisations<br />

others NESD*<br />

This plan adopts the principles of the Sufficiency Economy Philosophy of His Majesty Bhumibol<br />

Adulyadej as the guideline of national administration and development by adhering to the principle of<br />

moderation to help the nation escape economic crisis and lead the nation to the sustainable<br />

development in the wake of globalization and the abrupt changes of the world.<br />

(1) Restoring to the stable and immune economic system; Strengthening the security and stability of<br />

financial unit and reconstruct economic system from the root to strengthen its self - dependency<br />

(2) Strengthening the national development plan aiming for sustainability and self-dependency of<br />

the country in respond to the abrupt changes of the world<br />

(3) Focusing on the reformation of government administration system, the administration of private<br />

sector and the participation of the people in the process of development; Forming a socially responsible<br />

political system and subjugate corruption and wrong-doings within the system<br />

(4) Defeating poverty and increasing capacity and chances of Thai people to become independent.<br />

Increasing accessibility of education and social service. Building careers, increasing income and<br />

uplifting the living standard of people<br />

2001 - 2013 Dictatorial Parliament<br />

2007 - 2011<br />

The Tenth Plan<br />

1985 - Present Globalisation<br />

National Economic and Social Development Plan *<br />

2006 Sumet Ph.D.’s Sri Raja Studio<br />

323


Socio Year<br />

2008 2009 2010 2011 2012<br />

After 1997<br />

6 th Period: Trap of Conflicts<br />

Politico<br />

1968 - 2016<br />

As a Developer<br />

: The royal project<br />

2554 Ms Thatsanee<br />

Kaewcham’s House<br />

2553 Pae House,<br />

Kanchanaburi Province<br />

others NESD*<br />

2007 - 2011<br />

The Tenth Plan<br />

1 Building up learning opportunity and supporting moral and ethical learning<br />

by connecting the role of family, religious institute and educational institute<br />

together; Supporting healthcare service and maintaining the balance between<br />

prevention, cure, and rehabilitation<br />

2 Strengthening the capacity of community by connecting them together as<br />

a root for development of economy and living standard; Conserving and<br />

protect natural resource for sustainable growth<br />

3 Reconstructing the production structure to the culture of product’s value<br />

creation; Supporting education and innovation in service and support<br />

value-adding production<br />

4 Building up a safety net and a risk management system for the important<br />

units as public finance, energy, market, production factor, labor market, and<br />

investment<br />

5 Laying out a system for a fair business/ investment competition under<br />

concern of national interest and build up a system of benefits distribution to<br />

people at all levels<br />

6 Reinforcing the conservation of rich natural resources and value natural<br />

diversity. Maintaining the quality of environment as a firm root for national<br />

development<br />

7 Reinforcing the principles of Good Governance in public administration to<br />

the business, private sector, and to the people; Extending the capability of<br />

regional governance institute<br />

2001 - 2013 Dictatorial Parliament 2011<br />

1985 - Present Globalisation<br />

2552 Khao Yai House<br />

2554 Hua Hin Hut<br />

The Great Floods of 2011<br />

in Thailand<br />

2012 - 2016<br />

The Eleventh Plan<br />

324<br />

National Economic and Social Development Plan *


2013 2014 2015 2016 2017<br />

Year<br />

Socio<br />

Politico<br />

1968 - 2016<br />

As a Developer<br />

: The royal project<br />

others NESD*<br />

1 Supporting the adoption of the “Sufficiency Economy Philosophy” principles from the level of<br />

individuals, family, community to national level<br />

2 Adopting the principle of “human as a core for development” by turning<br />

the focus from economic development to “human” development and focusing more on the capacity<br />

and the livelihood of people<br />

3 Adopting principles of integration and to the holistic developmentof all: people, society, economy,<br />

environment and politics.<br />

4 Adhering the “Sufficiency Economy Philosophy” framework; The country has the monarchy as<br />

the backbone for harmony; Ethical people are the backbone for a harmonious family; Strong community<br />

makes a better development; Supporting the immune and stable economic system and support<br />

competition capacity; Supporting a better public and social service; Supporting justice and fairness in<br />

law enforcement and enhancerelationship between Thailand and other nations in the region to stand<br />

together in harmony and with common interest<br />

1985 - Present Globalisation<br />

2017 - 2021<br />

The Twelfth Plan<br />

National Economic and Social Development Plan *<br />

325


1<br />

Population (Million)<br />

2<br />

Year (B.E. / A.D.)<br />

3<br />

Houses<br />

4<br />

Factors<br />

5<br />

Summarized Diagram of the Seven Decades<br />

of Houses<br />

1<br />

4<br />

3<br />

5<br />

2<br />

326


327


328


329


บ้านผู้ใหญ่ถวิล<br />

THAVIL HEAD OF VILLAGER’S HOUSE<br />

บ้านหลังนี้สร้างขึ้นโดยยึดหลักแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง<br />

รวมถึงการอยู่อย่างวิถีชุมชนเชิงสังคม และเศรษฐกิจชุมชน<br />

การกระจายโอกาสในการพัฒนาพื้นที่กับข้อจำกัดของพื้นถิ่น<br />

This house was built according to the sufficient economy<br />

theory together with the living way of life of the village<br />

peoples as in sociological, economical, distributed<br />

opportunity among the local area, and also its local<br />

restrictions.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2490 นายถวิล<br />

ไพโรจน์ภักดิ์<br />

ผู้ออกแบบ พื้นที่ งบประมาณ วัสดุ<br />

Designer Area Cost Material<br />

- - - โครงสร้าง<br />

ไม้และ<br />

ฐานราก<br />

คอนกรีต<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

14 หมู่ที่ 9<br />

ตำบลเกาะยอ<br />

อำเภอเมืองสงขลา<br />

จังหวัดสงขลา<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

7.160380<br />

100.537057<br />

1947 Mr.Thavil Pairojpak - - - Wooden<br />

structure<br />

with<br />

concrete<br />

foundation.<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณสุวิลักษณ์ เนียมนวล<br />

คุณจตุพัฒน์ แก้วบุญสง<br />

330<br />

14 Moo 9,<br />

Ko Yo Subdistrict,<br />

Muang<br />

Song Khla<br />

District, Song<br />

Khla Province


331


บ้านศุขจรัส<br />

SOOKJARAS HOUSE<br />

สมัยรัชกาลที่ 5 เป็นต้นมา บ้านทรงยุโรปเริ่มปลูกสร้างใน<br />

ประเทศไทย และเริ่มเป็นที่นิยมทั้งในกรุงเทพฯ และตาม<br />

หัวเมืองใหญ่ๆ ที่ดินของตระกูล ศุขจรัส เดิมปลูกบ้านเรือนไทย<br />

จนเมื่อนายณรงค์ ศุขจรัส สมรสกับนางบำเพ็ญ จึงได้ทำการ<br />

รื้อเรือนไทยหลังเก่า และปลูกเรือนหลังใหม่ โดยนายณรงค์ ได้<br />

ไปเห็นบ้านทรงยุโรปของคุณตาเทียน วัฒนสินธุ์ ซึ่งเป็นดอง<br />

กัน ที่ตำบลบางกรูด อำเภอบ้านโพธิ์ แล้วเกิดความชื่นชอบ<br />

จึงได้ให้ช่างปลูกบ้านขึ้นตามแบบที่เคยได้เห็น โดยไม้สักที่ใช้ใน<br />

การปลูกสร้างได้รับการคัดเลือกและใส่เรือส่งล่องแม่น้ำมาจาก<br />

กรุงเทพฯ โดย ก๋งสุนันท์ สหวัฒน์ เจ้าของโรงเลื่อยจักรวนชัย<br />

ซึ่งเป็นญาติพี่น้องกัน<br />

ต่อมาภายหลังญาติผู้น้องของ นายณรงค์ ได้มาเยี่ยม<br />

แลเห็นบ้านสวยงามน่าอยู่ จึงได้ให้ช่างปลูกขึ้นอีก 1 หลังใน<br />

รูปแบบเดียวกัน ทำให้ในฉะเชิงเทราจึงมีบ้านที่มีรูปแบบ<br />

เหมือนกันแบบนี้อยู่ 3 หลัง<br />

European style house was first introduced in Thailand<br />

during King Rama V period. It was very popular in<br />

Bangkok and big provinces. The old house on this<br />

plot was a traditional Thai house. After Narong and<br />

Bampen married, they decided to build a new house<br />

after seeing a cousin’s European style house in the<br />

town nearby. Teakwood used in building the house<br />

was shipped from Bangkok.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

332<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2490 นายพลวัฒน์ ศุขจรัส<br />

(บุตรชายของ นาย<br />

ณรงค์ และนาง<br />

บำเพ็ญ ศุขจรัส)<br />

1947 Mr. Polawat<br />

Sookjaras (son of<br />

original owners Mr.<br />

Narong and Mrs.<br />

Bampen Sookjaras)<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณดนัย สุราสา<br />

ผู้ออกแบบ พื้นที่ งบประมาณ วัสดุ ที่ตั้ง<br />

Designer Area Cost Material Location<br />

- ที่ดิน 40,000 บ้านไม้สัก 97 หมู่ 1<br />

5 ไร่ 3 งาน บาท (ยุค ทรงยุโรป ตำบลบ้านโพธิ์<br />

พื้นที่ใช้สอย นั้นข้าว ใช้ระบบ อำเภอบ้านโพธิ์<br />

384 ตร.ม. ราคาเกวียน เสา-คานไม้ จังหวัด<br />

ละ 400 ผสมโครง ฉะเชิงเทรา<br />

บาท) ค้ำยัน<br />

- Plot Size<br />

5 Rai<br />

3 Ngan<br />

Usable<br />

Space<br />

384 Sq.m.<br />

40,000<br />

Baht (when<br />

rice was<br />

sold for<br />

400 Baht<br />

per kwien<br />

which is<br />

30 times<br />

less than<br />

today)<br />

European<br />

style<br />

teakwood<br />

house<br />

using wood<br />

column<br />

and beam<br />

system<br />

with<br />

supporting<br />

frames<br />

97 Moo 1<br />

Baan Poh<br />

Subdistrict,<br />

Baan Poh<br />

District,<br />

Chachoengsao<br />

Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

-


333


โรงรับจำนำ<br />

ทองไทย (สามแยก)<br />

TONGTHAI PAWNSHOP<br />

ตัวอาคารที่เป็นโรงรับจำนำมีอายุราว 70 ปี ถูกสร้างขึ้นในราว<br />

พ.ศ. 2490 มีพื้นที่ใช้สอยโดยประมาณ 86 ตารางเมตร เจ้าของ<br />

อาคารปัจจุบัน ได้ย้ายเข้ามาเมื่อราว 20 ปีที่แล้ว ในอดีตละแวกนี้<br />

เป็นพื้นที่ย่านค้าขายเครื่องเหล็กและร้านอาหาร สินค้าส่วนใหญ่<br />

ที่ผู้คนนำมาจำนำจึงมักจะเป็นเครื่องเหล็ก สมัยก่อนโรงรับจ ำนำ<br />

จะรับสินค้าทุกประเภทแต่เนื่องจากปัจจุบันมีธนาคารปล่อยให้กู้<br />

จึงทำให้รายได้ไม่เท่าเดิมเหมือนแต่ก่อน และขนาดสินค้า<br />

จึงมีขนาดเล็กลงตามกัน เดิมอาคารหลังนี้เป็นอาคาร 2 ชั้น<br />

ได้รับการปรับปรุงต่อเติมเป็น 4 ชั้น ผนังด้านหน้าอาคารตั้งแต่<br />

ชั้น 2 ถึงชั้น 4 เป็น glass block แต่ในส่วนของชั้น 1 ทั้งหมด<br />

ยังคงเป็นรูปแบบอาคารโรงรับจำนำเดิม ข้างบนส่วนที่ยื่นตรง<br />

บริเวณชั้น 4 เป็นงานระบบระบายน้ำ<br />

The 70 years old building was built in 1947. Usable<br />

space is 86 Sq.m. The current owner moved in here<br />

about 20 years ago. In the past, this neighborhood<br />

was full of restaurants and steel shops. So most of<br />

the things pawned here were steelware. But with the<br />

emerging of commercial banks, pawnshop business<br />

started to decline. Originally the building had two<br />

floors but renovated into four floors later on.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2490 โรงรับจำนำทองไทย<br />

(ผู้เช่า)<br />

ผู้ออกแบบ พื้นที่<br />

Designer Area<br />

- พื้นที่ใช้สอย<br />

86 ตร.ม.<br />

งบประมาณ วัสดุ<br />

Cost Material<br />

- คอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

704-706<br />

ถนนเจริญกรุง<br />

เขตสัมพันธวงศ์<br />

กรุงเทพฯ<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

1947 Tongthai Pawnshop<br />

(lessee)<br />

- Usable<br />

Space 86<br />

Sq.m.<br />

- Reinforced<br />

concrete<br />

704-706<br />

Charoen Krung<br />

Road,<br />

Sampantawong<br />

Distrct,<br />

Bangkok<br />

-<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : โรงรับจำนำทองไทย<br />

334


335


เฮินไตลื้อแม่แสงดา<br />

HERN TAI LUE MAE SANG DA<br />

บ้านไทลื้อ ที่ยังคงศิลปะและวิถีชีวิตแบบบ้านไทลื้อโบราณไว้<br />

ไม่ได้มีการตกแต่งเพิ่มเติม เพื่อให้คนรุ่นหลังได้เข้ามา<br />

เรียนรู้ความเป็นอยู่ของชาวไทลื้อแบบดั้งเดิม เป็นเรือนใต้ถุนสูง<br />

ปลอดโปร่ง ใต้ถุนบ้านแม่แสงดาใช้เป็นบริเวณไว้ทอผ้าไทลื้อ<br />

ปัจจุบันบ้านหลังนี้เปิดเป็นโฮมสเตย์ให้นักท่องเที่ยวเข้ามา<br />

เรียนรู้วิถีชีวิต<br />

Hern Tai Lue (Tai Lue house) has managed to remain<br />

of traditional Tai Lue house without any addition, for<br />

the benefit of new generation to learn how Tai Lue<br />

people were once lived. In a raised floor house<br />

with airy ventilation, Mrs.Sangda’s residence function<br />

as Tai Lue’s fabric weaving area. Nowadays, this<br />

house has become home stay for tourists to learn<br />

their ways of life.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

336<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

2490 นางแสงดา สมฤทธิ์ พ่อแก้วศรีจันทร์<br />

(บิดานางแสงดา<br />

สมฤทธิ์)<br />

1947 Mrs. Sangda Somrit Kaew Srijan<br />

(Mrs. Sangda<br />

Somrit’s father)<br />

พื้นที่ งบประมาณ วัสดุ ที่ตั้ง<br />

Area Cost Material Location<br />

พื้นที่ใช้สอย 2,000 บาท ไม้ บ้านธาตุสบแวน<br />

95.2 ตร.ม.<br />

ตำบลหย่วน<br />

อำเภอเชียงคำ<br />

จังหวัดพะเยา<br />

Usable<br />

Space 95.2<br />

Sq.m.<br />

2,000 Baht Wooden<br />

structure<br />

Baan That Sob<br />

Wan, Yuan<br />

SubDistrict,<br />

Chiang Kham<br />

District, Phayao<br />

Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

19.531833<br />

100.294222<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณอิสริยาภรณ์ บรรจงปรุ โครงการพิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมและชาติพันธุ์ล้านนา สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


337


อาคารอินทพาณิช<br />

INTHA PANICH BUILDING<br />

อาคารอินทพาณิชเป็นอาคารพาณิชย์คอนกรีตเสริมเหล็ก<br />

สร้างใน พ.ศ. 2491 เป็นสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ Post War Era<br />

ซึ่งหาดูได้ยาก<br />

Intha Panich Building were commercial reinforced<br />

concrete building constructed since 1948 which is<br />

very rare of its kind.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

งบประมาณ<br />

Cost<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

2491 - - - - คอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก<br />

1948 - - - - Reinforced<br />

concrete<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ล้านนา)<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

ถนนอินทยงยศ<br />

ตำบลในเมือง<br />

อำเภอเมือง<br />

ลำพูน จังหวัด<br />

ลำพูน<br />

Inthayongyos<br />

Road, Nai<br />

Muang<br />

Subdistrict,<br />

Muang District,<br />

Lamphun<br />

Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

-<br />

338


339


บ้าน 12<br />

(บ้านท่านหม่อมเจ้า<br />

ประสมสวัสดิ์ สุขสวัสดิ์)<br />

HOUSE 12 (M.C. PRASOMSVASTI SUKHSVASTI)<br />

บ้านที่ถูกออกแบบให้อยู่บนข้อจำกัดหลายๆ ประการ<br />

1. ขนาดพื้นที่ ตลอดจนปริมาตรที่ตอบสนองการใช้สอย<br />

โดยพื้นฐานและงบประมาณ<br />

2. ประสิทธิภาพและข้อจำกัดของโครงสร้างสองประเภท<br />

ได้แก่ โครงสร้างไม้และโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก<br />

ส่งผลให้เกิดการประสานในมิติต่างๆ ตั้งแต่ระบบการ<br />

จัดวางผังพื้นของอาคารที่สอดคล้องกับการจัดการ<br />

ปริมาตรของส่วนต่างๆ โดยคำนึงถึงความเป็นไปได้<br />

และการประกอบกันขึ้นมาของระบบโครงสร้างที่ตอบ<br />

สนองต่อมิติที่ซับซ้อนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของ<br />

บันไดและการเชื่อมต่อทางตั้ง<br />

Different spaces in the house are integrated and<br />

unified by the concised positioning of stairs and<br />

hallways. The architect who was also the first owner<br />

of this house carefully designed the stairs to efficiently<br />

connect vertical spaces. Meanwhile, the stairs and<br />

hallways also serve as divider of the horizontal<br />

space. The complicated relationship of inside space<br />

is expressed in the building’s form and structure,<br />

especially the roof.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2493 หม่อมราชวงศ์<br />

อดิศรฉัตร สุขสวัสดิ์<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

หม่อมเจ้า<br />

ประสมสวัสดิ์<br />

สุขสวัสดิ์<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

ที่ดิน<br />

1 ไร่ พื้นที่<br />

ใช้สอย<br />

125.93<br />

ตร.ม.<br />

งบประมาณ วัสดุ<br />

Cost Material<br />

- โครงสร้างไม้<br />

ต่อเนื่องกับ<br />

โครงสร้าง<br />

รับน้ำหนัก<br />

คอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

12 ถนน<br />

สุขุมวิท 43<br />

แขวงคลองตัน<br />

เหนือ เขตวัฒนา<br />

กรุงเทพฯ<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

1950 M.R. Adisarachatra<br />

Sukhsvasti<br />

M.C. Prasomsvasti<br />

Sukhsvasti<br />

Plot Size<br />

1 Rai<br />

Usable<br />

Space<br />

125.93<br />

Sq.m.<br />

- Wood<br />

structure<br />

and<br />

steel-reinforced<br />

load-bearing<br />

wall<br />

structure<br />

12 Sukhumvit<br />

43 Road,<br />

Klongton Nua<br />

Subdistrict,<br />

Vadhana<br />

District,<br />

Bangkok<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : หม่อมหลวงอุสุมา สุขสวัสดิ์<br />

340


341


บ้านแห่งชีวิต<br />

BAAN HAENG CHEEWIT (HOUSE OF LIFE)<br />

บ้านแห่งชีวิต วิถีชาวเล<br />

บ้านหลังนี้เป็นบ้านที่ถูกสร้างหลังแรกๆ ของชุมชนชาว<br />

เกาะลิบง เป็นบ้านไม้ริมน้ำกร่อยที่มองสุดลูกหูลูกตาเป็นท้อง<br />

ทะเลสีครามขนาบกับแผ่นฟ้า อีกฟากหนึ่งเป็นภูเขาสูงใหญ่ จะ<br />

เห็นได้ว่าบ้านหลังนี้ถูกสัมผัสกับธาตุทั้ง 4 แห่งชีวิต คือ ดิน น้ำ<br />

อากาศ และป่าไม้<br />

ลักษณะของบ้านเป็น บ้านไม้ ฐานรากคอนกรีต เสาตอหม้อ<br />

ใช้เสาท่อคอนกรีต เสาบ้านเป็นเสาไม้ ผนังบ้านลักษณะตี<br />

ซ้อนเกร็ด มีช่องระบายอากาศใต้หลังคา มีรางน้ ำฝนระหว่างจั่ว<br />

2 ตัว ฟังก์ชันประกอบด้วย 1 ห้องนอน, 1 ครัว, 1 ห้องน้ ำ และโถง<br />

วิถีชีวิตของคนในชุมชนอยู่กันแบบเรียบง่าย ออกทะเลหา<br />

ปลา ปลูกผักทำสวนทำไร่ โดยให้ธรรมชาติเป็นศูนย์กลางแห่ง<br />

ชีวิตทำหน้าที่หมุนเวียนสสารต่างๆ และสร้างความสมดุลให้แก่<br />

คนในชุมชน<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

342<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2493 นายจำลอง<br />

เจริญฤทธิ์<br />

1950 Mr.Jamlong<br />

Chareunrit<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณกมลนัทธ์ ดอกมาลี<br />

คุณอรวรรณ ไข่แก้ว<br />

ผู้ออกแบบ พื้นที่ งบประมาณ วัสดุ<br />

Designer Area Cost Material<br />

- พื้นที่ใช้สอย - โครงสร้าง<br />

79.2 ตร.ม. ไม้ และ<br />

ฐานราก<br />

คอนกรีต<br />

- Usable<br />

Space<br />

79.2 Sq.m.<br />

House of Lae’s people life<br />

This house were the first among houses built on Ko<br />

Libong Community. The house is near brackish water<br />

with panoramic view of the endless sea and sky, and<br />

on the other side an enormous mountain. Clearly this<br />

house is touched closely by 4 elements of life is earth,<br />

water, air and wood.<br />

The house is a wooden house, with concrete<br />

foundation. Foundation’s footing piles are concrete<br />

tube-like piles. Columns of the house are wooden, walls<br />

of Wood Siding Shingles. Underneath the rooftop there<br />

are ventilation grills, together with air ventilation grills<br />

underneath the roof. It has rain-water gutter running<br />

along 2 gables with living area function as 1 bedroom,<br />

1 kitchen, 1 washroom and hall way.<br />

The local has simple way of life; fishing, growing<br />

vegetables, farming which all were revolved around<br />

natural surroundings.<br />

- Wooden<br />

Structure<br />

with<br />

concrete<br />

foundation<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

11 หมู่ 4<br />

ตำบลเกาะลิบง<br />

อำเภอกันตัง<br />

จังหวัดตรัง<br />

11 Moo 4,<br />

Ko Libong<br />

Subdistrict,<br />

Kantang<br />

District, Trang<br />

Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

7.227534<br />

99.395849


343


บ้านพักพนักงาน<br />

การรถไฟแห่งประเทศไทย<br />

บ้านพักชั้น 3 ชนิด บ.9 แบบบ้านเดี่ยวแยกครัว (สำหรับพนักงานอัตรา 80 – 160)<br />

RESIDENCE CLASS 3 TYPE BO 9 : SINGLE HOUSE<br />

(FOR OFFICIALS GRADE 80-160)<br />

เป็นอาคารไม้ 2 ชั้น ยกพื้นสูง 2.05 เมตร รูปแบบเรียบง่าย<br />

ลักษณะเหมือนเรือนไทยพื้นถิ่น หลังคาปั้นหยาแบบมีจั่ว<br />

ด้านบนมุงด้วยกระเบื้องซีเมนต์รูปว่าว พื้นที่ใช้สอยชั ้นล่าง<br />

ประกอบด้วยห้องน้ำ และบันไดทางขึ้นชั้นบน พื้นที่ใช้สอยชั้น<br />

บนประกอบด้วยส่วนพักอาศัยที่มีห้องนอน 2 ห้อง โถงกลาง<br />

ห้องทำงาน ห้องเก็บของ และเฉลียง และส่วนครัว โดยมีชาน<br />

แล่นเป็นส่วนเชื่อมพื้นที่ทั้ง 2 เข้าไว้ด้วยกัน ผนังห้องน้ำชั้น<br />

ล่างเป็นผนังก่ออิฐฉาบปูน เหนือผนังก่ออิฐฉาบปูนผนังไม้<br />

ผนังชั้นบน บันได ประตู หน้าต่าง ราวกันตกและลูกกรงเป็นไม้<br />

The 2 stories single wooden house, 2.05 meters raisedfloor<br />

height, designed with simple Thai Vernacular<br />

Architecture style. The roof is hip with gable on top<br />

roofing with diamond-shape concrete tiles. The lower<br />

level has 1 bathroom and main stairway. The upper level<br />

has 2 bedrooms, hallway, office, storage, and balcony.<br />

The kitchen is separated from the main building by<br />

connecting terrace. The lower level bathroom’s walls<br />

are brick and mortar with wooden on the top. The upper<br />

level wall, stairs, doors and windows and railing are all<br />

wooden.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

344<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2497 การรถไฟ<br />

แห่งประเทศไทย<br />

1954 The State Railway<br />

of Thailand (SRT)<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

นายนิจ<br />

หิรัญชีระนันทน์<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปริญญา ชูแก้ว<br />

Mr. Nij Hinchiranan Usable<br />

Space<br />

78 Sq.m.<br />

พื้นที่ งบประมาณ วัสดุ ที่ตั้ง พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

Area Cost Material Location GPS<br />

78 ตรม. - ชั้นล่างเป็นเสา นิคมรถไฟ -<br />

คอนกรีต เสริม มักกะสัน<br />

เหล็กและคานไม้ เขตราชเทวี<br />

ชั้นบนและ กรุงเทพมหานคร<br />

หลังคาเป็น<br />

โครงสร้างไม้<br />

- Lower level<br />

structure is reinforced-<br />

concrete<br />

columns<br />

and wooden<br />

beams. Upper<br />

level and roof<br />

structures are<br />

wooden.<br />

Makkasan<br />

Railway<br />

Community,<br />

Ratchathewi<br />

District,<br />

Bangkok<br />

-


345


บ้านพักพนักงาน<br />

การรถไฟแห่งประเทศไทย<br />

บ้านพักชั้นจัตวา แบบบ้านแถว<br />

3RD RANK RESIDENCE : ROW HOUSE<br />

เป็นอาคารไม้ 2 ชั้น ยกพื้นสูง 2.10 เมตร รูปแบบเรียบง่าย<br />

ลักษณะเหมือนโรงเรือน หลังคาจั่วมุงด้วยกระเบื้องซีเมนต์<br />

รูปว่าว พื้นที่ใช้สอยชั้นล่างประกอบด้วยห้องน้ำ และบันได<br />

ทางขึ้นชั้นบนสำหรับแต่ละหน่วยที่พักอาศัย พื้นที่ใช้สอย<br />

ชั้นบนประกอบด้วยห้องนอน ห้องครัว และชาน ผนังห้องน้ำ<br />

ชั้นล่างเป็นผนังก่ออิฐฉาบปูน ผนังชั้นบน บันได ประตู<br />

หน้าต่าง ราวกันตกและลูกกรงเป็นไม้<br />

The 2 stories row wooden house, 2.10 meters raisedfloor<br />

height, designed with simple warehouse style.<br />

The roof is gable roofing with diamond-shape concrete<br />

tiles. The lower level of each unit has 1 bathroom and<br />

stairway. The upper level of each unit has 1 bedroom,<br />

kitchen, and terrace. The lower level bathroom’s walls<br />

are brick and mortar. The upper level wall, stairs, doors<br />

and windows and railing are all wooden.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

346<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2497 การรถไฟ<br />

แห่งประเทศไทย<br />

1954 The State Railway<br />

of Thailand (SRT)<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

นายนิจ<br />

หิรัญชีระนันทน์ และ<br />

นายบำรุง อรุณเวช<br />

Mr. Nij Hinchiranan<br />

and Mr. Bamroong<br />

Arunvech<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปริญญา ชูแก้ว<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

28 ตรม.<br />

ต่อ 1<br />

หน่วยพัก<br />

อาศัย<br />

Usable<br />

Space<br />

28 Sq.m.<br />

per 1 Unit<br />

งบประมาณ วัสดุ ที่ตั้ง พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

Cost Material Location GPS<br />

- ชั้นล่างเป็นเสา นิคมรถไฟ -<br />

คอนกรีต เสริม มักกะสัน<br />

เหล็กและคานไม้ เขตราชเทวี<br />

ชั้นบนและ กรุงเทพมหานคร<br />

หลังคาเป็น<br />

โครงสร้างไม้<br />

- Lower level<br />

structure is reinforced-<br />

concrete<br />

columns<br />

and wooden<br />

beams. Upper<br />

level and roof<br />

structures are<br />

wooden<br />

Makkasan<br />

Railway<br />

Community,<br />

Ratchathewi<br />

District,<br />

Bangkok<br />

-


347


บ้านพื้นถิ่นล้านนา<br />

LOCAL LANNA STYLE HOUSE<br />

ลักษณะอาคารเป็นบ้านไม้ยกสูง ที ่แสดงถึงวิถีชีวิตและความ<br />

เป็นอยู่ บนความพอเพียง วัสดุภายในบ้านเป็นไม้ที่หาได้ใน<br />

สมัยก่อน การออกแบบบ้านตามความชำนาญดั้งเดิมของคนใน<br />

ชุมชน มีฝาไหลและหน้าต่างรอบบ้าน ที่ช่วยระบายอากาศ<br />

ภายใน ช่วยลดการใช้พลังงานภายในบ้าน นอกจากนี้ยังมีต้น<br />

ไม้รอบๆ บ้านเพื่อลดมลภาวะต่างๆ และชานหน้าบ้านที่มีไว้<br />

ต้อนรับแขกที่มาเยือน เป็นบ้านที่มีเอกลักษณ์สะท้อนถึงวิถีชีวิต<br />

ดั้งเดิมไว้อีกด้วย ในบริเวณรอบบ้านจะปลูกพืชพรรณเอาไว้รับ<br />

ประทาน และสมุนไพรที่ใช้เป็นยา และบ้านของคุณลุงสนั่นยัง<br />

เป็นพื้นที่มีพืชพรรณมากมายที่น่าสนใจ และคอยแนะนำเรื่อง<br />

พืชพรรณต่างๆ ให้แก่นักศึกษาและผู้ที่สนใจอีกด้วย<br />

Character is a raised floor house of local way of life<br />

and modest. Interior materials are wooden from<br />

the past. Designed with local wisdom has brought<br />

this house to energy reduction by the use of sliding<br />

window panels called Fa Lai (moveable wall) around<br />

the residence that help intake fresh air and circulate<br />

interior ventilation. Surrounded with trees has help<br />

to reduce pollution to the property. Together with<br />

front terrace as reception area, this house reflects<br />

lifestyle’s identity from the past. In garden grows<br />

vegetables and herbs for cooking and medication<br />

purposes. Mr.Sanan also give lectures about many<br />

interesting plantation to student and those who are<br />

interested.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

348<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2498 นายสนั่น<br />

ณ เชียงใหม่<br />

1955 Mr.Sanan Na<br />

Chaing Mai<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณศรีวรรณ อิ่มสมบัติ<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

นายสนั่น<br />

ณ เชียงใหม่<br />

Mr.Sanan Na<br />

Chaing Mai<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

90 ตร.ม.<br />

Usable<br />

Space<br />

90 Sq.m.<br />

งบประมาณ วัสดุ ที่ตั้ง<br />

Cost Material Location<br />

- ไม้ 34 หมู่ 6 ตำบล<br />

ป่าไผ่ อำเภอ<br />

สันทราย จังหวัด<br />

เชียงใหม่<br />

- Wood 34 Moo 6<br />

Pa Phai<br />

SubDistrict,<br />

San Sai<br />

District, Chiang<br />

Mai Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

18.922433<br />

99.029512


349


บ้านใสยิ่ง<br />

SAI YING HOUSE<br />

บ้านหลังนี้เป็นบ้านมารดาของนางน้อย ใสยิ่ง ปัจจุบันบ้านยังคง<br />

มีความสมบูรณ์ ยังคงสามารถรักษาสภาพของบ้านตลอดจน<br />

สภาพแวดล้อมเอาไว้ได้ไม่ต่างจากในอดีต รูปแบบของบ้านเป็น<br />

เรือนพื้นถิ่นลับแลในสมัยก่อน เป็นเรือนไม้ยกใต้ถุนสูงใช้เป็นที่<br />

เก็บของและเป็นก๊างตากหอม หลังคาทรงจั่ว มี 3 จั่วเรียงติดกัน<br />

แต่เดิมในส่วนชานจะเปิดโล่งไม่มีหลังคา ใช้เสาไม้ทั้งต้น พื้นและ<br />

ฝากรุด้วยไม้เนื้อแข็ง มีช่องระบายอากาศใต้หลังคา พื้นที่ใช้สอย<br />

แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ เรือนนอน อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียง<br />

เหนือ ชานอยู่ตรงกลาง ป้อมข้าว (ยุ้งข้าว) อยู่ทางทิศตะวันออก<br />

และครัวไฟอยู่ทางทิศใต้ บริเวณรอบบ้านจะล้อมรอบด้วยสวน<br />

ผลไม้ ต้นหมากพลูและอยู่ติดกับไร่นา<br />

This house belongs to Mrs. Noi Saiying’s mother. In<br />

its well-kept condition, the house still reflects its former<br />

environment. Styling as Lup-lae ancient housing, the<br />

house ground is raised and used as storage space. Roof<br />

top has 3 consecutive gables, with an open air court.<br />

Columns are timber, floor and walls are hardwood.<br />

Ventilation grills are located under the rooftop. Living<br />

space is divided into 4 parts; Bedroom at north-eastern<br />

side; terrace at the center; rice storage (yung kao) at east<br />

side; kitchen on south side. The house is surrounded<br />

with orchards, betel nut trees and rice field.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

350<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

2499 นางน้อย ใสยิ่ง บิดาของ<br />

นางน้อย ใสยิ่ง<br />

1956 Mrs. Noi Saiying Mrs. Noi Saiying’s<br />

father<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : นางสาวภัทรวดี ภัทรรังษี<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

ที่ดิน<br />

2 ไร่ 90<br />

ตร.วา<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

140 ตร.ม.<br />

Plot Size<br />

2 Rai 90<br />

Sq.wa<br />

Usable<br />

Space<br />

140 Sq.m.<br />

งบประมาณ วัสดุ ที่ตั้ง<br />

Cost Material Location<br />

- ไม้เนื้อแข็ง 680<br />

ถนนหัวร้อง<br />

เทศบาล<br />

ศรีพนมมาศ<br />

อำเภอลับแล<br />

จังหวัดอุตรดิตถ์<br />

- Hard wood 680 Hua Rong<br />

Road, Si<br />

Phanommas<br />

Municipality,<br />

Lup-lae District,<br />

Uttaradit<br />

Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

13.909610<br />

100.490291


351


บ้านคำเพชร<br />

KHAM PECH’S HOUSE<br />

ชุมชนนาอ้อนี้ เป็นชุมชนเชื้อสายเผ่าไทลื้อ ที่อพยพมาจาก<br />

หลวงพระบางและเวียงจันทน์ เดิมมีการสร้างบ้านแบบลาว<br />

แต่เมื่อมีการก่อตั้งจังหวัดเลย บ้านเรือนได้รับอิทธิพลจากการ<br />

ก่อสร้างอาคารสำคัญที่เป็นสถานที่ราชการและร้านค้าในช่วง<br />

พ.ศ. 2476-2480 ต่อมาชาวบ้านจึงมีการก่อสร้างบ้านเรือน<br />

ตามแบบในเมืองซึ่งนิยมก่อสร้างกันหลังพ.ศ. 2500 เป็นต้นมา<br />

Na Or village has Tai Lue ethnic people treads. They<br />

have been migrated from Luang Phra Bang and<br />

Viantiane. Formerly they have built houses in Loa style.<br />

Later when Loey Province was established, many houses<br />

have gained influence from the government building<br />

and commercial building in 1933 - 1937 Nowadays, the<br />

villagers like to build houses with urban influenced style<br />

which has occurred since 1957.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2500 นางคำเพชร<br />

พรมเรียน<br />

ผู้ออกแบบ พื้นที่ งบประมาณ วัสดุ ที่ตั้ง<br />

Designer Area Cost Material Location<br />

นายหวิน - - ไม้ 67 หมู่ 5<br />

บ้านนาอ้อ<br />

ตำบลนาอ้อ<br />

อำเภอเมือง<br />

จังหวัดเลย<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

1957 Mrs. Khampech<br />

Phromrean<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทรงยศ วีระทวีมาศ<br />

352<br />

Mr. Whin - - Wooden<br />

structure<br />

67 Moo 5,<br />

Baan Na<br />

Or, Na Or<br />

subdistrict,<br />

Mueang Loei<br />

District, Loei<br />

Province<br />

-


353


บ้านพิบูลวัฒนา<br />

PIBULWATTHANA HOUSE<br />

เป็นอาคารลักษณะ Home Office ที่มีบ้านและสำนักงาน<br />

สถาปนิกเล็กๆ อยู่ร่วมกันโดยไม่รบกวนกัน โดยพยายามรักษา<br />

รูปทรงของบ้านไม้ดั้งเดิมที่ดูอบอุ่นอยู่สบายในแบบสถาปัตย-<br />

กรรมเมืองร้อนซึ่งมีการต่อเติมขยายปรับปรุงบ้านไปตาม<br />

กาลเวลา ตามความเจริญเติบโตและเปลี่ยนแปลงของสมาชิก<br />

ในครอบครัวรวมถึงเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าขึ้นไป อย่างกลมกลืน<br />

และมีคุณภาพในการอยู่อาศัย รวมถึงการนำธรรมชาติหรือ<br />

สวนให้สอดแทรกและโอบล้อมและสัมผัสได้ในทุกส่วนของบ้าน<br />

ในตอนเริ่มแรกช่วงหลังยุคจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้<br />

เริ่มมีการสร้างหมู่บ้านจัดสรรยุคแรกๆ ขึ้นในกรุงเทพฯ เพื่อ<br />

ให้มีความทันสมัยทัดเทียมโลกตะวันตกซึ่งบ้านจัดสรรยุคแรก<br />

นี้จะเป็นลักษณะบ้านไม้ใต้ถุนสูง ฝ้าเพดานสูง มีช่องแสง<br />

เหนือประตูหน้าต่างเนื่องจากไม่มีเครื่องปรับอากาศ หลังคา<br />

ใช้กระเบื้องลอนคู่ที่เป็นวัสดุที่ทันสมัยมากในขณะนั้นเนื่องจาก<br />

มีลักษณะแผ่นใหญ่น้ำหนักเบายื่นชายคากันฝนได้ไกล มีรั้ว<br />

ไม้โป่รงสูงประมาณ 1.50 เมตร พอเวลาผ่านมากว่าหกสิบปี<br />

มีการใช้เครื่องปรับอากาศ ก็ทำให้ต้องเปลี่ยนจากหน้าต่างไม้<br />

เป็นหน้าต่างลูกฟักกระจกใสมีการใส่ฉนวนกันร้อนใต้หลังคา มี<br />

การใส่บานกระจกโดยรอบในชั้นล่างซึ่งเป็นที่พักอาศัยรวมถึงมี<br />

การครอบกระจกติดแอร์บนเฉลียงนั่งเล่นรอบบ้าน พื้นที่ดินก็มี<br />

การต่อขยายบ้านหรือสร้างบ้านเพิ่มเมื่อที่ตั้งเจริญขึ้นเป็นเมือง<br />

มากขึ้น จึงทำให้มีความหนาแน่นมากขึ้นและพื้นที่สีเขียวลดลง<br />

ตามความเจริญของบ้านเมือง ดังนั้นบ้านหลังนี้จึงต้องพยายาม<br />

ออกแบบให้มีสวนมีธรรมชาติสอดแทรกโอบล้อมอยู่ทั่วไปให้<br />

This house has become “Home Office” which includes<br />

of residence area and architecture office without<br />

interference. House styling as cozy tropical architecture<br />

were well kept and harmonize by merged along with its<br />

expansion and addition through time, family growth, and<br />

technology. Quality of living and natural environment<br />

were incorporated and touched in every part of the house.<br />

At the early time after Field Marshal P. Pibulsongkram<br />

period, there were starting to have housing estate built<br />

in Bangkok, as to mimic the westerner’s world. These<br />

housing were raised floor wooden house with elevated<br />

ceiling and plenty of light boxes above doors and<br />

windows as there were no air-conditioner. The roofing<br />

is with Roman tile, which was very modern material of<br />

the period as it came in big size with light weight and<br />

able to be extended far to shade off rain. Also they<br />

354<br />

มากที่สุดเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีที่สุด<br />

ซึ่งเป็นการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพเศรษฐกิจ<br />

การเมืองการปกครองและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป<br />

แต่เดิมรั้วบ้านเป็นรั้วไม้โปร่งๆ เตี้ยๆ มองเห็นกันได้หมด<br />

เหมือนรั้วบ้านในชุมชนต่างจังหวัด ปัจจุบันแต่ละบ้านทำรั้วปูน<br />

สูงประมาณ 2.00 เมตร เพื่อป้องกันอันตรายและเกิดความเป็น<br />

ส่วนตัว แสดงถึงความเป็นเมืองใหญ่ที่ผู้คนต่างคนต่างอยู่ไม่รู้<br />

จักไม่สนใจซึ่งกันและกัน<br />

บ้านมีการปรับปรุงหลายครั้ง เมื่อ พ.ศ. 2504 มีการต่อเติม<br />

ขึ้นเป็นเรือนหอ ด้วยงบประมาณหลักหมื่น ต่อมา เมื่อ พ.ศ. 2515<br />

มีการปรับปรุงต่อขยายครั้งใหญ่มีการสร้างเรือนครัวทำพื้นที่<br />

ใช้สอยชั้นล่างเป็นห้องนั่งเล่น รับแขก รับประทานอาหาร รวมถึง<br />

ขยายปรับปรุงต่อเติมชั้นบนให้เพียงพอกับครอบครัวใหญ่ที่มี<br />

บุตรธิดาถึง 4 คน ด้วยงบประมาณสองแสนกว่าบาท<br />

พ.ศ. 2535 มีการต่อเติมขยายเรือนครัวเป็นส่วนสำนักงาน<br />

สถาปนิกเล็กๆ สร้างและย้ายโรงรถใหม่โดยทำให้รถจอด<br />

หน้ากระดานได้และออกสู่ถนนได้ และใน พ.ศ. 2544 มีการ<br />

ซ่อมครั้งใหญ่มีการเปลี่ยนระบบน้ำประปาและระบบไฟฟ้า<br />

รวมถึงปรับปรุงอาคารทั้งภายในและภายนอกทาสีใหม่หมด<br />

(งบประมาณราว 1,500,000 บาท) เนื่องจากเป็นวัยทำงาน<br />

และเหลือลูกวัยทำงานอยู่กับบ้านเพียง 2 คน เจ้าของบ้านจึง<br />

ต้องปรับทั้งการใช้สอยและพื้นที่ให้เหมาะสมและลงตัวยิ่งขึ้นดัง<br />

ที่ปรากฏในปัจจุบัน<br />

surrounded the house with wooden fence of 1.50 meters<br />

height. Years have passed, and air-conditioners were<br />

installed, insulation had to be laid under the roof, and the<br />

wooden windows were required to change to glasses,<br />

together with the enclosed of all terraces surrounding the<br />

house. Surrounding property has been more urbanized,<br />

and green area were cut down, therefore this house has<br />

tried to preserve its garden and insert as many natural<br />

environment to the house area for the better living<br />

quality.<br />

The original fence were wooden translucent fence<br />

that is visibly like suburb community around the country,<br />

but at the present it is a concrete wall of 2.00 meters<br />

height as to prevent danger and protect privacy. This<br />

changes show how urbanization has deprived people<br />

interest from each other.


ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

2500<br />

(อายุ 60<br />

กว่าปี) และ<br />

ปรับปรุงอีก<br />

หลายครั้ง<br />

Before<br />

1957<br />

(about 60<br />

years old)<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

รองศาสตราจารย์<br />

ปราณี<br />

วานิชเจริญธรรม<br />

Associate Professor<br />

Pranee<br />

Vanichcharoentham<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณพิเชฐ วิานิชเจริญธรรม<br />

คุณฤกษ์ดี โพธิวนากุล<br />

ผู้ออกแบบ พื้นที่ งบประมาณ<br />

Designer Area Cost<br />

เริ่มแรก ราว พ.ศ. 2500 ที่ดิน ค่าก่อสร้าง<br />

การเคหะแห่งชาติ 160 ตร.วา ประมาณ<br />

พ.ศ. 2515 ปรับปรุง พื้นที่ใช้สอย สองแสน<br />

โดย นายอำพล 350 ตร.ม. กว่าบาท<br />

วานิชเจริญธรรม<br />

พ.ศ. 2544 ปรับปรุง<br />

โดย นายพิเชฐ<br />

วานิชเจริญธรรม<br />

Started Around<br />

1957 by National<br />

Housing Authority<br />

1972 renovated<br />

by Mr.Amphon<br />

Vanichcharoentham<br />

2001 renovated<br />

by Mr.Pichet<br />

Vanichcharoentham<br />

Plot Size<br />

160 Sq.wa<br />

Usable<br />

Space<br />

350 Sq.m.<br />

200,000<br />

Baht<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

ไม้<br />

กระเบื้อง<br />

ลอนคู่<br />

กระจก<br />

Wood,<br />

Roman<br />

roof tiles,<br />

Glass<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

อาคารสงเคราะห์<br />

พิบูลวัฒนา<br />

ถนนพระรามหก<br />

แขวงสามเสนใน<br />

เขตพญาไท<br />

กรุงเทพฯ<br />

Pibulwatthana<br />

Housing<br />

Authority,<br />

Rama VI<br />

Road., Sam<br />

Sen Nai<br />

Subdistrict,<br />

Phaya Thai<br />

District,<br />

Bangkok<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

-<br />

355


บ้านนางบัวสอน ไชยวงษา<br />

MRS. BUASORN CHAIVONGSA’S HOUSE<br />

บ้านนางบัวสอน สร้างเมื่อประมาณ พ.ศ. 2503 สร้างโดย<br />

สล่า (ช่างหรือผู้เชี่ยวชาญ) ชาวไตยอง เป็นเรือนไม้สักชั้นเดียว<br />

ยกใต้ถุนสูง หลังคาทรงปั้นหยาผสมจั่วมุงกระเบื้องวิบูลย์ศรี<br />

ประดับไม้แกะสลักที่ยอดจั่วและยื่นชายคาด้านหน้าออกมา<br />

เพื่อคลุมบันไดทางขึ้น ประดับไม้แกะสลักที่แผงบังแดดและ<br />

ราวบันได ประตูทางเข้าเรือนด้านหน้าเป็นบานเฟี้ยม หน้าต่าง<br />

ไม้บานเปิดคู่มีช่องแสงด้านบน วงกบล่างของหน้าต่างอยู่ใน<br />

ระดับต่ำซึ่งสัมพันธ์กับวิถีการอยู่อาศัยที่นั่งกับพื้น ผนังไม้ตีชน<br />

ชิดบนโครงเคร่าไม้ เสาด้านล่างเป็นเสาปูน ด้านบนเป็นเสาไม้<br />

พื้นที่ส่วนใต้ถุนตีไม้โปร่งกั ้นเป็นห้องเก็บของ เช่น เครื่องมือ<br />

ทางการเกษตร และพื้นที่บางส่วนใช้เลี้ยงสัตว์ มี 3 ห้องนอน<br />

1 ครัวไฟ และมียุ้งข้าว<br />

Mrs. Buasorn’s house were constructed around<br />

1960 by a Tai Yong ethnic artisan. It is an all teak<br />

raised-floor house. The roof top is hip and gable<br />

mixed finished with Vibulsri cement tile and wooden<br />

carved decoration at gable top. Extended roof covering<br />

the front entrance stairs were with wooden carved<br />

decorations on stair’s rails and shading. At main<br />

entrance, doors are foldable doors. Double-swing<br />

windows that has light box on top and very low level<br />

of window sills to merge with people’s lifestyle of<br />

sitting down on the floor. All walls are flat wooden<br />

walls in wooden frame. Lower part of house columns<br />

are of concrete, but the top parts were of wooden.<br />

At the ground level they enclosed lightly with wooden<br />

walls for storage purpose of agriculture equipment,<br />

and animals’ pen. The living area has 3 bedrooms,<br />

1 kitchen and rice grain storage (Yung-Kao).<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

งบประมาณ<br />

Cost<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

2503 นางบัวสอน ไชยวงษา - - - โครงสร้าง<br />

ไม้ หลังคา<br />

มุงกระเบื้อง<br />

วิบูลย์ศรี<br />

(กระเบื้อง<br />

ซีเมนต์)<br />

1960 Mrs. Buasorn<br />

Chaivongsa<br />

- - - Wooden<br />

structure<br />

with<br />

roofing of<br />

cement<br />

tiles<br />

(Vibulsri<br />

tiles)<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ล้านนา)<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

30 หมู่ 4<br />

ตำบลป่าซาง<br />

อำเภอป่าซาง<br />

จังหวัดลำพูน<br />

30 Moo 4,<br />

Pa Sang<br />

Subdistrict,<br />

Pa Sang<br />

District,<br />

Lamphun<br />

Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

-<br />

356


357


บ้านพรหมคง<br />

PHROMKONG’S HOUSE<br />

บ้านพรหมคง เป็นบ้านที่สร้างในสมัย ร.9 ทรงเสด็จมาเยือน<br />

อ.รัตภูมิ สร้างความภาคภูมิใจแก่เจ้าของบ้าน เปรียบเสมือน<br />

จุดเริ่มต้นของบ้านหลังนี้<br />

บ้านพรหมคง ถือเป็นบ้านที่ผู้คนในอำเภอรัตภูมิรู้จักเป็น<br />

อย่างดี เนื่องจากสมัยก่อนนับเป็นบ้านที่มีความใหญ่โต ด้วย<br />

ครอบครัวพรหมคงเป็นครอบครัวใหญ่ และมีฐานะร่ำรวยพอ<br />

สมควร ออกแบบให้ข้างล่างเป็นใต้ถุนโล่งกว้าง แต่ในปัจจุบัน<br />

ได้ต่อเติมเป็นบ้านปูนผสมไม้ที่ได้มีการต่อเติมด้านล่างใน<br />

พ.ศ. 2526 34 ปีที่ผ่านมา<br />

บ้านหลังนี ้ถือเป็นบ้านที่มีลักษณะเด่นทางสถาปัตยกรรม<br />

พื้นถิ่นภาคใต้คือ ยกใต้ถุนสูง และใช้หลักคาบลานอ ความลาด<br />

ชันของหลังคาที่ไม่สูงมากเพื่อชะลอน้ำฝนลงสู่พื้นดิน บ้านหลัง<br />

นี้ส่วนใหญ่จะใช้ลักษณะการเข้าเดือย ซึ่งนับเป็นภูมิปัญญาของ<br />

คนสมัยนั้น<br />

As a proud memory to Phromkhong family, this house<br />

were constructed in the reign of King Rama IX, when<br />

His Majesty had honorably visited the village.<br />

Back in the time, villagers know Phromkhong<br />

family house very well, as it was to village wealthiest<br />

house belongs to a big and rich family. The house<br />

were designed as raised-floor in the past, but, 34<br />

years later, at present were all enclosed with concrete<br />

and wood since 1983.<br />

This house is unique in it vernacular architecture<br />

style of southern Thai style with raised floor, the roof<br />

angle that is not too steep (to reduce rain water speed<br />

down the ground), and the jointing techniques of no<br />

nails practice.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

358<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

งบประมาณ<br />

Cost<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

2503 คุณเรณู พรหมคง คุณร่วง พรหมคง - - โครงสร้าง<br />

ไม้ และ<br />

ฐานราก<br />

คอนกรีต<br />

1960 Renu Phromkong Ruang Phromkong - - Wooden<br />

structure<br />

with<br />

concrete<br />

foundation<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณณัฐนันท์ ชูทอง<br />

คุณอัญชัญ พินธฺุ์สุวรรณ<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

36 ตำบลคูหาใต้<br />

อำเภอรัตภูมิ<br />

จังหวัดสงขลา<br />

36 Khuha Tai<br />

Subdistrict,<br />

Ratthapume<br />

District,<br />

Songkhla<br />

Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

7.155647<br />

100.259607


359


บ้านสาสนสิทธิ์<br />

SASANASIT’S HOUSE<br />

บ้านหลังนี้ออกแบบโดยเจ้าของบ้าน คุณยายอุ่นเรือน สาสนสิทธิ์<br />

จากคำบอกเล่าของคุณป้า และคุณแม่ คุณยายได้รับอิทธิพลการ<br />

ออกแบบจากบ้านประจำตำแหน่งของข้าราชการฝ่ายปกครอง<br />

จากการติดตามคุณตาไปประจำตำแหน่งในอำเภอต่างๆ เดิม<br />

บ้านปลูกบนที่ดินแปลงใหญ่ประมาณ 20 ไร่ จากนั้นมีการ<br />

แบ่งที่ให้น้องๆ ปลูกบ้านให้ลูกๆ และสำหรับให้เช่าอีกประมาณ<br />

10-11 หลัง ภายหลังถึงมีการตัดถนนและแบ่งโฉนด ตัว<br />

บ้านสร้างจากไม้ที่คุณยายชอบเก็บสะสมไว้ เนื่องจากคุณตา-<br />

คุณยายมีลูกหลายคนและมีแขกมาพักค้างคืนที่บ้านบ่อยครั้งจึง<br />

ออกแบบให้มีหลายห้องนอน มีโถงรับแขกค่อนข้างใหญ่ ตาม<br />

ลักษณะงานของคุณตาที่จะมีแขกมาพบที่บ้านเป็นประจำ โถง<br />

พักผ่อนเป็นส่วนที่ใหญ่และใช้งานมากที่สุดเพราะต้องการให้<br />

ทุกคนในครอบครัวมาทำกิจกรรมร่วมกัน ส่วนครัวมีทั้งครัวปิด<br />

และครัวเปิดที่ต่อออกไปเป็นระเบียงสำหรับตั้งเตาปรุงอาหาร<br />

ตัวบ้านออกแบบให้ใต้ถุนสูง เพื่อให้ลมพัดผ่าน เป็นพื้นที่พักผ่อน<br />

และทำงานบ้านในเวลากลางวัน ส่วนบริเวณบ้านด้านทิศ<br />

ตะวันตกออกแบบให้มีสระบัว สำหรับเลี้ยงปลา และเพื่อลด<br />

อุณหภูมิให้กับตัวบ้านในฤดูร้อน<br />

This house was designed by the owner, Mrs.Oonruen<br />

Sasanasit. From interviewing with my aunt and mother,<br />

Mrs.Oonruen, my grandmother designed this house<br />

with influence from former government resident’s<br />

house when following her husband to work in other<br />

provinces. House property were once 20 Rai big. After<br />

divided to other siblings, children, and 10-11 houses<br />

for rent, together with the new road cut later, the new<br />

boundary were applied. The house were built with old<br />

woods collected by grandma. Inside, were divided into<br />

many bedrooms for their many children and guests. A<br />

big reception space was designed to held grandpa’s<br />

regularly guests and it was the most used space of the<br />

house where everyone work together. Kitchen were<br />

both enclosed and open on terrace. Floor level were<br />

raised floor to gain ventilation and to use as daytime<br />

working space. West side of the house were with lotus<br />

and fish pond with function to reduce heat in summer<br />

time for the house.<br />

Design Factor : Resident designs for the cozy way<br />

of living of the owner and environment factors.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2503 นายเติม สาสนสิทธิ์<br />

และนางอุ่นเรือน<br />

สาสนสิทธิ์<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

นางอุ่นเรือน<br />

สาสนสิทธิ์<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

300 ตร.ม.<br />

งบประมาณ วัสดุ<br />

Cost Material<br />

- โครงสร้าง<br />

ไม้<br />

ที่ตั้ง พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

Location GPS<br />

1182 ถนน -<br />

ประจักษ์<br />

อำเภอเมือง<br />

จังหวัดหนองคาย<br />

1960 Mr.Term and Mrs.<br />

Oonruen Sasanasit<br />

Mrs.Oonruen<br />

Sasanasit<br />

Usable<br />

Space<br />

300 Sq.m.<br />

- Wooden<br />

structure<br />

1182<br />

Prachak Road.,<br />

Muang District,<br />

Nong Khai<br />

Province<br />

-<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : นายปกป้อง กุลชล<br />

360


361


บ้านนายขา ขัดปัญเจริญ<br />

MR.KHA KHUDPUNCHAROEN’S HOUSE<br />

บ้านนายขา เป็นเรือนไม้สักชั้นเดียวยกใต้ถุนสูง สร้างโดย<br />

ฝีมือสล่าพื้นบ้าน เมื่อประมาณ พ.ศ 2504 หลังคาทรงปั้นหยา<br />

ผสมจั่ว มุงกระเบื้องวิบูลย์ศรี ผนังไม้ตีซ้อนเกล็ดบนโครงเคร่าไม้<br />

เสาด้านล่างเป็นเสาปูนที่ได้มีการก่อพอกทับเสาเดิม ด้านบน<br />

เป็นเสาไม้ ประตูและหน้าต่างมีช่องแสงกระจกลายดอกพิกุล<br />

มี 2 ห้องนอน 1 ครัวไฟ<br />

Mr.Kha’s house is a raised-based teak house. Built by<br />

local artisan around 1961. The roof is hip mixed with<br />

gable finished with cement tiles (Vibulsri tile). Wooden<br />

walls are with over-layers style in wooden frame. Lower<br />

column were of cement columns which have been<br />

re-covered on old columns, and the top were of wooden<br />

columns. All doors and windows have light box with Pikul<br />

flower design. Inside were 2 bedrooms and 1 kitchen.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

งบประมาณ<br />

Cost<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

2504 นายขา ขัดปัญเจริญ - - - โครงสร้าง<br />

ไม้ หลังคา<br />

มุงกระเบื้อง<br />

วิบูลย์ศรี<br />

(กระเบื้อง<br />

ซีเมนต์)<br />

1961 Mr.Kha<br />

Khudpuncharoen<br />

- - - Wooden<br />

structure<br />

with<br />

Cement<br />

tile roofing<br />

(Vibulsri<br />

tile)<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ล้านนา)<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

57 หมู่ 6<br />

ตำบลอุโมงค์<br />

อำเภอเมือง<br />

ลำพูน<br />

จังหวัดลำพูน<br />

57 Moo 6,<br />

Umong<br />

Subdistrict,<br />

Muang District,<br />

Lamphun<br />

Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

-<br />

362


363


บ้านพักพนักงาน<br />

การรถไฟแห่งประเทศไทย<br />

ชั้นหัวหน้ากอง<br />

RAILWAY RESIDENCE FOR HEAD OF DIVISION OFFICIAL<br />

เป็นอาคารครึ่งไม้ครึ่งปูน 2 ชั้น ยกพื้นสูง 2.50 เมตร รูปแบบ<br />

ทางสถาปัตยกรรมแบบโมเดิร์น หลังคาจั่วมุงด้วยกระเบื้อง<br />

กระเบื้องลอนคู่ พื้นที่ใช้สอยชั้นล่างประกอบด้วยที่จอดรถ<br />

ห้องพักผ่อนและรับประทานอาหาร ห้องครัว ห้องน้ำ และ<br />

ห้องพักคนรับใช้ พื้นที่ใช้สอยชั้นบนประกอบด้วยห้องนอน<br />

3 ห้อง และห้องน้ำ 1 ห้อง พื้นชั้นล่างเป็นพื้นคอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก ผนังห้องชั้นล่างเป็นผนังก่ออิฐฉาบปูนกรุด้วย<br />

หินล้าง พื้นชั้นบน ผนัง บันได และประตูเป็นไม้ หน้าต่าง<br />

บ้านเปิดคู่ กระจกลูกฟัก<br />

The 2 stories single house, 2.50 meters height from<br />

floor to floor, designed with modern style. The roof is<br />

gable roofing with Roman tiles. The lower level has<br />

parking, living and dining areas, kitchen, bathroom,<br />

maid’s room. The upper level has 3 bedrooms and<br />

1 bathroom. The lower level has reinforced-concrete<br />

floor, brick and mortar walls with exposed aggregate<br />

finishing. The upper level floor finishing, wall, stairs,<br />

and doors are all wooden. Double-swing windows on<br />

upper level have glass panels.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

364<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2504 การรถไฟ<br />

แห่งประเทศไทย<br />

1961 The State Railway<br />

of Thailand (SRT)<br />

ผู้ออกแบบ พื้นที่ งบประมาณ วัสดุ ที่ตั้ง พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

Designer Area Cost Material Location GPS<br />

นายประยูร ศรีสำรวจ 164 ตร.ม. - โครงสร้าง ศูนย์ฝึกอบรม -<br />

ชั้นล่างเป็น บางซื่อ<br />

เสาและคาน เขตจตุจักร<br />

คอนกรีต กรุงเทพมหานคร<br />

เสริมเหล็ก<br />

โครงสร้าง<br />

ชั้นบนและ<br />

หลังคาเป็น<br />

โครงสร้าง<br />

ไม้<br />

Mr. Prayoon<br />

Srisamruaj<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปริญญา ชูแก้ว<br />

Usable<br />

Space<br />

164 Sq.m.<br />

- Lower level<br />

structure is<br />

reinforcedconcrete<br />

columns<br />

and<br />

beams.<br />

Upper level<br />

and roof<br />

structures<br />

are<br />

wooden.<br />

Bang Sue<br />

Training<br />

Center,<br />

Chatuchak<br />

District,<br />

Bangkok<br />

-


365


บ้านเหรียญทอง<br />

REIAN THONG’S HOUSE<br />

บนพื้นที่ดินเดิมขนาด 4 ไร่เศษซึ่งเคยเป็นโรงงานทอผ้าไหม<br />

เหรียญทอง ปัจจุบันได้เลิกกิจการโรงงานทอผ้าไหม แล้วมีการ<br />

แบ่งที่ดินในระหว่างพี่น้องจนเหลือพื้นที่บริเวณบ้าน ปัจจุบันนี้<br />

มีพื้นที่ขนาดประมาณ 1 ไร่ครึ่ง อยู่ในครอบครองของคุณอนงค์<br />

ทีปสุวรรณ<br />

บ้านเหรียญทองถูกออกแบบให้แคบและยาว โดยวางผัง<br />

ให้แนวยาวของบ้านหันหน้ารับลมในแนวเหนือใต้ โดยทำการ<br />

ลดช่องเปิดให้เหลือเท่าที่จำเป็นในด้านสกัดเมื่อเปิดหน้าต่างก็<br />

จะได้รับลมและแสงสว่างเต็มที่ มีลักษณะคล้ายกับศาลาไทย<br />

ที่เปิดโล่งและอยู่สบาย ชายคายื่นยาวกว่า 2 เมตร สามารถ<br />

กันแดดและฝนได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br />

เมื่อเวลาผ่านไป 40 กว่าปี สภาพแวดล้อมของบ้านเปลี่ยนไป<br />

มีถนนใหญ่ตัดผ่านหน้าบ้าน เริ่มมีฝุ่นควันและเสียงรบกวน<br />

มากขึ้น จึงได้มีการปรับสภาพให้เหมาะสมกับการอยู่ในสภาพ<br />

แวดล้อมปัจจุบัน<br />

โดยมีความพยายามในการรักษาสภาพของบ้านเดิมไว้ให้<br />

มากที่สุด มีการเพิ่มเติมความสะดวกสบายเข้าไปโดยใช้อุปกรณ์<br />

อาคารเข้าช่วย เพื่อคงคุณค่าของบ้านหลังนี้ และสามารถ<br />

ใช้สอยได้อย่างมีประสิทธิภาพในสภาพแวดล้อมปัจจุบันเหมือน<br />

อย่างที่เคยเป็นเมื่อแรกสร้าง<br />

ภายในบ้าน จากเดิมที่สามารถเปิดรับลมได้เต็มที่<br />

เมื่อมีฝุ่นควันจากถนน จึงจำเป็นต้องปิดหน้าต่างแล้วใช้<br />

เครื่องปรับอากาศเข้ามาแทน บานหน้าต่างแต่เดิมเป็น<br />

บานลูกฟักไม้ทั้งบาน เมื่อถูกปิดทำให้ในบ้านมืดลงมาก จึง<br />

เปลี่ยนเป็นลูกฟักกระจกแทน ทำให้ยังคงความสว่างและโล่ง<br />

สบาย ปรับพื้นที่การใช้งานระเบียงที่ไม่ค่อยได้ใช้งานในสภาพ<br />

แวดล้อมที่เปลี่ยนไป แต่ยังรักษาบรรยากาศความโล่งสบายทาง<br />

สายตาของความเป็นระเบียงเอาไว้ โดยปรับให้เป็นห้องกระจก<br />

และใช้เครื่องปรับอากาศเพื่อทำให้สามารถใช้พื้นที่ระเบียงได้ใน<br />

สภาวะที่สบายตลอดทั้งวัน<br />

Rian Thong House were narrowly designed to use<br />

the long side of the house to face north-south wind.<br />

The opening void were reduced to the essential only<br />

in the shorter side to fully gain ventilation and natural<br />

lighting. The styling is like the Thai Traditional house<br />

with open planning and effective long shading from<br />

rooftop.<br />

40 years passed, major road were cut in the<br />

front of the house, bringing lots of dust and noise<br />

pollution. Therefore, adjustment were made to cope<br />

with present existence.<br />

Trying to keep the original house environment,<br />

only some conveniences were installed to make this<br />

house as cozy living as before.<br />

Inside, from freely ventilated by natural air forced,<br />

now polluted with traffic dust, their window must be<br />

closed and controlled by air-conditioning system. At<br />

first all windows have wooden panels and would be<br />

very dark after all are shuttled. Therefore, all were<br />

replaced with glass panels to gain more sunlight and<br />

spacious dimension. All terrace with little used, were<br />

turned into enclosed space with more air-conditioned<br />

available space.<br />

366


ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

2504<br />

-<br />

2505<br />

1961<br />

-<br />

1962<br />

เจ้าของ ผู้ออกแบบ พื้นที่<br />

Owner Designer Area<br />

คุณอนงค์ ทีปสุวรรณ หม่อมราชวงศ์<br />

แน่งน้อย ศักดิ์ศรี<br />

ปรับปรุง พ.ศ. 2545<br />

โดยสถาปนิก<br />

คุณพิเชฐ วานิชเจริญ<br />

ธรรม<br />

Anong Thipsuwan<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณพิเชฐ วิานิชเจริญธรรม<br />

คุณฤกษ์ดี โพธิวนากุล<br />

M.R.Nangnoi<br />

Saksri, then<br />

renovated in<br />

2002 by Architect<br />

Mr.Pichet Wanich-<br />

Charoentham<br />

เดิม 4<br />

ไร่เศษ<br />

ปัจจุบันนี้มี<br />

พื้นที่ขนาด<br />

ประมาณ1ไร่<br />

ครึ่ง<br />

There were<br />

altogether<br />

over 4 Rai<br />

property.<br />

However,<br />

nowadays<br />

were only<br />

1.5 Rai<br />

งบประมาณ<br />

Cost<br />

ก่อสร้าง<br />

350,000<br />

บาท<br />

ปรับปรุง<br />

พ.ศ. 2545<br />

3,500,000<br />

บาท<br />

first construction<br />

350,000<br />

Baht, and<br />

then renovation<br />

in<br />

2002 at<br />

3,500,000<br />

Baht.<br />

วัสดุ ที่ตั้ง<br />

Material Location<br />

- ซอย<br />

13.909610<br />

อรุณอัมรินทร์ 5 100.490291<br />

ถนนอรุณอมรินทร์<br />

ตัดใหม่<br />

กรุงเทพฯ<br />

- Soi Arun<br />

Ammarin 5<br />

New Arun<br />

Ammarin Road,<br />

Bangkok<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

367


สถานีวิจัยประมงคลองวาฬ<br />

THE RESEARCHER RESIDENCE, KLONGWAN<br />

FISHERY RESEARCH STATION, KASETSART UNIVERSITY<br />

คลองวาฬใน พ.ศ. 2501 นั้น ยังคงเป็นสถานที่ที่ยังอยู่ห่างไกล<br />

ยากต่อการเดินทางและมีอุปสรรคในการติดต่อสื่อสาร บ้านพัก<br />

นักวิจัยสถานีประมงคลองวาฬ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้<br />

รับการออกแบบให้อยู่ภายใต้โครงขององค์อาคารที่เรียบง่าย<br />

เพื่อรับมือกับอุปสรรคเรื่องการติดต่อสื่อสารระหว่างสถาปนิก<br />

และผู้รับเหมาก่อสร้าง แต่อุปสรรคไม่ได้มีผลต่อการทำงาน<br />

ภายใต้ข้อจำกัดกลับถูกผันให้เป็นโอกาสในการทดลองให้กับ<br />

กระบวนการออกแบบสถาปัตยกรรม ระบบองค์อาคารที่เรียบ<br />

ง่ายถูกขยายออกไปตามแนวแกนสำคัญต่างๆ ทั้งตามยาวและ<br />

ตามขวางของผังพื้นเพื่อให้เกิดผลตอบสนองในด้านคุณสมบัติ<br />

ของการใช้งานที่แตกต่างหลากหลาย นอกจากนี้ยังส่งผลให้<br />

กลุ่มอาคารวางตัวได้แนบสนิทอยู่บนสภาพภูมิประเทศที่เป็น<br />

เนินทรายภายในโครงการ<br />

In the year 1958, Klongwan was a far remote area. The<br />

difficulties on access, transportation, and communication<br />

has forced architect to find the proper solution,<br />

especially, on how to communicate with the contractor.<br />

The Researcher Residence at Klongwan Fishery<br />

Research Station was designed based on its simple<br />

tectonic platform. The application of such tectonic was<br />

challenged by complex building requirement, especially,<br />

on different type of space uses. Extension of simple<br />

tectonic was executed along the major axis of planning<br />

in both longitudinal section and cross section at the same<br />

time. The result is the seamless sit of building on terrain<br />

and topography of the sand dune configuration of its site.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

2504<br />

ปีที่ปรับปรุง<br />

2536<br />

1961<br />

Year<br />

of renovate<br />

1993<br />

368<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร์<br />

Kasetsart<br />

University<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์<br />

ทองพันธุ์ พูนสุวรรณ<br />

Assistant<br />

Professor<br />

Thongpan<br />

Poonsuwan<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทองพันธุ์ พูนสุวรรณ<br />

พื้นที่ งบประมาณ<br />

Area Cost<br />

- 200,000<br />

บาท<br />

- 200,000<br />

Baht<br />

วัสดุ ที่ตั้ง<br />

Material Location<br />

- สถานีวิจัยประมง<br />

คลองวาฬ 447 หมู่<br />

1 ตำบลคลองวาฬ<br />

อำเภอเมือง จังหวัด<br />

ประจวบคีรีขันธ์<br />

- Klongwan<br />

Fishries Research<br />

station 447 Moo<br />

1, Klongwan<br />

Subdistrict,<br />

Muang Distrct,<br />

Prachuap Khiri<br />

Khan Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

11.754211<br />

99.791762


369


บ้านไทยยืนยง<br />

THAI YUEN YONG HOUSE<br />

บ้านไทยยืนยงหลังนี้ถูกสร้างขึ้นใน พ.ศ. 2508 โดยคุณพ่อ<br />

ของคุณยุวณี ซึ่งเป็นครอบครัวไทยเชื้อสายจีน ประกอบด้วย<br />

พ่อแม่ ลูกหกคนและน้องสาวของคุณพ่อ รวมทั้งหมดเป็นเก้า<br />

คน เป็นครอบครัวที่ประกอบอาชีพเครื่องปั้นดินเผาแห่งแรกบน<br />

เกาะเกร็ด เดิมทีก่อนที่จะตั้งถิ่นฐานที่เกาะเกร็ดแห่งนี้ได้รวม<br />

กลุ่มกับญาติๆ ทำเครื่องปั้นดินเผาอยู่แถวราชเทวี แต่ต่อมามี<br />

ปัญหาเรื่องมลพิษ จึงตัดสินใจย้ายมายังบริเวณเกาะเกร็ดแห่งนี้<br />

เพราะอยู่ติดริมแม่น้ำเจ้าพระยา ง่ายต่อการขนส่งวัตถุดิบและ<br />

การขนส่งผลิตภัณฑ์ไปยังในตัวเมืองกรุงเทพมหานคร ซึ่งใน<br />

เวลานั้นใช้เรือในการขนส่ง ประกอบกับราคาที่ดินบนเกาะเกร็ด<br />

ในเวลานั้นไม่สูงมากนัก บ้านหลังนี้ (หลังแรก) เป็นบ้านไม้<br />

ยกใต้ถุน และมีหลังคาผืนใหญ่คลุมพื้นที่เกือบทั้งหมดของ<br />

ที่ดิน (แรกเริ่ม 99 ตารางวา) พื้นที่ใต้ถุนและโดยรวมๆ แล้ว<br />

จะเป็นพื้นที่ในการผลิตเครื่องปั้นดินเผา จะมีพื้นที่เตรียมดิน<br />

พื้นที่ขึ้นรูปเครื่องปั้นดินเผา พื้นที่ตากเครื่องปั้นดินเผา และ<br />

พื้นที่เตาเผา แต่ด้วยพื้นที่ที่จำกัดมีพื้นที่ในการตากไม่เพียงพอ<br />

จึงคิดพิจารณาหาวิธีการจัดการพื้นที่ในแนวตั้งเกิดขึ้น เป็นการ<br />

สร้างชั้นลอยเพื่อเพิ่มพื้นที่ในการตาก และยังใช้ไอร้อนเหนือ<br />

เตาในการลดระยะเวลาในการตากเครื่องปั้นดินเผา<br />

จะเห็นได้ชัดว่าบ้านหลังนี้เป็นบ้านที่มีพื้นที่อยู่อาศัยและพื้นที่<br />

ประกอบอาชีพ ทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพบนเงื่อนไข<br />

ของข้อจำกัดที่มีขนาดพื้นที่ดินขนาดเล็ก และเมื่อกิจการด ำเนิน<br />

ไปจึงค่อยขยับขยายพื้นที่ตามก ำลังความสามารถ ไม่เกินตัว<br />

Thai Yuen Yong House has been constructed in 1965<br />

by Mrs.Yuwadee’s father, whom has Thai-Chinese<br />

race. They were a family of 9; father, mother, 6<br />

children, and aunt. They were the first family who<br />

profess the pottery craft on Ko Kret. Before that, they<br />

had their business near Rajdevi Road, but later on<br />

had undergone with pollution that made them choose<br />

to move out to Ko Kret. Situated along Chao Phraya<br />

River made it easy to transfer materials and products<br />

to Bangkok, which at that time shipping and property<br />

in Ko Kret was still at low price. This house (first<br />

house) has raised floor design with one big roofing<br />

that covers almost the entire area of 99 Sq.wa. The<br />

ground level is mainly used for pottery crafting with<br />

clay preparing area, molding area, drying area and<br />

furnace area. However, we ran out of drying area,<br />

therefore a vertical shelving with top heating were<br />

created to reduce space and time of drying.<br />

This house cleverly integrated living and working<br />

space together in a small property. When the<br />

business grew with success then they might expand<br />

further.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

2508 คุณยุวณี สุขทอง คุณขี่ย้ง<br />

(คุณพ่อของคุณยุวณี)<br />

1965 Yuwanee Sukthong Kee Yong<br />

(Yuwanee’s father)<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : นายชัยเศรษฐ เศรษฐสกุลชัย<br />

นางสาวชลธิชา วงศ์ชูศรี<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

ที่ดิน<br />

99 ตร.วา<br />

Plot Size<br />

99 Sq.wa<br />

งบประมาณ วัสดุ ที่ตั้ง<br />

Cost Material Location<br />

- ไม้ 53/1 เกาะเกร็ด<br />

ตำบลเกาะเกร็ด<br />

อำเภอปากเกร็ด<br />

จังหวัดนนทบุรี<br />

- Wood<br />

structure<br />

53/1 Ko<br />

Kret, Ko Kret<br />

Subdistrict, Pak<br />

kret District,<br />

Nonthaburi<br />

Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

13.909610<br />

100.490291<br />

370


371


บ้านเลขที่ 5<br />

(บ้านรองศาสตราจารย์เลิศ และ<br />

รองศาสตราจารย์สมถวิล อุรัสยะนันทน์)<br />

THE RESIDENCE OF ASSOC.PROF. LERT URASYANANDANA AND<br />

ASSOC.PROF.SOMTHAVIL URASYANANDANA<br />

เมื่อประมาณ 50 กว่าปีที่ผ่านมา เป็นช่วงเวลาที่ศาสตราจารย์<br />

หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ และรองศาสตราจารย์เลิศ<br />

อุรัสยะนันทน์ เป็นอาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และยังได้ทำงานในฐานะสถาปนิก<br />

ร่วมกันนั้น ศาสตราจารย์หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ ได้<br />

ออกแบบสร้างบ้านของท่านในบริเวณที่ดินข้างบ้านของ<br />

อาจารย์เลิศหลังนี้ขึ้นก่อน ต่อมาท่านได้แบ่งที ่ดินส่วนหนึ่ง<br />

ขายให้อาจารย์เลิศผู้เป็นศิษย์ เพื่อจะให้มาสร้างบ้านอยู่ใกล้ๆ<br />

กันเพื่อสะดวกในการปรึกษางาน จึงเป็นจุดเริ่มต้นให้รอง<br />

ศาสตราจารย์เลิศ อุรัสยะนันทน์ ได้ออกแบบสร้างบ้านของ<br />

ท่านและครอบครัวขึ้นใน พ.ศ. 2509 อันประกอบด้วยตัวบ้าน<br />

พักอาศัยและโรงจอดรถ ซึ่งได้ก่อสร้างพร้อมกันทั้งหมดใน<br />

คราวเดียว<br />

แนวทางการออกแบบของอาจารย์ มีลักษณะผสมผสาน<br />

ของรูปแบบสถาปัตยกรรมไทยและยุโรป สังเกตได้จากการ<br />

เน้นความสูงโปร่งแบบไทย และคำนึงถึงการรับลมตลอดทั้งปี<br />

จากทิศทางลมในแนวทิศเหนือ-ใต้ได้ตลอดทั้งปี โดยได้คำนวณ<br />

ทิศทางการจัดวางแนวช่องเปิดประตูหน้าต่างสำหรับลมเข้า<br />

ออกไว้อย่างเป็นระบบ รวมทั้งเตรียมบริเวณที่เว้นว่างโดยรอบ<br />

ตัวบ้านไว้เพื่อเป็นพื้นที่รับลมอย่างพอเพียง ในปัจจุบันอาคาร<br />

สูงซึ่งก่อสร้างรายล้อมพื้นที่อย่างค่อนข้างหนาแน่นจึงไม่ส่ง<br />

ผลกระทบต่อการรับลมเข้าสู่ตัวบ้านมากนัก<br />

นอกจากนี้การออกแบบบ้านท่านจะเน้นความแข็งแรงของ<br />

โครงสร้าง เช่น มีการออกแบบฐานรากเพื่อป้องกันแผ่นดินไหว<br />

และใช้เสาเข็มที่ลึกเป็นพิเศษที่ได้รับการคำนวณอย่างดี เพื่อ<br />

ป้องกันการเคลื่อนตัวของดินและบ้านทรุดไว้ด้วย เนื่องจาก<br />

ลักษณะดินในพื้นที่แถบจังหวัดสมุทรปราการเป็นดินเลนที่อาจ<br />

เกิดการเคลื่อนตัวของดินได้เมื่อแผ่นดินไหว เมื่อครั้งที่เกิดแผ่น<br />

ดินไหวไม่รุนแรงในละแวกนี้ บ้านของท่านจึงไม่ได้รับผลกระทบ<br />

ใดๆ ต่อโครงสร้าง<br />

การออกแบบพื้นที่ใช้สอย และส่วนประกอบอาคาร ชั้นล่าง<br />

มีการลดทอนการใช้ผนังทึบกั้นห้องที่จะทำให้กีดขวางทางลม<br />

โดยใช้เฟอร์นิเจอร์จัดวางกั้นพื้นที่เพื่อแยกการใช้งานแต่ละส่วน<br />

แทน ส่วนวัสดุก่อสร้าง-ตกแต่งอาคารชั้นล่างนั้นเน้นการใช้<br />

ผนังก่อด้วยอิฐทนไฟที่นำเข้าจากต่างประเทศและหินธรรมชาติ<br />

ภายหลังอาจารย์ได้ออกแบบลูกกรงเหล็กมาติดตั้งในช่อง<br />

หน้าต่างเพิ่มเติมขึ้นด้วย เพราะเคยมีขโมยเข้าบ้านครั้งหนึ่ง<br />

ส่วนพื้นที่ชั้นสองซึ่งจำเป็นต้องกั้นห้องเพื่อให้มีความเป็น<br />

ส่วนตัวนั้น อาจารย์ได้ออกแบบระบบช่องหน้าต่างบานเกล็ด<br />

กระจกที่เรียงต่อเนื่องกันยาวตลอดแนว โดยใช้อุปกรณ์ที่<br />

สามารถควบคุมการเปิด-ปิดได้ที่จุดเดียว เพื่อให้เปิดรับลมได้<br />

อย่างเต็มที่ ทำให้พื้นที่ภายในอาคารมีความโปร่ง ตลอดจนได้<br />

รับแสงสว่างที่เพียงพอ เป็นชุดหน้าต่างที่จัดทำพร้อมกับมุ้ง<br />

ลวดโลหะ นับเป็นการออกแบบใช้บานมุ้งลวดรุ่นแรกๆ ของ<br />

ไทย แต่ปัจจุบันวัสดุมุ้งลวดเดิมชำรุดและได้เปลี่ยนเป็นวัสดุ<br />

ใหม่แล้ว และยังต้องเริ่มติดตั้งเครื่องปรับอากาศในบางห้อง<br />

ด้วย เนื่องจากสภาพอากาศที่ร้อนขึ้นมาก<br />

ในขั้นตอนการก่อสร้าง อาจารย์ให้ความสำคัญกับ<br />

กระบวนการจัดเตรียมและคัดเลือกวัสดุก่อสร้างอย่างพิถีพิถัน<br />

ตลอดจนช่างก่อสร้างที่จะต้องเป็นช่างฝีมือ ซึ่งในสมัยนั้นกลุ่ม<br />

ช่างชาวจีนที่มีฝีมือดีและโดดเด่นคือช่างจากเซี่ยงไฮ้ วัสดุไม้<br />

ที่จะใช้ก่อสร้างจะต้องนำไปตากแดดก่อนเพื่อให้เนื้อไม้แห้ง<br />

สนิท ไม่เหลือทั้งยางและความชื้น ไม้ที่แห้งสนิทเมื่อนำมาใช้<br />

จะคงรูปและไม่บิดตัว ส่วนเทคนิคการต่อไม้ต้องมีกรรมวิธีต่อ<br />

ให้สนิทเหมือนเป็นไม้เนื้อเดียวกัน มีการสมานเนื้อไม้ ขัดผิว<br />

และต้องคัดเลือกลายไม้ให้เหมือนหรือพอดีกัน โดยเลือกไม้ที่<br />

ใกล้เคียงกันหรือจากต้นเดียวกัน ไม้ที่เลือกมาใช้ก็จะต้องแก่<br />

จัดจริงๆ จึงจะได้ไม้ที่มีเนื้อแข็ง<br />

บ้านหลังนี้ เมื่อแรกสร้างตัวบ้านจะตั้งอยู่บนระดับพื้นที่สูง<br />

กว่าบริเวณโดยรอบและถนน แต่ภายหลังมีการปรับระดับพื้น<br />

ถนนหน้าบ้านสูงขึ้นจนเท่ากับระดับพื้นของตัวบ้าน จึงเกิดมี<br />

ปัญหาเรื่องน้ำเป็นหลักเมื่อฝนตกหนัก<br />

ส่วนโรงจอดรถนั้น ภายหลังได้ปรับปรุงพื้นที่ใช้สอย เปลี่ยน<br />

เป็นสถานที่สำหรับสอนเซรามิกส์ของ รองศาสตราจารย์สมถวิล<br />

อุรัสยะนันทน์ ภรรยาของอาจารย์ โดยตั้งชื่อว่า “สมเซรามิกส์”<br />

ปัจจุบันมีบุตร ภรต อุรัสยะนันทน์ เป็นผู้สืบทอดการสอนต่อมา<br />

372


ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2509 คุณกัณหา<br />

อุรัสยะนันทน์<br />

คุณภรต<br />

อุรัสยะนันทน์<br />

1966 Kunha<br />

Urasyanandana<br />

Prot<br />

Urasyanandana<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

รองศาสตราจารย์เลิศ<br />

อุรัสยะนันทน์<br />

Associate<br />

Professor Lert<br />

Urasyanandana<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

ที่ดิน 340<br />

ตร.วา<br />

Plot Size<br />

340 Sq.wa<br />

งบประมาณ<br />

Cost<br />

800,000<br />

บาท<br />

800,000<br />

Baht<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

คอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก /<br />

ปูน / เหล็ก<br />

/ ไม้สัก<br />

reinforced<br />

concrete<br />

/ plaster<br />

/ steel /<br />

teakwood<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

5 สุขุมวิท 56<br />

แขวงบางจาก<br />

เขตพระโขนง<br />

กรุงเทพฯ<br />

5 Sukhumvit<br />

56, Bang Jak<br />

Subdistrict,<br />

Prakanong<br />

District,<br />

Bangkok<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

-<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : ศาสตราจารย์เลอสม สถาปิตานนท์<br />

คุณภรต อุรัสยะนันทน์<br />

373


Story, Background, Concept<br />

The house and garage were built at the same time<br />

around 50 years ago. The house is tall and airy which is a<br />

unique quality of a Thai house. All openings are carefully<br />

designed to make sure that the wind ventilates through<br />

the house all year long. Around the house is kept as open<br />

space so there’s nothing blocking the wind despite of tall<br />

buildings appearing all around later.<br />

The foundation was also designed to cope with<br />

earthquakes. There used to be a mild earthquake in the<br />

area and the house was unaffected. The foundation piles<br />

were deeper than usual because clay soil in Samutprakarn<br />

can be unstable.<br />

On the ground floor, the architect chose to do an<br />

open plan and use furniture to separate functional areas<br />

to ensure good ventilation. Window bars were installed<br />

later after a burglary incident.<br />

The second floor is partitioned into private<br />

rooms. Glass shutters along the house allows the north<br />

wind and light inside.<br />

The house was meticulously and craftily built by<br />

specialized artisans from Shanghai. Every piece of wood<br />

was dried in the sun until completely dry to prevent it from<br />

bending, then joined as if they are all the same piece of<br />

wood.<br />

374


บ้านรองศาสตราจารย์เลิศ และรองศาสตราจารย์สมถวิล อุรัสยะนันทน์<br />

บทสัมภาษณ์ศาสตราจารย์เลอสม สถาปิตานนท์<br />

บ้านรองศาสตราจารย์เลิศ และรองศาสตราจารย์สมถวิล<br />

อุรัสยะนันทน์ ตั้งอยู่ในซอยสุขุมวิท 56 ซึ่งเป็นซอยค่อนข้างต่ำ<br />

น้ำท่วมอยู่ทุกปี ดังนั้น ในการออกแบบบ้านจึงยกระดับลาน<br />

หน้าบ้านสูงกว่าถนนภายนอกประมาณ 60 เซนติเมตร เวลา<br />

แล่นรถเข้าบ้านจะรู้สึกเหมือนขึ้นเนิน แต่ภายหลังมีการถม<br />

ยกระดับซอยภายนอกจนอยู่ในระดับเดียวกับถนนภายในบ้าน<br />

แผนผังบ้านรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าวางขนานกับหน้ากว้างของ<br />

ที่ดินทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ มองจากทางเข้าหน้าบ้านจะ<br />

เห็นเหมือนบ้านชั้นเดียว ทั้งๆ ที่เป็นบ้านสองชั้น โดยกดหลังคา<br />

ด้านหน้าให้ต่ำลงและยื่นชายคายาวหักลงคลุมทางเข้าด้านหน้า<br />

บ้านที่มีประตูกระจกบานใหญ่ ถ้ามองจากหลังบ้านจะเห็นเป็น<br />

บ้านสองชั้นที่มีเฉลียงยื่นออกมาทั้งชั้นล่างและชั้นบน ผนังชั้น<br />

ล่างมีการเจาะประตูกระจกตลอดแนว และชั้นบนมีหน้าต่าง<br />

บานเกล็ดกระจกยาวทั้งผนังทางด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ที่<br />

เป็นด้านรับลม รูปแบบโดยรวมเป็นลักษณะสถาปัตยกรรมเขต<br />

ร้อนชื้น (Tropical Architecture)<br />

ยุคที่อาจารย์เลิศไปศึกษาต่อต่างประเทศที่แครนบรูคอคา<br />

เดมีออฟอาร์ต (Cranbrook Academy of Art, Michigan, USA)<br />

จะเรียนสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ (Modern Architecture) อย่าง<br />

เช่น งานของ Frank Lloyd Wright และได้รับการถ่ายทอด<br />

ความรู้ในเรื่องการออกแบบที่ว่าง (space) และการวางผังพื้นที่<br />

ใช้สอยแบบเปิดโล่ง (open plan) ส่วนลักษณะของความเป็น<br />

ไทยคือเรื่องการใช้พื้นที่ภายในบ้านกับนอกบ้านที่สัมพันธ์กัน<br />

ความต่อเนื่อง การเชื่อมโยงที่ว่าง เชื่อมโยงชีวิตที่เราสามารถ<br />

ออกมาอยู่อาศัยแบบกึ่งภายนอกบ้าน (outdoor) หรือนั่งมอง<br />

สวน ได้โดยไม่เปียกฝน<br />

เมื่อผ่านเข้าไปในบ้านจากทางเข้าด้านหน้าความรู้สึกก็<br />

จะเปลี่ยนไป เพราะขณะที่เดินเข้าไปยังโถงบันไดก็จะเห็นว่า<br />

เริ่มเป็นบ้านสองชั้น สมัยที่ก่อสร้างบ้านนั้นเป็นยุคที่มีการเล่น<br />

ระดับกันค่อนข้างมาก จะมีการเปลี่ยนระดับพื้น เช่น เดินผ่าน<br />

โถงบันได ที่มีพื้นที่นั่งเล่น ห้องน้ำ และห้องหนังสือ ซึ่งภาย<br />

หลังปรับเป็นห้องนอนผู้สูงวัย ต่อจากโถงก็จะมีขั้นบันไดลด<br />

ระดับ สังเกตเห็นได้ว่าในส่วนของโถงทางเข้า จะมีเพดานสูง<br />

(double space) แล้วก็ค่อยๆ ลดต่ำลงตรงบริเวณรับแขกและ<br />

ส่วนรับประทานอาหาร<br />

ส่วนบันไดทางขึ้นชั้นสองของบ้าน ให้ความสำคัญโดยจัด<br />

วางอยู่ใกล้ประตูทางเข้าด้านหน้า คล้ายกับบ้านในต่างประเทศ<br />

ที่เปิดประตูเข้าบ้านแล้วก็จะเป็นโถงบันไดทันทีเพื่อจะขึ้นต่อไป<br />

ยังชั้นสอง รูปแบบโถงบันไดนี้อยู่ในลักษณะเปิด (open well)<br />

คือไม่ใช่บันไดที่ปิดทึบ แต่เปิดที่ว่างส่วนนี้ให้โล่งและสว่างมอง<br />

เห็นบันไดแนบอยู่กับผนังกระจกใส มองทะลุออกไปในคอร์<br />

ทด้านนอกบ้านได้ ส่วนหน้าต่างอีกด้านหนึ่งของบริเวณนั่งเล่น<br />

จะเป็นรูปแบบฝรั่งเศส (French window style) มีอยู่ 3 บานที่<br />

เปิดออกไปให้มองเห็นสวนข้างบ้านและเฉลียงได้<br />

บันไดนี้มีความพิเศษมาก เป็นบันไดลอยตัวแบบไม่มีแม่<br />

บันได คอนกรีตเสริมเหล็กหล่อในลักษณะพับเป็นลูกตั้งลูกนอน<br />

ขึ้นไปจนถึงพื้นชั้นบนโดยไม่ต้องมีเสารับและไม่ต้องสัมผัสหรือ<br />

ยึดกับผนังเลย มีระยะห่างจากกระจกพอสมควร ผนังข้างบันได<br />

เป็นกระจกสูงตั้งแต่พื้นชั้นล่างขึ้นไปถึงเพดานของชั้นสอง มอง<br />

ผ่านด้านนี้ออกไปสู่คอร์ท ที่มีสวนและน้ำตกระหว่างเรือนหลัง<br />

ใหญ่และหลังเล็กด้านหน้า โถงบันไดจะได้แสงธรรมชาติเข้า<br />

มาในส่วนนี้ค่อนข้างมาก ไม่ต้องเปิดไฟเลยในเวลากลางวัน<br />

ส่วนชั้นลอยเหนือบริเวณนั่งเล่นนี้เป็นบริเวณห้องพระ<br />

แบบเปิดโล่งไม่มีผนัง มีแต่ราวกันตก จากชั้นลอยมองลงมา<br />

ข้างล่างได้ เป็นที่โปร่งโล่ง คือที่ว่าง (space) จะไหลจากชั้น<br />

ล่างขึ้นไปข้างบน ทะลุต่อเนื่องถึงกันหมด ทั้งบริเวณชานบันได<br />

(landing) ชั้นบน ที่เป็นทางเดินไปสู่หน้าห้องนอนต่างๆ ด้วย<br />

เพดานก็มีความพิเศษตรงความต่อเนื่อง จากบริเวณพื้น<br />

ของชั้นลอยหรือเพดานของส่วนนั ่งเล่นซึ่งเป็นโครงสร้างไม้ที่<br />

มองเห็นตงวางเรียงถี่ๆ รับพื้นไม้อยู่ จากส่วนนี้เมื่อมองเข้าไป<br />

ด้านในบ้านจากพื้นโถงก็จะลดระดับด้วยบันไดสามขั้น ต่อด้วย<br />

พื้นที่โล่งใหญ่ที่เป็นส่วนรับแขกและรับประทานอาหารอยู่ใน<br />

บริเวณเดียวกัน เป็นที่ว่างที่ทะลุถึงกันไม่มีผนังกั้น เพดานชั้น<br />

ล่างบริเวณนี้เป็นคอนกรีตเปลือยไม่มีฝ้าเพดานปิดบัง ทำให้<br />

มองเห็นพื้นผิวใต้พื้นชั้นบนเป็นรอยไม้แม่แบบตอนหล่อ<br />

คอนกรีต ส่วนชั้นบนเป็นฝ้าเพดานไม้<br />

จากพื้นที่บริเวณรับแขก รับประทานอาหาร ถัดไปเป็น<br />

บริเวณเตรียมอาหาร และครัว ต่อเนื่องกัน มีแค่เคาน์เตอร์กั้น<br />

ไม่ได้มีผนัง สามารถมองทะลุตั้งแต่ส่วนนั่งเล่น-รับแขกไปถึง<br />

ครัวได้เลย การออกแบบค่อนข้างมีลักษณะเหมือนครัวฝรั่ง มี<br />

เคาน์เตอร์โดยรอบ และมีการตั้งโต๊ะอาหารเช้าในครัวด้วย แต่<br />

เมื่อทำกับข้าวไทยก็ต้องออกไปทำข้างนอกบ้าน มีพื้นที่ครัว<br />

แบบไทยอยู่ใกล้รั้วทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ นอกจากนั้น<br />

จากส่วนรับแขกกับส่วนรับประทานอาหารจะมีผนังเปิดเป็น<br />

บานกระจกใสขนาดใหญ่หลายบานเชื่อมโยงกับเฉลียง มอง<br />

ออกไปเห็นสวนหลังบ้านได้<br />

พื้นที่ด้านหลังบ้านจะเปิดเป็นสวนที่ค่อนข้างเป็นส่วนตัว<br />

เพราะมีตัวบ้านกันระหว่างถนนกับสวนหลังบ้าน เดิมบริเวณ<br />

375


สวนนี้จะมีความต่อเนื่องกับสวนของบ้านหม่อมเจ้าโวฒยากร<br />

วรวรรณ นอกจากนี้พื้นที่รับประทานอาหารอีกด้านหนึ่งเป็น<br />

บานเปิดกระจกสูง ยกขอบล่างจากพื้นประมาณ 0.40 เมตร<br />

เปิดออกสู่คอร์ท<br />

คอร์ทนี้ก็มีการเล่นระดับ จากระดับพื้นโถงบันไดลดระดับ<br />

ลงไป 10 เซนติเมตรเป็นสวน และจะลดหลั่นระดับลงไปอีก<br />

ประมาณ 45 เซนติเมตร เมื่อต่อเนื่องไปถึงครัว ครัวก็จะเป็น<br />

จุดที่เชื่อมต่อเส้นทางสัญจรมาถึงเรือนเล็กหน้าบ้าน<br />

เรือนเล็ก ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกของลานหน้าบ้าน<br />

เดิมเป็นส่วนจอดรถบริเวณใต้ถุน 2 คัน และบริเวณห้องปั้นเซ<br />

รามิกส์ซึ่งต่อเนื่องกับคอร์ท ห้องนี้อาจารย์สมถวิลใช้สอนเซรา<br />

มิกส์ แต่เมื่อมีลูกศิษย์มากขึ้นจึงขยายมาถึงส่วนจอดรถเดิม<br />

และย้ายที่จอดรถไปยังด้านทิศเหนือ ส่วนห้องปั้นเพิ่มขนาด<br />

ใหญ่ขึ้น ตั้งอุปกรณ์เครื่องปั่นดิน เครื่องรีดดิน เครื่องปั้นดิน<br />

เตาอบ สารเคลือบดิน ชุดโต๊ะเก้าอี้สำหรับนั่งเรียน และมีชั้น<br />

โชว์เซรามิกส์ ริมกระจกบานใหญ่ซึ่งเปิดออกสู่ซอยสุขุมวิท 56<br />

The residence of Assoc.Prof. Lert Urasyanandana<br />

and Assoc.Prof.Somthavil Urasyanandana<br />

An interview with Professor Lersom Sathapitanonda<br />

The residence of Assoc.Prof. Lert Urasyanandana and<br />

Assoc.Prof.Somthavil Urasyanandana<br />

is on Sukhumvit 56 street. The street sits on the<br />

relatively low level and is under monsoon season flood<br />

every year. Therefore, the design solution goes for the<br />

elevated platform at the front of the house at 60 cm higher<br />

than the average street level. At that time, driving into the<br />

house provide the feeling of going upon the hill. The street<br />

is, later, elevated unto the same level as this platform.<br />

The site planing of the house is based on its rectangular<br />

shape, aligned with the profile of the land. The longer side<br />

is oriented to the north-east direction. By extending the<br />

length of the eve at the front facade where there is a large<br />

glass door, the longer of the area that the eave covers and<br />

the lower of the profile that the eave provide, therefore, the<br />

two stories house looks as if there is only one single story<br />

in there. In opposition, the house appears as common two<br />

stories house with balconies at both upper and lower level<br />

if it is observed from the back yard. At this side where<br />

the facade is facing to the south-east direction, the full<br />

length opening on ground floor and the full length louvre<br />

on the upper floor are installed. This is to circulate cross<br />

ventilation into the residence. With these design criteria<br />

and design solutions, the residence well performs with its<br />

tropical architecture character.<br />

Assoc.Prof. Lert Urasyanandana is a graduate from the<br />

Cranbrook Academy of Art, Michigan, USA. He has shared<br />

his experience with the movement of modern architecture<br />

at that time. The case in point is the architecture designed<br />

by Frank Lloyd Wright, especially, on the design for<br />

spatial organisation and planning for open plan function.<br />

In addition, the idea of Thai architecture, especially on<br />

the relations between inside and outside with the space<br />

in between that reflect the living condition is also in his<br />

concern. The area where the user can stay outdoor<br />

for appreciating the greenery under the rain is a clear<br />

evidence.<br />

Once entering into the house, the split level design<br />

is applied into. This is to intensify the transition from an<br />

area with its function to the others, for example, the living<br />

space, the library (later converted into a quarter for elderly<br />

people), main stair case, and so on. The double space<br />

is allocated for the entry hall, and then, gradually, lower<br />

in responding to the split level of each area in the house<br />

where the dining area and living area are. The staircase<br />

to the upper floor is allocate near the front door of the<br />

residence resembling to the international style house<br />

where the entrance hall can directly lead to the staircase<br />

to the upper floor. The staircase is in its open form. This<br />

solution provides the visual connection through to the<br />

outdoor courtyard. Windows at the other side of living<br />

376


space are the three continue French windows opening to<br />

the terrace and garden on that side of the house.<br />

The stair of the house is in its unique design. It is in its<br />

freestanding folded slab from ground floor to upper floor<br />

without any support and without attaching to the side wall.<br />

The side wall of the stair is the tall glass window rising from<br />

lower floor to upper floor allowing the visual connection<br />

through to the courtyard and fountain. Also, it allows the<br />

natural day light to flood into the interior space. During<br />

the day, there is no need for artificial lighting at all.<br />

Space above the living space is internal veranda with<br />

balustrade allowing the visual connection through the living<br />

space below. It is where the buddha and praying chamber<br />

are. The open space performs with its connectivity from<br />

various axis and direction connecting the lower floor with<br />

upper floor along the vertical axis with landing of the stair<br />

along the way, connecting all the bedrooms.<br />

The ceiling is also an element that defines the space<br />

and the connectivity between various functions. The<br />

structure for supporting the upper floor either the concrete<br />

slab or timber floor on the frame is exposed along with the<br />

sunken floor of living space and dinning area on ground<br />

floor.<br />

Adjacent to the living are and the dining area, it is the<br />

location where the pantry and kitchen are. Both of them<br />

are connected to each other via a counter and without<br />

wall in-between. This is to allow the full visual connection<br />

within the whole ground floor and further to the garden<br />

beyond. Further from the kitchen in the house at the south<br />

west, there is a kitchen for the Thai cuisine.<br />

Courtyard at the back of the house provide the privacy<br />

to the residency. It is also connected to the courtyard<br />

of the neighbour where the residence belonging to the<br />

Varavan family is. The courtyard is equipped with the<br />

split level at 5-10 cm. This level runs through the back<br />

yard kitchen further to another smaller size shelter to the<br />

west and at the front of the compound. This small shelter<br />

used to be garage for two cars and the studio for ceramic<br />

art and the learning class of Ajarn Somthavil. Later, the<br />

number of students is increased, therefore the garage is<br />

converted into the extension of the studio. The studio is,<br />

then, fully equipped with the kiln and the other equipments<br />

to support for the ceramic art and activities of the class.<br />

On one side of the wall there is the long open shelf along<br />

the wall for displaying the product opening to the public<br />

at the Sukhumvit 56 street side.<br />

377


การเคหะคลองจั่น<br />

KLONG JUN HOUSING<br />

เดิมพื้นที่แห่งนี้เป็นสวนพฤกษชาติ คลองจั่น เขตบางกะปิ<br />

ถือกำเนิดตั้งแต่ พ.ศ. 2509 ในสมัยที่ประเทศไทยเป็นเจ้า<br />

ภาพจัดการแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 5 (ระหว่างวันที่<br />

9 - 20 ธันวาคม พ.ศ. 2509) ซึ่งเป็นครั้งแรกของประเทศไทย<br />

ในละแวกคลองจั่น บางกะปิ ได้ถูกกำหนดให้เป็นสำนักงาน<br />

ของคณะกรรมการจัดการแข่งขันและเป็นหมู่บ้านของนักกีฬา<br />

ชาติต่างๆที่เข้าร่วมการแข่งขันในครั้งนั้น ในหมู่บ้านนักกีฬามี<br />

สวนสาธารณะเล็กๆเป็นแหล่งสำหรับพักผ่อน สันทนาการ ทำ<br />

กิจกรรมต่างๆ ร่วมกันของนักกีฬา<br />

ต่อมาเมื่อเสร็จงานได้พัฒนาสถานที่แห่งนี้ให้เป็นที่พัก<br />

อาศัย จัดขายให้กับประชาชนโดยจัดตั้งการเคหะแห่งชาติ และ<br />

สวนพฤกษชาติก็ได้รับการดูแลให้เป็นสวนสาธารณะของชุมชน<br />

ชาวคลองจั่นตั้งแต่นั้นมา กลายเป็นเคหะชุมชนคลองจั่นใน<br />

ปัจจุบัน<br />

In 1966 when Bangkok hosted the 5th Asian Games,<br />

this piece of land was used to house an athlete<br />

village. After the Asian Games, the government set<br />

up an agency called the National Housing Authority<br />

to develop social housing projects and sell them<br />

to public. The botanical garden that used to be in<br />

the athlete village became a park for people in the<br />

neighborhood.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

378<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

2510 การเคหะแห่งชาติ การเคหะแห่งชาติ พื้นที่ใช้สอย<br />

126.21<br />

ตร.ม.<br />

1967 National Housing<br />

Authority<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : การเคหะแห่งชาติ<br />

National Housing<br />

Authority<br />

Usable<br />

Space<br />

126.21<br />

Sq.m.<br />

งบประมาณ วัสดุ ที่ตั้ง<br />

Cost Material Location<br />

- - แขวงคลองจั่น<br />

เขตบางกะปิ<br />

กรุงเทพฯ<br />

- - Klong Jun<br />

Subdistrict,<br />

Bangkapi<br />

District,<br />

Bangkok<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

-


379


บริษัทเชียงใหม่ ธาราภัณฑ์ จำกัด<br />

(ร้านธาราภัณฑ์ วัดเกต)<br />

CHIANG MAI TARAPAN CO.,LTD.<br />

(TARAPAN SHOP, WAT KET)<br />

อาคารพาณิชย์ ร้านเชียงใหม่ธาราภัณฑ์ จำกัด ตั้งอยู่บน<br />

ถนนเจริญราษฎร์ ตำบลช้างม่อย อำเภอเมือง จังหวัด<br />

เชียงใหม่ รูปแบบสถาปัตยกรรมเป็นแบบสมัยใหม่ที่มีความ<br />

โดดเด่น โครงสร้างระบบเสา-คาน รูปด้านหน้าอาคารมีการ<br />

ขึ้นรูปคอนกรีตรูปโค้ง ใช้วิธีการหล่อคอนกรีตโค้ง แสดงให้<br />

เห็นถึงวิทยาการทางด้านวิศวกรรม และทำหน้าที่กันแดดกัน<br />

ฝนไปในขณะเดียวกัน รวมถึงแสดงให้เห็นถึงฝีมือของช่างใน<br />

สมัยนั้น สร้างจุดเด่นให้กับตัวอาคารที่ตั้งอยู่ตรงหัวมุมถนน<br />

ได้เป็นอย่างดี<br />

The modern architecture stands proudly on the<br />

corner of the street. In front of the building is a<br />

concrete archway that besides showing impressive<br />

craftmanship of builders in the old days, also serves<br />

as shelter from sun and rain.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

380<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

งบประมาณ<br />

Cost<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

2510 - - - - โครงสร้าง<br />

ระบบเสา-<br />

คาน<br />

1967 - - - - Column<br />

and beam<br />

structure<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สันต์ สุวัจฉราภินันท์<br />

(โครงการภาพสะท้อนของความทันสมัย : บันทึกและทบทวนบทบาทของ<br />

สถาปัตยกรรมสมัยใหม่เมืองเชียงใหม่ ระหว่างปี พ.ศ. 2427 - 2518)<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

56-58 ถนน<br />

เจริญราษฎร์<br />

ตำบลช้างม่อย<br />

อำเภอเมือง<br />

จังหวัดเชียงใหม่<br />

56-58<br />

Charoenrat<br />

Road, Chang<br />

Moi Subdistrict,<br />

Muang District,<br />

Chiang Mai<br />

Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

-


381


บ้านคนทำเมี่ยง<br />

THAM MIANG HOUSE<br />

เป็นบ้านพักอาศัยที่มีพื้นที่บ้านส่วนหน้าเป็นพื้นที่นึ่งชาเมี่ยง<br />

ในอดีตที่ยังหลงเหลืออยู่ในหมู่บ้าน ปัจจุบันยังมีการใช้งานบ้าง<br />

ทั้งนี้พื้นที่บริเวณนึ่งชาต้องการความสามารถในการระบายอากาศ<br />

ทำให้พื้นที่ผนังด้านบนมีช่องระบายอากาศ แสดงให้เห็นถึง<br />

ความสัมพันธ์ของการใช้งานพื้นที่ในอดีตและสถาปัตยกรรม<br />

This is a residence which the entrance for traditional local<br />

Cha Miang preparation (Miang tea steaming area) area<br />

is still exist. At present time, it has seldom use. The<br />

steaming area of Cha Miang needs lots of ventilation,<br />

therefore, at the top of the wall are air ventilations, which<br />

expressed the link architecture to the activity in the past.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

2510<br />

-<br />

2515<br />

1967<br />

-<br />

1972<br />

เจ้าของ ผู้ออกแบบ พื้นที่<br />

Owner Designer Area<br />

ป้าเพชร - พื้นที่ใช้สอย<br />

ประมาณ<br />

150 ตร.ม.<br />

Mrs. Pech - Usable<br />

Space<br />

150 Sq.m.<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณธีรเนตร เทียนถาวร<br />

งบประมาณ วัสดุ ที่ตั้ง<br />

Cost Material Location<br />

- ไม้ หมู่บ้าน<br />

แม่กำปอง<br />

(หมู่ที่ 3)<br />

อำเภอแม่ออน<br />

จังหวัดเชียงใหม่<br />

- Wood Mae Kham<br />

Pong Village<br />

(Moo 3), Mae<br />

On District,<br />

Chiang Mai<br />

Province.<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

7.227534<br />

99.395849<br />

382


383


อาคารพาณิชย์ ร้านฉัตราภรณ์<br />

CHATRAPORN SHOP COMMERCIAL BUILDING<br />

อาคารพาณิชย์ ร้านฉัตราภรณ์ ตั้งอยู่บนถนนท่าแพ อ ำเภอเมือง<br />

จังหวัดเชียงใหม่ รูปแบบสถาปัตยกรรมเป็นแบบสมัยใหม่ที่มี<br />

ความโดดเด่น โครงสร้างระบบเสา-คาน จุดเด่นของอาคารอยู่<br />

ที่รูปด้านหน้าอาคาร ใช้การจัดองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม<br />

ทั้งเส้นนอน เส้นตั้ง และเส้นโค้ง ผสมผสานกันได้อย่างลงตัว<br />

ดูเรียบง่ายแต่ตอบสนองต่อการใช้งานสามารถกันแดดกันฝน<br />

ได้ดี วัสดุที่ใช้มีการผสมผสานกันทั้งคอนกรีต เหล็ก และกระจก<br />

เป็นวัสดุสมัยใหม่ที่นำมาใช้<br />

Chatraporn Shop commercial building is a modern<br />

architecture with an outstanding façade. Horizontal,<br />

vertical, and curved lines make an interesting<br />

architectural element. The building looks simple<br />

yet practical in withstanding sun and rain by using<br />

contemporary materials like concrete, steel and glass.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

งบประมาณ<br />

Cost<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

2510 ร้านฉัตราภรณ์ - - - โครงสร้าง<br />

ระบบ<br />

เสา-คาน<br />

/ คอนกรีต<br />

เหล็ก<br />

กระจก<br />

1967 Chatraporn - - - Column<br />

and beam<br />

system/<br />

concrete,<br />

steel, glass<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สันต์ สุวัจฉราภินันท์<br />

(โครงการภาพสะท้อนของความทันสมัย : บันทึกและทบทวนบทบาทของ<br />

สถาปัตยกรรมสมัยใหม่เมืองเชียงใหม่ ระหว่างปี พ.ศ. 2427 - 2518)<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

190-4 ถนน<br />

ท่าแพ อำเภอ<br />

เมือง จังหวัด<br />

เชียงใหม่<br />

190-4 Tapae<br />

Road, Muang<br />

District, Chiang<br />

Mai Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

-<br />

384


385


อาคารพาณิชย์<br />

หัวมุมตลาดประตูเชียงใหม่<br />

SHOPHOUSE ON THE CORNER OF CHIANG MAI GATE MARKET<br />

ตลาดประตูเชียงใหม่ถือว่าเป็นตลาดเก่าแก่ของเมืองเชียงใหม่<br />

มีอายุร่วม 50 ปี ประตูเชียงใหม่เป็นประตูทางทิศใต้ ที่ดินส่วน<br />

ใหญ่ของบริเวณนี้เป็นของตระกูลกิติบุตร คหบดีที่มีกรรมสิทธิ์<br />

บนที่ดินด้านทิศใต้ของเมืองมาช้านาน ตลาดประตูเชียงใหม่ก็<br />

เป็นหนึ่งในนั้น ตลาดประตูเชียงใหม่สร้างขึ้นโดยตระกูลกิติบุตร<br />

รุ่นที่ 3 คือคุณจรัญ กิติบุตร ใน พ.ศ. 2510 ปัจจุบันตลาดประตู<br />

เชียงใหม่เป็นตลาดที่พลุกพล่าน กลางคืนมีอาหารขายคับคั่ง<br />

จนถึงเช้ามืด กลางวันมีทั้งผักสดและของฝาก อาคารพาณิชย์<br />

หัวมุมตลาดประตูเชียงใหม่ อยู่บริเวณหัวโค้งมุมถนนบำรุงบุรี<br />

ตัดกับถนนพระปกเกล้าหลังประตูเชียงใหม่ ซึ่งเป็นหนึ่งกาด<br />

เก่าแก่ของคนเชียงใหม่ หลังจากที ่มีการสร้างตลาดทำให้การ<br />

ขยายตัวของเศรษฐกิจในบริเวณนั้นได้เจริญเติบโตขึ้น จึงทำให้<br />

ในบริเวณนี้เกิดอาคารพาณิชย์รอบๆ เป็นจำนวนมาก ซึ่งหนึ่ง<br />

ในนั้นก็คืออาคารพาณิชย์หลังนี้<br />

รูปแบบสถาปัตยกรรมเป็นแบบสมัยใหม่คาดว่าน่าจะสร้าง<br />

ขึ้นก่อน พ.ศ. 2498 คือสร้างขึ้นก่อนที่จะประกาศใช้ กฎกระทรวง<br />

ควบคุมการก่อสร้างอาคาร พ.ศ. 2498 ที่แสดงให้เห็นถึงการ<br />

สร้างอาคารชิดขอบที่ดินเป็นขอบเขตตามขอบถนน รูปทรง<br />

อาคารเป็นแบบเรขาคณิตง่ายต่อการก่อสร้าง ไร้การตกแต่ง<br />

ประดับประดา โครงสร้างเป็นแบบเสา-คาน มีกริดเสาชัดเจน<br />

ตรงไปตรงมา การที่อาคารอยู่ถัดจากประตูเชียงใหม่ทำให้เกิด<br />

เป็นลักษณะของสถาปัตยกรรมช่วยทำให้เกิดมุมมองสายตา<br />

หรือที่เรียกว่า ขอบเขตเมือง Urban Façade ทำให้อาคาร<br />

พาณิชย์มีความโดดเด่น ตัวอาคารถูกสร้างเพื่อเพิ่มส่วนขยาย<br />

ถาวร มีช่องเปิดที่สามารถเดินผ่านอาคารพาณิชย์ไปสู่ตลาดที่<br />

อยู่ด้านในได้ รูปด้านอาคารมีการใช้แผงบังแดดในแนวตั้งเพื่อ<br />

ป้องกันแดดและฝน ส่งผลให้อาคารมีความน่าสนใจ เป็นการ<br />

ผสมผสานเทคโนโลยีกับการตอบสนองของสภาพแวดล้อม<br />

อาคารพาณิชย์หัวมุมตลาดประตูเชียงใหม่มีความสำคัญ<br />

ทางด้านสถาปัตยกรรม (Architectural Value) และทางด้าน<br />

ประวัติศาสตร์ (Historic Value) สะท้อนการปรับตัวตาม<br />

กฎหมายควบคุมอาคาร เป็นอาคารที่ตั้งอยู่ในบริบทและสภาพ<br />

แวดล้อมที่เหมาะสม ทำให้เกิดการขยายตัวของเศรษฐกิจใน<br />

บริเวณนั้นมากขึ้น<br />

Chiang Mai Gate Market was built in 1967 by the third<br />

generation of Kitibutr family, a local wealthy family<br />

who has been a big landowner on the south side of the<br />

city for a long time. It is one of the oldest markets in<br />

Chiang Mai. The market invigorated the neighborhood<br />

immensely. A lot of commercial buildings sprouted up<br />

in the area, one of which is this shophouse.<br />

The architecture style is modern. It is speculated<br />

to be around before 1955 construction regulation was<br />

enacted because the building sits right on the edge<br />

of the curb. The shape is quite geometric and simple<br />

without any embellishment, thus easy to construct.<br />

Structure is column and beam with straightforward<br />

column grids. Being right next to Chiang Mai Gate<br />

makes it a part of the urban façade. There is a<br />

permanent opening for walking through the building<br />

into the market inside. Vertical sunscreen panels on<br />

the side protect the building from sun and rain.<br />

386


ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

งบประมาณ<br />

Cost<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

2510 - - - - โครงสร้าง<br />

ระบบเสา-<br />

คาน<br />

1967 - - - - column<br />

and beam<br />

structure<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สันต์ สุวัจฉราภินันท์<br />

(โครงการภาพสะท้อนของความทันสมัย : บันทึกและทบทวนบทบาทของ<br />

สถาปัตยกรรมสมัยใหม่เมืองเชียงใหม่ ระหว่างปี พ.ศ. 2427 - 2518)<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

ถนนบำรุงบุรี<br />

ตำบลพระสิงห์<br />

อำเภอเมือง<br />

จังหวัดเชียงใหม่<br />

Bumrungburi<br />

Road, Prasingh<br />

Subdistrict,<br />

Muang District,<br />

Chiang Mai<br />

Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

-<br />

387


บ้านพักรับรองสวนสองแสน<br />

อาคารหลังแรกของโครงการหลวง<br />

SUAN SONG SAEN REST HOUSE,<br />

FIRST BUILDING IN THE ROYAL PROJECT<br />

ในหลวงเสด็จมาประทับที่ภูพิงค์ราชนิเวศน์ ทรงออกกำลังกาย<br />

จ๊อกกิ้ง ตามทางไปหมู่บ้านชาวเขาหลายครั้ง<br />

ทรงทอดพระเนตรสวนร้างแห่งหนึ่งริมทาง จึงโปรดรับสั่ง<br />

ให้มหาวิทยาลัยจัดการวิจัยพืชผลไม้เมืองหนาวโดยเริ่มที่<br />

สวนร้างแห่งนี้พร้อมพระราชทานทุนทรัพย์ในการจัดซื้อที่ดิน<br />

แปลงนี้มอบให้เป็นที่ทดลองปฏิบัติการด้วยพระราชทรัพย์<br />

ส่วนพระองค์จำนวนสองแสนบาท จึงกลายเป็นที่มาของชื่อ<br />

แปลงทดลองพืชเมืองหนาวแห่งนี้<br />

เมื่อมหาวิทยาลัยเข้าปฏิบัติการตามพระราชประสงค์<br />

พระองค์ก็ทรงเสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมเยียนทุกครั้งที่ทรง<br />

ออกกำลังพระวรกายโดยการจ๊อกกิ้งจากพระตำหนักภูพิงค์<br />

ราชนิเวศน์<br />

ระหว่างทางไม่มีที่ทางให้ทรงประทับพักผ่อนพระอิริยาบถ<br />

ไม่มีที่ทางที่จะประทับเพื่อพระราชทานพระราโชวาทสำหรับ<br />

นักวิจัย ทางมหาวิทยาลัยก็ดำเนินการอย่างรีบด่วนเพื่อหางบ<br />

ประมาณมาสร้างอาคารเพื่อการนี้<br />

ในปีนั้นมีงบประมาณ 40,000 บาท (สี่หมื่นบาท) สำหรับ<br />

สร้างบ้านพักคนงาน 2 ครอบครัว ก็นำมาใช้ให้กับสถาปนิก<br />

ของมหาวิทยาลัยรีบออกแบบเพื่อเป็นอาคารที่ประทับพักผ่อน<br />

พระอิริยาบถ ณ สวนสองแสน<br />

ลักษณะที่ดินทั้งหมดเป็นไหล่เขา มีความชันสูง ดังนั้นการ<br />

ออกแบบจึงมีความยากในการคำนึงถึงการกำหนดตำแหน่ง<br />

การวางอาคาร โดยต้องทำการตัด slope ออกพอให้ปลูกอาคาร<br />

ได้อย่างจำกัด จึงเป็นอาคารหลังเดียวโดดๆ<br />

ทิวทัศน์ทางตะวันตก โปร่งใส เห็นพระอาทิตย์ตกสวยงาม<br />

มาก เหมาะแก่การใช้จินตนาการสร้างสรรค์<br />

ในหลายวโรกาสที่ในหลวงเสด็จพระราชดำเนินมาทรงแวะ<br />

พักผ่อนพระอิริยาบถ และพระราชทานพระราโชวาทและโครง<br />

ร่างงานต่างๆ แก่คณะผู้ปฏิบัติงานเกษตรที่สูงของมหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร์<br />

พระราชดำริ เกษตรที่สูงคงปรากฏในพระราชหฤทัยมาก่อน<br />

แล้วมาผลิดอกขึ้นที่นี่อย่างเงียบๆ และไปบังเกิดผลขึ้นที่ดอย<br />

ต่างๆ หลายแห่ง ล้วนให้คุณประโยชน์แก่ประเทศไทยอย่าง<br />

มากมายสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ ได้เป็นไปแล้วคือ ทรงปรามการปลูก<br />

ฝิ่นในเมืองไทยได้สำเร็จเด็ดขาด (ผมใช้คำว่า ปราม ไม่ใช่ ปราบ)<br />

ทรงหาอาชีพทดแทนล่วงหน้าให้แล้วจึงทรงให้ปรามการ<br />

ปลูกฝิ่น เป็นพระราโชบายที่ถูกต้องทั้งทางโลกและทางธรรม<br />

ข้าพระพุทธเจ้าขอถวายพระพร<br />

ภายหลังจากใช้งานได้ราว 35 ปี ได้มีการซ่อมปรับปรุงอีก<br />

1,000,000 บาท<br />

While King Rama IX went jogging while he was staying at<br />

his palace in Chiang Mai, he saw an abandoned old farm<br />

along the way. He donated 200,000 Baht of his personal<br />

money as initial funding for Kasetsart University to start<br />

a research station for cold weather produce. This is why<br />

it’s called Suan Song Saen (200,000 Farm). As the King<br />

often visited the station by jogging from his palace, the<br />

university decided to build a rest house for him.<br />

There is very limited space on which to build the house<br />

because the land is on a very steep mountain slope. That’s<br />

why the architect decided to go with a stand-alone building.<br />

Beautiful sunset view in the west is perfect for winding<br />

down and let imagination take over. The King spent time<br />

at this rest house on many occasions. We’d like to believe<br />

that here is where he thought up some of his several<br />

hundred projects for his people. One of them is converting<br />

opium production to food crops which improved the lives<br />

of tribal villagers beyond imagination.<br />

The rest house was renovated after 35 years.<br />

388


ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2512 สถานีวิจัยดอย<br />

ปุย มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร์<br />

1969 Doi Pui Research<br />

Station, Kasetsart<br />

University<br />

ผู้ออกแบบ พื้นที่ งบประมาณ วัสดุ ที่ตั้ง พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

Designer Area Cost Material Location GPS<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ - 140,000 - สถานีวิจัย 18.8120444<br />

ทองพันธุ์ พูนสุวรรณ บาท<br />

ดอยปุย 98.8844127<br />

มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร์<br />

อำเภอเมือง<br />

จังหวัดเชียงใหม่<br />

Assistant Professor<br />

Thongpan<br />

Poonsuwan<br />

- 140,000<br />

Baht<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : ภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

- Doi Pui<br />

Research Station,<br />

Kasetsart<br />

University,<br />

Muang District,<br />

Chiang Mai<br />

Province<br />

389


390


่<br />

บ้านสวนสุภาษี<br />

SUAN SUPASEE HOUSE<br />

บ้านหลังนี้อาศัยอยู่ 4 คน ภายในบ้านประกอบด้วยห้องนอน<br />

2 ห้อง ห้องน้ำ 1 และมีห้องครัวอยู่ภายนอกบ้าน เปิดพื้นที่โล่ง<br />

เพื่อทำกิจกรรมได้หลากหลาย ซึ่งหัวหน้าครอบครัวได้เกษียณ<br />

อายุจากข้าราชการ จึงกลับมาใช้ชีวิตอยู่บ้านเกิด ซึ่งมีพื้นที<br />

ทั้งหมด 1.2 ไร่ มีการจัดสรรพื้นที่ตามรอยเศรษฐกิจพอเพียง<br />

โดยมีพื้นที่ปลูกผักสวนครัว สวนลำไย และพื้นที่เลี้ยงไก่ เพื่อ<br />

ประทังชีวิตได้ตลอดทั้งปี และส่วนที่เหลือจากการประทังชีวิต<br />

ภายในบ้านก็นำไปแบ่งให้เพื่อนบ้านและแบ่งขายเพื่อสร้าง<br />

รายได้ให้กับครอบครัว<br />

The resident of this house included of 4 persons. The<br />

house has 2 bedroom, 1 washroom, a kitchen outside,<br />

together with an open space outside for various activities.<br />

The head of the family has retired from civil service, and<br />

now back to live in his home town. The property total<br />

area of 1.2 rai has been arranged to follow the sufficient<br />

economy philosophy. Therefore there are areas for growing<br />

vegetables, longan orchard, chicken farm. These help to<br />

sustain year round supply. The rest of the harvest will be<br />

divided for neighbors and to sell for family earning.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

2512 นางแก้วนา สุภาษี (พ่อตา)<br />

นางแก้วนา สุภาษี<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

ที่ดิน<br />

1.2 ไร่<br />

งบประมาณ วัสดุ<br />

Cost Material<br />

- ไม้<br />

ฐานราก -<br />

คอนกรีต<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

21<br />

ตำบลเหมืองแก้ว<br />

อำเภอแม่ริม<br />

จังหวัดเชียงใหม่<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

18.900083<br />

98.979806<br />

1969 Mrs. Kaewna<br />

Supasee<br />

Mrs.Kaewna<br />

Supasee’s Fatherin-law<br />

Plot Size<br />

1.2 Rai<br />

- Wood /<br />

concrete<br />

foundation<br />

21 Muang<br />

Kaew<br />

Subdistrict,<br />

Mae Rim<br />

District, Chiang<br />

Mai Province<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : นางสาวจีรานุช ใจปัน<br />

391


บ้านศาสตราจารย์เกียรติคุณ<br />

อรศิริ ปาณินท์<br />

PROFESSOR EMERITUS ONSIRI<br />

PANIN’S HOUSE<br />

เนื่องจากการก่อสร้าง พ.ศ. 2512 เป็นช่วงเวลาที่สงคราม<br />

เวียดนามรุนแรงมาก เศรษฐกิจโดยรวมทรุด จำเป็นต้องกด<br />

ราคาค่าก่อสร้างให้ต่ำที่สุดเท่าที่จะทำได้ จึงเลือกที่จะออกแบบ<br />

บ้านชั้นเดียวให้ราคาถูกที่สุด และใช้สอยได้คุ้มค่าที่สุด<br />

• ความต้องการในการใช้สอย<br />

- เป็นบ้านสำหรับครอบครัวเล็ก พ่อ แม่ ลูก 2 คน<br />

อายุ 1 และ 4 ขวบ<br />

- เป็นพื้นที่ทำงานขนาดเล็กของ 2 สตูดิโอ ออกแบบ<br />

ห้องจิตรกรรมให้ทั้งสองสตูดิโอมีความเป็นส่วนตัว<br />

แยกจากกัน<br />

- มีห้องนอนใหญ่ 1 และเล็ก 2<br />

- นั่งเล่น พักผ่อน อาหาร ครัว และห้องน้ำ<br />

- โรงรถ 1 คัน<br />

• ระบบโครงสร้าง<br />

- โครงสร้างเหล็ก เสา คาน พื้น ค.ส.ล. ยกพื้น 1.00 ม.<br />

- พื้น ค.ส.ล. วางบนทรายอัดแน่น ปูปาร์เก้ไม้<br />

- โครงสร้างหลังคา ไม้เนื้อแข็ง<br />

Back in 1969, while we constructed the house it was<br />

Vietnam War crisis period. The overall economy was<br />

collapsed. The construction budget were limited as<br />

minimum as possible. Therefore, we decided to design<br />

a single story house with the most efficient budget for<br />

the most functional space.<br />

• Project Requirement<br />

- A house for a nuclear family for Father, Mother,<br />

two children of 4 and 1 year old<br />

- Working area for 2 design studios, with<br />

separation of each privacy space<br />

- 1 master bedroom, 2 small bedrooms<br />

- Living room, Dining room, Kitchen, Washroom<br />

- Garage for 1 car<br />

• Structural Type<br />

- Steel Structure: column, beam, with raised<br />

ground level of 1.00 meter<br />

- Reinforced concrete on compact sand floor,<br />

with wooden-parquet flooring finishing<br />

- Timber roof frame<br />

- วัสดุมุงกระเบื้องลอนคู่ ฝ้าเพดานกระเบื้องกระดาษ<br />

- ผนังด้านตะวันออก ตะวันตก อิฐมอญไม่ฉาบปูน<br />

- ผนังด้านเหนือใต้ กระเบื้องกระดาษ 8 มม. อัดใน<br />

กรอบวงกบไม้เต็งระบบเดียวกับหน้าต่างเปิดกระจกใส<br />

ทั้งส่วนใต้และเหนือหน้าต่าง<br />

• ตำแหน่งของสตูดิโอหลัก<br />

- สตูดิโอจิตรกรรม เปิดออกสู่ด้านทิศใต้ มีต้นไม้ใหญ่<br />

ให้ร่มเงา<br />

- สตูดิโอออกแบบ เปิดออกสู่ด้านทิศเหนือ มีต้นไม้ใหญ่<br />

ให้ร่มเงา เช่นเดียวกัน<br />

รื้อถอน 2554<br />

เนื่องจากน้ำท่วมวัดจากระดับดิน ประมาณ 1.50 ม.<br />

ตัวบ้านเสียหายน้อย แม้แต่วัสดุพื้นไม้โมเสก ปูบนคอนกรีต<br />

ซึ่งวางบนทรายอัดแน่นก็ไม่เสียหาย ต้นไม้ใหญ่ในพื้นที่ 6 ต้น<br />

ยังอยู่ครบ แต่พืชพรรณอื่นอีกมากมายทั้งไผ่เหลือง ไผ่จีน และ<br />

พวกปาล์มต่างๆ ประมาณ 10 ต้นไม่เหลือเลย<br />

- Roofing with fibre cement roof tiles and fibre<br />

cement sheet ceiling<br />

- Wall finishing: on the East & West sides with<br />

exposed brick surface<br />

- Wall finishing; on the North & South sides<br />

with paper tiles thickness of 8 mm. inserted in<br />

hardwood frame (like glass window)<br />

• Main Studios Location<br />

- Fine Art Studio is opened to the south with<br />

shading from the big trees<br />

- Design Studio occupies the northern side<br />

opening and also with shading from the big trees<br />

Demolished 2011<br />

As from the flooding of 1.50 meters height from ground<br />

level, the house has minimal effect. Not even the finishing<br />

has been affected that bad. The floor finishing of Parquet,<br />

Mosaic on concrete, 6 big trees in the property has<br />

survived from the flooding. However, other trees and many<br />

plantation such as Yellow-Bamboo, Chinese-Bamboo, and<br />

more than ten of Palm trees were completely dead.<br />

392


ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2512 นายอนันต์ และ<br />

ศาสตราจารย์<br />

เกียรติคุณอรศิริ<br />

ปาณินท์<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

ศาสตราจารย์<br />

เกียรติคุณอรศิริ<br />

ปาณินท์<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

ที่ดิน<br />

200 ตร.วา<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

144 ตร.ม.<br />

งบประมาณ<br />

Cost<br />

120,000<br />

บาท<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

-โครงสร้าง<br />

หลัก<br />

คอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก<br />

-โครง<br />

หลังคาไม้<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

8/5(4) ซอย<br />

พหลโยธิน 63<br />

แยก 2 แขวง<br />

อนุสาวรีย์<br />

เขตบางเขน<br />

กรุงเทพฯ<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

1969 Mr. Anan and<br />

Professor Emeritus<br />

Onsiri Panin<br />

Professor Emeritus<br />

Onsiri Panin<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : ศาสตราจารย์เกียรติคุณอรศิริ ปาณินท์<br />

Plot Size 200<br />

Sq.wa<br />

Usable Space<br />

144 Sq.m.<br />

120,000<br />

Baht<br />

- Reinforced<br />

concrete<br />

structure<br />

- Timber<br />

roof frame<br />

8/5 (4) Soi<br />

Phahon Yothin<br />

63, Yaek 2,<br />

Anusawari<br />

Subdistrict,<br />

Bang Khen<br />

District,<br />

Bangkok<br />

-<br />

393


394


อาคารชมพูนุท<br />

CHOMPOONUCH BUILDING<br />

อาคารชมพูนุทเป็นอาคารพาณิชยกรรม 4 คูหา สร้างเมื่อ<br />

พ.ศ. 2512 ที่ตั้งมุมถนนไชยมงคล และถนนอินทยงยศ อ.เมือง<br />

ลักษณะอาคารเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก<br />

Chompoonuch Building is a 4 units commercial building<br />

built in 1969. Located on the intersection of Chaimongkol<br />

Rd and Inthayongyos Rd. The building has the reinforce<br />

concrete style<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

งบประมาณ<br />

Cost<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

2512 - - - - คอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก<br />

1969 - - - - Reinforced<br />

concrete<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ล้านนา)<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

หัวมุมถนนไชย<br />

มงคลตัดกับถนน<br />

อินทยงยศ ตำบล<br />

ในเมือง อำเภอ<br />

เมืองลำพูน<br />

จังหวัดลำพูน<br />

Corner of Chaimongkol<br />

Road<br />

and Inthayongyos<br />

Road, Nai Muang<br />

Subdistrict,<br />

Muang District,<br />

Lumphun Provine<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

395


หมู่ตำหนักกว๊านพะเยา<br />

PHAYAO LAKE PALACE<br />

ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดพะเยาของกรมประมง<br />

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตั้งอยู่ฝั่งทิศเหนือของปากน้ำ<br />

กว๊านพะเยาที่ไหลเข้าสู่แม่น้ำอิง แรกเริ่มช่วง พ.ศ. 2482-2484<br />

ได้มีการจัดซื้อและเวนคืนที่ดินราษฎรตั้งสถานีบำรุงพันธุ์<br />

สัตว์น้ำ 2 กว๊านพะเยา การก่อสร้างสถานีฯ เริ่มดำเนินการ เมื่อ<br />

ก่อสร้างประตูน้ำแล้วเสร็จใน พ.ศ. 2482 และเริ่มเปิดดำเนิน<br />

การเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2484 โดยสถานีฯ แห่งนี้<br />

เป็นสถานีฯ แห่งที่ 2 ของประเทศไทย ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2496<br />

เปลี่ยนชื่อเป็นสถานีประมง (กว๊านพะเยา) เชียงรายต่อมาเมื่อ<br />

พ.ศ. 2520 จังหวัดพะเยาได้แยกออกมา จากจังหวัดเชียงราย<br />

ทำให้สถานีฯ เปลี่ยนชื่อเป็นสถานีประมงน้ำจืดจังหวัดพะเยา<br />

และในปีงบประมาณ 2545 เนื่องจากมีการปรับโครงสร้างระบบ<br />

ราชการใหม่ ทำให้สถานีประมงน้ำจืดจังหวัดพะเยา ปรับเปลี่ยน<br />

เป็นศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดพะเยา มีพื้นที่ที่อยู่ใน<br />

ครอบครอง แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ<br />

During 1939-1941, the government bought land from the people<br />

on the north side of Phayao Lake to build the second research<br />

center for aquatic animals in Thailand. Back then the area was still<br />

a part of Chiang Rai Province. But in 1977, Phayao was separated<br />

from Chiang Rai as an independent province. And in 2002, due to<br />

government reorganization, the name of the center was changed<br />

to Phayao Inland Fisheries Research and Development Center.<br />

The center is divided into two zones.<br />

The first zone<br />

There are 4 plots of land in this zone. The first plot is the<br />

biggest one covering over 26 acres. This zone consists of office<br />

buildings, giant catfish building, floodgates, three palace buildings,<br />

statue of the Queen Mother, aquarium, water treatment facilities,<br />

fishway, and community learning center.<br />

The second zone<br />

This zone started construction in 1991 and finished in 1993<br />

with the budget of 185 million baht. Inside are operation facilities,<br />

hatcheries, and ponds.<br />

ส่วนที่ 1<br />

สถานีฯ เดิมมี 4 แปลง (ตามทะเบียนการครอบครอง สค.1)<br />

แปลงที่ 1 เป็นที่ทำการ มีเนื้อที่ 67 ไร่ แปลงที่ 2 มีเนื้อที่<br />

2 งาน 87 ตารางวา แปลงที่ 3 มีเนื้อที่ 1 งาน 90 ตารางวา<br />

แปลงที่ 4 มีเนื้อที่ 2 ไร่ 1 งาน 24 ตารางวา ประกอบด้วยอาคาร<br />

ที่ทำการ อาคารปลาบึก ประตูระบายน้ำ พระตำหนัก หลังที่ 1<br />

พระตำหนัก หลังที่ 2 พระตำหนัก หลังที่ 3 พระราชานุสาวรีย์<br />

สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี อาคารแสดงพันธุ์ปลา<br />

(aquarium) ระบบบำบัดน้ำเสีย และประตูระบายน้ำ บันไดปลา<br />

โจน และศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน<br />

ส่วนที่ 2<br />

ก่อสร้างภายใต้โครงการประมงในแหล่งน้ำจืดขนาดใหญ่<br />

งบประมาณ 185 ล้านบาท ดำเนินการเมื่อ พ.ศ. 2534 ก่อสร้างเสร็จ<br />

สมบูรณ์เมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2536 พื้นที่ทั้งหมด 200 ไร่<br />

ประกอบไปด้วย อาคารปฏิบัติการ โรงเพาะฟัก และบ่อดิน<br />

The palace is a cluster of 3 buildings as follow.<br />

1. Phayao Lake Palace<br />

This blue two-Storey wood structure built in 1971 was<br />

designed to be suited to the weather. The Queen Mother used to<br />

stay here during her work trips in Phayao once a year for seven<br />

years. However, the controversy started when the structure was<br />

demolished in 2017 to be replaced by a new one. The plan was<br />

criticized that it disregarded people’s opinion and went against<br />

preservation ethics, as the old palace had both historical and<br />

architectural values while the new structure would only be a<br />

replicate since the Queen Mother never stayed there.<br />

2. The second palace<br />

This cluster of modern Thai houses with high space<br />

underneath used to accommodate HRH Princess Galyani Vadhana<br />

3. The third palace<br />

Royal Irrigation Department and Department of Fisheries<br />

built this palace for King Rama IX in 1982. The King used this<br />

one-storey concrete structure for receiving guests.<br />

396


สำหรับตำหนักมีลักษณะเป็นหมู่เรือน มีทั้งหมด 3 ตำหนัก<br />

ได้แก่<br />

1.พระตำหนักกว๊านพะเยา (พระตำหนักหลังที่ 1)<br />

เป็นพระตำหนักที่สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2514 เป็นพระตำหนัก<br />

ไม้ 2 ชั้น รูปแบบเรียบง่ายแบบสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ที่ผนวก<br />

ให้เหมาะสมกับภูมิอากาศแบบท้องถิ่น อาคารทาสีฟ้าทั้งหลัง<br />

เป็นที่ประทับของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ช่วง<br />

ระยะที่มาทรงงานในจังหวัดพะเยา ปีละ 1 ครั้ง เป็นเวลา 7 ปี<br />

อย่างไรก็ตามใน พ.ศ.2560 ได้ถูกรื้อถอน แต่มีแผนจะสร้างของ<br />

ใหม่ทดแทน อย่างไรก็ตามได้เกิดประเด็นทางด้านสังคม ใน<br />

เรื่องกระบวนการจัดการพระตำหนักดังกล่าวว่าไม่รับฟังความ<br />

เห็นของประชาชนและถือว่าไม่คำนึงถึงหลักการอนุรักษ์ หาก<br />

พิจารณาว่าอาคารหลังนี้มีคุณค่าทั ้งในแง่ประวัติศาสตร์และ<br />

สถาปัตยกรรม ความเห็นของประชาชนส่วนหนึ่งกล่าวทำนองว่า<br />

อาคารสร้างใหม่นั้นถือเป็นของที่สร้างเลียนแบบ สมเด็จพระศรี<br />

นครินทราบรมราชชนนีไม่เคยประทับจริง<br />

2. พระตำหนักหลังที่ 2<br />

เป็นพระตำหนักที่สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2514 เป็นพระตำหนัก<br />

หมู่เรือนไทยประยุกต์ยกพื้นสูงเป็นที่ประทับของสมเด็จพระเจ้า<br />

พี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์<br />

3. พระตำหนักหลังที่ 3<br />

เป็นพระตำหนักที่กรมชลประทาน และกรมประมง สร้าง<br />

ถวายใน พ.ศ. 2525 สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2526 เป็นพระตำหนัก<br />

ปูนชั้นเดียว โดยโปรดเกล้าฯ ให้ใช้สำหรับประชาชนทุกหมู่เหล่า<br />

เข้าเฝ้า พระตำหนัก 3 หลังนี้อยู่ภายในศูนย์วิจัยและพัฒนา<br />

ประมงน้ำจืดพะเยา<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

2514<br />

2525<br />

1971<br />

1982<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ศูนย์วิจัยและ<br />

พัฒนาประมงน้ำจืด<br />

พะเยา<br />

Phayao Inland<br />

Fisheries<br />

Research And<br />

Development<br />

Center<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณนาวิน เมธนาวิน<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

งบประมาณ วัสดุ<br />

Cost Material<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

- - - - ศูนย์วิจัยและพัฒนา<br />

ประมงน้ำจืดพะเยา<br />

ถนนพหลโยธิน ตำบล<br />

เวียง อำเภอเมือง<br />

จังหวัดพะเยา<br />

- - - - Phayao Inland<br />

Fisheries Research<br />

and Development<br />

Center, Paholyothin<br />

Road, Wiang<br />

Subdistrict, Muang<br />

District, Phayao<br />

Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

19.160296<br />

99.914987<br />

397


บ้านพิกุล<br />

PIKUL’S HOUSE<br />

เป็นเรือนที่ปรับเป็นชั้นเดียว หันหน้าเรือนหาถนน มีระเบียง<br />

ด้านหน้า แยกครัวไว้ด้านหลัง เป็นเรือนที่ได้รับอิทธิพล<br />

จากเรือนแถวไม้ในเมืองเชียงคานที่เริ่มก่อสร้างในช่วง<br />

พ.ศ. 2490 - 2500<br />

A one storey residence facing the entrance to the road<br />

with terrace in the front. Kitchen were divided at the back.<br />

This house were influenced by the wooden house of Chiang<br />

Khan which was constructed around 1947 - 1957<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

งบประมาณ<br />

Cost<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

2515 นางพิกุล ศรีตื้อ นายพร ใบคาทอง - - โครงสร้าง<br />

ไม้<br />

1972 Mrs. Pikul Sritue Mr. Ponn<br />

Baikhathong<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทรงยศ วีระทวีมาศ<br />

- - Wooden<br />

structure<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

80 หมู่ 2<br />

บ้านนาบอน<br />

ตำบลนาซ่าว<br />

อำเภอเชียงคาน<br />

จังหวัดเลย<br />

80 Moo 2, Ban<br />

Na Bon, Na<br />

Sao Subdistrict,<br />

Chiang Khan<br />

District, Loei<br />

Province.<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

-<br />

398


399


บ้านสุธรีรา<br />

SUTHARERA’S HOUSE<br />

ลักษณะการอยู่อาศัยเป็นบ้านพักอาศัย ปัจจุบันวัตถุประสงค์<br />

หลักไว้ให้เช่า ซึ่งเจ้าของร้านก๋วยเตี๋ยวเรือวังหลวงเป็นผู้เช่าอยู่<br />

ตัวบ้านมีลักษณะเก่าแต่ยังบรูณะได้เนื่องจากมีโครงสร้างที่<br />

แข็งแรง และยังคงรักษารูปลักษณ์บ้านไว้คงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง<br />

และสถานที่ตั้งยังอยู่ในย่านที่มีเอกลักษณ์ สอดคล้องกับ<br />

สภาพแวดล้อมภายในย่าน<br />

A residential house, which nowadays is open for rental,<br />

and renting by Boat Noodel Wangluang, the present<br />

tenant. The house is very old but still maintainable as<br />

structures are still strong. Therefore, the house original<br />

style still remains in the location with great identities<br />

and environment.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

400<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

2515 คุณสุธรีรา - พื้นที่ใช้สอย<br />

35 ตร.ม.<br />

1972 Ms. Sutharera - Usable<br />

Space<br />

35 Sq.m.<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณกัญญาณัฐ สิริมุรธา<br />

งบประมาณ วัสดุ<br />

Cost Material<br />

- ไม้ เสาไม้<br />

และ<br />

ต่อม่อปูน<br />

- Wooden<br />

column<br />

and<br />

concrete<br />

foundation<br />

ที่ตั้ง พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

Location GPS<br />

14/2 ถนน 18.792880<br />

สิงหราช ซอย 3 98.979231<br />

ตำบลศรีภูมิ<br />

อำเภอเมือง<br />

เชียงใหม่<br />

จังหวัดเชียงใหม่<br />

14/2 Singharaj<br />

Road. Soi 3,<br />

Sri Phum<br />

Subdistrict,<br />

Muang Chiang<br />

Mai District,<br />

Chiang Mai<br />

Province


401


บ้านพักพนักงาน<br />

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค<br />

STAFF HOUSE, PROVINCIAL ELECTRICITY AUTHORITY (PEA)<br />

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคได้รับการสถาปนาตามพระราชบัญญัติ<br />

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคพุทธศักราช 2503 ณ วันที่ 28 กันยายน<br />

พ.ศ. 2503 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีภาระอย่างหนักหน่วง การ<br />

ออกไปก่อสร้างระบบจำหน่ายไฟฟ้าไปยังท้องที่ต่างๆ เพื่อ<br />

ความต้องการใช้ไฟฟ้าของประชาชนที่เพิ่มขึ้นอยู่ตลอดเวลา<br />

ในอัตราที่สูงมาก มีผลให้การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคต้องเตรียมปรับ<br />

แผนเพื่อตั้งรับการพัฒนาชนบทด้านไฟฟ้าอย่างแข็งขันและทัน<br />

ต่อความต้องการของประชาชน ในขณะดำเนินการก่อสร้าง<br />

ขยายเขตระบบจำหน่ายไฟฟ้าให้หมู่บ้านชนบทต่างๆ การ<br />

เจริญเติบโตของหมู่บ้านก็เกิดตามมา จำนวนหมู่บ้านที่เกิด<br />

ใหม่เพิ่มจำนวนขึ้น ปริมาณงานของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจึง<br />

เพิ่มขึ้นตามกันไป<br />

เมื่อมีการก่อสร้างสถานีไฟฟ้าและการก่อสร้างสำนักงาน<br />

ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคในส่วนภูมิภาคนั้น ทำให้พนักงาน<br />

มีความจำเป็นที่ต้องย้ายไปตามภูมิภาคต่างๆ ตามคำสั่งทาง<br />

ราชการเพื่อปฏิบัติงานบริการประชาชน พนักงานจึงมีความ<br />

Provincial Electricity Authority (PEA) was established on 28<br />

September 1960. With an arduous task in accommodating<br />

rapidly growing need for electricity in provincial areas, staff<br />

had to move around the country to do their job. Finding<br />

accommodation started to be an inconvenience so PEA<br />

eventually decided to build living quarters for their staff.<br />

“6 families house” designed by PEA’s Department of<br />

Engineering and Planning in 1974 was one of the first staff<br />

houses in Thailand. The house has two floors.<br />

เดือดร้อนในเรื่องที่อยู่อาศัย การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจึงมีนโย<br />

บายให้ก่อสร้างบ้านพักสำหรับพนักงาน<br />

สำหรับแบบก่อสร้าง “บ้านพักพนักงาน 6 ครอบครัว” ที่<br />

ออกแบบโดย กองวิศวกรรมและวางแผน การไฟฟ้าส่วน<br />

ภูมิภาค เมื่อ พ.ศ. 2517 ถือได้ว่าเป็นแบบก่อสร้างยุคแรกของ<br />

แบบบ้านพักพนักงานเป็นอาคาร 2 ชั้น ดังนี้<br />

- ชั้นล่าง โครงสร้าง คสล. พื้นขัดมัน ผนังก่ออิฐฉาบปูน<br />

เรียบทาสี<br />

- ชั้นบน โครงสร้างไม้ พื้นไม้เนื้อแข็งเข้าลิ้นวางบน<br />

ตงไม้เนื้อแข็ง และคานคู่ไม้เนื้อแข็ง ผนังไม้ตีซ้อนทางตั้ง<br />

โครงเคร่าไม้<br />

มีพื้นที่ใช้สอยประมาณ 400 ตารางเมตร (สำหรับ 6<br />

ครอบครัว) ประกอบไปด้วย พื้นที่อเนกประสงค์ ห้องครัว ห้องน้ ำ<br />

ลานซักล้าง ห้องพัก ระเบียง ซึ่งการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีนโยบาย<br />

ให้ก่อสร้างบ้านพักพนักงาน ภายในบริเวณสถานีไฟฟ้าและ<br />

ภายในบริเวณสำนักงานการไฟฟ้า ทุกพื้นที่ที่สามารถก่อสร้างได้<br />

- Ground floor is reinforced concrete structure with<br />

polished concrete floor and plastered brick walls<br />

- Upper floor is wooden structure with hardwood floor,<br />

wood wall panels and wood framing.<br />

The 400 Sq.m. usable space (for six families) includes<br />

multi-purpose area, kitchen, bathrooms, laundry area,<br />

bedrooms, and balconies. Staff houses are built inside<br />

power stations and office area.<br />

402


ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2517 การไฟฟ้าส่วน<br />

ภูมิภาค<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

กองวิศวกรรมและ<br />

วางแผน การไฟฟ้า<br />

ส่วนภูมิภาค<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

400 ตร.ม.<br />

(สำหรับ 6<br />

ครอบครัว)<br />

งบประมาณ วัสดุ<br />

Cost Material<br />

- คอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก<br />

ไม้<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

ภายในสถานี<br />

ไฟฟ้า และ<br />

ภายในบริเวณ<br />

สำนักงานการ<br />

ไฟฟ้า ตาม<br />

จังหวัดต่างๆ<br />

(ปัจจุบันไม่มี<br />

แล้ว)<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

1974 Provincial Electricity<br />

Authority<br />

Department of<br />

Engineering and<br />

Planning, PEA<br />

Usable<br />

space<br />

400 Sq.m.<br />

for six<br />

families<br />

- Reinforced<br />

concrete<br />

and wood<br />

Inside power<br />

stations and<br />

PEA offices in<br />

provinces (no<br />

longer exist)<br />

-<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : กองออกแบบงานโยธา การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค<br />

403


บ้านอาจารย์<br />

ดร.วทัญญู ณ ถลาง<br />

DR.WADANYU NA THALANG’S HOUSE<br />

บ้านได้รับการพัฒนาต่อยอดจากบ้านที่อาจารย์ ดร. วทัญญู<br />

ได้เคยออกแบบให้เพื่อนไว้ที่หมู่บ้านเสรี ภายหลังเมื่ออาจารย์<br />

วทัญญูย้ายจากบ้านเช่ามาสร้างบ้านปัจจุบันจึงได้นำแนวทาง<br />

การออกแบบมาพัฒนาให้เหมาะสมกับข้อแม้และบริบทของที่ตั้ง<br />

โครงสร้างหลักของบ้านเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก เหล็ก<br />

หน้าต่างกรอบไม้เพื่อใส่มุ้งลวด<br />

ลักษณะพิเศษของบ้านที่นับได้ว่าเป็นผู้ริเริ่มทำในไทยเป็น<br />

กลุ่มแรกๆ คือจะไม่ใช้สีทาบ้าน ฝาบ้านจึงแสดงแนวก่ออิฐ ส่วน<br />

ตัวพื้น และเสา จะใช้ทรายล้างในการก่อสร้างทั้งหมด ออกแบบ<br />

การระบายลมด้วยการทำหลังคาให้เป็นโดม ใต้โดมเป็นช่องเพื่อ<br />

ระบายลมร้อนจากด้านล่าง และยังทำให้บ้านมีความโปร่ง สว่าง<br />

เรียกกันว่า “บ้านหัวจุก”<br />

After decided to build a home for himself and family,<br />

Dr.Wadanyu took the idea from a house that he’d<br />

designed for a friend and fine tuned it to fit the conditions<br />

and contexts of his chosen location.<br />

The house structure is reinforced concrete and steel<br />

with wooden frame windows for mosquito screens.<br />

This is one of the first houses in Thailand with<br />

unpainted walls. Walls are bare to show texture of bricks.<br />

All floors and columns are made of washed sand. Hot<br />

air ventilates upwards to the void underneath the domed<br />

roof that looks like a topknot, making the house airy and<br />

light.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2517 ครอบครัวของ<br />

อาจารย์ ดร.วทัญญู<br />

ณ ถลาง<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

อาจารย์ ดร.วทัญญู<br />

ณ ถลาง<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

520 ตร.ม.<br />

งบประมาณ<br />

Cost<br />

3-4 ล้าน<br />

บาท<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

คอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก<br />

กรุผิวด้วย<br />

วัสดุที่มี<br />

พื้นผิวตาม<br />

ธรรมชาติ<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

9 ซอย<br />

งามวงศ์วาน 27<br />

แยก 7 ถนน<br />

งามวงศ์วาน<br />

แขวงลาดยาว<br />

เขตจตุจักร<br />

กรุงเทพฯ<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

13.861472<br />

100.539778<br />

1974 Dr.Wadanyu Na<br />

Thalang’s family<br />

Dr.Wadanyu Na<br />

Thalang<br />

Usable<br />

space<br />

520 Sq.m.<br />

3-4 Million<br />

baht<br />

Reinforced<br />

concrete<br />

structure<br />

overlaid<br />

with<br />

natural<br />

materials<br />

9 Ngamwongwan<br />

27 Yaek 7<br />

Ngamwongwan<br />

Road, Lad Yao<br />

Subdistrict,<br />

Jatuchak<br />

District,<br />

Bangkok<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : อาจารย์กรวิศฎ์ ณ ถลาง<br />

อาจารย์สัณฐิตา กาญจนพันธ์ุ<br />

404


405


บทสัมภาษณ์<br />

อาจารย์กิจโชติ: เรียนถามอาจารย์เรื่องเบื้องหลังของการ<br />

ออกแบบ โดยเฉพาะเนื้อหาหลักๆ ที่อาจารย์วทัญญูได้วาง<br />

แนวทางไว้ครับ<br />

ดร.กรวิศฎ์ : คุณพ่อจะให้ความสำคัญกับเรื่องเนื้อหาของวัสดุ<br />

เป็นอย่างมาก ยกตัวอย่างเช่น เรื่องของอิฐ คุณพ่อจะสั่งเผา<br />

พิเศษ ไม่มีขายในสมัยนั้น อิฐผิวเปลือย หรือ อิฐโชว์แนว ก่อ<br />

อิฐไม่ให้อยู่ตรงกลางต้องเหลื่อมมาหน่อย ระยะต้องเท่ากัน<br />

คุณพ่อเป็นคนเนี้ยบมาก ตอนแรกๆ ถ้าก่อเอียงท่านสั่งต่อยทิ้ง<br />

เป็นแบบนี้หลายครั้งจนกระทั่งมีคนนึงชื่อ แม่ฮวย คุณพ่อท่าน<br />

บอกให้ลองมาก่ออิฐ ท่านสอนแม่ฮวยก่ออิฐ ปรากฏว่าแม่<br />

ฮวยก่อได้ดี บ้านนี้ทั้งหลังเลยเป็นฝีมือก่ออิฐของแม่ฮวย จาก<br />

คนผสมปูนกลายมาเป็นคนชำนาญเรื่องก่ออิฐ<br />

คุณพ่อท่านถือหลักว่าทุกอย่างเกิดขึ้นจากธรรมชาติ ท่าน<br />

เป็นศิษย์ของท่านพุทธทาส อิฐ หิน ปูน ทรายอยู่ชั่วนาตาปีไม่<br />

ต้องทาสีเลย อย่างอันนี้เป็นไม้สักอาจจะมีการทาสี 10 ปีครั้งนึง<br />

นอกนั้นไม่ต้องทาเลย สีที่ขอบนิดหน่อยเอง บ้านหลังนี้จะร่วม<br />

สมัยเมื่อ 40 ปีที่แล้ว บ้านหลังนี้เริ่มสร้าง 2516 เข้าอยู่ 2518<br />

เริ่มต้นร่างแบบประมาณปี 2515 แบบเป็นรูปเป็นร่างปี 2516<br />

แล้วเริ่มสร้างตอกเสาเข็มวางศิลาฤกษ์ ใช้เวลาก่อสร้าง 2 ปี ตอน<br />

ช่วงเริ่มต้นก่อสร้างมีการขนส่งเสาเข็มซึ่งยาวมาก คนทั่วไปเห็น<br />

คิดว่าจะสร้างโรงแรม คือต้องตอกลงไปจนกระทั่งมันไม่ลงแล้ว<br />

ดร.กรวิศฎ์ : คุณพ่อท่านโดนย้ายจากการเคหะปี 2518<br />

เรียกได้ว่าท่านได้อยู่บ้านนี้ตอนเป็นผู้ว่าการเคหะประมาณ<br />

1 เดือน ท่านโดนย้ายสมัยรัฐบาลคึกฤทธิ์ เสร็จแล้วคุณประสิทธิ์<br />

ณรงค์เดช มาเป็นผู้ว่าการเคหะแทนโดยการเมือง แต่คุณ<br />

พ่อท่านไม่ยึดติดทางการเมืองท่านเลยย้ายมาอยู่สถาบันวิจัย<br />

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี<br />

อาจารย์สัณฐิตา: ตรงนี้เป็นที่ดินของธนาคารอาคารสงเคราะห์<br />

เมื่อก่อนตรงนี้เป็นทุ่งนา แล้วก็มีควายเล็มหญ้า<br />

ดร.กรวิศฎ์ : แนวความคิดในการสร้างบ้านของอาจารย์วทัญญู<br />

คือ ต้องการให้ใช้ชีวิตนอกห้องนอน ห้องนอนแต่ละห้องจะเล็ก<br />

หมดเลย ชีวิตส่วนใหญ่คือใช้เวลารับแขกทำอะไรอยู่ข้างนอก<br />

อาจารย์สัณฐิตา: ตอนนั้นเราก็ไม่ค่อยมีโทรศัพท์ ทีวีก็เป็นทีวี<br />

ขาวดำ เริ่มมีทีวีสีรุ่นแรกๆ แต่ละคนก็เลยมารวมกันแถวนี้กัน<br />

หมด ไม่ค่อยมีโลกส่วนตัว<br />

Interview<br />

Quijxote: Can you tell me what’s the story behind the<br />

design? And what is the important content of this house?<br />

Dr.Koravisd : My father focused a lot on material content.<br />

Bricks used in this house were all custom-made. Bricks<br />

that show real texture of the material. He was very meticulous.<br />

Bricks must be laid in slight overlapping patterns.<br />

If he was not satisfied, the workers had to redo it over<br />

and over. Finally, there was this female cement mixer<br />

called Huay who turned out to be a talented bricklayer.<br />

Brick work in the whole house was done by her.<br />

My father was a disciple of Buddhadasa so he believed<br />

that everything was born from nature. Materials like bricks,<br />

stone, plaster or sand don’t need to be painted. Teakwood<br />

may need paint once every ten years, but that’s it. The<br />

house was very modern 40 years ago. The design process<br />

was completed in 1973. The construction started in 1973<br />

and took two years to finish. The foundation piles were<br />

so long that people thought we were building a hotel. The<br />

piles were pounded on until they couldn’t go any deeper.<br />

Dr.Koravisd : He lived in this house for about one<br />

month when he was the director of the National Housing<br />

Authority before removed from the position in 1975<br />

during Kuekrit government. But he was never the one<br />

to hold on to political titles, so he moved to Thailand<br />

Institute of Scientific and Technological Research.<br />

Santita : This plot used to be the property of Government<br />

Housing Bank. It was a rice paddy field with buffaloes<br />

walking around.<br />

Dr.Koravisd : Father’s idea of a house is living his life<br />

outside the bedroom. All bedrooms are small. Because<br />

we spend most of our time outside.<br />

Santita : Back then telephone was not a common thing.<br />

Televisions were all black and white. When we first got<br />

color screen TV, everyone came here to watch TV.<br />

There was not a lot of privacy.<br />

Dr.Koravisd : After a while, we started to feel that the<br />

house might be a bit too small but in fact it was not.<br />

406


407


ดร.กรวิศฎ์ : ที่นี่พอวันเวลาผ่านไป โดยสัจธรรมแล้วนะก็เริ่ม<br />

รู้สึกบ้านจะเล็กไปนิดนึง แต่จริงๆ คือใหญ่ จริงๆ แล้วท่าน<br />

บอกว่าหลังคาขยับไปได้อีกเมตรกว่าๆ ก็จะได้บ้านหลังใหญ่<br />

ตอนนั้นสร้างประมาณ 3 ล้าน รวมทุกอย่างยกเว้นจัดสวน 3<br />

ล้านเมื่อประมาณปี 2516-2518 ระหว่างนั้นก็มีรีโนเวทนิดๆ<br />

หน่อย ก็รวมแล้วประมาณ 4 ล้าน ปรับปรุงน้อยมาก ส่วนมาก<br />

เป็นการทาสีซ่อมแซม<br />

อาจารย์สัณฐิตา : คุณพ่อก็ประดับสวน สวยเลยค่ะ ตอนแรก<br />

ที่บ้านและสวนมาถ่ายเอาลงในหนังสือ แต่ต่อมาคุณพ่อก็ชอบ<br />

ให้เป็นแบบธรรมชาติต้นไม้ก็เลยโตครึ้มเลย ก็เลยปล่อยให้เป็น<br />

ป่าไปเลย<br />

ดร.กรวิศฎ์ : ตอนนี้กลายเป็นป่าเสื่อมโทรม แต่ตอนนั้นครึ้ม<br />

กว่านี้สิบเท่า มีไม้ชั้นบนไม้ชั้นล่างแบบป่า แกนใหญ่ก็อาจจะมี<br />

ต้นยาง ต้นอินจัน ต้นประดู่ ต้นปีบอะไรพวกนี้ มีเฟิร์นเป็นไม้<br />

คลุมดิน ส่วนใหญ่ท่านจะชอบป่า แต่ตอนหลังมันก็ตายไปตาม<br />

กาลเวลา พวกใบไม้เราก็กวาดแต่กวาดไม่ไหว ท่านก็เลยบอก<br />

ให้ใบไม้มันกลายเป็นปุ๋ยไปตามธรรมชาติ บ้านจะดูดีในช่วง<br />

20 ปีแรก จากนั้นท่านก็ภารกิจมาก ข้าวของก็มากขึ้น ตอนหลัง<br />

ท่านก็พูดว่าบ้านเล็กไปหน่อย เพราะตอนเราอายุเยอะเรา<br />

ใช้ชีวิตอยู่แต่ในห้องนอน เพราะฉะนั้นผมคิดว่าคอนเซ็ปต์<br />

ห้องนอนใหญ่ยังเป็นเรื่องจำเป็น<br />

My father said the roof can be extended about a meter<br />

and the house would feel much larger. Construction cost<br />

at the time (1973-1975) was about 3 million including<br />

landscaping. We did some minor renovations afterwards.<br />

Just repainting and stuff. So all in all the total budget<br />

is about 4 million.<br />

Santita : He decorated the garden beautifully. A famous<br />

magazine even came to take photographs. But later he<br />

liked it more natural so he let all the trees grow wild.<br />

Dr.Koravisd : Right now it looks like a degraded forest.<br />

But back then it was almost a real forest. There were<br />

big tall trees, bushes and shrubs. He liked it very thick<br />

and dense, like a forest. But those trees died off with<br />

time. Dry leaves piled up so much that it was impossible<br />

to keep clean. So he left them rotting on the ground as<br />

fertilizer. The house looked good for the first 20 years.<br />

After that he was very busy. And our family had more<br />

and more things. Eventually he said that the house may<br />

be a bit too small because when we’re older, we spend<br />

อาจารย์กิจโชติ : เห็นอาจารย์สัณฐิตาบอกว่ามีการปรับห้อง<br />

ใต้ดิน<br />

ดร.กรวิศฎ์ : ดูไม่ได้เลยครับ คือผมใกล้เกษียณแล้ว ผมจะมี<br />

รายได้พิเศษผมคิดว่าผมจะรีโนเวทบ้านทั้งหลังเลยโดยใช้คอน<br />

เซ็ปต์คุณพ่อเหมือนเดิม บูรณะขึ้นมาใหม่ อาจจะใช้เวลาไม่<br />

ถึง 10 ปีข้างหน้า จะค่อยๆ เปลี่ยนทีละส่วนจะพยายามรักษา<br />

คอนเซ็ปต์เดิมไว้ เปลี่ยนให้น้อยที่สุด<br />

อาจารย์กิจโชติ: เดิมอาจารย์วทัญญูได้ออกแบบส่วนใต้ถุนไว้<br />

อยู่แล้วใช่มั้ยครับ<br />

ดร.กรวิศฎ์ : คือท่านยึดหลักว่าแผ่นดินมันจะทรุดปีนึงประมาณ<br />

3-4 เซนติเมตรโดยประมาณ ท่านก็คำนวณเลยว่าในระยะเวลา<br />

10-30 ปีข้างหน้าจะทรุดเท่าไหร่ เพราฉะนั้นพื้นข้างบนเนี่ย<br />

จะสูงจากระดับประมาณ 2.40 เมตร สูงลอยละลิ่วเลย ที่นี่พอ<br />

เวลาผ่านไปด้วยบ้านมันวางอยู่บนคานมันก็ค่อยๆ ลงตามกาล<br />

เวลา ก็ปรากฏว่าอาจารย์จะเห็นว่าลานก็ยังสูงอยู่ เพราะฉะนั้น<br />

ถึงแม้ช่วงที่น้ำท่วมปี 54 ยังดีแค่ปริ่มๆ ด้านล่าง แต่ข้างล่าง<br />

ท่านใช้ดินมากลบทำเป็นกำแพงกั้นตามแนวบ้าน แต่ก็มีคูน้ำ<br />

ล้อมรอบเพื่อสูบน้ำออกเวลาท่วมบ้าน ผมก็กั้นเป็นห้องเพาะ<br />

เลี้ยงเนื้อเยื่อแต่ทำอยู่ได้สัก 2 ปี มันเริ่มทรุด ผมก็เลยเลิก<br />

ชั่วคราว แต่ในอนาคตถ้าเกิดผมเกษียณแล้วอาจจะทำเป็น<br />

ห้องทำงานข้างล่าง<br />

a lot of time in the bedroom. For me, big bedroom is<br />

still necessary.<br />

Quijxote: I understand that you’re thinking of renovating<br />

the basement.<br />

Dr.Koravisd : It’s in a very bad shape. I’m getting a<br />

large sum of money from my retirement soon so I’m<br />

thinking of renovating the whole house. I want to do it<br />

my father’s way. And within the next ten years, I plan to<br />

slowly fix up each part and keep the content the same<br />

as much as possible.<br />

Quijxote: Dr.Watanyu also designed the basement in<br />

the beginning?<br />

Dr.Koravisd : He figured that land was going to subside<br />

for 3-4 centimeters per year. So he calculated how much<br />

land was going to sink within the next 10-30 years. That’s<br />

why the floor is 240 centimeters higher than normal level.<br />

But as the house got older, the beam started to droop<br />

down. Fortunately, the house was still quite high and<br />

408


คืออย่างนี้มันมีโดมระบายอากาศอยู่ อะคริลิค สกายไลท์โดม<br />

คุณพ่ออธิบายว่าถ้าเปิดหน้าต่างอากาศข้างนอกมันจะเข้า แล้ว<br />

ลอยตัวออกอากาศเย็นจะเข้าแทนที่ บ้านจะไม่ร้อนเลย แล้วสมัย<br />

นั้นต้นไม้ก็เยอะด้วย ข้างนอกกับข้างในต่างกัน 5 องศา เข้ามา<br />

นี่เย็นเลย แต่พอตอนหลังต้นไม้เริ่มน้อยลงเราไม่ค่อยได้เปิด<br />

อากาศก็เลยจะใกล้เคียงกัน<br />

ดร.กรวิศฎ์ : แอร์มีในห้องนอน เดิมที่คุณพ่อท่านจะติดในห้องนี้<br />

แต่ท่านบอกหลายบีทียู อีกอย่างคือเรื่องไฟ คือคุณพ่อท่านจบ<br />

จากอเมริกา ท่านยึดแนวของ แฟรงก์ ลอยด์ ไรต์ (Frank Lloyd<br />

Wright) ธรรมชาติกับบ้านเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ไฟจะไม่อยู่<br />

กลางเพดานจะอยู่ข้างๆ บ้านจะทึมๆ หน่อยเหมือนหนังฝรั่งไม่<br />

ค่อยจะมีแสง ท่านจะคุ้นอย่างนั้น เมื่อก่อนตอนเราเด็กๆ ท่าน<br />

จะเรียกมาให้นั่งตรงนี้แล้วเปิดไฟแต่ละดวง ดวงนี้ให้อารมณ์นึง<br />

อีกดวงก็จะให้อีกอารมณ์นึง คุณพ่อท่านจะไม่ยึดหลักเหมือน<br />

คนอื่นที่เปิดไฟสว่างโล่ แต่จะอยู่ธรรมชาติ บ้านเราสามทุ่มจะ<br />

ปิดไฟหน้าบ้านแล้วปกติเขาจะเปิดไว้ ผมเลยบอกว่าอย่างนี้คน<br />

ก็เข้ามาซุ่มสิ แต่คุณพ่อบอกว่าหน้าต่างเราเป็นสีชาใครกันแน่<br />

เป็นฝ่ายซุ่ม มันเข้ามาเราเห็นก่อน<br />

ดร.กรวิศฎ์ : คือท่านบอกว่าให้คำนึงว่ากรุงเทพฯ และปริมณฑล<br />

มันจะทรุดทุกปี เพราะฉะนั้นอย่าไปวางคานเหมือนบ้านจัดสรร<br />

ทั่วไปคือไม่ได้เผื่ออะไรเลยพอกาลเวลาผ่านไปก็โย้เย้ คือให้เผื่อ<br />

เรื่องของการทรุดไว้เลย คือฐานรากไม่ทรุดแต่ดินมันยุบลงไป<br />

บ้านนี้ใช้เสาเข็มประมาณ 3 เสา<br />

คุณลีนวัตร: ทรายล้างมีหลุด มีกะเทาะบ้างมั้ยครับ<br />

ดร.กรวิศฎ์ : น้อยมาก มาช่วงหลังๆ ช่างแอร์บ้าง ช่างอื่นบ้าง<br />

เขามาเดินสาย ถ้าเราไม่คุมเขาจะเจาะปรากฏว่าสว่านหัก เพราะ<br />

ปูนในยุคนั้นไม่เหมือนยุดนี้ แล้วอีกอย่างที่คุณพ่อโกรธมากคือ<br />

พอไม่บอก เขาชอบมาเจาะ เอาชุ่ยเขาว่า ถ้าเดินสายไฟต้องเข้า<br />

มุมไม่ใช่ผ่ากลาง อย่างทรายล้างคุณพ่อก็คัดเม็ด<br />

survived the big flood in 2011. I was using the basement<br />

downstairs as an office for about two years when the<br />

house began to sag. But I plan to use it as my office<br />

again after I’m retired.<br />

My father designed the acrylic skylight dome on top for<br />

ventilation. When windows are opened, hot air will float<br />

up and replaced by cool air. Back then because of all<br />

the trees outside, inside the house is 5 degrees Celsius<br />

cooler. But lately there are less trees and we rarely<br />

open the windows, so the temperature is no longer that<br />

much different.<br />

Dr.Koravisd : We have air-conditioners in bedrooms. My<br />

father graduated from the US and was a strong believer in<br />

Frank Lloyd Wright’s philosophy. Nature and architecture<br />

must be as one. So light fixtures in this house are not in<br />

the middle of the ceiling but on the sides, giving subtle<br />

brightness. When we were kids, he would call us in here<br />

and turn on each light to show us what kind of different<br />

mood we get from each light. He liked to live as one with<br />

nature. He turned off the front door light since 9pm. I<br />

was worried that burglars are going to hide outside in<br />

the dark. He said we would see them first because our<br />

windows are made of tinted glass.<br />

Dr.Koravisd : He said we have to keep in mind that<br />

Bangkok and surrounding area are going to sink down<br />

every year. So we must not make beam structures like<br />

normal housing developments which are going to stagger<br />

as the time goes by.<br />

Leenavat : What about washed sand? Has it ever flaked<br />

off?<br />

Dr.Koravisd : Very little. Some technicians have tried to<br />

drill it but it’s so solid that drill bits were broken. My father<br />

was very upset when anybody tried to drill it because he<br />

carefully selected the material piece by piece.<br />

409


บ้านฝึกนิสิต<br />

ภาควิชาคหกรรม<br />

STUDENT TRAINING HOUSE OF FOOD<br />

AND NUTRITION DEPARTMENT<br />

เป็นบ้านทดลอง (Demonstration House) เพื่อใช้สำหรับการ<br />

เรียนการสอนนิสิตภาควิชาคหกรรม ในวิชาการโรงแรมซึ่งเปิด<br />

สอนในหลักสูตรตั้งแต่ พ.ศ. 2520 การใช้งานจะเป็นกลุ่มอาคาร<br />

3 หลัง เชื่อมต่อด้วยระเบียง ประกอบด้วยอาคารที่พักสูง 3 ชั้น<br />

จำนวน 2 อาคารและอาคารบริการสูง 1 ชั้น 1 อาคาร ลักษณะ<br />

เป็นที่พักสำหรับนิสิตและนักวิจัย มีโถงตอนรับ พื้นที่นั่งเล่น<br />

พื้นที่รับประทานอาหารบริเวณชั้นที่ 1 ห้องพักมีจำนวน 8 ห้อง<br />

และมีห้องสัมมนาบริเวณชั้น 3<br />

It was the demonstration house for Student Training<br />

house of Food and Nutrition Department in Hotel<br />

management since 1977. There is a group of 3 buildings<br />

linked with wooden corridors. 2 residence buildings are<br />

3 stories and 1 service building is 1 story. The buildings<br />

are residence for students and researchers comprising<br />

of reception area, common living room, ground floor<br />

cafeteria, 8 residence rooms and conference room on<br />

3rd floor<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2519 อยู่ในความดูแล<br />

ของ ภาควิชา<br />

คหกรรมศาสตร์ คณะ<br />

เกษตร มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร์<br />

วิทยาเขตบางเขน<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

บริษัท C-C & Associates<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

450 ตร.ม.<br />

งบประมาณ วัสดุ<br />

Cost Material<br />

- คอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร์<br />

วิทยาเขต<br />

บางเขน<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

1976 Food and Nutrition<br />

Department,<br />

Faculty of<br />

Agriculture<br />

Kasetsart University<br />

(Bangken campus)<br />

C-C & Associates<br />

Co.,Ltd.<br />

Usable<br />

Space<br />

450 Sq.m.<br />

- Reinforced<br />

concrete<br />

structure<br />

Kasetsart<br />

University<br />

(Bangken<br />

campus)<br />

-<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฐิติวุฒิ ชัยสวัสดิ์อารี<br />

410


411


เคหะชุมชนประชานิเวศน์ 3<br />

PRACHANIWES 3 PUBLIC HOUSING<br />

นโยบายการเคหะแห่งชาติในการจัดสร้างเคหะชุมชนเพื่อ<br />

บรรเทาปัญหาการขาดแคลนที่อยู่อาศัยของประชาชนนั้นส่วน<br />

หนึ่งคือ การจัดสร้างเคหะชุมชนใหม่เพิ่มขึ้นในบริเวณใกล้เคียง<br />

กับเคหะชุมชนที่การเคหะแห่งชาติได้จัดไว้ก่อนแล้ว ทั้งนี้เพื่อ<br />

ให้ชุมชนที่เกิดขึ้นได้มีโอกาสใช้บริการจากองค์ประกอบของ<br />

ชุมชนบางส่วนร่วมกัน จากชุมชนระดับหมู่บ้านรวมเป็นตำบล<br />

เป็นอำเภอ และเป็นเมืองในที่สุด นอกจากการพึ่งพาอาศัยใน<br />

เรื่องดังกล่าวแล้วยังเป็นการพัฒนาที่ดินในแต่ละส่วนขึ้นมา<br />

ให้สอดคล้องกับการใช้ประโยชน์จากที่ดินในทางที่เหมาะสม<br />

อีกด้วย การเคหะแห่งชาติได้รับโอนโครงการเคหะชุมชนประชา<br />

นิเวศน์ 2 มาจากกรุงเทพมหานคร (เทศบาลนครกรุงเทพฯ เดิม)<br />

และได้พัฒนาเคหะชุมชนนี้ขึ้นมาเป็นระยะ ขนาดที่ดินทั้งหมด<br />

707 ไร่ จัดแบ่งเป็นประชานิเวศน์ 2 ระยะ 1,2 และ 3 เมื่อสร้าง<br />

เสร็จสมบูรณ์ตามโครงการแล้วจะมีประชากรอาศัยอยู่ทั้งสิ้น<br />

2,627 ครอบครัว ซึ่งเป็นเคหะชุมชนระดับอำเภอ<br />

โครงการนี้จัดทำขึ้นเพื่อแก้ปัญหาความเดือดร้อนในเรื่องที่<br />

อยู่อาศัยของประชาชนผู้มีรายได้ปานกลางค่อนข้างต่ำ (1,500<br />

– 3,000 บาท/เดือน/ครอบครัว) ผู้มีรายได้ปานกลางค่อนข้าง<br />

สูงประเภท ค. (3,000 – 5,000 บาท/เดือน/ครอบครัว)<br />

The National Housing Authority (NHA) is a government<br />

agency that develops housing projects for low to<br />

middle income population. Strategy is to do new<br />

projects near existing ones so facilities can be shared<br />

and communities can grow bigger from villages to<br />

districts and then cities eventually. NHA was handed<br />

over Prachaniwas 2 Housing from the city of Bangkok.<br />

The project that sits on 280 acres is divided into 3<br />

phases. When it’s completed, this district-level project<br />

is estimated to house 2,627 families.<br />

In Thailand, lower - middle income population has<br />

an average income of 1,500-3,000 baht per month<br />

for a family while average higher - middle income is<br />

3,000-5,000 baht per month.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

2520 การเคหะแห่งชาติ - 602 ไร่<br />

2 งาน 4<br />

ตร.วา<br />

1997 National Housing<br />

Authority<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : การเคหะแห่งชาติ<br />

- 602 Rai<br />

2 Ngan 4<br />

Sq.wa<br />

งบประมาณ วัสดุ ที่ตั้ง<br />

Cost Material Location<br />

- - ที่ดินโครงการ<br />

อยู่ในเขตตำบล<br />

ท่าทราย อำเภอ<br />

เมืองนนทบุรี<br />

จังหวัดนนทบุรี<br />

- - Ta Sai<br />

Subdistrict,<br />

Muang District,<br />

Nonthaburi<br />

Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

-<br />

412


413


อาคารเลียววิริยะ<br />

LIEWVIRIYA BUILDING<br />

ประวัติความเป็นมา<br />

อาคารเลียววิริยะออกแบบโดย อาจารย์ ดร.จุลทรรศน์<br />

กิติบุตร สร้างขึ้นประมาณ พ.ศ. 2520 อาคารหลังนี้มีการ<br />

ออกแบบที่เน้นให้เกิดประโยชน์ใช้สอยที่คุ้มค่า ตรงตามความ<br />

ต้องการของผู้อยู่อาศัยและกิจการของร้าน ในสมัยก่อนอาคาร<br />

เลียววิริยะเปิดเป็นร้านขายเครื่องเสียงรถยนต์และมีพื้นที่<br />

สำหรับจอดรถยนต์เพื่อติดเครื่องเสียง ถือเป็นอาคารตึกแถวที่<br />

มีรูปทรงในการดีไซน์ที่ไม่เหมือนใคร โดยสร้างบนขนาดที่ดิน<br />

ประมาณ 60-70 ตารางวา เป็นอาคาร 4 ชั้นรวมดาดฟ้า ปัจจุบัน<br />

อาคารหลังนี้เปิดเป็นร้านขายเครื่องใช้ไฟฟ้า อยู่บนถนนท่าแพ<br />

อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่<br />

ลักษณะสถาปัตยกรรม<br />

รูปแบบสถาปัตยกรรมเป็นแบบสมัยใหม่ที ่มีความโดดเด่น<br />

โครงสร้างแบบระบบเสา-คาน มีการเพิ่มแนวคอนกรีตหล่อ<br />

โค้ง เพื่อสร้างครีบที่แสดงความลื่นไหลในรูปด้านอาคาร รวม<br />

ถึงการใช้ตัวอักษร L ซึ่งเป็นชื่อของร้านมาประดับตรงรูปด้าน<br />

อาคารทำให้เป็นจุดเด่นของอาคารที่น่าสนใจ ปัจจุบันมีการ<br />

The building was designed by Dr.Julatas Kitibutr and<br />

built in 1977. The shophouse style building has four floors<br />

including roof deck. It was originally used as car audio<br />

shop but later changed to an electrical appliance store.<br />

The architecture was one of the first modern<br />

commercial buildings at the time on Ta Pae Road,<br />

main shopping street of Chiang Mai. The level of<br />

craftsmanship, especially cast concrete work, just<br />

shows why this building is admired for its historical and<br />

ต่อเติมอาคารทางทิศตะวันตกเป็นอาคารสูง 3 ชั้น ทำเพื่อขยับ<br />

ขยายอาคารซึ่งเปลี่ยนธุรกิจหลักมาเป็นขายเครื่องดนตรี พื้นที่<br />

ภายในบริเวณชั้นหนึ่งเป็นส่วนร้านค้า มีการจัดพื้นที่ให้ยกระดับ<br />

ด้านหลังร้านแยกขึ้น-ลงอาคาร โดยชั้นล่างปัจจุบันเป็นห้องเก็บ<br />

ของ ส่วนทางขึ้นด้านบนเป็นห้องรับรอง และเป็นส่วนเชื่อมต่อ<br />

ไปยังบันไดชั้นที่พักอาศัย<br />

การระบุคุณค่าความสำคัญ<br />

อาคารเลียววิริยะมีความสำคัญทางด้านประวัติศาสตร์<br />

(Historic Value) และสถาปัตยกรรม (Architectural Value)<br />

1. เป็นอาคารพาณิชย์แบบสมัยใหม่ในยุคแรกที่สร้างขึ้น โดย<br />

เป็นอาคารพาณิชย์ประเภทตึกแถวแต่มีความโดดเด่นด้านรูป<br />

ด้านอาคาร ซึ่งตั้งอยู่บนถนนท่าแพ ถนนเศรษฐกิจของเมือง<br />

เชียงใหม่ 2. เป็นงานฝีมือ โดยเฉพาะคอนกรีตหล่อในที่ และ<br />

การสร้างลูกเล่นของผิวสัมผัสบนคอนกรีต 3. รูปด้านหน้า<br />

อาคารมีความโดดเด่น มีการนำเอาชื่อของร้านมาเป็นส่วนหนึ่ง<br />

ของรูปด้าน สร้างจุดเด่นให้กับตัวอาคาร<br />

architectural value. The Main structure is column and<br />

beam. Cast concrete runs along the side of the building.<br />

The big letter “L” short from the store’s name makes it<br />

more interesting. The west side of the building was later<br />

expanded when the company shifted their business to<br />

selling musical instruments. Sales area is on the first<br />

floor. There is another entrance in the back. Ground<br />

floor is used as storage area. Upstairs is a lounge and<br />

connected to accommodation space.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

งบประมาณ<br />

Cost<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

2520 - คุณจุลทัศน์ กิติบุตร - - โครงสร้าง<br />

ระบบเสา-<br />

คาน<br />

1977 - Julatas Kitibutr - - column<br />

and beam<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สันต์ สุวัจฉราภินันท์<br />

(โครงการภาพสะท้อนของความทันสมัย : บันทึกและทบทวนบทบาทของ<br />

สถาปัตยกรรมสมัยใหม่เมืองเชียงใหม่ ระหว่างปี พ.ศ. 2427 -2518<br />

414<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

ถนนท่าแพ<br />

อำเภอเมือง<br />

จังหวัดเชียงใหม่<br />

Ta Pae Road,<br />

Muang District,<br />

Chiang Mai<br />

Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

-


415


บ้านครูสมชาย<br />

KRU SOMCHAI’S HOUSE<br />

เจ้าของบ้านคือ นายสมชาย สมานตระกูล อายุ 65 ปี เคยประกอบ<br />

อาชีพเป็นครู ที่โรงเรียนอิสลามลำไทร หนองจอก ซึ่งเป็น<br />

โรงเรียนประจำชุมชนและเคยดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ<br />

หมู่บ้าน ปัจจุบันเป็นวิทยากรให้ความรู้ด้านเกษตรพอเพียง<br />

ตัวบ้านมีอาคารหลายหลังเป็นเรือนที่อยู่อาศัยของครู<br />

สมชายและครอบครัวของลูกชายแต่ละคน นอกจากนี้ยังมีเรือน<br />

บ้านพักโฮมสเตย์ เรือนครัว เรือนซักล้าง เรือนห้องน้ ำ เรือนสาธิต<br />

ทำผลิตภัณฑ์ชุมชน ตัวเรือนค่อยๆ ประกอบต่อเติมออกมาเรื่อยๆ<br />

ภายในบริเวณบ้าน สามารถมองได้ว่าส่วนเรือนของครูสมชาย<br />

เป็นเรือนแบบเรือนหมู่ การวางพื้นที่เป็นเรือนๆ ล้อมชาน โดย<br />

แยกแต่ละหลังเป็นของแต่ละครอบครัว ในส่วนอยู่อาศัยมีการยก<br />

ใต้ถุนสูงราว 0.9 เมตร และนำส่วนบ้านโฮมสเตย์ รับแขก และ<br />

ครัว ไว้ทางทิศตะวันตกเป็นการป้องกันความร้อน<br />

ครอบครัวครูสมชายอาศัยอยู่ด้วยกันเป็นครอบครัวใหญ่<br />

อยู่รวมกัน ประกอบด้วยครูสมชาย นางลินดา ซึ่งเป็นภรรยา<br />

และลูกสาว 1 คนอาศัยในเรือนใหญ่ และ ในพื้นที่ยังประกอบ<br />

ด้วยเรือนย่อยของลูกชาย 3 คน ลูกชายแต่ละคนอาศัยอยู่<br />

ในเรือนคนละหลังพร้อมครอบครัว กล่าวได้ว่าพื้นที่เรือน<br />

ครูสมชายเป็นอาคารไม้หลายหลังสร้างประกอบกันล้อมชาน<br />

บ้านและบ่อน้ำ เหมือนเรือนไทยสมัยก่อนที่คนไทยอาศัยอยู่กัน<br />

เป็นครอบครัวใหญ่ มีชานเป็นพื้นที่รวมของคนในบ้าน ในส่วน<br />

ชานมีการทำหลังคาคลุม นอกจากจะเป็นที่นั่งเล่น กินข้าว<br />

ของครอบครัว และเป็นที่เพื่อนฝูงมาพบปะ ยังใช้เป็นศูนย์<br />

การเรียนรู้ด้านเกษตรพอเพียงของกรุงเทพมหานคร และ<br />

บ่อน้ำใช้เลี้ยงปลานำมาประกอบอาหารได้ มีพื้นที่ตัวอย่าง<br />

สำหรับทำการเกษตรทั้งการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์<br />

Mr.Somchai Samantrakul, the house owner was a teacher<br />

at Lum Sai Islamic School, Nong Chok’s local school.<br />

He was once the chief of community’s committee. Now<br />

he is an instructor for sufficiency agriculture. His residence<br />

is a group of houses as Mr.Somchai house and<br />

for each of his son. Furthermore there are home stay<br />

houses, kitchen building, washing building, washroom<br />

building, community products demonstration building,<br />

and additional which keeps getting expanded in the area.<br />

Noticeably, Mr.Somchai’s house is a compound house<br />

which each building surrounding the central terrace.<br />

Each house is for each family. The residence area<br />

has raised floor level of 0.9 meter height, which has the<br />

home stay, reception, and kitchen on the west side as<br />

to protection of heat.<br />

Mr.Somchai’s family is an expanded family of;<br />

Mr.Somchai-Ms.Linda (wife) and 1 daughter, 3 houses for<br />

his sons and their family. Therefore Mr.Somchai’s house<br />

is a wooden houses attached together with terrace and<br />

well as in traditional Thai style that has central terrace as<br />

the mutual space. At terrace above Mr.Somchai’s house,<br />

is roofing as for recreation, dining and reception area.<br />

Also, the terrace is used as a learning center of sufficient<br />

agricultural of Bangkok. The well is used as fish pond<br />

to supply for cooking. The area is all occupied to be a<br />

showcase of agriculture, planting, and animal husbandry.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

416<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2520 นายสมชาย<br />

สมานตระกูล<br />

1977 Mr.Somchai<br />

Samantrakul<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณชัยพัทธ์ งามบุษบงโสภิน<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

นายสมชาย<br />

และช่างท้องถิ่น<br />

Mr.Somchai with<br />

local carpenter<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

ที่ดิน<br />

3.12 ไร่<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

740 ตร.ม.<br />

Plot Size<br />

3.12 Rai<br />

Usable<br />

Space<br />

740 Sq.m.<br />

งบประมาณ วัสดุ ที่ตั้ง<br />

Cost Material Location<br />

- ไม้ 34/3 หมู่ 5<br />

ถนนลำไทร<br />

แขวงโคกแฝด<br />

เขตหนองจอก<br />

กรุงเทพฯ<br />

- Wooden<br />

structure<br />

34/3 Moo 5,<br />

Lum Sai Road.,<br />

Khok Faet<br />

Subdistrict,<br />

Nong Chok<br />

district,<br />

Bangkok<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

-


417


บ้านปุนะเรศ<br />

PUNARAIS’S HOUSE<br />

บ้านหลังนี้เป็นบ้านของคุณตาหลอม คุณยายจรรยา ปุนะเรศ<br />

สร้างใน พ.ศ. 2520 - 2535 ใช้เวลาถึง 15 ปี ในการสร้าง จาก<br />

การเก็บหอมรอมริบของลูกๆ บ้านหลังนี้จะใช้ไม้เดิมจากการ<br />

รื้อไม้ของบ้านเก่า ขนาดของไม้จึงไม่เท่ากัน และเนื่องจาก<br />

เจ้าของบ้านเป็นช่างไม้จึงสามารถทำเองได้ไม่ต้องจ้าง ภายใน<br />

บ้านประกอบด้วย ห้องนอน ห้องพระ ห้องนั่งเล่น ห้องเก็บของ<br />

หัองครัว และห้องน้ำ<br />

ในการสร้างบ้านคุณตาคุณยายจะถือคติ “พอมีค่อยทำ<br />

ทำเรื่อยๆ เดี ๋ยวก็เสร็จ” โดยถือพระราชดำรัสของในหลวง<br />

รัชกาลที่ 9 มาเป็นแนวทางการดำเนินชีวิต สร้างตามกำลัง<br />

ทรัพย์ของผู้สร้าง มีน้อยสร้างน้อย มีมากสร้างมาก บ้านจึงใช้<br />

เวลาก่อสร้างนาน<br />

Grandpa and Grandma Lhom Punares were the owner<br />

of this house which was constructed by 15 years from<br />

1977 - 1992 (B.E.2520-2535.) The construction were<br />

long stretch because of their controlled budget, “Do it<br />

when there is budget to do” were their slogan.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

418<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2520 คุณหลอม - จรรยา<br />

ปุนะเรศ<br />

1977 Mr.Lhom & Mrs.<br />

Janya Punares<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณปวัฒนา ธิกุลวงษ์<br />

ผู้ออกแบบ พื้นที่ งบประมาณ<br />

Designer Area Cost<br />

คุณหลอม ปุนะเรศ ที่ดิน 1 ไร่ 500,000<br />

บาท<br />

Mr.Lhom Punares<br />

Plot Size<br />

1 Rai<br />

500,000<br />

Baht<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

ไม้<br />

คอนกรีต<br />

และฐานราก<br />

คอนกรีต<br />

Wooden<br />

and<br />

concrete<br />

with<br />

concrete<br />

foundation<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

34 หมู่ 1 ตำบล<br />

ท่าพระยา<br />

อำเภอนครชัยศรี<br />

จังหวัดนครปฐม<br />

34 Moo 1,<br />

Tha Phaya<br />

Subdistrict,<br />

Nakhon Chai<br />

Si District,<br />

Nakhon<br />

Pathom<br />

Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

13.789066<br />

100.155770


419


บ้านพักสืบนาคะเสถียร<br />

SUEB NAKHASTHIEN HOUSE<br />

เป็นบ้านพักข้าราชการกรมป่าไม้ระดับ 3 - 4 เป็นอาคารไม้<br />

ยกใต้ถุนสูง 80 ซม. มีสองห้องนอนและระเบียงใหญ่ใช้เป็น<br />

พื้นที่เอนกประสงค์ห้องนอนด้านหนึ่งถูกปรับเป็นห้องทำงาน<br />

ของหัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง<br />

เป็นรูปแบบอาคารที่พักข้าราชการกรมป่าไม้ในช่วง พ.ศ.<br />

2520 ที่ออกแบบให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและดูแล<br />

รักษาง่าย เคยเป็นบ้านพักของสืบ นาคะเสถียร ช่วงดำรง<br />

ตำแหน่งหัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งใน พ.ศ.<br />

2533 ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของอนุสรณ์สถานสืบนาคะเสถียร<br />

Around 1977, the Royal Forest Department started<br />

designing and building living quarters that are consistent<br />

with nature and easy to maintain.<br />

This wooden house is elevated 80 cm. from ground.<br />

It has two bedrooms and a big balcony that is also used<br />

as multi-purpose area. It used to be the living quarter<br />

of Sueb Nakhasathien while he served as the head of<br />

Huay Kha Khaeng Wildlife Sanctuary in 1990. Now it is<br />

a part of Sueb Nakhasathien Memorial.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2520 บ้านพักหัวหน้าเขต<br />

รักษาพันธุ์สัตว์ป่า<br />

ห้วยขาแข้ง (บ้านพัก<br />

ข้าราชการกรมป่าไม้<br />

ระดับ 3-4)<br />

1977 Officer quarter for<br />

head of Huay Kha<br />

Khaeng Wildlife<br />

Sanctuary (house<br />

for Royal Forestry<br />

Department officers<br />

level 3-4)<br />

ผู้ออกแบบ พื้นที่<br />

Designer Area<br />

กรมป่าไม้ พื้นที่ใช้สอย<br />

67.59<br />

ตร.ม.<br />

Royal Foresty<br />

Department<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฐิติวุฒิ ชัยสวัสดิ์อารี<br />

Usable<br />

Space<br />

67.59<br />

Sq.m.<br />

งบประมาณ วัสดุ ที่ตั้ง<br />

Cost Material Location<br />

- ไม้ เขตรักษาพันธุ์<br />

สัตว์ป่าห้วยขา<br />

แข้ง จังหวัด<br />

อุทัยธานี<br />

- Wood Huay Kha<br />

Khaeng Wildlife<br />

Sanctuary,<br />

Uthai Thani<br />

Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

15.49997<br />

98.916670<br />

420


421


สตูดิโอมณเฑียร<br />

MONTIEN STUDIO<br />

คำว่า atelier ในภาษาฝรั่งเศส หมายถึงสตูดิโอ แต่ Montien<br />

Atelier หรือ ‘สตูดิโอของมณเฑียร’ Montien Atelier เป็นสถาน<br />

ที่เก็บรวบรวมบันทึกต่างๆ ที่เผยให้เห็นร่องรอยความคิดและ<br />

กระบวนการทำงานศิลปะของ ‘มณเฑียร บุญมา’ ศิลปินผู้ล่วง<br />

ลับ ที่นี่คือ ‘หอจดหมายเหตุ’ หรือ archive ที่แสดงเบื้องหลัง<br />

การทำงานศิลปะ<br />

บ้านหลังนี้ สร้างขึ้นตั้งแต่รุ่นคุณตา คุณยาย เมื่อประมาณ<br />

40 ปีก่อน ในช่วงแรกบ้านหลังนี้จึงพักอาศัยกัน 6 คน คือ คุณ<br />

ตา คุณยาย คุณลุง คุณป้า คุณสไบแพร มุกดาประกร (ลูกสาว)<br />

และคุณแม่ของคุณจุมพงษ์<br />

ภายหลังเมื่อคุณพ่อของคุณจุมพงษ์ (อ.มณฑียร) แต่งงาน<br />

กับคุณแม่แล้ว จึงได้ย้ายเข้ามาอาศัยที่บ้านหลังนี้ แต่ในขณะ<br />

เดียวกันคุณลุง คุณป้า และคุณสไบแพร ได้ย้ายออกไปบ้าน<br />

บริเวณใกล้เคียงแทน ในบ้านหลังนี้จึงเหลือพักอาศัยอยู่ 5 คน<br />

คือ คุณตา คุณยาย อ.มณเฑียร คุณแม่ และคุณจุมพงษ์<br />

ตลอดช่วงชีวิตของ อ.มณเฑียร ท่านใช้ชีวิตเป็นศิลปิน<br />

สร้างสรรค์งานศิลปะมากมาย ณ บ้านหลังนี้ นับได้เป็นเวลาราว<br />

20 ปี ก่อนจะเสียชีวิตลงใน พ.ศ. 2543 การสูญเสียญาติผู้ใหญ่<br />

ในครอบครัว จึงทำให้บ้านหลังนี้เหลือคุณจุมพงษ์พักอาศัยกับ<br />

คุณยาย 2 คน<br />

เมื่อราว 3 ปีที่แล้ว เมื่อเห็นว่าบ้านที่อยู่อาศัยกันมาหลาย<br />

สิบปีควรปรับปรุงให้เหมาะสมกับการใช้งาน และเกิดการใช้สอย<br />

ประโยชน์มากขึ้น คุณลุง คุณป้า และคุณสไบแพร จึงเป็น<br />

ส่วนสำคัญในการให้คำแนะนำ และร่วมวางแผนปรับปรุงบ้าน<br />

ขึ้นใหม่<br />

ในเดือนสิงหาคม <strong>2559</strong> ชั้นล่างจึงเปิดเป็นร้านอาหารและ<br />

ร้านกาแฟ โดยมีคุณสไบแพรเป็นผู้ดูแล และต่อมาในเดือน<br />

กุมภาพันธ์ 2560 ชั้น 2 จึงเปิดเป็น Montien Atelier เพื่อเป็น<br />

ที่เก็บผลงานและเผยแพร่งานศิลปะของ อ.มณเฑียร ต่อไป<br />

In french “ atelier “ means “studio”. However, “Montien<br />

Atelier” or Montien’s Studio, is a place where journal<br />

and the processes of artwork of “Montien Boonma” the<br />

former artist were kept. This place acts as the “archive”<br />

for background story of artwork.<br />

The house were built around 40 years ago in<br />

grandpa-grandma generation. At first there were 6<br />

residents who lived here which was; grandpa, grandma,<br />

uncle, aunt, Ms.Sabaiprae Mookdaprakorn (Daughter),<br />

and mother of Mr. Jumphong<br />

After Mr.Jumphong’s father, Mr.Montien, got married<br />

they moved into this house. At the same time, uncle<br />

aunt and Ms.Sabaiprae have moved out to another<br />

house nearby, therefore there were left with 5 persons<br />

in the house; grandpa, grandma, Mr.Montien, mother<br />

and Mr.Joomphong.<br />

Throughout the life of Mr.Montien, he was an artist<br />

who created many art works at this house for 20 years<br />

before his life ended in 2000. Losing two elders, the<br />

residents of this house remain only Mr.Joomphong and<br />

his grandma.<br />

Around 3 years ago, after many decades of usage,<br />

this house has started its renovation plan with advice<br />

from my uncle, aunt and Ms.Sabaiprae.<br />

In August 2016 the ground floor of house were<br />

opened as cafe and restaurant by the supervision of<br />

Ms.Sabaiprae. Later on in February 2017 the second<br />

floor were opened as Montien Atelier, for displaying the<br />

works of art of Mr.Montien legacy.<br />

422


ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

2520 นายจุมพงษ์ บุญมา บ้านสร้างโดย<br />

บริษัทรับสร้างบ้าน<br />

สำเร็จรูป บนที่ดิน<br />

จัดสรรของธนาคาร<br />

อาคารสงเคราะห์<br />

พื้นที่ งบประมาณ วัสดุ<br />

Area Cost Material<br />

- - คอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

408<br />

งามวงศ์วาน 25<br />

ซอย 3 ถนน<br />

งามวงศ์วาน<br />

เขตบางเขน<br />

จังหวัดนนทบุรี<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

13.859222<br />

100.537944<br />

1977 Mr.Jumphong<br />

Boonma<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : นายจุมพงษ์ บุญมา<br />

Constructed by<br />

home builder<br />

on Government<br />

Housing Bank’s<br />

land allocation<br />

- - Reinforced<br />

concrete<br />

408, Ngamwongwan<br />

25,<br />

Soi 3, Ngamwongwan<br />

Road. Bang<br />

Khen District,<br />

Nonthaburi<br />

Province<br />

423


ตำหนักประถม<br />

VILLA PRATHOM, PHETCHABOON PALACE<br />

ตำหนักประถมเดิมเป็นส่วนหนึ่งของวังเพชรบูรณ์ (ถนน<br />

ราชดำริ ที่ตั้งศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์พลาซ่าในปัจจุบัน)<br />

เจ้าของคนแรกคือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุช<br />

ธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย พระราชโอรสในพระบาท<br />

สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 สันนิษฐาน<br />

ว่า ท่านทรงออกแบบเองโดยได้รับแรงบันดาลใจจากการไป<br />

ศึกษาที่ประเทศอังกฤษ และเป็นยุคแรกๆ ที่ไทยรับอิทธิพล<br />

การออกแบบจากตะวันตก<br />

ตัวเรือนเป็นเรือนไม้ 2 ชั้น สร้างด้วยไม้สักทองทาสีเทา<br />

อ่อน ประดับด้วยกระจกสีฟ้า มีการวางห้องต่างๆ ให้ติดต่อกัน<br />

ได้สะดวก ในขณะเดียวกันก็คงลักษณะของบ้านในบริเวณเมือง<br />

ร้อนชื้นเอาไว้คือ มีหลังคาจั่ว ใต้ถุนสูง เพดานสูง หน้าต่าง<br />

บานเกล็ดหรือบานกระทุ้ง ลักษณะเด่นที่ต่างจากเรือนไทย<br />

ทั่วไป คือมีห้องใต้หลังคา เมื่อสร้างแล้วเสร็จ ทรงตั้งชื่อตาม<br />

เพลงไทยว่า “โหมโรงปฐมดุสิต”<br />

เมื่อ พ.ศ. 2527 ทายาทได้รื้อถอนแล้วมาสร้างใหม่ที่ซอย<br />

อัคนี โดยปรับเปลี่ยนรายละเอียดของอาคาร เช่น เพิ่มเสาและ<br />

ลูกกรง บุฝ้าเพดาน ปรับความสูงใต้ถุน เพิ่มห้องน้ำ ปูกระเบื้อง<br />

พื้นดิน เพื่อให้เหมาะกับการใช้งานในปัจจุบัน<br />

Villa Prathom was a villa in Phetchaboon Palace<br />

(Rajdamri Road, on the same location where the<br />

Central World Plaza is). The Villa belonged to His Royal<br />

Highness Prince Chudadhuj Dharadilok in King Rama V.<br />

There is evidence that the villa was designed by the<br />

Prince himself as the architect. His inspiration was<br />

from his background education in England. The villa,<br />

therefore, is the early case study of which the Thai<br />

architectural design was influenced by the Western style.<br />

The villa is a two-storey building with teak wood<br />

timber construction. It was decorated with blue tinted<br />

glass windows. The planning was based on full<br />

connectivity between rooms. Architectural design of the<br />

villa maintained the character of tropical architecture with<br />

raised ground floor, high ceiling under the high pitch roof,<br />

awning window with louvre infill. To make use of space<br />

under its high pitch roof, the attic was introduced. This<br />

was an unusual solution at that time.<br />

The Villa was dismantled in 1984 and has been<br />

relocated into the present location. There is addition of<br />

new balustrade, insulation, washroom under the raised<br />

floor, etc. in order to meet the present requirement.<br />

ปีที่ย้าย<br />

Year of<br />

relocate<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2527 พระวรวงศ์เธอ<br />

พระองค์เจ้าสุทธิสิริ<br />

โสภา<br />

1984 Her Royal Highness<br />

Princess Suthi<br />

Sirisopa<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณฤกษ์ดี โพธิวนากุล<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

สมเด็จพระเจ้าบรม<br />

วงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑา<br />

ธุชธราดิลก กรมขุน<br />

เพ็ชรบูรณ์อินทราชัย<br />

His Royal Highness<br />

Prince Chudadhuj<br />

Dharadilok, Prince<br />

of Petchaboon<br />

Intracha<br />

พื้นที่ งบประมาณ วัสดุ ที่ตั้ง<br />

Area Cost Material Location<br />

- - ไม้สักทอง ซอยอัคนี ถนน<br />

งามวงศ์วาน<br />

จังหวัดนนทบุรี<br />

- - teak wood<br />

timber<br />

Soi Akanee,<br />

Ngamwongwan<br />

Road,<br />

Nonthaburi<br />

Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

-<br />

424


425


บ้านร้านค้า<br />

“สงวนโพธิ์พระ”<br />

MERCHANT HOUSE “SA-NGUAN PHO PHRA”<br />

สถาปัตยกรรมไทยร่วมสมัย เพื่อให้กลมกลืนเป็นส่วนหนึ่งของ<br />

บริบทที่แวดล้อมไปด้วยเรือนไทยและสอดคล้องกับปัจจุบัน<br />

สมัย โดยการสรรเลือกลักษณะเด่นของเรือนไทย ได้แก่ การก<br />

ระจายมวลอาคารออกเป็นหลังย่อย การใช้เสาลอย ชานกว้าง<br />

และหลังคาชัน มาประยุกต์ใช้ในการออกแบบภายใต้รูปลักษณ์<br />

อาคารสมัยใหม่<br />

To achieve the harmony of Thai houses surrounding<br />

its context and present time, the Temporary Thai<br />

Architecture design were used. Major Thai house<br />

characters were chosen and adapted in contemporary<br />

architecture design. There are such as, the distribution<br />

of building masses; floating pillars; steep roof top.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2529 คุณจรัส-คุณสงวน<br />

อินพันทัง<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

ศาสตราจารย์ ดร.วีระ<br />

อินพันทัง<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

305 ตร.ม.<br />

งบประมาณ<br />

Cost<br />

2,000,000<br />

บาท<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

• คอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก<br />

• ไม้<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

บ้านวัด<br />

ตำบลโพธิ์พระ<br />

อำเภอเมือง<br />

จังหวัดเพชรบุรี<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

1989 Charaj - Sanguan<br />

Inpuntung<br />

Professor Dr.Vira<br />

Inpuntung<br />

Usable<br />

Space<br />

305 Sq.m.<br />

2,000,000<br />

Baht<br />

Reinforced<br />

concrete /<br />

Wood<br />

Ban Wat ,<br />

Pho Phra<br />

Subdistrict,<br />

Muang<br />

Phetchaburi<br />

District,<br />

Phetchaburi<br />

Province<br />

-<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : ศาสตราจารย์ ดร.วีระ อินพันทัง<br />

426


427


428


บ้าน ปอกิ๋น-ปออยู่<br />

ยะกิ๋น-ปั๋น-ขาย<br />

ฮับฮู้-จ่ายหัน<br />

“PO KIN-PO YUU YAKIN-PAN-KHAI<br />

HUBHUU-JAI HAN” HOUSE<br />

บ้าน ปอกิ๋น-ปออยู่ ยะกิ๋น-ปั๋น-ขาย ฮับฮู้-จ่ายหัน เป็นบ้าน<br />

ที่มีอายุ 30 ปี สร้างใน พ.ศ. 2530 โดยมีนางสมพิศ วิคี และนาย<br />

หมอกแก้ว วิคี เป็นเจ้าของ ปัจจุบันมีผู้อยู่อาศัยจำนวน 5 คน<br />

รูปแบบของบ้านหลังนี้มีลักษณะเป็นบ้านสองชั้น<br />

มีโครงสร้างเป็นไม้ผสมกับคอนกรีต โดยมีฐานรากเป็นคอนกรีต<br />

และต่อชายคาออกมาเพื่อใช้เป็นโรงจอดรถ บริเวณรอบบ้าน<br />

จะมีการปลูกพืชผักนานาชนิด ตั้งแต่ผักสวนครัวจนถึงไม้ผล<br />

โดยถือคติที่ว่า ปลูกทุกอย่างที่กินและกินทุกอย่างที่ปลูก เหลือ<br />

กินค่อยแจกจ่ายและขายต่อ<br />

Po Kin-Po Yuu Yakin-Pan-Khai Hubhuu-Jai Han House<br />

has been constructed since 1987, now is 30 years old.<br />

The present owners are Mrs.Sompis-Mr.Mhokkaew<br />

ViKee. Nowadays has 5 persons living in it.<br />

This house has 2 stories with mixed structure of wood<br />

and concrete, with concrete foundation, and extended<br />

roofing for the parking area. Around the house are<br />

vegetables and fruits growing by the concept to grow<br />

everything you eat and eat everything you grow, and to<br />

give away the excess or sell them.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2530 นางสมพิศ-<br />

นายหมอกแก้ว วิคี<br />

1987 Mrs.Sompis-<br />

Mr.Mhokkaew<br />

ViKee<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณฐิตรัตน์ ทองชู<br />

ผู้ออกแบบ พื้นที่ งบประมาณ วัสดุ ที่ตั้ง<br />

Designer Area Cost Material Location<br />

- 1 ไร่ - ไม้ผสมกับคอนกรีต 167 หมู่ 10<br />

ฐานรากเป็น บ้านป่า<br />

คอนกรีต ซางวิวัฒน์<br />

ตำบลนางแล<br />

อำเภอเมือง<br />

จังหวัดเชียงราย<br />

- 1 Rai - mixed structure<br />

of wood and concrete,<br />

concrete<br />

foundation<br />

167 Moo 10,<br />

Baan Pha Sang<br />

Wiwat, Nang<br />

Lae Subdistrict,<br />

Muang Chiang<br />

Rai District,<br />

Chiang Rai<br />

Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

20.022878<br />

99.521675<br />

429


บ้านเปรมปรีดิ์<br />

PRAMEPRI HOUSE<br />

บ้านหลังนี้เป็นบ้านของป้าต้อย และป้าต้อยก็เป็นป้าแท้ๆ<br />

ของฉัน เป็นบ้านหลังกลางๆ ไม่ได้ใหญ่โตมากมาย และอยู่ในสวน<br />

ที่ใช้ปลูกไม้ยืนต้นที่สามารถกินและใช้ในการทำอาหารได้<br />

ไม่ว่าจะเป็นผลไม้อย่างเช่น มะม่วง ฝรั่ง สับปะรด กล้วย และ<br />

มะพร้าว ที่นอกจากจะเป็นผลไม้แล้วยังเอามาคั้นกะทิท ำอาหาร<br />

หรือขนมได้ นอกจากนี้บริเวณรอบบ้านยังมีพืชผักสวนครัว ที่<br />

ปลูกเอาไว้ใช้ทำกับข้าว มีทั้งมะนาว มะกรูด พริก ใบกะเพรา<br />

โหระพา ข่า ตะไคร้ ที่นอกจากจะปลูกไว้ใช้เองได้แล้ว ยัง<br />

แบ่งให้เพื่อนบ้านในละแวกนั้นได้หยิบยืมไปใช้ได้อีกด้วย เมื่อ<br />

ไหร่ที่ใครต้องการ ก็เข้าไปเก็บได้เลย เพราะป้าต้อยไม่หวง<br />

ซึ่งนั่นก็สามารถแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนบ้าน<br />

ที่ยังหลงเหลืออยู่ ในแถบชานเมือง<br />

This house belongs to Aunt Toy, and she is my direct<br />

aunt. It is a moderate size house situate in the garden of<br />

perennial plants which can be used for cooking such as;<br />

mango, guava, pineapple, banana and coconut (which<br />

you can gain coconut milk to cook food or dessert with).<br />

Surrounding the house are home grown vegetables,<br />

for the use of cooking such as lime, kefir lime, chili, mint,<br />

sweet basil, thyme, galangal, and lemongrass. Apart form<br />

private use, the crops were spread among the community.<br />

Whenever any wants to use some they are allowed to<br />

pick up some as Aunt Toy doesn’t mind. This shows how<br />

closely lived neighbor of suburb area they are.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

2530 นางลำยอง เปรมปรีดิ์ นายอุดม เปรมปรีดิ์ พื้นที่ใช้สอย<br />

0.75 ไร่<br />

1987 Mrs.Lumyong<br />

Pramepri<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณทิภาพรรณ อาจทวีกุล<br />

Mr.Udom Pramepri Usable<br />

Space<br />

0.75 Rai<br />

งบประมาณ วัสดุ ที่ตั้ง<br />

Cost Material Location<br />

- ปูนผสมไม้ ถนนเลียบคลอง<br />

หก ตำบลคลอง<br />

หก อำเภอ<br />

คลองหลวง<br />

จังหวัดปทุมธานี<br />

- Masonry<br />

and Wood<br />

Leab Khlong<br />

Hok Road.,<br />

Khlong Hok<br />

Subdistrict,<br />

Klong Luang<br />

District,<br />

Pathum Thani<br />

Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

14.044411<br />

100.731479<br />

430


431


บ้านลุงบุญธรรม<br />

UNCLE BOONTHAM’S HOUSE<br />

เป็นบ้านพักอยู่อาศัยแบบครอบครัวใหญ่มีสมาชิก 6 คน<br />

อยู่อาศัยพึ่งพากันภายในครอบครัว โดยแรกเริ่มตัวบ้านเป็นบ้าน<br />

ไม้มีใต้ถุนสูง ต่อมามีการต่อเติมใต้ถุนให้เป็นชั้น 1 ให้สามารถ<br />

ใช้งานได้มากขึ้น ทำให้พื้นที่ว่างในบ้านนั้นเกิดประโยชน์ในการ<br />

ใช้งานมากขึ้นกว่าเดิม ด้วยบ้านนั้นมีพื ้นที่เยอะจึงมีการแบ่ง<br />

ส่วนทำเป็นซักอบรีด เป็นการหารายได้ให้ครอบครัวอีกหนึ่งทาง<br />

ลักษณะบ้านจะสะท้อนถึงความเป็นชุมชนออกมาเพราะลักษณะ<br />

ของบ้านในชุมชนส่วนใหญ่นั้นจะมีลักษณะไม่แตกต่างกันมากนัก<br />

It is a residence to a big family of 6 persons who all rely on<br />

each other. Originally the house has very high raised floor<br />

level, but later on, the ground level has been enclosed as<br />

room for more function. With plentiful spaces, living area<br />

were divided to the laundry business (for family earning).<br />

Therefore the house has shown the community way of<br />

life that is not very different from this house.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

432<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

2530 นายบุญธรรม เตรียม - พื้นที่ใช้สอย<br />

600 ตร.ม.<br />

1987 Mr.Boontham Trium - Usable<br />

Space<br />

600 Sq.m.<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณณัฐนันท์ ชุ่มมะโน<br />

งบประมาณ วัสดุ ที่ตั้ง<br />

Cost Material Location<br />

- ชั้นบน ชุมชนสหกรณ์<br />

เป็นไม้ นิคม1 หมู่ที่ 5<br />

ชั้นหนึ่งและ ตำบลหนองหาร<br />

เสาเป็น อำเภอสันทราย<br />

คอนกรีต จังหวัดเชียงใหม่<br />

เสริมเหล็ก<br />

- Upper level<br />

of Wooden,<br />

Ground<br />

level of<br />

reinforced<br />

concrete<br />

columns<br />

Sahakorn nikom<br />

Community 1<br />

Moo 5, Nong<br />

Han Subdistrict,<br />

San Sai District,<br />

Chiang Mai<br />

Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

18.876231<br />

99.013923


433


บ้านพัก ที่ทำการไปรษณีย์แม่ปิง<br />

MAE PING POST OFFICE RESIDENCE<br />

บ้านหลังนี้เป็นบ้านพักข้าราชการที่ทำงานไปรษณีย์ บ้านมี<br />

ความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย วัสดุที่ออกแบบเป็นวัสดุธรรมดาทั่วไป<br />

ไม่ได้หรูหราแต่มีความสวยงาม เนื่องจากบ้านหลังนี้อยู่ใกล้กับ<br />

แม่น้ำ จึงทำให้มีการยกใต้ถุนสูงเพื ่อรองรับภัยน้ำขึ้นสูง ซึ่ง<br />

ใต้ถุนบ้านสามารถที่ทำกิจกรรมอื่นๆ ได้อีก<br />

The residence of Post office’s official was design in<br />

a very simple way with local materials. Although not<br />

extravagant, the house has its natural beauty. As it is<br />

situated near Ping River, therefore, raised base design<br />

were applied to avoid the flooding crisis and to allow<br />

ground floor activities.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

2531 ไปรษณีย์แม่ปิง ฝ่ายกองช่าง พื้นที่ใช้สอย<br />

300 ตร.ม.<br />

1988 Mae Ping Post<br />

Office<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณปภังกร เอี่ยมสุริยะมงคล<br />

Department of<br />

Engineering<br />

Usable<br />

Space<br />

300 Sq.m.<br />

งบประมาณ วัสดุ<br />

Cost Material<br />

- โครงสร้าง<br />

ไม้ และ<br />

โครงสร้าง<br />

คอนกรีต<br />

- Wooden<br />

and<br />

concrete<br />

structure<br />

ที่ตั้ง พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

Location GPS<br />

ถนนไปรษณีย์ 18.788803<br />

ตำบลช้าง 99.002635<br />

ม่อย อำเภอ<br />

เมืองเชียงใหม่<br />

จังหวัดเชียงใหม่<br />

Prisanee Road,<br />

Chang Moi<br />

Subdistrict,<br />

Muang Chiang<br />

Mai District,<br />

Chiang Mai<br />

Province<br />

434


435


บ้านลุงตา<br />

UNCLE TA HOUSE<br />

บ้านเป็นบ้านไม้สำหรับข้าราชการ สะท้อนความเป็นอยู่ในยุค<br />

สมัยนั้น แม้ว่าจะเป็นบ้านสำหรับผู้มีฐานะ แต่ตัวบ้านก็ใช้<br />

ช่องเปิดที่สามารถถ่ายเทให้ลมเข้ามาในบ้านได้ อีกทั้งบริเวณ<br />

รอบบ้านยังสามารถปลูกพืชผักสวนครัวไว้กินเอง การด ำรงชีวิต<br />

จึงแสดงออกด้วยความเรียบง่ายและพอดีตน<br />

This house is a government officer’s wooden residence,<br />

which reflexes way of life in its period. Although it was<br />

residence of wealthy people, but it still has usage of exterior<br />

voids for intake natural wind for ventilation. Together with<br />

home grown vegetation around the property, this house<br />

shows the simplicity and just to its way of life.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

2531 บ้านพักข้าราชการ ฝ่ายกองช่างเทศบาล พื้นที่ใช้สอย<br />

350 ตร.ม.<br />

1988 Government officer<br />

Residence<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณภาณุพงศ์ มณีรัตน์<br />

Municipal<br />

Mechanics<br />

Division<br />

Usable<br />

Space<br />

350 sq.m.<br />

งบประมาณ วัสดุ<br />

Cost Material<br />

- โครงสร้าง<br />

เดิมเป็น<br />

บ้านไม้<br />

ใต้ถุนสูง<br />

- Original<br />

was raised<br />

floorwooden<br />

house<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

ที่ทำการ<br />

ไปรษณีย์แม่<br />

ปิง ตำบลช้าง<br />

ม่อย อำเภอ<br />

เมืองเชียงใหม่<br />

จังหวัดเชียงใหม่<br />

Mae Ping Post<br />

Office, Chang<br />

Moi Subdistrict,<br />

Muang Chiang<br />

Mai District,<br />

Chiang Mai<br />

Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

18.789029<br />

99.002930<br />

436


437


เคหะชุมชนประชานิเวศน์ 4<br />

PRACHANIWES 4 PUBLIC HOUSING<br />

ประชานิเวศน์ 4 เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพิเศษและบริการ<br />

ชุมชนตามแผนงานพัฒนาที่อยู่อาศัยของการเคหะแห่งชาติปี<br />

2531 - 2534 และอยู่ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม<br />

แห่งชาติฉบับที่ 6 (2530 - 2534) โดยจัดทำเป็นโครงการเช่า<br />

ซื้ออาคารพร้อมที่ดินรวมสาธารณูปโภค สาธารณูปการและ<br />

อื่นๆ สำหรับผู้มีรายได้ปานกลางค่อนข้างสูงถึงรายได้สูง ทั้งนี้<br />

การคิดราคาขายจะคิดค่าเช่าซื้อต่อเดือนตามความสามารถใน<br />

การจ่ายเพื่อที่อยู่อาศัยของแต่ละรายได้ กำหนดผ่อนชำระได้<br />

ในระยะยาวถึง 15 ปี<br />

National Housing Authority started developing<br />

Prachaniwes 4 Housing as a hire-purchase project<br />

that includes accommodation, land, and facilities<br />

for middle to high income population. Monthly<br />

installments are based on an individual’s ability to<br />

pay for housing. Installment payments can be as<br />

long as 15 years.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

2532 การเคหะแห่งชาติ การเคหะแห่งชาติ ที่ดิน<br />

โครงการ<br />

41 ไร่ 35<br />

ตร.วา<br />

1989 National Housing<br />

Authority<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : การเคหะแห่งชาติ<br />

National Housing<br />

Authority<br />

Project’s<br />

Plot Size<br />

41 Rai 35<br />

sq.wa<br />

งบประมาณ วัสดุ ที่ตั้ง<br />

Cost Material Location<br />

- - ถนนประชาชื่น<br />

ตำบลท่าทราย<br />

อำเภอเมือง<br />

จังหวัดนนทบุรี<br />

- - Prachachuen<br />

Road, Ta Sai<br />

Subdistrict,<br />

Muang District,<br />

Nonthaburi<br />

Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

-<br />

438


439


บ้านตุ๊กตา<br />

DOLLS HOUSE<br />

บ้านตุ๊กตา เดิมเป็นตำหนักของศาสตราจารย์ ม.จ.โวฒยากร<br />

วรวรรณ ผู้ทรงเป็นสถาปนิกและทรงออกแบบบ้านหลังนี้เพื่อ<br />

เป็นตำหนักของท่านและเป็นเรือนหอสืบต่อมา<br />

รูปแบบสถาปัตยกรรมเป็นอาคารย้อนยุคที่ได้รับอิทธิพล<br />

อาร์ท แอนด์ คราฟท์ของอังกฤษ ตัวอาคารมี 2 ชั้น และห้อง<br />

ใต้ดิน 1 ชั้น โครงสร้าง half-timber คือ มีโครงหลักเป็นไม้เต็ง<br />

รังและไม้สัก ผนังระแนงไม้สักตีตามนอนฉาบปูนเรียบ ส่วน<br />

กระเบื้องมุงหลังคานั้น ท่านได้ทรงออกแบบขึ้นและสั่งทำเป็น<br />

พิเศษ โดยใช้ซีเมนต์ผสมทรายเทลงในแบบไม้ รีดให้เป็นแผ่น<br />

รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าหางตัด มีความหนากว่ากระเบื้องหินชนวน<br />

เล็กน้อย ส่วนกระเบื้องตัวริมนั้น ทรงออกแบบให้ริมกระเบื้อง<br />

โค้งเข้า เพื่อปิดขอบไม้ด้านจั่วกันไม้ผุ นอกจากนี้ท่านได้ทรง<br />

ออกแบบระบบห้องใต้ดินที่สมบูรณ์แบบ ด้วยเหตุนี้บ้านตุ๊กตา<br />

จึงเป็นสถาปัตยกรรมตัวอย่างที่ประกอบด้วยความงาม ความ<br />

พิถีพิถันในการออกแบบจนถึงรายละเอียด และเนื้อหาสาระที่<br />

ควรค่าแก่การศึกษาเป็นอย่างยิ่ง<br />

ใน พ.ศ. 2532 ได้มีการปรับปรุงบ้านบางส่วน อาทิ<br />

ดัดแปลงบานหน้าต่างจากบานทึบเป็นกระจกใส และต่อเติม<br />

ห้องน้ำชั้นบน ออกแบบปรับปรุงโดย ม.ร.ว. ชาญวุฒิ วรวรรณ<br />

ปัจจุบันอาคารนี้ได้ให้เช่าทำเป็นศูนย์สุขภาพและความงาม<br />

Dolls House was once the residence of M.C.Wothayakorn<br />

Worawan who was architect and designer of this house<br />

as his residence and later on, his bridal house.<br />

The house were 2 stories high and 1 basement house<br />

with English Art and Crafts influenced style. With the<br />

structural of Half-timber; main structure of Teak and<br />

Shorea wood. Wooden teak walls in vertical paneling<br />

finished with mortar. Roof top finshing with custom made<br />

cement roof tiles that were mold in corner rectangle<br />

shape, and slightly thicker than slate tiles. Ending roof tile<br />

were designed specially curved in to cover the gable edge<br />

and to prevent wood decay. Also, the basement was<br />

perfectly designed with basement system too. Therefore,<br />

Dolls House is one of an exceptional sample of detailed<br />

architecture, and very much worth to be studied of.<br />

In 1989 the renovation took place at some of the area<br />

such as; replacement of glass window to the old wooden<br />

ones, an additional upstairs bathroom. Renovation were<br />

designed by M.R. Chanwut Worawan. Nowadays, this<br />

building has turned into a health and beauty center.<br />

ปีที่ปรับปรุง<br />

Year<br />

of renovate เจ้าของ<br />

Owner<br />

2532 หม่อมจิตรา วรวรรณ<br />

ณ อยุธยา<br />

1989 Consort Chittra<br />

Worawan Na<br />

Ayutthaya<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : หม่อมหลวงวรุตม์ วรวรรณ<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

ม.จ. โวฒยากร<br />

วรวรรณ<br />

ออกแบบปรับปรุง<br />

: ม.ร.ว. ชาญวุฒิ<br />

วรวรรณ<br />

M.C. Wothayakorn<br />

Worawan<br />

Renovator : M.R.<br />

Chanwut Worawan<br />

พื้นที่ งบประมาณ วัสดุ<br />

Area Cost Material<br />

- - โครงสร้าง<br />

ไม้<br />

- - Wooden<br />

Structure<br />

ที่ตั้ง พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

Location GPS<br />

42 ซอยต้นสน -<br />

ถนนเพลินจิต<br />

แขวงลุมพินี เขต<br />

ปทุมวัน กรุงเทพฯ<br />

42 Soi Tonson,<br />

Ploenchit<br />

Road, Lumpini<br />

Subdistrict,<br />

Phatumwan<br />

District,<br />

Bangkok<br />

-<br />

440


441


บ้านพักข้าราชการ<br />

โดยกรมโยธาธิการและผังเมือง<br />

GOVERNMENT OFFICER HOUSE BY THE DEPARTMENT OF<br />

PUBLIC WORKS AND TOWN & COUNTRY PLANNING<br />

จากการสืบค้นข้อมูลแบบบ้านพักข้าราชการ โดยกรมโยธาธิ<br />

การและผังเมืองเป็นผู้ออกแบบ พบว่าแบบย้อนหลังเท่าที่พบ<br />

เป็นแบบที่จัดทำเมื่อปี พ.ศ. 2537 ซึ ่งในสมัยนั้นกรมโยธาธิ<br />

การและผังเมือง ยังใช้ชื่อว่ากรมโยธาธิการ (การเปลี่ยนชื่อสืบ<br />

เนื่องมาจากแผนปฏิรูประบบราชการไทย พ.ศ. 2545 ส่งผลให้<br />

เกิดการควบรวมของกรมโยธาธิการและกรมการผังเมือง เป็น<br />

กรมโยธาธิการและผังเมือง)<br />

แบบบ้านพักข้าราชการกรมโยธาธิการ จัดทำขึ้นมาตาม<br />

นโยบายของกระทรวงมหาดไทยในขณะนั้น มีวัตถุประสงค์เพื่อ<br />

ใช้ก่อสร้างให้กับข้าราชการภายในสังกัดกระทรวงมหาดไทย<br />

ทั่วประเทศ โดยเป็นสวัสดิการให้กับข้าราชการที่บรรจุอยู่ใน<br />

พื้นที่ที่ไม่ใช่ภูมิลำเนาเกิดของตนเองได้มีที่พักใกล้กับที่ทำงาน<br />

นอกจากนี้แบบบ้านดังกล่าวสามารถให้หน่วยงานราชการอื่นๆ<br />

ที่ต้องการนำไปใช้ก่อสร้างได้ด้วย<br />

The oldest blueprint of government officer house<br />

designed by the Department of Public Works and<br />

Town & Country Planning was from 1994. The Ministry<br />

of Interior decided to build houses as welfare for<br />

officials who had to relocate for work. The department<br />

was assigned to come up with the design that’s<br />

functional, simple, economical, and appropriate to<br />

local geography. And it must be versatile enough for<br />

other government agencies to use as well.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

2537 กระทรวงมหาดไทย กรมโยธาธิการและ<br />

ผังเมือง<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

65 - 118<br />

ตร.ม.<br />

งบประมาณ<br />

Cost<br />

660,000 -<br />

1,082,000<br />

บาท<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

คอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

ตามหน่วยงาน<br />

ราชการต่างๆ<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

1994 Ministry of Interior Department of<br />

Public Works and<br />

Town & Country<br />

Planning<br />

Usable<br />

Space<br />

65-118<br />

Sq.m.<br />

660,000 -<br />

1,082,000<br />

Baht<br />

Reinforced<br />

concrete<br />

in available<br />

properties of<br />

government<br />

agencies<br />

-<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : สำนักสถาปัตยกรรม กรมโยธาธิการและผังเมือง<br />

442


443


บ้านต้นแก้ว บ้านรัตนพฤกษ์<br />

TON KAEW HOUSE, RATTANAPRUEK HOUSE<br />

ผู้ออกแบบมีแนวคิดในการดำรงชีวิตที่สมถะ เรียบง่าย ไม่<br />

วุ่นวาย ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อนและเป็นภาระน้อยที่สุด ซึ่งรวมถึง<br />

สิ่งแวดล้อมธรรมชาติรอบตัวมนุษย์ด้วย ผู้ออกแบบเห็นว่าการ<br />

ใช้ชีวิตของมนุษย์คนหนึ่งไม่ได้ต้องการที่ว่างที่กว้างขวางและ<br />

โครงสร้างที่ใหญ่โตนัก การจะสร้างที่อยู่อาศัยที่มีพื้นที่พอควร<br />

แต่ได้ประโยชน์ใช้สอยครบถ้วนในวิถีชีวิตประจำวันจึงเป็น<br />

โจทย์หลักของบ้านหลังนี้ ซึ่งเป็นบ้านของผู้ออกแบบเองอยู่กับ<br />

ภรรยาและลูกสาวหนึ่งคน โดยที่ผู้ออกแบบและครอบครัวรู้สึก<br />

ประทับใจสภาพเมืองและวิถีชีวิตอันเรียบง่ายของคนเชียงใหม่<br />

จึงได้ตัดสินใจย้ายจากกรุงเทพฯ ขึ้นมาอยู่ที่นี่เมื่อลูกสาวเข้า<br />

เรียนในระดับอุดมศึกษาในเชียงใหม่ ลักษณะของบ้านพัก<br />

อาศัยจึงเป็นอาคารที่เรียบง่ายที่สุด ใช้หลังคาปั้นหยาซึ่งเข้า<br />

กับสถาปัตยกรรมเขตร้อนได้ดี มีผังพื้นแบบประหยัดพื้นที่แต่<br />

ประโยชน์ใช้สอยครบ โดยมีขนาดอาคาร 6 x 8 เมตร และมี<br />

ระยะห่างเสา 2 ช่วง คือ 3 x 4.5 เมตร และ 3 x 3.5 เมตร มี<br />

ห้องน้ำแยกตรงกลางระหว่างห้องนอนสองห้องทำให้ประหยัด<br />

ทางสัญจรภายในและมีผนังเป็นตู้เสื้อผ้า (wall unit) ไปในตัว<br />

แก้ปัญหาที่ห้องอาจดูเล็กคับแคบโดยใช้เปิดช่องหน้าต่าง<br />

บานเกล็ดหลายบานแทนบานเปิด ทำให้ไม่เปลืองที่ด้านนอก<br />

และได้ลมเต็มที่ การออกแบบเน้นการประหยัดวัสดุก่อสร้าง<br />

และพลังงานในการก่อสร้างเพื่อรบกวนธรรมชาติให้น้อยที่สุด<br />

โดยใช้โครงสร้างคอนกรีตแผ่นพื้นสำเร็จรูป ผนังก่ออิฐโชว์แนว<br />

ไม่ฉาบทาสี ไม่มีการแต่งเติมประดับประดาให้เห็นถึงเนื้อวัสดุ<br />

ที่แท้จริง หลังคาเป็นทรงปั้นหยายื่นชายคาคลุมอาคารทุกด้าน<br />

โดยคลุมทางเดินและพื้นที่พักผ่อน<br />

แนวคิดในการวางผังกลุ่มอาคารยังเน้นแนวคิดให้เป็นบ้าน<br />

ที่เรียบง่ายเหมือนกลุ่มบ้านพักตากอากาศที่ชายคากันแดดกัน<br />

ฝนได้รอบด้านเพราะมีความยาวถึง 1.5 เมตร การเว้นระยะ<br />

ห่าง ของอาคารสอดรับกับส่วนยื่นของชายคาที่มาบรรจบกัน<br />

พอดี ทำให้อาคารมีทางเดินระหว่างอาคารแต่ละหลังเชื่อมต่อ<br />

อาคารมีหลังคาคลุมหมดกันแดดกันฝนได้อย่างดี ผังพื้นเป็น<br />

อาคาร 3 หลัง มีขนาดเท่ากันแบ่งห้องได้ 6 ห้อง มีห้องน้ำ<br />

ในตัวทุกห้อง เนื่องจากเจ้าของบ้านมีพี่น้อง 5 คน จึงมีความ<br />

ใฝ่ฝันอยากให้มีห้องพักให้น้องทั้ง 5 คนเวลามาพักที่เชียงใหม่<br />

ซึ่งตัวผู้อยู่อาศัยหลักนั้นใช้พื้นที่ประจำวันเพียงแค่ 18 ตาราง<br />

เมตรเท่านั้น บ้านหลังนี้จึงเป็นการออกแบบที่มีความเรียบง่าย<br />

สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบพอเพียงของผู้ออกแบบและอยู่อาศัย<br />

The designer and owner of the house has a modest<br />

principle for living that human should create the least<br />

burden to others including our natural environment.<br />

The architect believed that good quality of life does not<br />

need spacious space or gigantic structure. Therefore,<br />

the main task for designing this house is to provide the<br />

optimal space but fully cover the owner’s everyday life<br />

activities. The architect and his family (comprised of his<br />

wife and a daughter) decided to move to Chiang Mai<br />

partly because of their impression of the atmosphere<br />

of Chiang Mai and her residents’ simple and slow<br />

life pattern. The house reflected this main concept<br />

clearly as its elements were designed to suit natural<br />

environment of Chiang Mai. The hip roof was selected<br />

because it is best to withstand the tropical climate. The<br />

planning arrangement of the house is very simple and<br />

minimal space but fulfills all required functions with 3<br />

buildings in equal size of 6 x 8 meters combining the<br />

2 modules of 3 x 3.5 meters. A bathroom-units were<br />

placed in between two bedrooms therefore reduce<br />

space for circulation and create wall units for both<br />

best rooms. Large windows with side louvers were<br />

placed bringing light and view to counterbalance the<br />

small space and provide ventilation for the room.<br />

The design also emphasizes on saving energy and<br />

materials during the construction period. The smart<br />

choice of pre-cast concrete floor was used as it<br />

shortened the time of construction and masonry wall<br />

without plaster work also saved labor cost and simply<br />

revealed the truth of materials. The hip roof eaves<br />

cover the walkway and resting pavilion protecting them<br />

from strong sunlight and tropical rainstorm.<br />

444


ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2537 ผู้ช่วยศาสตราจารย์<br />

สุริยา รัตนพฤกษ์<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์<br />

สุริยา รัตนพฤกษ์<br />

พื้นที่ งบประมาณ<br />

Area Cost<br />

ที่ดิน 438 1,700,000<br />

ตร.วา บาท<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

200 ตร.ม.<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

คอนกรีต<br />

สำเร็จรูป<br />

ที่ตั้ง พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

Location GPS<br />

หมู่บ้านดงตาล -<br />

ตำบลห้วยทราย<br />

อำเภอสันกำแพง<br />

จังหวัดเชียงใหม่<br />

1994 Assistant<br />

Professor Suriya<br />

Rattanapruek<br />

Assistant<br />

Professor Suriya<br />

Rattanapruek<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุริยา รัตนพฤกษ์<br />

ดร.วรสิทธิ์ ตันตินิพันธุ์กุล<br />

Plot Size<br />

438 Sq.wa<br />

Usable<br />

Space<br />

200 Sq.m.<br />

1,700,000<br />

Baht<br />

Precast<br />

concrete<br />

Moo Baan<br />

Dong Tan,<br />

Huay Sai<br />

Subdistrict, San<br />

Kamphaeng<br />

District, Chiang<br />

Mai Province<br />

-<br />

445


บ้าน(นอก)เข้ากรุง<br />

BAN (NOK) KHAO KRUNG<br />

เป็นบ้านที่เกิดจากการย้ายถิ่นฐานตามลูกหลาน โดยที่ใช้<br />

“ไม้ชุดเดิม” ตั้งแต่ตัดต้นไม้จากป่ามาสร้างบ้านสมัยหลัง<br />

สงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2499) โดยผ่านกาลเวลาควบคู่กับ<br />

การเติบโตของครอบครัวจากต่างจังหวัด ย้ายเข้ามาอยู่ในเมือง<br />

ในที่ดินผืนติดกับลูกหลาน เพื่ออยู่ด้วยกันกับลูกและหลาน<br />

เป็นลักษณะครอบครัวขยาย<br />

การเดินทางของบ้าน<br />

พ.ศ. 2499<br />

- เรือนหอไทยพื้นถิ ่น เป็นจุดเริ่มต้นของครอบครัวสร้าง<br />

เมื่อแต่งงานที่อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์<br />

พ.ศ. 2525-2527<br />

- บ้านสวนพอเพียง รื้อเรือนหอมาสร้างบ้านในที่นา<br />

จัดทำเป็นสวนเพื่ออยู่อาศัยหลังเกษียณราชการ ตามลักษณะ<br />

เศรษฐกิจพอเพียงของรัชกาลที่ 9 ที่อำเภอหนองกี่ จังหวัด<br />

บุรีรัมย์<br />

พ.ศ. 2544-2547<br />

- บ้าน (นอก) เข้ากรุง รื้อไม้เดิมมาสร้างบ้านในเมืองหลวง<br />

กรุงเทพฯ เพื่อเป็นศูนย์รวมของครอบครัว อยู่ร่วมกัน 3<br />

Generations โดยยังคงองค์ประกอบ และ space ลักษณะ<br />

บ้านเดิมที่เคยอยู่ มาจัดใหม่ เช่น พื้นที่ครัวและทานอาหาร<br />

ครัวฟืน ครัวถ่าน เป็นต้น การจัดการพื้นที่ใช้สอยที่กระชับ<br />

พอดีตัว ไม่ฟุ่มเฟือย<br />

The house had been moved to follow the younger<br />

generation by constructing with the same wooden<br />

part cut since WWII 1956. Over the time, and family<br />

changes from rural to urban life to live with their heirs<br />

in extended family style.<br />

This house has traveled through time<br />

- From 1956 as bridal house of traditional Thai House<br />

was the start of its history. It was built for the wedding<br />

ceremony in Buriram Province.<br />

- 1982-1984 the house were torn down and<br />

re-built in the rice field and orchard, in concept of<br />

retirement with sufficient economy from His Majesty<br />

King Bhumibol Adulyadej (Rama IX)’s theory, at Nong<br />

Ki District, Buriram Province.<br />

- 2001 - 2004 Ban (Nok) Khao Krung the old house<br />

has been torn down and use the old wooden parts<br />

to build another house in Bangkok of purpose to be<br />

residence of an extended 3 generations family house.<br />

The space and ornamental of the house still remain<br />

from the old house with revision of kitchen, dining<br />

area, Wood stove area to match with the sufficient<br />

economy theory.<br />

446


ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2544 คุณแคล้ว-เครือวัลย์<br />

เทพา<br />

2001 Mr.Klaew and Mrs.<br />

Krueawal Tepa<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณรัตน์วนิช เทพา<br />

ผู้ออกแบบ พื้นที่ งบประมาณ<br />

Designer Area Cost<br />

คุณรัตน์วนิช เทพา ที่ดิน 200 1,000,000<br />

ตร.วา บาท<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

ตัวบ้าน 95<br />

ตร.ม.<br />

Rath Wanich Tepa<br />

Plot Size<br />

200 sq.wa<br />

Usable<br />

Space<br />

95 Sq.m.<br />

1,000,000<br />

Baht<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

โครงสร้าง<br />

ไม้ ผสม<br />

ฐาน<br />

คอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก<br />

Wood,<br />

Reinforced<br />

concrete<br />

foundation<br />

ที่ตั้ง พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

Location GPS<br />

106/335 ซอย -<br />

นวมินทร์ 70<br />

แยก 6-1 หมู่ 6<br />

ถนนนวมินทร์<br />

แขวงคลองกุ่ม<br />

เขตบึงกุ่ม กรุงเทพฯ<br />

106/335, Soi<br />

Nawamin 70<br />

Yaek 6-1, Moo 6,<br />

Nawamin Road.,<br />

Khlong Kum<br />

Subdistrict,<br />

Bueng Kum<br />

District,<br />

Bangkok<br />

-<br />

447


บ้านศรีวงพงษ์ไพร<br />

SRIWONGPONGPRAI HOUSE<br />

บ้านหลังนี้เป็นบ้านของนางสาวเกี้ยม ศรีวงพงษ์ไพร ซึ่งอยู่กับ<br />

น้องสาวแค่สองคน บ้านหลังนี้สร้างและออกแบบกันเองโดยช่าง<br />

ในชุมชน บริเวณรอบบ้านได้แบ่งพื้นที่ในการปลูกผักสวนครัว<br />

บริเวณหน้าบ้าน และสวนหลังบ้านได้ปลูกพืชยืนต้นในการให้<br />

ร่มเงาและเป็นอาหาร และมีบ่อน้ ำที่ใช้กักเก็บน้ ำไว้ใช้ในยามหน้า<br />

แล้ง ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ส่วนพืชผักที่เหลือจากการกินก็<br />

นำไปขายเพื่อสร้างรายได้<br />

This house belongs to Miss Kieam Sriwongpongprai,<br />

whom has lived with her sister alone. They designed and<br />

constructed this house by the help of local contractors.<br />

Around the house were divided into home grown<br />

vegetables at house entrance, and at back yard for<br />

growing perennial plants to provide shade and food,<br />

together with water well for the use in the dry season.<br />

Following the sufficient economy concept, the excess<br />

vegetables is for sale to earn living.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2545 นางสาวเกี้ยม<br />

ศรีวงพงษ์ไพร<br />

ผู้ออกแบบ พื้นที่<br />

Designer Area<br />

- ที่ดิน<br />

11 ไร่<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

150 ตร.ม.<br />

งบประมาณ วัสดุ<br />

Cost Material<br />

- โครงสร้าง<br />

ไม้ และ<br />

ฐานราก<br />

คอนกรีต<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

37 หมู่ 3<br />

ตำบลท่าล้อ<br />

อำเภอท่าม่วง<br />

จังหวัด<br />

กาญจนบุรี<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

13.975559<br />

99.600751<br />

2002 Miss Kieam<br />

Sriwongpongprai<br />

- Plot Size<br />

11 Rai<br />

Usable<br />

Space<br />

150 Sq.m.<br />

- Wooden<br />

Structure<br />

with<br />

concrete<br />

foundation<br />

37 Moo 3, Tha<br />

Lo Subdistrict,<br />

Tha Muang<br />

District,<br />

Kanchanaburi<br />

Province<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณณัฐชยา พูลสวัสดิ์<br />

448


449


บ้านครอบครัวกงสี<br />

GONG SI’S FAMILY HOUSE<br />

ทางเจ้าของบ้านต้องการที่อยู่สำหรับครอบครัวใหญ่ “ผม<br />

ต้องการบ้านสำหรับครอบครัวใหญ่ ดีไซน์คลาสสิค แบบที่สร้าง<br />

ทีเดียวจบ แบบไม่ตกยุค”<br />

เป็นยุคเศรษฐกิจเฟื่องฟูมีเศรษฐีใหม่เกิดขึ้นหลาย<br />

ครอบครัว ผู้คนให้ความสนใจกับบ้านสไตล์หลุยส์คลาสสิค<br />

ถือเป็นเทรนด์การสร้างบ้านอีกรูปแบบของช่วงนั้น จึง<br />

ทำให้เห็นโดยทั่วไปทั้งแบบสมบูรณ์และแบบประยุกต์ใช้<br />

Owner had required residence for a large family. “I want<br />

a house for my large family with classy design on one<br />

construction that will not be out of trend”<br />

Design’s Factor : At the rise of the economy period, there<br />

were many new millionaire. Lots of people were interested<br />

in the classic style architecture of Classic Louis style.<br />

Therefore many new houses were built of the perfect<br />

imitation and the implemented style.<br />

ปีที่สร้าง เจ้าของ ผู้ออกแบบ พื้นที่ งบประมาณ วัสดุ<br />

Year Owner Designer Area Cost Material<br />

2546 คุณสุธน คุณชนิณ ที่ดิน ราว คอนกรีต<br />

3,158.55 60,000,000 เสริมเหล็ก<br />

ตร.ม. บาท<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

2,318<br />

ตร.ม.<br />

2003 Mr.Suthon Mr.Chanin Plot Size about Reinforced<br />

3,158.55 60,000,000 concrete<br />

Sq.m. Baht structure<br />

Usable<br />

Space<br />

2,318<br />

Sq.m.<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : นางสาวศิริวัณณ จุ้ยกระจ่าง<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

ซอย<br />

กำนันแม้น 11<br />

แขวงบางบอน<br />

เขตบางบอน<br />

กรุงเทพฯ<br />

Soi Kamnan<br />

Mann 11, Bang<br />

Bon Subdistrict,<br />

Bang Bon<br />

District,<br />

Bangkok<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

450


451


บ้านเอื้ออาทร<br />

BAAN UARARTHORN (GOVERNMENT HOUSING PROJECT)<br />

สำหรับผู้มีรายได้น้อย ข้าราชการและพนักงานหน่วยงานของ<br />

รัฐชั้นผู้น้อย การเป็นเจ้าของบ้านสักหลังย่อมจะเป็นหนึ่งใน<br />

ความปรารถนาอันสูงสุด บางคนโชคดีที่มีโอกาสทำความหวัง<br />

ให้กลายเป็นความจริงได้ หากสำหรับบางคนดูเหมือนว่า<br />

ความหวังนั้นกลับไกลเกินเอื้อมถึง แต่แล้วรัฐบาลได้มอบ<br />

โอกาสให้แก่ประชาชนได้มีที่อยู่อาศัยซึ่งได้มาตรฐานสมราคา<br />

เกิดเป็นโครงการบ้านเอื้ออาทร และกลายเป็นโครงการที่นำ<br />

ความสุข นำรอยยิ้มมาสู่สังคมไทยโดยมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ<br />

วันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2546 ให้จัดสร้างบ้านเอื้ออาทรจำนวน<br />

601,727 หน่วย ภายในระยะเวลา 5 ปี ต่อมาให้ลดลงเหลือ<br />

281,556 หน่วย<br />

โครงการบ้านเอื้ออาทรแต่ละชุมชนทั่วประเทศมีรูปแบบ<br />

แตกต่างกันตามลักษณะของพื้นที่โดยมีจุดเด่นของโครงการ<br />

คือ ทำเลที่ตั้งซึ่งไม่ห่างไกลจากชุมชนมากนัก สามารถเดิน<br />

ทางเข้าออกได้สะดวก แวดล้อมด้วยสถานที่สำคัญกับวิถีชีวิต<br />

ของประชาชน ทั้งโรงเรียน วัด โรงพยาบาล แหล่งงาน และ<br />

ห้างสรรพสินค้า ประชาชนผู้สนใจเช่าซื้อสามารถกู้เงินจาก<br />

ธนาคารออมสินได้เต็มวงเงิน โดยวางเงินจองเพียง 3,000 บาท<br />

กับธนาคารอาคารสงเคราะห์ และสามารถผ่อนชำระเงินจองได้<br />

ถึง 10 เดือน โดยไม่ต้องเสียดอกเบี้ย<br />

Owning a house is an ultimate yet almost unattainable<br />

dream for people in the low-income segment, most<br />

of which are low-ranking government officials and<br />

blue-collared workers. Aiming to provide them with<br />

affording housing, the Cabinet approved Baan Uararthorn<br />

project in 2003 to complete 601,727 housing units within<br />

5 years, then later reduced the number to 281,556 units.<br />

Baan Uararthorn is a nationwide housing project.<br />

It comes in different schemes based on location<br />

though there are some mandatory qualities that all of<br />

them share. Baan Uararthorn must be conveniently<br />

accessible, near places that are relevant to people’s<br />

lives like schools, temples, hospitals, shopping malls,<br />

and job opportunities. Interested buyers can apply for<br />

100% loan from Government Savings Bank. First down<br />

payment is only 3,000 baht. The down payment can be<br />

paid in installments for 10 months without any interest.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

งบประมาณ<br />

Cost<br />

2546 การเคหะแห่งชาติ การเคหะแห่งชาติ - ราคาเริ่มต้น<br />

390,000<br />

บาท<br />

2003 National Housing<br />

Authority<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : การเคหะแห่งชาติ<br />

National Housing<br />

Authority<br />

- Price starts<br />

at 390,000<br />

Baht<br />

วัสดุ ที่ตั้ง พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

Material Location GPS<br />

- - -<br />

- - -<br />

452


453


บ้านพักพนักงาน<br />

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค<br />

STAFF HOUSE, PROVINCIAL ELECTRICITY AUTHORITY<br />

หลังจากที่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคได้จัดทำแบบก่อสร้าง<br />

ไว้เมื่อปี 2517 ต่อมาสภาวะแวดล้อมทางกายภาพและทั้ง<br />

ทางเศรษฐกิจ สังคมการเมือง วิทยาการและเทคโนโลยี มี<br />

การพัฒนาเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค<br />

จึงพิจารณาทบทวนปรับปรุงโครงสร้างการบริหารงานให้<br />

สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน ส่งผลให้การไฟฟ้าส่วน<br />

ภูมิภาคมีนโยบายในการก่อสร้างบ้านพักพนักงานลดลง และ<br />

ให้ก่อสร้างตามพื้นที่ที่จำเป็น ตลอดจนวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้าง<br />

ตามแบบเดิม ไม่มีความเหมาะสมกับสภาพปัจจุบัน จึงทำให้มี<br />

การปรับเปลี่ยนแบบก่อสร้างบ้านพักพนักงานในหลายๆ ครั้ง<br />

ครั้งสุดท้ายที่มีการปรับปรุงแบบก่อสร้างบ้านพักพนักงาน<br />

ก่อนที่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจะมีนโยบายไม่มีการก่อสร้าง<br />

บ้านพักพนักงานแล้วนั้นเป็นแบบก่อสร้าง “บ้านพักพนักงาน<br />

4 ครอบครัว” ออกแบบโดย กองสถาปัตยกรรมการไฟฟ้าส่วน<br />

ภูมิภาค เมื่อปี 2547 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก (คสล.)<br />

2 ชั้น ดังนี้<br />

- ชั้นล่าง โครงสร้างพื้น คสล. หล่อในที่ ปูกระเบื้อง<br />

เซรามิค ผนังก่ออิฐฉาบปูนเรียบทาสี<br />

- ชั้นบน โครงสร้างพื้น คสล. สำเร็จรูป ปูกระเบื้อง<br />

เซรามิค ผนังก่ออิฐฉาบปูนเรียบทาสี<br />

มีพื้นที่ใช้สอย 400 ตารางเมตร (สำหรับ 4 ครอบครัว) ประกอบ<br />

ไปด้วย พื้นที่รับแขก-พักผ่อน ห้องอาหาร ห้องครัว ห้องน้ำ<br />

ลานซักล้าง ห้องนอน 2 ห้อง ระเบียง ค่าก่อสร้างประมาณ<br />

3,000,000 บาท<br />

Since1974 when PEA staff house design was<br />

developed, the country had gone through a lot of<br />

changes economically, socially, politically, and<br />

technologically. In response to these changes, PEA<br />

decided to reorganize its working structure including<br />

reducing the number of new houses. Staff house<br />

design and construction materials were also adapted<br />

in many occasions to reflect the circumstance.<br />

The last design update before PEA house policy<br />

was permanent terminated was “staff house for 4<br />

families” done by the architecture department in<br />

2004. The house has two floors and uses reinforced<br />

concrete structure.<br />

- Ground floor is cast-in-place concrete finished<br />

with ceramic tiles. Walls are plastered and<br />

painted.<br />

- Upper floor is concrete slabs finished with<br />

ceramic tiles. Walls are plastered and painted.<br />

400 Sq.m. usable space for 4 families Each unit<br />

composes of living and family area, dining area,<br />

kitchen, bathrooms, laundry area, 2 bedrooms, and<br />

balconies. Construction cost is approximately 3<br />

million baht.<br />

454


ปีที่สร้าง เจ้าของ<br />

Year Owner<br />

2547 การไฟฟ้าส่วน<br />

ภูมิภาค<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

กองสถาปัตยกรรม<br />

การไฟฟ้าส่วน<br />

ภูมิภาค<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

400 ตร.ม.<br />

(สำหรับ 4<br />

ครอบครัว)<br />

งบประมาณ<br />

Cost<br />

3,000,000<br />

บาท<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

คอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

ภายในสถานี<br />

ไฟฟ้า และ<br />

ภายในบริเวณ<br />

สำนักงานการ<br />

ไฟฟ้า ตาม<br />

จังหวัดต่างๆ<br />

(ปัจจุบันไม่มี<br />

แล้ว)<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

2004 Provincial Electricity<br />

Authority (PEA)<br />

Architecture department,<br />

PEA<br />

400 Sq.m.<br />

for four<br />

families<br />

3,000,000<br />

Baht<br />

reinforced<br />

concrete<br />

Inside powerstations<br />

and<br />

PEA offices<br />

inprovinces (no<br />

longer exist)<br />

-<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : กองออกแบบงานโยธา การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค<br />

455


บ้านคุณชม<br />

KHUN CHOM HOUSE<br />

ที่ดินหน้าแคบแต่ลึก ขนาด 100 ​ตารางวา หันหน้าไปทิศ<br />

ตะวันตก และไม่ได้ถม จึงไม่มีคนสนใจ และทำให้ฉันสามารถ<br />

เป็นเจ้าของได้ เมื่อหมดเงินไปกับการซื้อที่ การสร้างบ้านเพื่อ<br />

อยู่อาศัยจึงต้องออกแบบให้ใช้เงิ นน้อยที่สุดแต่ได้ประโยชน์<br />

สูงสุด พร้อมคำสั่งของพ่อที่ว่า ห้ามให้ประตูหลักของบ้านเปิด<br />

ออกทิศตะวันตก<br />

ทำผังอาคารแผ่ยาวเต็มพื้นที่ดิน โดยถือหลักว่า เมื่อเข้า<br />

บ้านแล้ว หน้าบ้านจะอยู่ทางทิศเหนือ เปิดรับลมจากทิศใต้<br />

ตลอดตัวอาคาร เปิดใช้แสงธรรมชาติอย่างเต็มที่ ไม่มีการติด<br />

เหล็กดัด แต่ใช้มุ้งลวด ผนังอาคารด้านทิศตะวันตกก่อผนังสอง<br />

ชั้นเพื่อกันความร้อน ทำให้บ้านเราไม่เคยร้อนเลยตลอดทั้งวัน<br />

แทบไม่ต้องเปิดเครื่องปรับอากาศ<br />

ที่ดินไม่ถม ใช้การยกตัวบ้านให้สูง ปรับและเทพื้นเรียบ<br />

และจัดระบบอาคารต่างๆ ทั้งถังบำบัด ถังน้ำสำรอง ถังแก๊ส<br />

หุงต้ม ไว้ใต้บ้าน เพื่อสะดวกในการดูแลรักษา<br />

การเลือกใช้วัสดุก่อสร้าง เราตัดลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น<br />

ออก เช่น ไม่ปูวัสดุผิวพื้นเลย ยกเว้นห้องนอน (แม้กระทั่ง<br />

ห้องน้ำก็ไม่มี)​ ไม่มีวัสดุผิวผนังทั้งภายนอกและภายใน กรุฝ้า<br />

เฉพาะชั้นบนและห้องน้ำเท่านั้น หลังคามุงกระเบื้องลอนคู่<br />

ในการออกแบบผังอาคาร ฉันเน้นเรื ่องประโยชน์ใช้สอย<br />

ตามวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของเรา ดังนั้น หลายๆ จุดจึงเตรียม<br />

ไว้สำหรับ “การใช้” เช่น การร่นระยะช่องของผนังอาคารด้านใน<br />

เพื่อใช้เป็นตู้ เพียงติดหน้าบานก็กลายเป็น Built-In Furniture<br />

ไปทันที<br />

สิ่งเดียวที่ยอมลงทุนและแพงที่สุดในบ้านคือ ครัว ซึ่งเป็น<br />

ครัวแบบเปิดอยู่ภายในบ้าน<br />

The property has narrow shape with 100 Sq.wa size<br />

facing the main entrance to the west and without land<br />

filled properly that no one has interested in it, giving the<br />

present owner chance to buy it. Having invested the<br />

budget on buying property, construction cost has been<br />

set to the most efficient.<br />

House were planned to align with the narrow<br />

property. As my father has instructed not to place main<br />

entrance on west side, we have designed on north side.<br />

Receiving natural wind from north to south without<br />

security bar but with mosquito net, and gaining sunlight<br />

fully. West side walls has double layers to block out<br />

heat. Therefore our house were never hot and require<br />

no air-conditioner.<br />

Without land filled, but using raise house level design,<br />

the maintenance of house system such as septic tank,<br />

water supply tank and LPG tank are very convenient.<br />

Managing budget efficiently, construction material cost<br />

has been controlled wisely such as reduction of finishing<br />

materials of interior and exterior (even bathroom has<br />

no finishing), except only the bedroom, the upper level<br />

ceiling, bathroom ceiling, and roofing with cement tiles.<br />

For surfacing of the house, I had designed according<br />

to our life style. Therefore many area were based on<br />

the “usage” such as; recessing wall for storage and<br />

built-in furniture after covering with panels. The most<br />

expensive part of the house were investment of kitchen,<br />

an open kitchen in the house.<br />

456


ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

2547 คุณภิรวดี ชูประวัติ คุณภิรวดี ชูประวัติ<br />

คุณวราวรรณ<br />

โรจนรังษี<br />

พื้นที่ งบประมาณ<br />

Area Cost<br />

ที่ดิน 3,000,000<br />

100 ตร.ว. บาท<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

450 ตร.ม.<br />

6 ห้องนอน<br />

5 ห้องน้ำ<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

เสาเข็มเจาะ<br />

โครงสร้าง<br />

อาคาร<br />

คอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก<br />

ผนังก่ออิฐ<br />

มอญ<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

19 ซอย<br />

สุคนธสวัสดิ์ 20<br />

ถนนสุคนธสวัสดิ์<br />

แขวงลาดพร้าว<br />

เขตลาดพร้าว<br />

กรุงเทพฯ<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

2004 Pirawadee<br />

Chuprawat<br />

Pirawadee<br />

Chuprawat,<br />

Warawan<br />

Roajanarangsi<br />

Plot Size<br />

100 Sq.wa<br />

Usable<br />

Space<br />

450 Sq.m.<br />

3,000,000<br />

Baht<br />

Bore Piling,<br />

Reinforced<br />

Concrete<br />

Structure<br />

,with Monbrick<br />

wall<br />

19 Sukhonthasawat<br />

Soi 20,<br />

Sukhonthasawat<br />

Road,<br />

Lad Prao<br />

Subdistrict, Lad<br />

Prao District,<br />

Bangkok.<br />

-<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณภิรวดี ชูประวัติ<br />

457


บ้านวสุพันธุ์<br />

WASUPAN HOUSE<br />

บ้านวสุพันธุ์เป็นบ้าน 2 ชั้นใต้ถุนสูง แสดงถึงความประหยัด<br />

ในเรื่องของการใช้วัสดุที่หาได้ง่ายในสมัยนั้น เจ้าของบ้านเดิม<br />

คือ คุณยายทองคำ วสุพันธุ์ และลูกชายช่วยกันสร้างบ้าน<br />

หลังนี้ขึ้นมา ทำให้เห็นการสะท้อนความเป็นอยู่หลังจากใน<br />

ยุคสงครามโลกครั้งที่ 2 ผู้คนในสมัยนั้นก็ต้องสร้างบ้านกันขึ้น<br />

มาใหม่ เพื่อหลบภัย อาศัย จนกระทั่งปัจจุบันบ้านหลังนี้ก็ยัง<br />

ถูกใช้งานสืบทอดกันมา แต่เมื่อสภาพของบ้านเริ่มเก่าลงจึงมี<br />

การเสริมปูนเข้าไปภายหลัง<br />

Wasupan’s House is raised-based house that display<br />

how to live economically. Therefore, the materials are<br />

of easily found from local in the time. The previous<br />

house owner were grandma Thong Kham Wasupan, and<br />

her son, they had this house built and showed how life<br />

after WWII period were lived. People in the period had<br />

to rebuild their houses for their safety and living. This<br />

house had been lived in and worn off, therefore later on<br />

the renovation with concrete were added.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

2548 นายธราเทพ วสุพันธุ์ นายชนะ วสุพันธุ์ ที่ดิน 1 งาน<br />

86 ตร.ม.<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

80 ตร.ม.<br />

2005 Mr.Tharathep<br />

Wasuphan<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณรัตนาวลี บุญโถ<br />

Mr.Chana<br />

Wasuphan<br />

Plot Size<br />

1 Ngan<br />

86 Sq.m.<br />

Usable<br />

Space<br />

80 Sq.m.<br />

งบประมาณ วัสดุ<br />

Cost Material<br />

- โครงสร้าง<br />

ปูนผสมไม้<br />

วัสดุจากใน<br />

ท้องถิ่น<br />

- Masonry<br />

and Wood<br />

structures,<br />

material<br />

from local<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

468 ถนนแม่น้ำ<br />

แคว ตำบลท่า<br />

มะขาม อำเภอ<br />

เมือง จังหวัด<br />

กาญจนบุรี<br />

468 Khwae<br />

River Road,<br />

Tha Makham<br />

Subdistrict,<br />

Muang District,<br />

Kanchanaburi<br />

Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

14.044624<br />

99.502149<br />

458


459


เรือนชาวมอแกน หมู่เกาะสุรินทร์<br />

MORGAN HOUSE, SURIN ISLANDS<br />

โครงสร้าง :<br />

กระท่อมของชาวมอแกนปลูกสร้างด้วยวัสดุที่หามาได้จาก<br />

ธรรมชาติซึ่งหาได้และมีอยู่ในละแวกถิ่นฐานนั้นเอง เป็นต้นว่า<br />

ท่อนไม้กลมขนาดไม่ใหญ่ใช้เป็นเสา-คาน หวายและเถาวัลย์ใช้<br />

สำหรับผูกมัดยึดโยงแทนเชือก แผ่นไม้กระดานและฟากไม้ไผ่<br />

ใช้ปูพื้น ใบค้อใช้ทำฝาและมุงหลังคา บ้างก็ใช้ใบเตยหนามเย็บ<br />

ติดกันเป็นแถวเรียกว่า “แชง” ทำเป็นฝา<br />

แนวคิดในการออกแบบโดยสังเขป<br />

มอแกนเป็นชนกลุ่มหนึ่งผู้ซึ่งใช้ภาษาตระกูลออสโตนีเซียน<br />

เชื่อกันว่าชาวมอแกนสืบเชื้อสายมาจากกลุ่มโปรโตมาเลย์<br />

(Proto Malay) และเป็นคนกลุ่มแรกๆ ที่อพยพเข้ามาอยู่ใน<br />

บริเวณแหลมมลายู ต่อมาเลือกใช้ชีวิตเดินทางเร่ร่อนไปในทะเล<br />

ทำมาหากินตามชายฝั่งทะเลและหมู่เกาะต่างๆ ทำให้เป็น<br />

ชนกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งที่ได้ชื่อว่าเป็นชาวเล-ชาวน้ำ ผู้มีวิถีชีวิต<br />

ผูกพันอยู่กับท้องทะเลจนได้รับการขนานนามจากคนภายนอก<br />

ว่า “ยิบซีทะเล” (Sea Gypsy) – ชนผู้เร่ร่อนไปในทะเล<br />

ชาวมอแกนใช้ชีวิตส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในก่าบาง ซึ ่งมี<br />

ลักษณะเป็นเรือขุดเสริมกราบ ในช่วงฤดูมรสุม ชาวมอแกน<br />

หยุดการเดินทางเร่ร่อนไปในทะเลหันมาใช้ชีวิตอยู่กับที่ โดย<br />

เลือกทำเลชายหาดที่ปลอดจากคลื่นลมแรง มีแหล่งน้ำจืด<br />

อยู่ใกล้ๆ และปลอดภัยในการตั้งถิ่นฐาน ทั้งยังต้องไม่เป็น<br />

พื้นที่อัปมงคลตามความเชื่อของชาวมอแกน เช่น เป็นทาง<br />

น้ำไหลผ่าน มีตาน้ำผุด เป็นหลุมเป็นบ่อ เป็นต้น โดยชาวมอ<br />

แกนมักสร้างที่พักพิงอยู่บริเวณริมชายหาด ซึ่งเป็นตำแหน่งที่<br />

สามารถสังเกตเรือของตนเองที่จอดไว้ได้ตลอดเวลา จากนั้นได้<br />

ปลูกสร้างที่อยู่อาศัยที่ทำขึ้นอย่างง่ายๆ และเป็นของชั่วคราว<br />

โดยมอแกนยกหลังคากันแดดฝนบนก่าบางมากางบนโครง<br />

เสา-คานที่ทำจากท่อนไม้ซึ่งหาตัดเอามาจากละแวกถิ่นฐาน<br />

นั่นเอง และยึดโยงโครงสร้างส่วนต่างๆ เข้าด้วยกันด้วยหวาย<br />

หรือเถาวัลย์ ก่อเกิดเป็นเพิงพักที่มีลักษณะหลังคาจั่วตั ้ง<br />

อยู่บนเสา และมีการเพิ่มกันสาดปกป้องแดดฝน<br />

เพิงพักอันเรียบง่ายนี้คลุมพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมขนาด<br />

กะทัดรัดเท่าๆ กับพื้นที่อยู่อาศัยในเรือก่าบาง เพราะก่อรูปขึ้น<br />

จากหลังคาจั่วผืนเดียวกัน ประกอบด้วยพื้นที่น้อยที่สุดสำหรับ<br />

การอยู่อาศัย มีที่วางกองไฟอยู่ด้านหน้าสำหรับใช้หุงหาอาหาร<br />

ให้ความอบอุ่น และป้องกันสัตว์ร้ายไปในคราวเดียวกัน มีพื้นที่<br />

วางกระบอกไม้ไผ่บรรจุน้ำจืดสำหรับใช้หุงต้มอาหารและดื่มกิน<br />

และพื้นที่นอน กล่าวได้ว่า เพิงพักของชาวมอแกนเป็นการ<br />

จำลองพื้นที่อยู่อาศัยในก่าบางมาใช้ที่ชายหาด<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

2548<br />

(ปรับปรุง<br />

เปลี่ยนวัสดุ<br />

ทุก 5 ปี)<br />

2005<br />

with 5 years<br />

term on<br />

renewing<br />

the building<br />

materials<br />

เจ้าของ ผู้ออกแบบ พื้นที่ งบประมาณ วัสดุ ที่ตั้ง<br />

Owner Designer Area Cost Material Location<br />

นางมะตู กล้าทะเล นางมะตู กล้าทะเล - - - ไม่มีเลขบ้าน<br />

หมู่เกาะสุรินทร์<br />

ตำบลเกาะ<br />

พระทอง อำเภอ<br />

คุระบุรี จังหวัด<br />

พังงา<br />

Mrs. Matu Klatalay the owner -with 5 - - without formal<br />

years term<br />

registered<br />

on renewing<br />

the<br />

phrathong,<br />

number,<br />

Surin Islands,<br />

building<br />

Kuraburi,<br />

materials<br />

Phangnga<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : นางสาวอัมพิกา อำลอย<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

-<br />

460


ในเวลาต่อมาจากเพิงพักได้พัฒนาสู่กระท่อม ชาวมอแกน<br />

เรียกกระท่อมว่า “ออม๊าก” เป็นที่อยู่อาศัยที่มีลักษณะแข็งแรง<br />

และจริงจังกว่าเพิงพัก ชาวมอแกนจะปลูกสร้างกระท่อมรวม<br />

กลุ่มอยู่ใกล้ๆ กันเรียงรายไปตามแนวชายหาด หมู่กระท่อม<br />

ภายในชุมชนบ้านของชนกลุ่มนี้มีสภาพไม่แออัด หลังคาไม่เคย<br />

กันด้วยการเว้นระยะห่างระหว่างกันตามความเชื่อว่า “พอให้ผี<br />

เดินผ่านได้ ถ้าผีเดินผ่านไม่ได้ผีจะเข้าไปในบ้าน ทำให้เด็กๆ<br />

ภายในบ้านเป็นไข้” ทำให้บริเวณที่อยู่อาศัยของชาวมอแกน<br />

มีความโปร่งโล่ง มีแสงแดดส่องถึง และมีกระแสลมไหลเวียน<br />

ได้ดีโดยปริยาย<br />

กระท่อมซึ่งได้รับการปลูกสร้างอย่างง่ายๆ นี้ย่อมสะท้อน<br />

ความเป็นที่พักพิงชั่วคราวได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้ในระยะหลังพื้นที่<br />

ทั้งบนเกาะและชายฝั่งมีผู้ครอบครองเป็นกรรมสิทธิ์อย่างเป็น<br />

กิจจะลักษณะเป็นส่วนใหญ่ หลายแหล่งที่มอแกนเคยอิงอาศัย<br />

และทำมาหากินกลายเป็นพื้นที่หวงห้าม ทำให้มอแกนลดการ<br />

เดินทางเร่ร่อนหันมาตั้งถิ่นฐานถาวรมากขึ้น ที่อยู่อาศัยก็พลอย<br />

ได้รับการปรับให้มั่นคง แข็งแรง และซับซ้อนขึ้นตามไปด้วย<br />

ลักษณะสิ่งปลูกสร้างจะมีเสาปักลงบนพื้นทราย พื้นเรือนยก<br />

ลอยสูงขึ้นไปจากระดับดินราว 2.00 เมตร ส่วนพื้นระเบียงมัก<br />

มีการลดระดับต่ำกว่าพื้นเรือนประมาณ 20 เซนติเมตร ขนาด<br />

กว้าง 2 ช่วงเสา โดยมีระยะของช่วงเสา (วัดจากกึ่งกลางเสา)<br />

ราว 1.90 เมตร ขนาดยาว 4 ช่วงเสา โดยมีระยะของช่วงเสา<br />

(วัดจากกึ่งกลางเสา) ราว 2.30-2.40 เมตร<br />

ด้านหน้าซึ่งเป็นด้านกว้างพาดบันไดทางขึ้นซึ่งมีจ ำนวนขั้น<br />

เป็นเลขคี่ เช่น 3 5 7 เป็นต้น ชั้นบนเต็มความกว้างและยาว<br />

ไป 2 ห้องเสา ล้อมปิดด้วยฝาโดยรอบและปิดคลุมด้วยหลังคา<br />

จั่วที่ยื่นชายคาออกไปเล็กน้อย ส่วนห้องเสาที่สามซึ่งเป็นด้าน<br />

หลังทำเป็นระเบียงเปิดโล่ง<br />

กระท่อมแต่ละหลังของชาวมอแกนมีความคล้ายเหมือน<br />

กันทั้งรูปลักษณ์และขนาด เพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัยของครอบครัว<br />

เดี่ยวที่มีสมาชิกราว 5 คนหรือมากกว่า สำหรับพื้นที่อยู่อาศัย<br />

ซึ่งล้อมด้วยฝาโดยรอบเป็นห้องสี่เหลี่ยมที่มีเพียงประตูเข้า-<br />

ออกด้านหน้าเป็นส่วนของโถงและที่นอน ส่วนด้านหลังเป็น<br />

ที่ทำครัวและเก็บข้าวของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน ขณะที่<br />

ระเบียงหลังมีระดับพื้นลดต่ำลงไปอีกเล็กน้อย ใช้สอยเป็นพื้นที่<br />

ซักล้าง เก็บอุปกรณ์ทำมาหากิน และทำกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่อง<br />

กับการประกอบอาชีพ<br />

Construction&Materials:<br />

Local materials found within settlement area, timber<br />

from falling tree, rattan and vine, the leaves from the<br />

perennials for roof material and leaves from herbaceous<br />

plant for wall material.<br />

Design criteria<br />

Most of the time people of Morgan tribe always stay<br />

in their own boat called ‘Kabang’ which is carved from the<br />

lumber. During monsoon season, Morgan people will stay<br />

off shore to be safe from the storm and heavy sea wave.<br />

The area needs be equipped with the fresh water source<br />

for living. Also, it needs to be respond to the superstitious<br />

and belief. Then the simple format shelter will be formulated.<br />

First of all, the roof cover of their boat will be moved<br />

and relocated to the selected location. The well prepared<br />

land will be laid on ground with lumber from the local area.<br />

Then all the component will be tied altogether by rattan or<br />

vine. The eaves could also be extended. This is to provide<br />

them with the larger living area. The eaves could also be<br />

extended. It is, then turned out to be proper shelter for<br />

accommodating them during their monsoon season living.<br />

This is the most simple unit for their living that based on<br />

roof cover of the boat that they live in throughout the rest<br />

of the year.<br />

The simple unit for living of the Morgan tribe is later<br />

developed. The hut on pillar called ‘Ormak’ provide the<br />

more permanent quality for living. These huts will be laid<br />

and arranged in form of grouping along the beach. There<br />

won’t be any overlapping on any profile of each roof plan<br />

of the hut due to their belief on letting the spirit passing<br />

by. If there is no in-between gap, the spirit will cause the<br />

illness to the kids who live in such huts. Therefore, the<br />

belief brings the Morgan with the good cross ventilation<br />

and the sunlight. With his kind of permanent settlement the<br />

Morgan has turn their nomad behaviour down and down<br />

become more and more belonging to the land instead.<br />

These huts are raised around 2 metre height above the<br />

ground. Terrace of each hut always lower than therein<br />

living quarter around 20 cm. The width of the terrace in<br />

within 2 bays of the columns (1.90 m width for each bay).<br />

The Length of the terrace in within 4 bays of the columns<br />

(2.40 m width for each bay). There will be the ladder at<br />

the front.The number of the ladder is always with the odd<br />

number according to their believes. Most of their huts is<br />

look identical in both shape and size. The living quarter will<br />

be at the front whereas the quarter at the back will be used<br />

for the service activities, for example, kitchen and storage.<br />

461


462


463


สตูดิโอศรีราชา ดร.สุเมธ<br />

Dr.SUMET’S SRI RAJA STUDIO<br />

บ้านหลังนี้ สร้างโดยเน้นการประหยัดและเล็ก (เล็กเพื่อประหยัด)<br />

โดยออกแบบให้ลมโกรกและสะท้อนความร้อนออกโดยการทา<br />

สีขาว โครงสร้างเป็นคอนกรีตเปลือย พื้นเป็นทรายกรวดจึงไม่<br />

ต้องวางฐานรากมาก<br />

ผังอาคารขนาด 6 x 6 เมตร ชั้นล่างสูง 3 เมตร แบ่งเป็น 2<br />

ส่วน คือ 3 x 6 เมตร ส่วนแรกเป็นห้องนอน ส่วนที่สองเป็นครัว<br />

โต๊ะอาหาร และห้องน้ำ มีบันไดขึ้นชั้นบน ซึ่งนำแนวคิดมาจาก<br />

บันไดทางขึ้นบ้านของชาวบ้านที่เพียงนำซุงมาพาดจากระดับ<br />

ดินขึ้นไปบนชานบ้าน โดยทำขึ้นจากซุงทั้งท่อน แล้วทำการบาก<br />

ให้เป็นขั้นบันไดพาดช่วงที่ไม่ยาวมากขึ้นในระดับที่ยังสามารถ<br />

ปีนขึ้นลงได้ และทำให้ใช้พื้นที่ไม่มาก<br />

ชั้นบนอยู่ที่ระดับสูง 6 เมตร ภายในทาสีขาว แม้จะติดแอร์<br />

แต่ทำหน้าต่าง ประตูทั้งชั้นบนและชั้นล่างให้สามารถเปิดได้กว้าง<br />

ตลอดแนวส่วนใหญ่ เพื่อรับลมธรรมชาติ ชั้นบนนี้ท ำเป็นสตูดิโอ<br />

วาดภาพและเป็นที่อ่านหนังสือ ท่ามกลางความเงียบสงบของ<br />

ธรรมชาติและเสียงดนตรีคลาสสิค<br />

ชั้นบนสุดมีวัตถุประสงค์ในการปลูกไม้กระถางต่างๆ แต่<br />

เนื่องจากลมทะเลแรงเกินไป ต้นไม้จึงโตได้ไม่มาก<br />

การสร้างพื้นที่รองรับกิจกรรมในช่วงหลังเกษียณเป็น<br />

กลุ่มร่วมกับมิตรสหายที่สนิทและร่วมงานกันมา ประกอบกับ<br />

แรงบันดาลใจที่เรียนรู้จาก Picasso ศิลปินที่เป็นแบบอย่าง<br />

ในการทำงานและการดำเนินชีวิต โดยดำเนินการออกแบบที่<br />

คำนึงถึงความประหยัดบนขนาดที่เล็ก การวางทิศทางที่ตอบรับ<br />

ให้เกิดการเคลื่อนที่ของมวลอากาศ เน้นการใช้สีอ่อนภายนอก<br />

เพื่อลดการสะสมและสะท้อนความร้อนในเวลาเดียวกัน<br />

The beach-side property of 1,400 Sq.m. for this studio was<br />

bought from Khun Phra Sukhumvinai by the introduction<br />

of Arjarn Rachata, whom live in the neighborhood which<br />

aim of living nearby together. At first moved-in the house<br />

were in its original state. However, because its too-enclose<br />

spaces maid living uncomfortable. While having inspired<br />

by Picasso seaside castle, where he lived and produced<br />

lots of painting there (a painting of Picasso is hanging in<br />

the ground level), a dream of owning studio to paint near<br />

the sea has ever since been form time I went to study at<br />

Europe. After that, the new studio design were taken place<br />

around 2006, and constructed in 2007. The construction<br />

period was 8 months with budget not exceeding 1 million<br />

baht.<br />

This house has aim to become an economical small<br />

house (small to reduce cost). Designed to gain high<br />

ventilation and reduction of heat by painting wall white.<br />

Structure is reinforced concrete on sand-gravels ground,<br />

therefore they need not to make too much of footing.<br />

Size of house is 6x6 meters, with 3 meter ceiling height<br />

at ground level. Divided into 2 zones; 3x6 meters half for<br />

bedroom and half of kitchen, dining table and washroom.<br />

A staircase leads to upper level which design is influenced<br />

from local house stair case that uses a single log carved<br />

into ladder for a compact area horizontal movement.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2550 ดร.สุเมธ<br />

ชุมสาย ณ อยุธยา<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

ดร.สุเมธ<br />

ชุมสาย ณ อยุธยา<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

ที่ดิน<br />

1400 ตร.ม.<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

108 ตร.ม.<br />

งบประมาณ<br />

Cost<br />

ต่ำกว่า<br />

1,000,000<br />

บาท<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

คอนกรีต<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

ติดสถานีวิจัยประมง<br />

ศรีราชา ถนน<br />

สุขุมวิท ตำบลบาง<br />

พระ อำเภอศรีราชา<br />

จังหวัดชลบุรี<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

13.184197<br />

100.929313<br />

2007 Dr.Sumet Jumsai<br />

Na Ayudhaya<br />

Dr.Sumet Jumsai<br />

Na Ayudhaya<br />

Plot Size<br />

1400<br />

Sq.m.<br />

Usable<br />

Space<br />

108 Sq.m.<br />

Less than<br />

1,000,000<br />

Baht<br />

Concrete<br />

Near Marine<br />

Research center, Sri<br />

Racha, Sukhumvit<br />

Road, Bang Phra<br />

Subdistrict, Sri<br />

Racha District,<br />

Chonburi province<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : ดร.สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา<br />

464


Upper level has ceiling of 6 meters height. All interior<br />

color is white. Although already having air-conditioner<br />

supported, but windows and doors upstairs are able to<br />

widely open to intake fresh air. Painting studio is situated<br />

upstairs here together with reading zone in a peaceful<br />

environment and classic music.<br />

Pots of plant were placed on the highest floor level,<br />

but still a small trees as wind force is very rough.<br />

Retirement recreation space were created for the<br />

reunite with close friends and colleagues together with<br />

an inspiration from Picasso way of living and working,<br />

a humble space which interact with the movement of<br />

ventilation and light tone color to reduce and reflect heat<br />

collection were created.<br />

465


บ้านสี่คอร์ท<br />

4C HOUSE<br />

4C HOUSE หรือ “บ้านสี่คอร์ท” ตั้งอยู่ในย่านลาดพร้าว 71<br />

ซึ่งในปัจจุบันเป็นแหล่งที่พักอาศัยที่เริ่มมีการขยายตัวสูงขึ้น<br />

จากศูนย์กลางของกรุงเทพมหานคร แนวคิดในการออกแบบ<br />

เริ่มจากการพยายามแก้ปัญหาเรื่องสัดส่วนของขนาดที่ดินที่<br />

ค่อนข้างเล็กเมื่อเปรียบเทียบกับจำนวนพื้นที่ใช้สอยภายใน<br />

อาคาร ในขณะที่สภาพแวดล้อมรอบของที่ตั้งโครงการเริ่มมี<br />

ความหนาแน่นค่อนข้างสูงจากบ้านที่รายล้อมบนที่ดินขนาด<br />

ใกล้เคียงกัน โจทย์ของงานออกแบบเป็นเรื่องของการสร้าง<br />

สภาวะแวดล้อมสำหรับอยู่อาศัยที่มีความสมดุลระหว่างความ<br />

เป็นส่วนตัวภายในอาณาเขตที่ดินกับการได้ใกล้ชิดกับธรรมชาติ<br />

ภายนอก ดังนั้น การจัดวางผังบริเวณจึงเป็นกุญแจสำคัญใน<br />

การออกแบบโครงการนี้<br />

4C House is in Ladprao 71, a residential area in<br />

Bangkok which is one of the neighborhoods that has<br />

been growing rapidly. The homeowner wants large<br />

usable space inside when the plot size is relatively<br />

small compared to requirements. Due to the density<br />

of population in the area, the plot is inevitably<br />

surrounded by countless neighbors. Therefore, the<br />

design must create a living environment that has<br />

a good balance between privacy inside and being<br />

close to nature outside. Hence planning is key to<br />

the success.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

2550 ครอบครัวแผ้วสุวรรณ คุณศรีศักดิ์<br />

พัฒนวศิน<br />

พื้นที่ งบประมาณ<br />

Area Cost<br />

416 ตร.ม. 6,500,000<br />

บาท<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

คอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

ซอยสหกรณ์ 3<br />

ถนนนาคนิวาส<br />

- ลาดพร้าว 71<br />

เขตบางกะปิ<br />

กรุงเทพฯ<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

13.804917<br />

100.604972<br />

2007 Paewsuwan family Mr.Srisak<br />

Pattanawasin<br />

416 Sq.m. 6,500,000<br />

Baht<br />

reinforced<br />

concrete<br />

column<br />

and beam<br />

Soi Sahakorn 3,<br />

Nagniwas Road,<br />

Ladprao 71,<br />

Bangkapi<br />

Distrcit, Bangkok<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศรีศักดิ์ พัฒนวศิน<br />

466


467


บ้านเขาใหญ่<br />

KHAO YAI HOUSE<br />

บ้านหลังนี้เป็นการปรับแนวคิดในการอยู่อาศัยของบ้านไทย<br />

ประเพณีให้เป็นบ้านไทยร่วมสมัย บ้านใต้ถุนสูงถูกปรับให้มีผนัง<br />

กระจกที ่สามารถเปิดโล่งได้ เพื่อตอบโจทย์ของการกันยุงและ<br />

แมลง และความจำเป็นในการติดเครื่องปรับอากาศสำหรับหน้า<br />

ร้อนในปัจจุบัน ผนังชั้นสองถูกออกแบบให้เป็นผนังสามชั้นที่มี<br />

การก่อเพื่อให้มีปริมาตรอากาศภายในก ำแพงสูง และมีผิวปิดชั้น<br />

นอกที่ป้องกันการกระจายของความร้อนเข้าสู่ภายใน ห้องนอน<br />

ต่างๆ ถูกออกแบบมาให้รับลมได้ทุกฤดูผ่านระบบหมุนเวียนของ<br />

อากาศแบบ Stack Effect Ventilation ช่วยให้อากาศเย็นเข้ามา<br />

ตามช่องเปิดต่างๆ และชานกลางบ้านถูกปรับให้ขึ้นมาเป็นชาน<br />

หลังคา สำหรับการชมทัศนียภาพที่งดงาม<br />

Conceptualized to merge Thai traditional house into<br />

contemporary, this house has raised floor designed with<br />

glass window that can enclose the ground level (as to<br />

prevent mosquito and insects from entering), and to open<br />

up fully when summer comes with such high heat. The<br />

second floor panels were made into 3 layers of wall to<br />

capture more amount of air in the wall and enough exterior<br />

surface to prevent hot heating.<br />

All bedrooms were designed for natural ventilation in<br />

every season through “Stack Effect Ventilation”. These<br />

help intake fresh cool air to come inside. The middle<br />

terrace has been transformed in terrace with roof for<br />

scenery viewing.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2552 นางสกาญจน์<br />

ยามัสเสถียร<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

บริษัท ไซต์ สเปซิฟิค<br />

จำกัด<br />

พื้นที่ งบประมาณ<br />

Area Cost<br />

ที่ดิน 6,000,000<br />

1 ไร่ บาท<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

280 ตร.ม.<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

โครงสร้าง<br />

คอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

อำเภอปากช่อง<br />

จังหวัด<br />

นครราชสีมา<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

2009 Mrs.Skan<br />

Yamussatian<br />

Site - Specific<br />

Co., Ltd.<br />

Plot Size<br />

1 Rai<br />

Usable<br />

Space<br />

280 Sq.m.<br />

6,000,000<br />

Baht<br />

Reinforced<br />

Concrete<br />

Structure<br />

Pak Chong<br />

District, Nakhon<br />

Ratchasima<br />

Province<br />

-<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : บริษัท ไซต์ สเปซิฟิค จำกัด<br />

468


469


บ้านบางกระเจ้า<br />

BANG KRACHAO HOUSE<br />

บางกระเจ้าเป็นพื้นที่ที่มีอัตลักษณ์พิเศษที่ถึงแม้ว่าจะอยู่ใกล้<br />

ศูนย์กลางทางเศรษฐกิจหลักของประเทศไทยเพียงแค่ข้าม<br />

แม่น้ำเจ้าพระยา แต่ยังคงเป็นชุมชนที่ยังรักษาความเป็น<br />

ชุมชนเกษตรกรรมไว้ได้ แต่เป็นที่น่าเสียดาย บ้านไม้รุ่นเก่า<br />

ถูกรื้อถอนเป็นจำนวนมาก และถูกสร้างทดแทนด้วยบ้าน<br />

ก่ออิฐถือปูน พื้นที่สวนถูกถมเพื่อสร้างบ้านหลังใหม่ แนวคิด<br />

การออกแบบบ้านหลังนี้คือการนำเอกลักษณ์ของบ้านสวน มา<br />

ปรับให้เข้ากับความเป็นอยู่ในปัจจุบัน แต่ยังคงรากของความ<br />

เรียบง่าย และเข้ากับสิ ่งแวดล้อมได้ดี มีการนำวัสดุต่างๆ ที่<br />

สามารถหาได้ภายในชุมชนโดยรอบมาใช้ให้มากที่สุด เพื่อลด<br />

รอยเท้าคาร์บอนจากการขนส่ง ไม้ส่วนใหญ่ที่นำมาใช้ในการ<br />

ก่อสร้างถูกซื้อมาจากบ้านที่ถูกรื้อถอนในขณะนั้น การก่อสร้าง<br />

ใช้เทคนิคดั้งเดิม ตั้งแต่การใช้สามเกลอในการตอกเข็มกลุ่ม<br />

การใช้ฝีมือช่างก่อสร้างและช่างไม้ที่อาศัยอยู่ในท้องถิ ่น รวม<br />

ถึงการออกแบบบ้านให้มีลักษณะใต้ถุนสูง ไม่มีการถมดินใน<br />

การก่อสร้าง ตัวบ้านเป็นอาคารที่มีแบบผังเปิด เป็นห้องเดี่ยว<br />

ฝ้าสูง แต่มีการจัดสัดส่วนให้เป็นส่วนนั่งเล่น ส่วนทำอาหาร<br />

และส่วนยกพื้นชั้นลอยสำหรับการนอน และห้องสุขาที่เป็น<br />

สุขาแบบแห้งที่ถูกย่อยสลายโดยวิธีธรรมชาติ<br />

Bang Krachao has special identities, as situated very<br />

close to central business district of Thailand (only<br />

across the Chao Phaya river bank) but it still remaining<br />

as agricultural community. Unfortunately, many of<br />

the original wooden houses have been removed and<br />

replaced with new concrete houses, orchards were<br />

excavated for more houses. This house is designed<br />

to bring back the old Ban Suan (House in orchard)<br />

and adapted to the present living while preserving its<br />

simplicity and going along with its good environment.<br />

The construction materials were mainly from local to<br />

reduce carbon footprint from transportation. Most<br />

of the woods are reused woods from old houses<br />

using local technique with help from craftsmen and<br />

contractors in the area. The house is designed to<br />

have raised floor without any land fill. Living area is<br />

a high ceiling-loft room which divided into living room,<br />

cooking area, elevated mezzanine for sleeping, and<br />

washroom with dry decomposable system.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2553 Landry Dunand,<br />

Alisa Tang<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

บริษัท ไซต์ สเปซิฟิค<br />

จำกัด<br />

พื้นที่ งบประมาณ<br />

Area Cost<br />

ที่ดิน 1,000,000<br />

69 ตร.วา บาท<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

70 ตร.ม.<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

ไม้<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

อำเภอ<br />

พระประแดง<br />

จังหวัด<br />

สมุทรปราการ<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

2010 Landry Dunand,<br />

Alisa Tang<br />

Site - Specific<br />

Co., Ltd.<br />

Plot Size<br />

69 Sq.wa<br />

Usable<br />

Space<br />

70 Sq.m.<br />

1,000,000<br />

Baht<br />

Wooden<br />

structure<br />

Phra Pradaeng<br />

District,<br />

Samutprakarn<br />

Province<br />

-<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : บริษัท ไซต์ สเปซิฟิค จำกัด<br />

470


471


บ้านแพ<br />

PAE HOUSE, KANCHANABURI PROVINCE<br />

เรือนแพเป็นบ้านไทยโบราณ โดยมักจะเป็นเรือนหลังเล็กๆ<br />

อยู่เกาะติดแนวตลิ่งตามแม่น้ำลำคลองต่างๆ ทั่วประเทศไทย<br />

โดยแต่เดิมมักใช้ไม้ไผ่หลายลำเป็นตัวทุ่นลอย แต่เนื่องจาก<br />

บ้านแพหลังนี้ตั้งอยู่ในทะเลสาบเหนือเขื่อน พื้นที่น้ ำมีลักษณะที่<br />

กว้างขวาง สามารถรองรับเรือนแพที่มีขนาดกว้างได้ อีกทั้งวัสดุ<br />

การก่อสร้าง และเทคโนโลยีในการทำทุ่นที่เปลี่ยนไป ส่งผลให้<br />

บ้านแพหลังนี้มีสัดส่วนต่างๆ ที่ยังคงสามารถพัฒนามาจาก<br />

รูปแบบเรือนไทยประเพณีได้<br />

บ้านแพเรือนนี้ถูกออกแบบในลักษณะที่เป็นเรือนกลุ่มตาม<br />

แบบเรือนไทยภาคกลาง ประกอบตัวเรือนรับแขก เรือนนอน<br />

2 เรือน เรือนครัว และเรือนห้องน้ำ แต่การใช้งานของเรือน<br />

แพหลังนี้ถูกนำเอาลักษณะของเรือนไทยที่ปกติจะมีมุมมอง<br />

เข้าลานกลางบ้าน มาปรับให้มุมมองที่หันออกภายนอก เพื่อ<br />

ที่จะให้ผู้อยู่อาศัยได้รับรู้ถึงธรรมชาติ และทัศนียภาพรอบตัว<br />

เรือนแพหลังนี้ถูกสร้างขึ้นโดยการนำเทคโนโลยีการ<br />

ก่อสร้างแบบพิกัดมาใช้งาน โดยกระจายการผลิตส่วนประกอบ<br />

แบบพิกัดนี้ไปยังโรงงานต่างๆ เช่น โครงสร้างเรือนต่างๆ ที่<br />

นำมาจากกรุงเทพมหานคร โครงถักสำหรับพื้นที่นำมาจาก<br />

โรงงานในจังหวัดกาญจนบุรี และทุ่นเหล็กที่ถูกผลิตในโรงงาน<br />

ชั่วคราวใกล้กับสถานที่ประกอบแพ<br />

นอกจากนั้นไม้ทั้งหมดที่ใช้ ยังเป็นไม้เก่าจากจังหวัด<br />

พระนครศรีอยุธยา เพื่อลดการตัดไม้ และนำเข้าไม้ ทำการ<br />

ติดตั้งระบบสร้างพลังงานทางเลือกจากแสงแดดและลม ตลอด<br />

จนระบบบำบัดน้ำเสียที่สมบูรณ์แบบอีกด้วย<br />

Reun Pae, or Houseboat, is an old Thai style house.<br />

Usually built close together along the river bank around<br />

Thailand. The original material were with bamboo<br />

bounded together as rafts. Fortunately, this Reun<br />

Pae (houseboat) has situated in a lake north of a<br />

dam, therefore it has plenty of open water to hold big<br />

houseboat. Together with new rafting material and<br />

technology, this houseboat were able to constructed in<br />

traditional Thai house proportion.<br />

This Reun Pae has designed to be traditional<br />

Central-Thai house cluster of; reception building, 2<br />

resident buildings, kitchen building, and washroom.<br />

Although, this house has a diverted view point design<br />

from regular Thai house with open central terrace, to outer<br />

surrounding view point for perception of its surrounding<br />

sceneries. Coordinated design were used on how<br />

Reun Pae were constructed and made from different<br />

contractors such as; main structure came from Bangkok,<br />

floor wire frame came from Kanchanaburi manufacturer,<br />

and metal steel buoy came from nearby site factory. All<br />

wooden parts were old wood from Ayutthaya to reduce<br />

tree being cut down or imported. Furthermore, alternative<br />

solar energy and ventilation together with fully waste<br />

treatment system were installed to this houseboat.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

2553 - บริษัท ไซต์ สเปซิฟิค<br />

จำกัด<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

420 ตร.ม.<br />

งบประมาณ วัสดุ<br />

Cost Material<br />

- ไม้ เหล็ก<br />

กระจก<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

อำเภอสังขละบุรี<br />

จังหวัด<br />

กาญจนบุรี<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

2010 - Site - Specific<br />

Co., Ltd.<br />

Usable<br />

Space<br />

420 Sq.m.<br />

- Wood,<br />

Metal,<br />

Glass<br />

Sangkhla<br />

Buri District,<br />

Kanchanaburi<br />

Province<br />

-<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : บริษัท ไซต์ สเปซิฟิค จำกัด<br />

472


473


บ้านจิตสมาน<br />

JITSAMAN HOUSE<br />

รื้อบ้านเก่า แล้วเก็บไม้ บานหน้าต่าง ประตู มาทำเป็นบ้าน<br />

ใหม่ ชีวิตที่เปลี่ยนไป จากครอบครัวของแม่ และ ลูกๆทั้งห้าคน<br />

เปลี่ยนเป็นที่อยู่ของสองครอบครัว และอีกสองครอบครัวที่ไปๆ<br />

มาๆ และอีกครอบครัวที่อยู่ใกล้ๆ แวะมากินข้าวบ้างคุยกันบ้าง<br />

พร้อมลูกๆหลานๆอีกหลายคน<br />

โจทย์ของการออกแบบบ้านใหม่ที่เกิดขึ้นคือ บริบทของ<br />

ครอบครัวที่อาศัยอยู่เป็นประจำซึ่งมีอยู่สองครอบครัวและ<br />

ครอบครัวที่มาเยี่ยมเยียนเป็นครั้งคราว และการแก้ปัญหา<br />

ต่างๆที่เกิดขึ้นตามสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป การดีดบ้าน<br />

เป็นทางเลือกแรกที่คนในครอบครัวนึกถึง “ดีดบ้าน” เป็นการ<br />

ย้ายบ้านไม้หลังเดิมไปไว้ ณ ที่ตั้งใหม่ที่เราตั้งใจกันไว้โดยมี<br />

ความคิดว่าจะสร้างฐานตอม่อของเสาชั้นล่างเป็นโครงสร้าง<br />

คอนกรีตเสริมเหล็ก แล้วนำบ้านโครงสร้างไม้มาวางลงบน<br />

โครงสร้างใหม่ เพื่อจะได้มีความแข็งแรงทนทานมากขึ้น รวม<br />

ถึงเป็นการแก้ปัญหาการทรุดตัวของบ้าน<br />

แต่เมื่อทางครอบครัวได้ปรึกษาหารือกันแล้วต่างก็ช่วย<br />

กันลงความเห็นว่าบ้านแบบเดิมไม่ได้ตอบสนองความต้องการ<br />

ในปัจจุบันอีกแล้ว รวมทั้งเห็นว่าการซ่อมแซมบ้านในครั้งนี้ควร<br />

ตอบสนองประโยชน์ใช้สอยที่จะเกิดขึ้นใหม่ในอนาคตด้วยคือ<br />

การที่เจ้าของบ้านมีหลายครอบครัวและเข้าสู่วัยเกษียณกันหมด<br />

โดยได้บทสรุปร่วมกันว่าจะไม่ใช้การดีดบ้านแต่เป็นการสร้าง<br />

บ้านใหม่จากไม้ของบ้านหลังเก่า<br />

แนวความคิดในการจัดพื้นที่ใช้สอยจริงเริ่มต้นจากความ<br />

ต้องการในปัจจุบันผนวกกับอนาคต ครอบครัวที่อาศัยอยู่แบบ<br />

ถาวรมีอยู่สองครอบครัวจึงออกแบบบ้านเป็นสองเรือน เชื่อม<br />

ต่อกันด้วยนอกชานการใช้พื้นที่บนชั้นสองของบ้านจะน้อยลง<br />

จึงออกแบบการใช้พื้นที่ส่วนใหญ่ให้อยู่ที่ชั้นล่างซึ่งง่ายต่อการ<br />

ดูแลรักษา บ้านหลังใหม่จึงมีห้องนอนส่วนใหญ่อยู่ชั้นล่างซึ่ง<br />

เป็นห้องนอนสำหรับแต่ละครอบครัวโดยใช้ห้องน้ำร่วมกัน<br />

ไม้เก่า - บ้านใหม่<br />

ทางเลือกในการออกแบบบ้านหลังใหม่ โดยมีแนวคิดใน<br />

การใช้ไม้จากบ้านหลังเดิมจึงเกิดขึ้น โดยจะต้องตอบโจทย์<br />

ลักษณะการอยู่อาศัยของบ้านแบบใหม่ และการใช้วัสดุเดิม<br />

ให้มากที่สุด การรื้อบ้านไม้เก่านำมาประกอบใหม่ เราได้<br />

ความรู้จากช่าง (คนเหนือเรียกว่า สลา) ที่เป็นผู้รื้อบ้านไม้เดิม<br />

Pieces of an old house that belonged to a mother and<br />

five children made into a new abode for two families.<br />

Old memories are transformed into a loving home for<br />

friends, neighbors and families.<br />

With two families living permanently in the house<br />

and two families occasionally visiting, the first idea<br />

was to move the old wooden house to the new location<br />

and build a reinforced concrete structure underneath<br />

for strength.<br />

But after much discussion, the family agreed that<br />

the old house could not respond to their present needs<br />

anymore. And the renovation should also answer to<br />

requirements in the future as there are sub-families<br />

within the big family and a lot of members are going<br />

into retirement age. So the concensus is building a<br />

new house out of woods from the old house.<br />

The house has two buildings, connected by a<br />

terrace. Most of the space including bedrooms is set<br />

on the ground floor to make it easier for maintenance.<br />

Old wood – new house<br />

To keep as much old woods as possible, when<br />

disassembling the house, all the woods had to be<br />

grouped based on their functions. For example,<br />

roof structure, columns, framing, wall panels, joists,<br />

beams, floor, stairs, doors and windows.<br />

Both upstairs and downstairs bathrooms in the<br />

new house have reinforced concrete structure. Same<br />

with the kitchen. While living room, balcony on the<br />

ground floor, bedrooms, and prayer room above have<br />

wooden floors. Size of wooden floors in the new house<br />

was carefully calculated to be as close to what is left<br />

from the old house. Some wooden columns from the<br />

old house were extended with concrete so to be tall<br />

enough for the two-storey house. In the area where<br />

there’s only one storey, the columns are used as is.<br />

474


ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

2553 คุณสุวพร พันธุ์แก้ว คุณจิโรจ กาญจนาภรณ์<br />

และผู้ช่วยศาสตราจารย์<br />

ดร.ณัฏฐิณี<br />

กาญจนาภรณ์<br />

พื้นที่ งบประมาณ<br />

Area Cost<br />

ที่ดิน 1,200,000<br />

1,200 ตร.ม. บาท<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

195 ตร.ม.<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

คอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก<br />

และไม้<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

อำเภอนาน้อย<br />

จังหวัดน่าน<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

2010 Suwaporn<br />

Phankeaw<br />

Jiroj Kanchanaporn<br />

and Associate<br />

Professor Nathinee<br />

Kanchanaporn<br />

Plot Size<br />

1,200 Sq.m.<br />

Usable<br />

Space<br />

195 Sq.m.<br />

1,200,000<br />

Baht<br />

Reinforced<br />

concrete<br />

and wood<br />

Na Noi<br />

Districrt,<br />

Nan Province<br />

-<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฏฐิณี กาญจนาภรณ์<br />

475


แยกประเภทไม้ และทำการประกอบบ้านไม้ขึ้นมาใหม่ โดย<br />

เริ่มจากการแยกประเภทไม้จากบ้านเดิม ได้แก่ ไม้โครงสร้าง<br />

หลังคา เสา โครงเคร่าผนัง ไม้ฝา ตงและคานพื้น ไม้แผ่นพื้น<br />

ชุดบันได ประตูและหน้าต่าง<br />

การออกแบบบ้านจากไม้เก่า สิ่งแรกๆ ที่มองเห็นว่าจะ<br />

นำไปใช้ได้คือ ประตูและหน้าต่าง โดยที่ช่างสามารถถอดบาน<br />

ประตูพร้อมวงกบ และชุดบานหน้าต่างพร้อมวงกบ มาวางเรียง<br />

ให้สามารถจินตนาการได้ว่าจะนำไปใช้ในส่วนไหนของบ้านที่<br />

สร้างใหม่ การผสมผสานโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กกับ<br />

โครงสร้างไม้ ก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ต้องจัดสรรพื้นที่ให้ดี โดยบ้าน<br />

หลังนี้เลือกที่จะใช้ส่วนที่เป็นห้องน้ำทั้งชั้นล่างและชั้นบนเป็น<br />

โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก รวมถึงส่วนครัวเพื่อเป็นวัสดุกัน<br />

ไฟให้กับบ้าน สำหรับส่วนพื้นห้องนั่งเล่น, ระเบียงชั้นล่าง, ห้อง<br />

นอน, ห้องพระบนชั้นสอง เลือกที่จะใช้โครงสร้างพื้นไม้เพื่อที่จะ<br />

ได้แสดงความสวยงามของโครงสร้างไม้ ซึ่งพื้นที่ของโครงสร้าง<br />

ไม้ได้จากการคำนวณปริมาณของพื้นไม้ในบ้านใหม่ให้ใกล้เคียง<br />

กับบ้านเดิม จะได้ไม้โครงสร้างที่มีความสมบูรณ์มาก เนื่องจาก<br />

เป็นส่วนที่ไม่โดนสภาพอากาศทำลายเสาไม้ของบ้านเดิมมี<br />

ความพิเศษคือเป็นไม้ยาวท่อนเดียวตั้งแต่พื้นถึงหลังคา แต่<br />

โครงสร้างของบ้านใหม่ในส่วนที่เป็นบ้านสองชั้นนั้น ชั้นล่าง<br />

จะเป็นเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก แล้วจึงค่อยต่อเสาไม้ในชั้นสอง<br />

จึงจำเป็นที่จะต้องตัดเสาออกไปบ้าง แต่ก็ได้เลือกใช้เสาต้นที่<br />

สมบูรณ์มาไว้ในส่วนที่เป็นระเบียง สำหรับในส่วนบ้านชั้นเดียว<br />

นั้นก็ใช้เสาไม้วางบนพื้นคอนกรีตได้เลย<br />

โครงเคร่าไม้ขนาด 1” x 3” หรือที่เรียกว่าไม้หน้าสามนั้น<br />

เป็นเหมือนไม้เอนกประสงค์ที่ใช้เป็นส่วนประกอบของโครง<br />

ต่างๆของบ้าน โครงเคร่าของบ้านเดิมก็นำมาตัดต่อใช้เป็น<br />

โครงเคร่าของบ้านใหม่ได้อย่างง่ายดายแทบไม่เหลือเศษ<br />

ส่วนไม้ฝาของบ้านเป็นส่วนที่รื้อออกมาแล้วเสียหายมากที่สุด<br />

เนื่องจากเป็นไม้แผ่นบาง โดนความชื้นและแดดตลอดอายุการ<br />

ใช้งาน รวมถึงมีปลวกเป็นบางจุด แผ่นที่รื้อออกมาสมบูรณ์ก็จะ<br />

นำไปตีเป็นไม้ฝาเหมือนเดิม ส่วนบางแผ่นที่รื้อออกมาเป็นแผ่น<br />

ที่เล็กลงก็ยังนำไปทำเป็นฝ้าชายคาได้และเนื่องจากพื้นที่ผนัง<br />

ของบ้านใหม่มีพื้นที่มากกว่าบ้านเดิม ทำให้ต้องซื้อไม้หน้าสาม<br />

เป็นโครงเคร่า และไม้ฝาเพิ่มบางส่วน ซึ่งเป็นไม้สักจากป่าปลูก<br />

The old 1”x3” frame woods were calculated and<br />

used as framing for the new house with almost no<br />

waste. Wall panels were the most damaged due to<br />

moisture, sunlight, and termites. The ones in good<br />

condition were reused as wall panels. Those that had<br />

to be trimmed smaller were used as soffits.<br />

Why the name Jitsaman (Unified souls)?<br />

It’s from the names of two owners, granny Yenjit<br />

and grandpa Saman. Although they’re no longer<br />

around, the children still feel that this house is the<br />

evidence of their hard work. The eldest sister said<br />

she wants this house to be a haven for everyone in<br />

the family. That’s why they call this house “Jitsaman”.<br />

ที่มาของชื่อ จิตสมาน<br />

เป็นการรวมกันของชื่อเจ้าของบ้าน คือ คุณยายเย็นจิต<br />

และ คุณตาสมาน พันธุ์แก้ว ถึงแม้ว่าทั้งคุณยายและคุณตาจะ<br />

ไม่ได้อยู่กับพวกเราแล้ว ลูกๆ และหลานๆ ต่างก็เห็นว่าบ้านหลัง<br />

นี้เป็นเสมือน สิ่งที่บอกถึงความพากเพียรของท่านทั้งสองคน<br />

พี่สาวคนโตอยากให้บ้านหลังนี้เป็นที่พักพิง แบ่งปันความอบอุ่น<br />

ของครอบครัว สมาชิกครอบครัวจึงร่วมกันตั้งชื่อบ้านหลังใหม่<br />

นี้ว่า “จิตสมาน”<br />

476


477


บ้านคุณทัศนีย์ แก้วแจ่ม<br />

MS THATSANEE KAEWCHAM’S HOUSE<br />

บ้านที่ได้รับการปรับปรุงหลังน้ำท่วมใหญ่ พ.ศ. 2554 เดิม<br />

เป็นบ้านสองชั้นของครอบครัวขยาย ปัจจุบันครอบครัวมีการ<br />

ขยับขยายไปปลูกบ้านใหม่ในพื้นที่ติดกันเป็นบ้านสองชั้นยก<br />

ใต้ถุนสูงตามความนิยมและการหลีกเลี่ยงความเสียหายที่เกิด<br />

จากอุทกภัย จึงไม่สะดวกกับการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ<br />

ดำเนินการปรับปรุงโดยการเพิ่มส่วนต่อขยายเพื่อรองรับ<br />

การอยู่ของผู้สูงอายุ (คุณตา สามีของคุณทัศนีย์ป่วยเป็น<br />

อัมพฤกษ์) ผู้อยู่อาศัยเป็นผู้ออกแบบเองโดยใช้สัดส่วนร่างกาย<br />

และการเคลื่อนไหวทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันต่างๆ ของ<br />

ตนเองภายในบ้านเป็นข้อกำหนดและเงื่อนไขในการออกแบบ<br />

โดยออกแบบให้เป็นโถงเปิดโล่งทั้งหมด ใช้สัดส่วนของอาคาร<br />

โดยเฉพาะการคลุมและการกำหนดความสูงของหลังคาในการ<br />

สร้างการปิดล้อมพื้นที่ โดยไม่มีการใช้ประตูหรือหน้าต่างใดๆ<br />

This house used to be a 2 stories house of an expanded<br />

family before its renovation in 2011, after the major<br />

flooding. At present, new family house is built as 2 stories<br />

house with raised ground floor to avoid any more flooding<br />

damage. Therefore it is not suitable for elderly living.<br />

An additional part were added on to assist a<br />

handicaped person (Father-in-law of Ms.Thatsanee has<br />

sickness of paralysis). This was designed by the residents<br />

themselves. Designing requirements were according to<br />

their body proportion and how they activate spaces in<br />

the house. They then, came up with loft space designed<br />

concept. Using building proportion, especially its<br />

coverage, and ceiling height to enclosed spaces without<br />

any window nor door usage.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

478<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

2554 คุณทัศนีย์ แก้วแจ่ม คุณทัศนีย์ แก้วแจ่ม ที่ดิน<br />

10,009.09<br />

ตร.ม.<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

987.84<br />

ตร.ม.<br />

2011 Thatsanee<br />

Kaewcham<br />

Thatsanee<br />

Kaewcham<br />

Plot Size<br />

10,009.09<br />

Sq.m.<br />

Usable<br />

Space<br />

987.84<br />

Sq.m.<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : นิสิตชั้นปีที่ 1 หลักสูตรสถาปัตยกรมและภูมิสถาปัตยกรรม<br />

ปีการศึกษา <strong>2559</strong> คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยลัยเกษตรศาสตร์<br />

งบประมาณ วัสดุ ที่ตั้ง<br />

Cost Material Location<br />

- ไม้ ตำบลไทรน้อย<br />

อำเภอบางบาล<br />

จังหวัดพระนคร<br />

ศรีอยุธยา<br />

- Wood Sai Noi<br />

Subdistrict,<br />

Bang Ban<br />

District, Phra<br />

Nakhon Si<br />

Ayutthaya<br />

Province<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

14.392624<br />

100.482950


479


หัวหินฮัท<br />

HUA HIN HUT<br />

หัวหินฮัท (Hua Hin Hut) ถูกออกแบบมาเพื่อปรับปรุง<br />

โครงสร้างโรงเก็บของเดิมให้เป็นที่พักอาศัยและที่ทำงาน โดย<br />

ยึดหลักในการใช้พื้นที่ใช้สอยและโครงสร้างเดิมให้เกิดประโยชน์<br />

สูงสุด การออกแบบจึงเน้นไปที่ความยืดหยุ่นในการใช้สอยพื้นที่<br />

ความต่อเนื่องของพื้นที่ภายใน-ภายนอก และการเลือกใช้วัสดุ<br />

ที่หาซื้อได้ตามร้านค้าวัสดุใกล้เคียง<br />

พื้นที่ใช้สอยใหม่ถูกแบ่งออกมาจากครึ่งหนึ ่งของโรงเก็บ<br />

ของเดิม การเล่นระดับของพื้นซึ่งได้แรงบันดาลใจมาจาก<br />

เรือนไทยเดิมลดความต้องการของการมีเฟอร์นิเจอร์ลอยตัว<br />

ต่างๆ ทำให้ความต่อเนื่องและยืดหยุ่นของพื้นที่ใช้สอยเป็นไป<br />

ได้จริงตามแนวทางการออกแบบ<br />

เนื่องจากที่ตั้งอาคารอยู่ท่ามกลางไร่สับปะรดและพื้นที่<br />

รกร้างทำให้ต้องมีการป้องกันแมลงและสัตว์เลื้อยคลานต่างๆ<br />

ด้วยการครอบมุ้งโครงไม้ไผ่ ซึ่งทำให้สามารถเปิดช่องเปิดต่างๆ<br />

ได้อย่างเต็มที่ทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน การอยู่อาศัยจึง<br />

มีแสงสว่างที่พอเพียงในเวลากลางวันและมีการระบายอากาศ<br />

ที่เย็นสบายตลอดเวลา<br />

Hua Hin Hut were renovated from an old storage building<br />

to residence and office in concept to maximize the use<br />

of old space and structure. Therefore, its design were<br />

emphasized on the flexibility, connection of interior and<br />

exterior space and local construction materials that can<br />

be bought from local stores.<br />

The new living area were the half of old storage<br />

building with levels designed to reflect Thai traditional<br />

house. With the minimize of loose furniture, the continuity<br />

and flexibility of the living space is actually possible in<br />

accordance with the design guidelines.<br />

Because the building is situated in the middle of<br />

pineapple field and wasteland, therefore protection of<br />

insects and reptiles are needed. With mosquito net<br />

inserted in bamboo-framed, there are voids that can<br />

be opened fully in day and night time. The living area<br />

then have plenty of light for daytime and ventilation to<br />

cool down at night.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2554 นายวชิรศักดิ์<br />

มณีวัฒนาพฤกษ์<br />

ผู้ออกแบบ พื้นที่ งบประมาณ<br />

Designer Area Cost<br />

เล.ลิง.พร้าว ที่ดิน 3,500,000<br />

1 ไร่ บาท<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

50 ตร.ม.<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

คอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

1 หมู่ 15 ซอย<br />

ไร่วิรัชต์ ตำบล<br />

หินเหล็กไฟ<br />

อำเภอหัวหิน<br />

จังหวัด<br />

ประจวบคีรีขันธ์<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

2011 Mr.Vachirasak<br />

Maneewathanapruk<br />

Le.Ling Prao<br />

Plot Size<br />

1 Rai<br />

Usable<br />

Space<br />

50 Sq.m.<br />

3,500,000<br />

Baht<br />

Reinforced<br />

Concrete<br />

1, Moo 15,<br />

Soi Rai Viraj,<br />

Hin Lek Fai<br />

Subdistrict,<br />

Hua Hin<br />

District,<br />

Prachuap Khiri<br />

Khan Province<br />

-<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณวชิรศักดิ์ มณีวัฒนาพฤกษ์<br />

480


481


HAVE A HUG<br />

ในพื้นที ่บ้านมีการปลูกผักและมีนาข้าวบริเวณด้านหลังบ้าน<br />

เพื่อประกอบกิจการร้านอาหาร ผักส่วนใหญ่ในบ้านก็จะนำ<br />

มาจำหน่ายภายในร้าน พื้นที่มีลักษณะออกแบบให้เป็นฟาร์ม<br />

ภายในร้านและตัวบ้านเชื่อมต่อกัน บรรยากาศโดยรวมเน้น<br />

ความเป็นธรรมชาติ ตัวบ้านมีการใช้วัสดุธรรมชาติเข้ามาช่วย<br />

There are vegetables growing around house and<br />

rice field at the back which are used for the restaurant<br />

supply, therefore most of the vegetables were sold in the<br />

restaurant. Designed planning has linked the restaurant,<br />

farm and residence together, and emphasized on the<br />

natural atmosphere by the use of natural materials<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

งบประมาณ<br />

Cost<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

2555 - - - - - 10/3 หมู่ที่ 7<br />

ตำบลหนองจ๊อม<br />

อำเภอสันทราย<br />

จังหวัดเชียงใหม่<br />

2012 - - - - - 10/3 Moo 7<br />

Nong Chom<br />

Subdistrict, San<br />

Sai District,<br />

Chiang Mai<br />

Province<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : นางสาวฐาณฤทัย วงศ์ใหญ่<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

18.878509<br />

99.019215<br />

482


483


บ้านท่าต้นกวาว<br />

TA TON KWAO HOUSE<br />

บ้านหลังนี้เป็นบ้านชั้นเดียวใต้ถุนสูงสร้างขึ้นเพื่อให้คุณพ่อ<br />

คุณแม่ และน้องชาย ตั้งอยู่บนที่ดินเดิมของคุณพ่อ คุณแม่ใน<br />

ชุมชนเล็กๆ ของอำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ โดยผู้ออกแบบ<br />

ได้ปล่อยให้ธรรมชาติเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของบ้าน โดยเก็บ<br />

ต้นไม้เดิมไว้ เกือบทั้งหมด เช่นบริเวณทางเข้าหลักออกแบบให้<br />

ต้นไม้สามารถเจริญเติบโตทะลุหลังคาได้ เนื่องจากพื้นที่นี้เคย<br />

มีน้ำท่วมจึงยกใต้ถุนสูงประมาณ 1.60 เมตร เพื่อใช้งานเป็น<br />

ที่จอดรถ และทำกิจกรรมต่างๆ หรือเป็นที่เก็บของได้ด้วย บ้าน<br />

วางผังเป็นรูปตัว L ประกอบด้วย ส่วนนั่งเล่น ส่วนเตรียมอาหาร<br />

และส่วนรับประทานอาหาร ทั้งหมดเชื่อมโยงกันไร้ผนังกั้น<br />

ส่วนครัวไทยแยกส่วนออกไปเพื่อไม่ให้กลิ่นรบกวนภายในบ้าน<br />

ถัดไปเป็นห้องนอน และห้องพระ ตกแต่งภายในด้วยสีที่เรียบ<br />

ง่ายให้ความรู้สึกโปร่งโล่ง สบาย เน้นการนำวัสดุบางส่วนจาก<br />

บ้านเก่าในบริเวณใกล้เคียงมาใช้ในบ้านหลังนี้มากที่สุดเป็นการ<br />

รียูส (reuse) เพื่อช่วยประหยัดงบประมาณการก่อสร้าง แสดง<br />

ให้เห็นว่าความสุขนั้นไม่จำเป็นต้องมีราคาแพง<br />

The architect built this high basement home on the<br />

old family land in a small town in Chiang Mai for his<br />

father, mother, and brother. He wanted nature to be an<br />

important part of the house and therefore, kept most of<br />

the trees. Main entrance was designed to allow trees<br />

to grow through the roof. The house is raised up high<br />

from the ground (160cm) to cope with floods. The<br />

basement can also be used as multi-purpose space<br />

and storage. The house is arranged in L shape. Living,<br />

pantry and dining areas are all connected in one open<br />

plan. Thai kitchen is outside to prevent smells. Next<br />

are bedrooms and prayer room. A lot of materials are<br />

recycled from old houses in the neighborhood to save<br />

cost and show that happiness doesn’t necessarily<br />

come with big price tags.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2555 คุณสนั่น<br />

สุธรรมซาว<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

คุณขวัญชัย<br />

สุธรรมซาว<br />

พื้นที่<br />

Area<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

250 ตร.ม.<br />

งบประมาณ วัสดุ<br />

Cost Material<br />

- คอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

ตำบลชมภู อำเภอ<br />

สารภี จังหวัด<br />

เชียงใหม่<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

18.72007<br />

99.06850<br />

2012 Sanan<br />

Sudhammasao<br />

Kwanchai<br />

Sudhammasao<br />

Usable<br />

Space<br />

250 Sq.m.<br />

- reinforced<br />

concrete<br />

Chompu<br />

Subdistrict,<br />

Sarapee District,<br />

Chiang Mai<br />

Province<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณขวัญชัย สุธรรมซาว<br />

484


ลิฟท์<br />

เตรียมอาหาร<br />

ห้องนอน<br />

ห้องนั่งเล่น รับประทานอาหาร<br />

ห้องนอน<br />

ห้องพระ<br />

ห้องนอน<br />

0 1m. 3m. 5m. 10m.<br />

485


บ้านสะเทินน้ำสะเทินบก<br />

SATERNNAM-SATERNBOK HOUSE (RESILIENT HOUSE)<br />

เรือนไทยภาคกลางนั้นนิยมสร้างกันให้มีใต้ถุนสูง เพื่อเวลา<br />

ที่น้ำหลาก เรือนต่างๆจะได้อยู่เหนือน้ำที่ท่วมหลากมา แต่<br />

เมื่อวิถีชีวิตของผู้อยู่อาศัยเปลี่ยนไป และครอบครัวขยาย<br />

ขนาดขึ้น ผู้อยู่อาศัยในเรือนใต้ถุนสูงมักนิยมที่จะกั้นห้อง<br />

พักขึ้นในบริเวณใต้ถุน เพื่อที่จะขยายพื้นที่ที่อยู่อาศัย ทำให้<br />

เมื่อมีเหตุการณ์น้ำหลากที่มีแต่เดิมนั้นกลายเป็นเหตุการณ์<br />

น้ำท่วมในปัจจุบัน<br />

บ้านสะเทินน้ำสะเทินบกถูกคิดขึ ้นเพื่อตอบสนองความ<br />

เป็นอยู่ของผู้อยู่อาศัยในที่ราบลุ่มที่น้ำท่วมถึงในปัจจุบัน ซึ่ง<br />

เป็นคนยุคที่ขี่จักรยานยนต์ ไปทำงานโรงงาน และซื้อกับข้าว<br />

ที่ 7-11 การอยู่บ้านใต้ถุนสูงไม่ได้ตอบความต้องการของคน<br />

รุ่นนี้อีกต่อไป บ้านสองชั้นในพื้นที่ที่มีจำกัดที่กลายเป็นสภาพ<br />

เมือง สามารถลอยขึ้นได้เมื่อมีเหตุการณ์น้ำท่วมชุมชน ช่วย<br />

ป้องกันชีวิตและทรัพย์สินให้อยู่รอดปลอดภัย<br />

เทคโนโลยีในการสร้างทุ่นถูกคิดค้นขึ้นมาเป็นพิเศษ มี<br />

รางประคองที่สามารถทำให้บ้านหลังนี้ลอยตรงขึ้นไปและลอย<br />

กลับลงมาอยู่ที ่เดิมได้ วัสดุในการก่อสร้างระบบลอยน้ำนี้ล้วน<br />

หาได้จากวัสดุที่มีทั่วไปในตลาด ทำให้การก่อสร้างไม่มีราคา<br />

สูงกว่าบ้านปกติทั่วไปนัก และยังสามารถซ่อมแซมได้ง่าย<br />

เหมือนบ้านปกติทั่วไป<br />

แนวคิดการออกแบบบ้านให้มีชานกลางบ้านทำให้บ้าน<br />

หลังนี้มีความเป็นมิตรกับการดำรงชีวิตแบบไทยๆ นอกจาก<br />

นั้นบ้านหลังนี้ยังถูกออกแบบให้แต่ละห้องมีโอกาสที่จะรับลม<br />

ได้ไม่ว่าบ้านหลังนี้จะถูกหันหน้าไปทางทิศใด นอกจากนั้น<br />

บ้านหลังนี้ยังมีระบบไฟฟ้าสำรอง ระบบเก็บน้ำสำรอง และ<br />

ระบบบำบัดน้ำเสียไว้ใช้ในยามฉุกเฉินได้<br />

In Central-Thai traditional house, the raised floor were<br />

very popular as to avoid the flooding season. All Thai<br />

houses floor level were raised above the water level.<br />

However, with changes of lifestyle, family expanded and<br />

usually extended their living area to ground level, they<br />

construct walls for rooms. When water comes, they<br />

were all effected by the flooding.<br />

The Saternnam-Saternbok House (Resilient House),<br />

were designed to cope with residents of the present<br />

flooding area. In time where people ride motorcycles<br />

to work, go to industrial factory as work and buy food<br />

from 7-11, raised floor design is not in demand of new<br />

generation. The urban 2 stories house in limited property<br />

that is able to elevated with flood will help protect and<br />

secure people’s estate and safety.<br />

Special buoy constructing technology has been<br />

invented. There are rail guarding entire house to<br />

elevate vertically up and down on exact same spot. All<br />

construction materials for the floating house are regular<br />

material in market, therefore is economy and convenience<br />

for future maintenance as normal house type.<br />

Open court concept has made this house friendly with<br />

Thai lifestyle. Furthermore, every house has designed to<br />

gain ventilation no matter what side it is situated. Apart<br />

from that, an emergency electric, fresh water and waste<br />

treatment has been supplied in advance for this house too.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

ผู้ออกแบบ<br />

Designer<br />

2555 การเคหะแห่งชาติ บริษัท ไซต์ สเปซิฟิค<br />

จำกัด<br />

พื้นที่ งบประมาณ<br />

Area Cost<br />

ที่ดิน 1,500,000<br />

36 ตร.วา บาท<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

70 ตร.ม.<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

โครงสร้าง<br />

เหล็ก<br />

ฐานราก<br />

คอนกรีต<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

อำเภออุทัย<br />

จังหวัดพระนคร<br />

ศรีอยุธยา<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

2012 National Housing<br />

Authority of Thailand<br />

Site - Specific<br />

Co., Ltd.<br />

Plot Size<br />

36 Sq.wa<br />

Usable<br />

Space<br />

70 Sq.m.<br />

1,500,000<br />

Baht<br />

Metal<br />

structure,<br />

Concrete<br />

foundation<br />

Uthai District,<br />

Phra Nakhon<br />

Si Ayutthaya<br />

Province<br />

-<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : บริษัท ไซต์ สเปซิฟิค จำกัด<br />

486


487


หัวหินเฮ้าส์<br />

HUA HIN HOUSE<br />

หัวหินเฮ้าส์ (Hua Hin House) เป็นการสร้างบ้าน ‘ไทย’ ตาม<br />

รูปแบบ วิถีชีวิต เทคโนโลยีการก่อสร้าง และสภาพภูมิอากาศ<br />

ร่วมสมัย การกำหนดพื้นที่ใช้สอยยึดตามรูปแบบการใช้ชีวิต<br />

ของเจ้าของบ้านเป็นหลักและเน้นความหลากหลายทางการ<br />

ใช้สอยในแต่ละพื้นที่เพื่อลดขนาด ‘พื ้นที่ก่อสร้าง’ แต่ยังคงมี<br />

พื้นที่ใช้สอยครบครัน<br />

บานเฟี้ยมรอบตัวบ้านทำหน้าที่เปิดเชื่อมโยงพื้นที่สวน<br />

ภายนอกเข้าสู่สวนภายในบ้านเพื่อสลายความรู้สึกของห้องปิด<br />

ในแต่ละพื้นที่ออกไป ซึ่งยังเป็นการดึงแสง และลมธรรมชาติ<br />

เข้ามาใช้ให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br />

องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมทุกชิ้นเสา คาน ผนัง<br />

กันสาดถูกใส่ลงไปเท่าที่จำเป็นที่จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทั้ง<br />

ในเรื่องความสวยงาม และการ ป้องกัน / เปิดรับ แดด-ลม-ฝน<br />

สู่พื้นที่ใช้สอย<br />

Hua Hin House has been constructed in Thai Style with<br />

contemporary construction technology, climate and<br />

lifestyle. The living area were according to the owner’s<br />

usage and emphasizing on variety of functions as to<br />

reduce the size but preserve functions.<br />

To break the sense of closure indoors, there are<br />

folding doors all around the house that are able to<br />

widely open and embrace outer nature to inside.<br />

Therefore, lighting and natural ventilation is fully<br />

integrated in the house.<br />

All architectural elements; beams, columns,<br />

roofing, were added only needed to maximize the<br />

benefit of beauty, safety and to the receivable sunlight<br />

- wind and rain to the living area.<br />

ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

2556 คุณเชาว์-คุณวารุณี<br />

มณีวัฒนาพฤกษ์<br />

ผู้ออกแบบ พื้นที่ งบประมาณ<br />

Designer Area Cost<br />

เล.ลิง.พร้าว ที่ดิน 3,500,000<br />

1 ไร่ บาท<br />

พื้นที่ใช้สอย<br />

160 ตร.ม.<br />

วัสดุ<br />

Material<br />

คอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก<br />

ที่ตั้ง<br />

Location<br />

1 หมู่ 15 ซอย<br />

ไร่วิรัชต์ ตำบล<br />

หินเหล็กไฟ<br />

อำเภอหัวหิน<br />

จังหวัด<br />

ประจวบคีรีขันธ์<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

2013 Mr.Chao - Mrs.<br />

Warunee Maneewathanapruk<br />

Le.Ling Prao<br />

Plot Size<br />

1 Rai<br />

Usable<br />

Space<br />

160 Sq.m.<br />

3,500,000<br />

Baht<br />

Reinforced<br />

concrete<br />

1, Moo 15, Soi<br />

Rai Viraj, Hin Lek<br />

Fai Subdistrict,<br />

Hua Hin District,<br />

Prachuap Khiri<br />

Khan Province<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณวชิรศักดิ์ มณีวัฒนาพฤกษ์<br />

488


489


ONCE UPON A TIME<br />

IN UDONTHANI<br />

บ้านไม้ที่ตั้งอยู่ใจกลางเมืองอุดรธานีหลังนี้ อายุราว 40-50 ปี<br />

เป็นบ้านไม้ที่ก่อสร้างตามแบบมาตรฐานของเทศบาลในยุคนั้น<br />

ด้านหลังบ้านเคยเป็นสวนผลไม้ที่คุณพ่อของเจ้าของบ้าน<br />

เคยปลูกและใช้น้ำจากบ่อน้ำบาดาลตักขึ้นมารดต้นไม้ การ<br />

ออกแบบจึงต้องการเก็บความทรงจำเหล่านี้ไว้ โดยเป็นการ<br />

ออกแบบซ่อมแซมตัวบ้านเก่าที่เริ่มผุพังและเพิ่มฟังก์ชั่นห้อง<br />

ครัวและศาลานั่งเล่นเข้าไปด้านหลังบ้านเพื่อเชื่อมพื้นที่ระหว่าง<br />

บ้านและสวนเข้าด้วยกัน พื้นที่สวนที่ออกแบบใหม่ไม่ได้เป็น<br />

สวนผลไม้ แต่เป็นสวนหย่อมสำหรับพักผ่อน ออกกำลังกาย<br />

ในบ้าน โดยเริ่มมีแนวคิดจากบ่อน้ำเก่า และสร้างรูปทรงของ<br />

แลนด์สเคปเป็นวงกลมหลายๆ วง เหมือนหยดน้ำที่กำลังแผ่<br />

รัศมีออกไปเรื่อยๆ<br />

In the middle of Udonthani Province, lays an old house<br />

aging around 40-50 years that were constructed by the<br />

municipality design back then. The back of the house<br />

were once orchard filled with trees grown and cared<br />

by the owner’s hand with underground watering. The<br />

design of house has tried to keep these memories while<br />

maintaining the old building along with construction of<br />

additional rooms such as; kitchen, back yard pavilion<br />

(linkage between indoor and outdoor usage of the house).<br />

The garden were re-designed from orchard to recreation<br />

garden around the old well in the circular design like<br />

the ripple of water.<br />

ปีที่ปรับปรุง<br />

Year<br />

2558<br />

Year of<br />

renovate<br />

เจ้าของ ผู้ออกแบบ พื้นที่ งบประมาณ วัสดุ ที่ตั้ง<br />

Owner Designer Area Cost Material Location<br />

- - - - - ถนนประจักษ์<br />

ตำบลหมากแข้ง<br />

อำเภอเมือง<br />

จังหวัดอุดรธานี<br />

2015 - - - - - Prachak Road,<br />

Mak Khaeng<br />

Subdistrict,<br />

Mueang Udon<br />

Thani District,<br />

Udon Thani<br />

Province<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณปองพล ยุทธรัตน์<br />

พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

GPS<br />

-<br />

-<br />

490


491


บ้านอาจารย์ขวัญสรวง<br />

ARJARN KHWANSUANG’S HOUSE<br />

บ้านหลังนี ้อยู่ในเขตรั้วเดียวกับบ้านบิดามารดา และบ้านพี่<br />

บ้านน้องที่ออกเรือนกันไปแล้ว อาศัยอยู่บริเวณมุมทางตะวัน<br />

ตกเฉียงเหนือของที่ดินเป็นบริเวณก่อสร้าง ด้วยเหตุที่เป็นมุม<br />

ของที่ดิน จึงมีรั้วบ้านและถนนภายนอกประชิดอยู่ทางด้านข้าง<br />

และด้านหลัง ส่วนด้านหน้านั้นเป็นถนนภายใน<br />

บริเวณที่เป็นบ้านนั้นประกอบไปด้วยตัวเรือนใหญ่ชั้นเดียว<br />

ศาลาอเนกประสงค์ เรือนต้นไม้ และซุ้มประตู สิ่งปลูกสร้าง<br />

ทั้งหมดนี้จะถูกเชื่อมเข้าด้วยกัน โดยรั้วไม้และกำแพงอิฐ<br />

ปิดล้อมลานพักผ่อนและสวนภายในอีกทีหนึ่ง ส่วนด้านหน้า<br />

บ้านนั้นจะมีลานติดต่อระหว่างถนนภายในและประตูทางเข้า<br />

ตัวเรือนประกอบไปด้วยเนื้อที่ใช้สอย 6 ส่วน คือ ห้องนอน<br />

ห้องน้ำ-ส้วม ห้องทำงาน ส่วนทานอาหาร ส่วนพักผ่อนและ<br />

ระเบียงนั่งเล่นนอนเล่นห้องหับเหล่านี้แทบทุกห้องจะหันเข้า<br />

เชื่อมกันกับสวนและลานโล่งภายในบ้าน ซึ่งอยู่ด้านทิศตะวัน<br />

ออก แต่เนื้อที่ที่เป็นศูนย์กลางของทั้งหมดนั้นคือตัวระเบียง<br />

พักผ่อน ซึ่งจะอยู่ใกล้ชิดกับลานบ้านมากที่สุด โดยมีบ่อบัวเป็น<br />

ตัวเชื่อม ระเบียงนอกจากจะใช้พักผ่อนอเนกประสงค์แล้วยัง<br />

ทำหน้าที่เป็นจุดรวมการสัญจรขึ้นลงไปมาทั้งหมดของตัวบ้าน<br />

ตัวเรือน ห้อง ศาล ทั้งซุ้มทางเดินถูกออกแบบให้ประสานกัน<br />

ทั้งหมด จนยากแก่การกำหนดว่าตัวบ้านนั้นเริ่มต้นที่ตรงไหน<br />

เพราะมีการแล่นต่อถึงกันทั้งหมดของที่ว่างหลายประเภท<br />

ไม่ว่าจะเป็น ที่ว่างของห้องหับที่ปิดล้อม ระเบียงที่เปิดโล่งแต่<br />

มีหลังคาคลุม ไปจนถึงลานที่เปิดโล่งสู่ท้องฟ้าในแวดวงของ<br />

รั้วที่ปิดล้อม ดังนั้นตัวบ้านที ่ใช้อยู่อาศัยจึงกลายเป็น บริเวณ<br />

ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นข้างนอกหรือข้างใน ข้างล่างหรือข้างบน<br />

This is one of the house in the extended family group<br />

house. It is situated on the north-west of the property<br />

near the corner, and surrounded on back and side<br />

with external fence and road, internal road at the front<br />

entrance.<br />

Living area of the single story house consists of<br />

one large multi-purpose pavilion, a tree house and<br />

an arch. All areas are linked together with wooden<br />

fence and brick wall enclosing inner garden. At the<br />

front entrance is a courtyard linking internal path and<br />

external entrance.<br />

6 spaces were linked in the house; bedroom,<br />

washroom, working room, dining room, recreation<br />

area and living area. All of the rooms are designed<br />

to link with garden and internal court on the east<br />

side of the house. However, the main recreation<br />

space of the house is the terrace, which is planned<br />

closely to the center court, linking to a lotus pond.<br />

All terraces also function as connection path linking<br />

up and down levels of the house together. All parts<br />

were linked together so that it is hard to tell where<br />

the house actually begins at, the enclosed rooms,<br />

open corridor with roof shades, or open terraces.<br />

ปีที่สร้าง เจ้าของ ผู้ออกแบบ พื้นที่ งบประมาณ วัสดุ ที่ตั้ง พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

Year Owner Designer Area Cost Material Location GPS<br />

- คุณอมรา-คุณขวัญสรวง คุณขวัญสรวง - - - - -<br />

อติโพธิ์ อติโพธิ์<br />

- Ummara - Khwansuang Atipho - - - - -<br />

Khwansuang Atipho<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณฤกษ์ดี โพธิวนากุล<br />

492


493


บ้านกันตะบุตร<br />

KANTABUTR’S HOUSE<br />

เป็นบ้านที่มีลักษณะเรียบง่าย ผังพื้นอาคารเป็นรูปตัวยู เว้น<br />

ช่องว่างส่วนกลางไว้เพื่อเป็นลานปลูกต้นไม้ และเพราะเป็น<br />

บ้านใต้ถุนสูง บรรยากาศจึงโปร่งสบายด้วยลมที่พัดผ่านตลอด<br />

เวลา บันไดทางขึ้นอยู่นอกตัวบ้าน พื้นผิวของอาคารเป็นกรวด<br />

ล้างจึงไม่จำเป็นต้องทาสี<br />

บ้านหลังนี้เกือบทั้งหมดวางอยู่บนเสา และมีบันไดทาง<br />

ขึ้นชั้นบนอยู่นอกตัวบ้านคล้ายเรือนไทยสมัยก่อนที่มีใต้ถุนสูง<br />

ทำให้บ้านโปร่งไม่อึดอัด สามารถมองทิวทัศน์โดยรอบได้ตลอด<br />

ห้องชั ้นบนใช้หน้าต่างกระจก ขึงผ้าใบเป็นม่านอยู่ภายนอกมี<br />

ราวไม้กั้นตรงช่วงบนและล่างไม่ให้ลมพัดตีผ้าใบ แดดแรงก็เอา<br />

ผ้าใบลง อยากชมวิวก็ชักผ้าใบขึ้น ผ้าใบเก่าก็เปลี่ยนได้ ไม่ต้อง<br />

ตีไม้ระแนงบังแดด<br />

บ้านหลังนี้ออกแบบโดยต้องการให้แสดงถึงสัจจภาวะที่<br />

แสดงให้เห็นว่า มนุษย์เรานั้นเพียงแค่มีบ้านสักหลังที่ไม่ต้อง<br />

ตกแต่งหรูหรามากมายก็สามารถดำเนินชีวิตอยู่ได้อย่างมี<br />

ความสุขแล้ว<br />

บ้านหลังนี้ สถาปนิกเลือกหลักการออกแบบที่มีการยึดถือ<br />

ระบบระเบียบของพิกัดเป็นหลักการขั้นพื้นฐาน สนองประโยชน์<br />

แก่ชีวิตการอยู่อาศัยของครอบครัวและมิตรที่มาเยี่ยมเยียนตาม<br />

โอกาส ชั้นล่างส่วนใหญ่เป็นลักษณะของใต้ถุนโล่ง โดยพื้นที่<br />

ใช้สอยที่จำเป็นต้องมีผนังกั้น จะถูกกำหนดให้อยู่บนชั้นสองเป็น<br />

ส่วนใหญ่ มีลักษณะเป็น court house ทุกเนื้อที่ ทั้งใต้ถุนและ<br />

ชั้นบนจะมองเห็นและสัมพันธ์กันกับสวนใน court กลางบ้าน<br />

สถาปนิกคิดว่าเหมาะสมสำหรับบ้านในเมืองที่สร้างบนเนื้อที่<br />

จำกัด ห้องพักอาศัยจัดไว้อยู่ชั้นสอง เพื่อทัศนวิสัยที่กว้างไกล<br />

โดยรอบและยังพ้นจากความเดือดร้อนอันเนื่องมาจากน้ำท่วม<br />

อาคารหลังนี้คำนึงถึง วัสดุ แรงงาน วิธีการก่อสร้างและเครื่อง<br />

มือก่อสร้างที่มีอยู่ในบ้านเมืองของเรา ผสานเข้ากับความคิด<br />

ความเข้าใจของสถาปนิกในบริบท ณ ขณะนั้น ผนังอาคาร<br />

โดยรอบ ใช้อิฐ C.M.กลวงที่มีความหนาตามพิกัด 15 เซนติเมตร<br />

เพื่อผลในการช่วยให้บ้านเย็นขึ้น รูปแบบตามลักษณะทาง<br />

เรขาคณิตที่ให้ผลในการควบคุมการทรงตัวของอาคารได้<br />

ชัดเจนกว่ารูปลักษณะอื่นๆที ่อยู่นอกเหนือกฎเกณฑ์ทาง<br />

เรขาคณิต โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะทำให้ Mass และ Space ของ<br />

อาคาร มีความสัมพันธ์กับ Gravity Force อย่างแยกกันไม่ออก<br />

This house was simply planned with U-shape plan with<br />

the center part as open garden court. With raisedbased<br />

style it bring good ventilation and coziness to the<br />

house. With finishing of exposed aggregate finishing,<br />

the house needed no painting job.<br />

Almost all house areas are on columns with entrance<br />

stairs style like Thai traditional house. Therefore the<br />

viewpoint of the house is endless. With glass paneled<br />

windows, and exterior blinds canvas , views all around<br />

are very visible.<br />

This house were designed to display the motto of<br />

living sufficiently as human with one simple house is<br />

all humankind needed.<br />

Designed with coordinate system, this house<br />

functions to make it resident and guests happy. Lower<br />

ground were mostly open area of raised-based. Most<br />

of the enclosed room are in the upper level. It has<br />

court house style, where every area is connected or<br />

visible to the main court of the house. The architect<br />

sees suitable for limited space of urban house, all<br />

residents areas are on the upper level to have further<br />

viewpoint and far from flooding problem.<br />

This building were designed on the concern of<br />

material, labor, and construction practice on hand,<br />

together with the architect’s through and understanding<br />

of that period. Therefore, all walls were C.M.bricks of<br />

15 cm. thickness with hollow core designed to reduce<br />

the heat collecting of the house. And they used basic<br />

geometry shapes for better control of building balance<br />

as to balance the building Mass & Space with the<br />

Gravity Force.<br />

494


ปีที่สร้าง<br />

Year<br />

เจ้าของ<br />

Owner<br />

- ศาสตราจารย์<br />

เรืองศักดิ์ กันตะบุตร ศาสตราจารย์<br />

- Professor<br />

Ruengsak<br />

Kantabutr<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณฤกษ์ดี โพธิวนากุล<br />

ผู้ออกแบบ พื้นที่ งบประมาณ วัสดุ ที่ตั้ง พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

Designer Area Cost Material Location GPS<br />

เรืองศักดิ์ กันตะบุตร - - - - -<br />

Professor<br />

Ruengsak<br />

- - - - -<br />

Kantabutr<br />

495


บ้านรองศาสตราจารย์แสงอรุณ<br />

ASSOCIATE PROFESSOR SAENGARUN’S HOUSE<br />

บ้านพักอาศัยของไทยภาคกลางใช้ระบบมาตรฐาน<br />

Standardization แม้ว่าเราไม่ได้พัฒนาระบบนี้ขึ้นถึงระดับสูง<br />

เช่นที่ชาวญี่ปุ่นทำได้สำเร็จก็ตาม แต่ก็นับได้ว่าสถาปนิกในอดีต<br />

ของเราได้สร้างเอกลักษณ์ ในแบบสถาปัตยกรรมประเภทนี้ไว้<br />

อันควรแก่การภูมิใจ<br />

คุณสมบัติอีกประการที่อาจเรียกได้ว่าเป็นเอกลักษณ์ของ<br />

งานสถาปัตยกรรมประเภทบ้านพักอาศัยก็คือ การที่พืชพันธุ์ไม้<br />

วางห้อมล้อมตัวอาคาร ทำหน้าที่เป็นฉนวนป้องกันตัวเรือนให้<br />

พ้นจากความร้อน และสายลมฝนและเนื่องจากที่ดินยังมีเพียง-<br />

พอ สวนครัวสวนสมุนไพร จึงเข้ามาอยู่ร่วมกันด้วย ทั้งหมดนี้<br />

เมื่อรวมกันขึ้น คือ งานสถาปัตยกรรมแบบอุทยานนคร ปัจจุบัน<br />

สภาพเมืองอุทยานได้สูญสิ้นไปแล้วจากประเทศ<br />

สิ่งที่น่าวิตกมาก คือ อาคารทุกชนิดในปัจจุบันแสดงความชิง<br />

เด่นให้ปรากฏ ได้มีการแสดงแปลกประหลาดและดึงดูดสายตา<br />

ด้วยกรรมวิธีต่างๆ เราควรเลิกการทำอะไรที่ชิงเด่นกันได้แล้ว<br />

อยู่กันอย่างสงบ สงัด และเลิกคิดว่า สถาปัตยกรรมเป็นพระเอก<br />

เรายกตำแหน่งนี้ให้แก่ธรรมชาติ เหตุสำคัญ 2 ประการคือ<br />

1.เพื่อความกลมกลืน<br />

2.เพื่อความประหยัด<br />

ความกลมกลืนของอาคารในเมืองเป็นสิ่งซึ่งก่อให้เกิด<br />

สะท้อนสัมผัสที่ราบรื่นตัวอย่างเช่นการใช้ระบบมาตรฐาน ของ<br />

อาคารบ้านไทยภาคกลางในอดีต รูปทรงของไทยภาคกลางใน<br />

อดีตซึ่งปัจจุบันได้ถูกทอดทิ้งไปแล้วนั้น บางท่านอาจจะเห็นว่า<br />

Thai houses in the central region of Thailand are a part<br />

of standardized architecture. Although the system may<br />

not be as complicated as traditional Japanese houses,<br />

it doesn’t make them any less unique but something<br />

that we can be proud of.<br />

One important characteristic is how plants are<br />

strategically arranged around the house. They act as<br />

insulation and protect the house from gusts and rain.<br />

Back then, houses were built on large pieces of land.<br />

Herb gardens sit among big trees creating something<br />

similar to a park. This characteristic is now a bygone<br />

quality in residential architecture of Thailand.<br />

What is so worrying is how buildings right now try<br />

so hard to be noticed. They demand attention in the<br />

most bizarre and every way possible. We have to stop<br />

competing for attention and live in peace and quietude.<br />

We must stop thinking that architecture is the leading<br />

man and give this title to nature for 2 important reasons;<br />

1. Everything should be in harmony<br />

2. To save cost<br />

Harmony of buildings is the quality that brings<br />

about the standardization of traditional houses in the<br />

central region of Thailand. This architecture, which<br />

ปีที่สร้าง เจ้าของ ผู้ออกแบบ<br />

Year Owner Designer<br />

- - ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

(ปรับปรุงจาก<br />

เรือนไทยสมัยรัชกาล<br />

ที่ 5)<br />

- - No information<br />

(renovated from<br />

old Thai houses<br />

from King Rama V<br />

period)<br />

ชื่อผู้ส่งผลงาน : คุณฤกษ์ดี โพธิวนากุล<br />

พื้นที่ งบประมาณ<br />

Area Cost<br />

- ซื้อหลังเก่า<br />

ราคาไม่ถึง<br />

หนึ่งหมื่น<br />

บาทต่อ<br />

เรือน<br />

- Old houses<br />

were<br />

bought for<br />

less than<br />

10,000<br />

Baht each<br />

วัสดุ ที่ตั้ง พิกัดทางภูมิศาสตร์<br />

Material Location GPS<br />

ไม้ - -<br />

wood - -<br />

496


เป็นรูปแบบที่ซ้ำซากก่อให้เกิดความเบื่อหน่าย แต่ความจริง<br />

แล้วรูปแบบมาตรฐานของอดีตได้ใช้ร่วมกับพืชพันธุ์ไม้ และมี<br />

กรรมวิธีในการจัดวางรูปเรือนอันมีลักษณะที่สามารถสร้างความ<br />

แตกต่างกันได้อย่างไม่สิ้นสุด และเอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรม<br />

ไทยในอดีตนั้นเราจะต้องยอมรับว่าเป็นสิ่งซึ่งสถาปัตยกรรม<br />

ปัจจุบันไม่อาจเทียบได้<br />

ความสงบระงับควรจะเป็นเป้าหมายในการดำรงชีวิตของเรา<br />

และด้วยวิธีนี้เท่านั้นที่ความเป็นมนุษย์ของเราจะพัฒนาสูงขึ้น<br />

ผมและภรรยาเชื่อดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้นจึงพิสูจน์การกิน<br />

อยู่หลับนอนด้วยสเกลหนึ่งต่อหนึ่งในเรือนไทยสมัย ร.5 อย่าง<br />

ที่บอกไว้แล้วเราโอนมรดกของบรรพบุรุษทิ้งกันง่ายเกินไป<br />

ชาวบ้านแพนเจ้าของเรือนไทยก็เป็นเช่นนั้น ราคาเรือนที่ขายให้<br />

ผมถูกจริงๆ เฉลี่ยแล้วหลังหนึ่งไม่ถึงหมื่นบาท สภาพดี ปัจจุบัน<br />

ราคานี้ไม่มีอีกแล้วนอกจากหลังที่โทรมสาหัส ชาวบ้านแพนได้<br />

เงินผมไปจากการขายเรือนเก่าก็ไปทำเรือนใหม่เลียนแบบเรือน<br />

สมัยใหม่ในกรุงเทพฯ เราเดินสวนทางกันในเรื่องนี้ และดูเหมือน<br />

จะพอใจด้วยกันทั้งสองฝ่าย<br />

สิ่งหนึ่งที่เป็นของงดงามในองค์ประกอบของกลุ่มเรือนไทย<br />

เดิมคือเรือนแต่ละหลังนั้นมีนอกชานวิ่งเชื่อมโยงแสดงความ<br />

เข้าใจของสถาปนิกที่วางเนื้อที่เอนกประสงค์ไว้ติดกับบริเวณ<br />

ส่วนตัว ชีวิตไทยในอดีตมีธรรมชาติวางแวดล้อมทั้งด้าน<br />

ภายนอกและภายใน เมืองในปัจจุบันนี้มีบริเวณล้อมรอบสำหรับ<br />

ปลูกพืชพันธุ์ไม้น้อยลงกว่าเดิมมาก แต่แนวความคิดของการ<br />

ทำสวนไม้กระถางนั้นไม่ใช่ของล้าสมัย และสวนแบบนี ้ควรจะ<br />

ติดตามมนุษย์ขึ้นไปทุกระดับ<br />

มาพูดถึงความเสียเปรียบของคนปัจจุบันที่ใช้เรือนไทยเดิม<br />

พักอาศัย เรือนไทยภาคกลางมีผนังที่เอียงสอบเข้า การตั้งเครื่อง<br />

เรือนในห้องย่อมไม่กระชับและสะดวกเท่ากับผนังที่วางตั้งฉาก<br />

เรือนไทยมีหน้าต่างทุกช่วงเสาทำให้เครื่องเรือนแบ่งออกเป็น<br />

ช่วงๆ ทางที่ดีที่สุดคือการทำเครื่องเรือนเฉพาะที่ ซึ่งเป็นของ<br />

is now abandoned, may be perceived by some as<br />

repetitive and boring. But the standard format of a<br />

house and trees together plus endless possibilities<br />

in building arrangement is just unparalleled by today<br />

architecture.<br />

Peace and sufficiency should be what we aspire<br />

for a life goal. Only this will refine our souls and<br />

improve our humanity.<br />

My wife and I believe in this philosophy and prove<br />

it by living in one-on-one scale in a Thai house that<br />

can date back to King Rama V period. We abandon the<br />

ancestor’s legacy too easily. The house former owner<br />

was no exception. He sold me houses that were in great<br />

condition for less than 10,000 baht each which was the<br />

market price for something in far more shabby state.<br />

He used that money to build a new house which looked<br />

like a knock-off of a contemporary house in Bangkok.<br />

We obviously had opposite taste. But we were both<br />

contented with our choices.<br />

One beautiful element in a cluster of Thai house<br />

is they are connected with terraces. Multi-purpose<br />

and private space are next to each other. Nature<br />

can be found both inside and out. People in the city<br />

nowadays have much less space for plants. In fact,<br />

the concept of potted gardens is never outdated. It<br />

should follow us everywhere we go.<br />

Though there are some inconveniences for modern<br />

people living in a Thai house. Walls slanting inward makes<br />

it less convenient for placing furniture than perpendicular<br />

walls. Thai houses also have windows in every column grid<br />

497


แน่ว่าราคาสูงกว่าเครื่องเรือนท้องตลาด แต่ถ้าหากว่าเราใช้<br />

ชีวิตแบบสำรวมและมัธยัสถ์แล้วปัญหานี้คงหมดไป การก้าว<br />

ข้ามธรณีประตูเรือนมีหลายคนเห็นว่า ไม่สะดวกและเปลืองแรง<br />

แต่ก็มีบางคนเห็นว่าจุดนี้เป็นการออกกำลังขาไปในตัว และถ้า<br />

ข้ามไม่ไหวธรณีประตูก็จะบอกให้เรารู้ว่าเราแก่แล้ว ห้องแต่งตัว<br />

ของเดิมไม่มี เพราะสมัยนั้นเขาไม่แต่งตัวกันวุ่นวาย ชุดนุ่งห่ม<br />

ก็มีแต่พอดี แต่เมื่อจำต้องมีที่สำหรับเรื่องนี้ ก็สามารถกั้นห้อง<br />

ต่อจากห้องนอน บนบริเวณที่เราเรียกว่าชานได้<br />

ห้องน้ำ ของเดิมแยกเป็นเรือนต่างหากมีการถ่ายเทลม<br />

ตลอดเวลารวมทั้งแสงแดดที่มีอยู่อย่างพอเพียง ผู้ใช้ห้องน้ำ<br />

ดูสวนและธรรมชาติภายนอกไม่อึดอัดทึบเช่นห้องน้ำปัจจุบัน<br />

ซึ่งอยู่ในตัวเรือนใหญ่ แต่ถ้าอยากจะทำห้องน้ำให้ติดกับห้อง<br />

นอนก็ย่อมจะทำได้ คือทำบนชานเรือนส่วนหนึ่งเช่นเดียวกับ<br />

ห้องแต่งตัว (บ้านท่านนายก ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมชใช้วิธีนี้)<br />

ทางเดินสู่เรือนจากที่จอดรถผ่านกรงนก เบื้องหลัง<br />

คือต้นฝรั่ง ปลูกเพื่อเป็นอาหารของสัตว์ การไม่ใช้ยาฆ่าแมลง<br />

ในบริเวณทำให้นกเข้ามากินเป็นประจำและร้องปลอบโยนเรา<br />

ทุกวัน ข้างหน้าคือไผ่ตงซึ่งให้อาหารเป็นประจำในฤดูฝน<br />

ประตูเข้าห้องพระซึ่งวางติดกับห้องนอนหน้าประตูห้อง<br />

เขียนยันต์นกคุ้มกันไฟ เขียนโดยนายก้อน คนในสมัยรัชกาล<br />

ที่ 5 เป็นเสน่ห์ส่วนหนึ่งเกิดเพราะอดีต เป็นสิ่งที่มนุษย์รักและ<br />

แสวงหา อย่างน้อยเราได้เอกลักษณ์ของเราเอง และแน่ใจว่า<br />

เราคือเหลนโหลนของคนที่เคยขี่ช้างพายเรือแถบลุ่มแม่น้ำ<br />

เจ้าพระยา<br />

บ้านกับต้นไม้ในประเทศร้อนชื้นอย่างเราเป็นสิ่งที่แยก<br />

กันไม่ได้ ความงามของต้นไม้น้อยใหญ่พื้นเมืองเป็นสิ่งที่ให้<br />

ความเป็นเฉพาะตัวแก่สถานที่ อาคารไม่ใช่พระเอกแต่ผู้เดียว<br />

บทบาทของต้นไม้จะต้องเข้ามาร่วมแสดงด้วย ต้นไม้เมืองร้อน<br />

พันธุ์พื้นเมืองขึ้นสะพรั่งเพราะทนทานต่อโรค,แข็งแรง,หาง่าย<br />

และราคาเยา เบื้องหน้าคือต้นลานเพิ่งจะเริ่มตั้งรูป เมื่อโตเต็มที่<br />

จะให้รูปทรงที่สง่าและเป็นปึกแผ่น เรือนส่วนที่เห็นเป็นที่เก็บ<br />

หนังสือและที่พักแขกผู้มาเยี่ยม<br />

เรือนหนังสือและที่พักแขก ใช้เป็นที่เก็บศิลปะชาวบ้าน<br />

ด้วยแท่นนั่งหน้าประตูวางยาวตลอดตัวเรือน เปิดออกได้<br />

สำหรับเก็บของ แท่นนี้ใช้สำหรับเหยียบก้าวเข้าเรือน ที่เป็น<br />

เช่นนี้เพราะกรอบธรณีประตูของเรือนไทยเดิมเขาทำไว้สูง ใน<br />

สมัยก่อนใช้กับเด็กอ่อนที่เลี้ยงในห้อง ไม่ให้ออกมา และช่วย<br />

สร้างความมิดชิดพอสมควรให้แก่เจ้าของเรือน<br />

นอกชานร้านดอกไม้ซึ่งใช้คอนกรีตแทนพื้นไม้ เพราะไม้<br />

ในปัจจุบันเนื้ออ่อนและจำเป็นจะต้องใช้ห้องใต้ถุนนอกชาน<br />

ในยามค่ำคืน เนื้อที่บนนี้ให้ความรู้สึกที่เปิดโล่งรับลมเย็นและ<br />

น้ำค้างในยามเดือนหงาย เป็นที่ที่งามที่สุด เงาที่ทอดจากต้น<br />

ทองหลางใหญ่ลงมาบนพื้นแปรสภาพดูราวกับงานจิตรกรรม<br />

ต้นทองหลางปลูกเอาไว้เสียดกับเรือน ช่วยตรึงไนโตรเจนใน<br />

ดิน และให้ใบอ่อนเป็นอาหาร<br />

which doesn’t allow furniture to be long uninterrupted lines.<br />

The solution is custom-made furniture which costs more.<br />

But should we live an appeased and provident life, this<br />

will not be a problem. Some say that high thresholds are<br />

inconvenient and too strenuous. Some argue it’s a good<br />

exercise and a great indicator if we’re getting too old.<br />

There’s no dressing room because people did not trouble<br />

themselves too much with clothing back then. But we can<br />

always build one next to the bedroom on the terrace.<br />

In the past, bathrooms were separated from the<br />

main house. It’s quite a pleasant thing to do business in<br />

good ventilation, with ample sunlight, among surrounding<br />

gardens, as opposed to closed-off stuffy bathrooms in<br />

the house nowadays. But to build a bathroom next to the<br />

bedroom is also possible.<br />

On the way to garage, you will walk past a birdcage<br />

hung in front of a guava tree meant as token for animals.<br />

Because no chemicals are used, birds come feed on<br />

guavas everyday while comforting us with their songs.<br />

Up ahead are bamboo groves that give us food every<br />

rainy season.<br />

Prayer room is next to the bedroom. On the door<br />

hangs a talisman written by Mr.Gon since King Rama V<br />

period. We love and long for the past because it’s a part<br />

of who we are. It reminds us that we are the descendants<br />

of people who rode on boats and elephants along the<br />

Chaopraya river.<br />

Houses and trees in a tropical country like Thailand<br />

are inseparable. Native trees give such uniqueness to<br />

the structure. They thrive and flourish so well because<br />

they’re strong, robust, easy to find, and cheap. In front<br />

of the house is a talipot palm that is hoped to boast its<br />

magnificent form when fully grown. That part of the house<br />

is a library and a guest bedroom.<br />

It is also an area that we display local art and crafts. A<br />

short stool in front of the door can be opened as storage.<br />

The stool is for stepping on because the threshold was<br />

so high in order to keep babies from crawling out of the<br />

room and provide privacy.<br />

Terrace was made with concrete instead of wood<br />

because there’s not much hardwood left nowadays and<br />

we need to use the room underneath. The terrace at<br />

night time when the moon shines is breezy, airy and<br />

simply the most beautiful place. The big tree above casts<br />

wiggling shadows like a painting on the floor.<br />

498


ซุ้มประตูทางขึ้นคลุมด้วยลดาวัลย์ ในฤดูหนาวจะให้กลิ่น<br />

ที่เยือกเย็น เคียงข้างคือชมนาดหรือต้นข้าวใหม่ มีกลิ่นหอม<br />

เหมือนข้าวกรุ่นทั้งคืนทั้งวัน<br />

ซุ้มประตูหน้าสู่บันไดขึ้นเรือน พื้นทั่วไปใช้ซีเมนต์แผ่นปู<br />

ยกออกได้ น้ำสามารถไหลแทรกลงสู่รากต้นไม้ใต้ดินได้สะดวก<br />

ใต้ถุนเรือนเปิดโล่งรักษาบรรยากาศเดิมของเรือนไทย ส่วนใต้ถุน<br />

อื่นใส่มุ้งลวดกันแมลงนี้ไม่เป็นที่สังเกต จึงต้องปลูกต้นไม้ขึ้น<br />

เบื้องหน้าเพื่อเบนความรู้สึก แผ่นกระเบื้องเคลือบดินเผากลม<br />

วางไว้เพื่อเน้นบริเวณทางเข้า วัสดุนี้เป็นตัวแทนของสภาพวัสดุ<br />

กรุงเทพฯ คือดินกรุงเทพฯ ไม่มีหิน การใช้หินโดยไม่ได้พิจารณา<br />

ในบริเวณบ้านชาวกรุง จึงมักจะก่อให้เกิดความรู้สึกเขิน<br />

บริเวณใต้ถุนเรือนหน้าเปิดโล่งใช้เป็นที่นั่งเจรจา แผงไม้สลัก<br />

ด้านหลังมาจากเชียงใหม่ ขอมาจากพระทันเวลาก่อนที่ท่านจะ<br />

ใช้เป็นเชื้อเพลิงต้มน้ำ ด้านหลังกำแพงคือบริเวณเก็บอุปกรณ์<br />

รับแขกพื้นเรือนทั้งหมดเป็นหินขัดขาว เพื่อจะให้สว่างและขับยุง<br />

(หรือกระทืบยุงได้แม่นยำขึ้น)<br />

เรือนนอนของหัวหน้าครอบครัวกั้นบริเวณชานทั้งหมดจาก<br />

แมลง ส่วนนี้ใช้เป็นที่นั่งอ่านหนังสือและชมสวนบนนอกชาน<br />

ห้องหลังผนังไม้ปลายสุดคือห้องแต่งตัว ซึ่งติดต่อกับห้องนอน<br />

ด้านหลังเปิดออกไปสู่เรือนห้องน้ำ<br />

เรือนลูกสาวพรางสายตาคนนอกที่จะมองเข้าไปด้วยกระถาง<br />

ต้นแก้วและต้นประยงค์ ไม้เลื้อยบนหลังคาคือกระดังงาจีน<br />

ทั้งหมดนี้เป็นไม้ที่ให้ดอกหอม บนต้นทองหลางใหญ่ คือกล้วยไม้<br />

พื้นเมืองประเภทช้าง บริเวณส่วนนี้ใช้เป็นที่เลี้ยงกลางแจ้งใน<br />

ตอนค่ำได้อย่างดี<br />

ภายในห้องเรียนหนังสือปรับปรุงให้มีชั้นลอย (Mezzanine)<br />

เพื่อใช้เป็นที่นอน ฝ้าเพดานตีตามลาดหลังคา ทำให้ปริมาตร<br />

ของเรือนหลังนี้ผิดแผกไปจากเรือนไทยปกติซึ่งทำฝ้า<br />

เพดานเรียบ ที่เห็นห้อยระกะคือศิลปะพื้นบ้านจากภาคต่างๆ<br />

ของประเทศ<br />

Main entrance is covered with flowered climbers<br />

that ooze a calm scent in wintertime. Next to it is bread<br />

flowers that give beautiful rice fragrance all day.<br />

Floors of the main entrance is movable cement<br />

boards that allow water to conveniently seep down. The<br />

basement is open to maintain the characteristic of a Thai<br />

house. Mosquito wire screens are necessary in some<br />

area but hidden behind plants and trees. Baked clay tiles<br />

were chosen because stone is not natural material of<br />

Bangkok. Using stone carelessly in a house in Bangkok<br />

feels awkward to me.<br />

In the basement, the front part is open. Carved wood<br />

panel in the back was rescued in time from a temple in<br />

Chiang Mai before it was used as firewood. In the back,<br />

the floor is white polished stone for a bright look and<br />

keeping mosquitoes away (or making it easier to stomp<br />

on mosquitoes).<br />

Master bedroom terrace is covered to avoid insets.<br />

This space is used as reading area and for admiring the<br />

garden. Behind the farthest panel is the dressing room<br />

which is connected to the bedroom and opens to the<br />

bathroom.<br />

Our daughter’s space is hidden behind orange<br />

jasmine and Chinese rice flower in pots. Climbers on the<br />

roof is Chinese Ylang Ylang while native orchids hang<br />

from the big tree.<br />

In the study, there is a mezzanine that can be used<br />

as a bedroom. Ceiling is inclined like the roof, slightly<br />

different from normal Thai house. Scattered on the ceiling<br />

are arts and crafts from different regions of Thailand.<br />

499


บรรณานุกรม<br />

การเคหะแห่งชาติ. “40 ปี การเคหะแห่งชาติพัฒนาคุณภาพการอยู่อาศัย พัฒนาสังคมไทยยั่งยืน”.<br />

กรุงเทพฯ : ดาวฤกษ์ คอมมูนิเคชั่นส์, 2556.<br />

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. “แนวคิดเศรษฐกิจชุมชน ข้อเสนอทางทฤษฎีในบริบทต่างสังคม”. กรุงเทพฯ:<br />

มูลนิธิวิถีทรรศน์, 2544.<br />

ผุสดี ทิพทัส. “บ้านในกรุงรัตนโกสินทร์”. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545.<br />

ผุสดี ทิพทัส และมานพ พงศทัต. “บ้านในกรุงเทพฯ: รูปแบบและการเปลี่ยนแปลงในรอบ 200 ปี<br />

(พ.ศ.2325-2525)”. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525.<br />

ผุสดี ทิพทัส. “สถาปนิกสยาม: พื้นฐาน บทบาท ผลงาน และแนวคิด (พ.ศ. 2475-2537)”. กรุงเทพฯ<br />

: สมาคมสถาปนิกสยาม, 2539.<br />

ผุสดี ทิพทัส. “สถาปัตยกรรม-ย้อนมองอดีต พินิจปัจจุบัน”. กรุงเทพฯ: สมาคมสถาปนิกสยามใน<br />

พระบรมราชูปถัมภ์, 2535.<br />

เลอสม สถาปิตานนท์ และคณะ. “บ้านพักอาศัยประเภทบ้านเดี่ยวในกรุงเทพมหานครและ<br />

ปริมณฑล : รูปแบบและพัฒนาการ ในช่วงปี พ.ศ. 2525-2545”. กรุงเทพฯ : คณะ<br />

สถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549.<br />

วิมลสิทธิ์ หรยางกูร. “พัฒนาการแนวความคิดและรูปแบบของงานสถาปัตยกรรม: อดีต ปัจจุบัน<br />

และอนาคต”. กรุงเทพฯ: สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์, 2536.<br />

สันต์ สุวัจฉราภินันท์, เรณู วิชาศิลป์, บรรณาธิการ “เชียงใหม่ - ใหม่: สถาปัตยกรรมสมัยใหม่<br />

แห่งเมืองเชียงใหม่ระหว่างปี พ.ศ. 2427-2518”. เชียงใหม่: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย<br />

เชียงใหม่, <strong>2559</strong>.<br />

อานันท์ กาญจนพันธุ์. “พื้นที่ความรู้มานุษยวิทยาคนสามัญ 70 ปีอานันท์ กาญจนพันธุ์”. เชียงใหม่:<br />

ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2560.<br />

Ashihara, Y. ‘Hidden Order’. Tokyo: Kodansha International. 1989.<br />

Bachelard, G. ‘The Poetics of Space’. Boston: Beacon Press. 1994.<br />

Rudofsky, B. ‘Architecture without Architects’. New York: The Museum of Modern Art. 1964.<br />

Tanizaki, J. ‘In Praise of Shadows’. Stony Creek: Leete’s Island Books. 1977.<br />

Tschumi, B. ‘Questions of Space’. London: The Architectural Association. 1990.<br />

Tufte, Edward R. ‘Envisioning Information’. Graphics Press. 1990.<br />

Tufte, Edward R. ‘The Visual Display of Quantitative Information’. Graphics Press. 2001.<br />

Tufte, Edward R. ‘Visual Explanations: Images and Quantities Evidence and Narrative’.<br />

Graphics Press. 1997.<br />

500


ขอขอบคุณ<br />

หน่วยงานและองค์กร<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ล้านนา)<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (อีสาน)<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ทักษิณ)<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย<br />

กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย<br />

การเคหะแห่งชาติ<br />

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค<br />

บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน)<br />

บริษัท ไซต์ สเปซิฟิค จำกัด<br />

บุคคล<br />

ศาสตราจารย์เกียรติคุณอรศิริ ปาณินท์<br />

ศาสตราจารย์กิตติคุณผุสดี ทิพทัส<br />

ศาสตราจารย์เลอสม สถาปิตานนท์<br />

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.อานันท์ กาญจนพันธุ์<br />

ศาสตราจารย์ ดร.ชัยวัฒน์ สถาอานันท์<br />

ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อัมมาร สยามวาลา<br />

ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ฉัตรทิพย์ นาถสุภา<br />

ดร.สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา<br />

อาจารย์วนิดา พึ่งสุนทร<br />

รองศาสตราจารย์ยุพยง เหมะศิลปิน<br />

อาจารย์ยอดเยี่ยม เทพธรานนท์<br />

ศาสตราจารย์ ดร.วีระ อินพันทัง<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุนนท์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา<br />

รองศาสตราจารย์สมคิด จิระทัศนกุล<br />

อาจารย์ ดร.สัณฐิตา กาญจนพันธุ์<br />

ดร.กรวิศฎ์ ณ ถลาง<br />

อาจารย์ชัยบูรณ์ ศิริธนะวัฒน์<br />

ดร.อัชชพล ดุสิตนานนท์<br />

รองศาสตราจารย์ ดร.ต้นข้าว ปาณินท์<br />

รองศาสตราจารย์ ดร. ม.ล.ปิยลดา ทวีปรังษีพร<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฏฐินี กาญจนาภรณ์<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สันต์ สุวัจฉราภินันท์<br />

อาจารย์ ดร.ทัชชญา สังขะกูล<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุริยา รัตนพฤกษ์<br />

คุณจิรากร ประสงค์กิจ<br />

คุณสุพินท์ เรียนศรีวิไล<br />

501


502<br />

คุณเรืองยุทธ์ ตีระวนิช<br />

คุณฤกษ์ดี โพธิวนากุล<br />

คุณประพันธ์ ประภาสะวัต<br />

คุณชาติเฉลิม เกลียวปฏินนท์<br />

คุณรัตน์วนิช เทพา<br />

คุณจักรรินทร์ โกวิทานุพงศ์<br />

คุณจิราภรณ์ อาชวาคม<br />

คุณขวัญชัย สุธรรมซาว<br />

คุณวิธินันท์ วัฒนศัพท์<br />

คุณภิรวดี ชูประวัติ<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมล จิราพงษ์<br />

อาจารย์นันทพล จั่นเงิน<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฐิติวุฒิ ชัยสวัสดิ์อารี<br />

คุณภัทรวดี ภัทรรังสี<br />

คุณชัยเศรษฐ เศรษฐสกุลชัย และคุณชลธิชา วงศ์ชูศรี<br />

คุณวชิรศักดิ์ มณีวัฒนาพฤกษ์<br />

คุณชัยพัทธ์ งามบุษบงโสภิน<br />

คุณรัตนาวลี บุญโถ<br />

คุณปวัฒนา ธิกุลวงษ์<br />

คุณณัฐชยา พูลสวัสดิ์<br />

คุณทิภาพรรณ อาจทวีกุล<br />

คุณธีรเนตร เทียนถาวร<br />

คุณศรีวรรณ อิ่มสมบัติ<br />

คุณภาณุพงศ์ มณีรัตน์<br />

คุณจีรานุช ใจปัน<br />

คุณฐาณฤทัย วงศ์ใหญ่<br />

คุณอิสริยาภรณ์ บรรจงปรุ<br />

นิสิตชั้นปีที่ 1 หลักสูตร สถาปัตยกรรม และภูมิสถาปัตยกรรม ปีการศึกษา<br />

<strong>2559</strong> คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

คุณฐิติรัตน์ ทองชู<br />

คุณณัฐนันท์ ชุ่มมะโน<br />

คุณกัญญาณัฐ สิริมุรธา<br />

คุณปภังกร เอี่ยมสุริยะมงคล<br />

คุณปองพล ยุทธรัตน์<br />

คุณดนัย สุราสา<br />

คุณสุวิจักขณ์ เนียมนวล และคุณจตุพัฒน์ แก้วบุญสง<br />

คุณณัฐนันท์ ชูทอง และคุณอัญชัญ พินธุ์สุวรรณ<br />

คุณกมลนัทธ์ ดอกมาลี และคุณอรวรรณ ไข่แก้ว<br />

ม.ล.อุสุมา สุขสวัสดิ์<br />

คุณจุมพงษ์ บุญมา<br />

อาจารย์ภรต อุรัสยะนันทน์<br />

ดร.วรสิทธิ์ ตันตินิพันธุ์กุล<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทรงยศ วีระทวีมาศ<br />

คุณบัณฑิต เจริญวิริยะวัฒน์<br />

ม.ล.วรุตม์ วรวรรณ


คุณพิเชฐ วานิชเจริญธรรม<br />

คุณศรีศักดิ์ พัฒนวศิน<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปริญญา ชูแก้ว<br />

คุณนาวิน เมธนาวิน<br />

คุณวารี แก้วมีค่า<br />

นายปกป้อง กุลชล<br />

นายศรัทธา เจริญรัตน์<br />

นายอิทธิพล ทองพุฒ<br />

นายภวัต ไชยจินดา<br />

บริษัท ไตร สถาปนิก จำกัด<br />

คุณเมธินี สุดหล้า<br />

นางสาวรวิชา สุขภูตานันท์<br />

นางสาวณัฐณิชา อิ่มพันธุ์<br />

นางสาวพวงผกา แจ้คำ<br />

นายธีรยุทธ กองตัน<br />

นางสาวมิ่งขวัญ ชิตแก้ว<br />

นายธนบรรณ อดทน<br />

นายกฤศกร สกุลสุวิชากร<br />

นางสาวภัทราพร ขุนแก้ว<br />

นางสาวรักติบูล พรหมสุทธิ์<br />

นายฐิรวิชญ์ อ่อนเจริญวิชญ์<br />

นางสาวเพชรรัตน์ บุญทองเพชร<br />

นายชารีฟ เสมาสี<br />

นายวัชริศ วิมานจตุรงค์<br />

นายพิบูลย์ เพชรฤทธิ์<br />

นายองอาจ แซ่ทั่ง<br />

นายภาณุพงศ์ ใจช่อง<br />

นายอรรถวิโรจน์ มูลสังข์<br />

นางสาวศรัญญา บิลโอะ<br />

นางสาวอารียา แก้วสมุทร<br />

นางสาวภธญภัทธ์ รัตนวงศ์<br />

นายอรรถกานต์ ชัยคมณี<br />

นายจักรฤษ สุวรรณรัตน์<br />

นายวิศรุต เกือนุ้ย<br />

นางสาวอรอุมา มีวงศ์<br />

นางสาววัชราภรณ์ เพ็ชรสนิท<br />

นางสาวอัญมณี บัวทอง<br />

นายปฏิภาณ เจริญเนตรกุล<br />

นางสาวชนนิกานต์ วงศ์เทพบุตร<br />

นายอนิรุจน์ บัวลอย<br />

นายกริชภัทร ชูรอด<br />

นายรัฐสิฐ กิ้มเส้ง<br />

และผู้เข้าร่วมโครงการทุกท่าน<br />

503


<strong>บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ</strong> : พ.ศ. <strong>2489</strong> - <strong>2559</strong>.-- กรุงเทพฯ :<br />

สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์, 2561.<br />

504 หน้า.<br />

1. บ้าน--ไทย. I. กิจโชติ นันทนสิริวิกรม, บรรณาธิการ. II. ชื่อเรื่อง.<br />

ISBN : 978-616-7384-27-6<br />

<strong>บ้านเรือนถิ่นไทยในช่วงเจ็ดทศวรรษ</strong> : พ.ศ. <strong>2489</strong> - <strong>2559</strong><br />

จัดพิมพ์โดย :<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

248/1ซอยศูนย์วิจัย 4 (ซอย 17) ถนนพระรามที่ 9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310<br />

โทรศัพท์ :02-319-6555 โทรสาร : 02-319-6419<br />

เว็บไซต์ : asa.or.th อีเมล์ : asaisaoffice@gmail.com<br />

ที่ปรึกษา : ดร.สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา<br />

อาจารย์ยอดเยี่ยม เทพธรานนท์<br />

ศาสตราจารย์ ดร.วีระ อินพันทัง<br />

บรรณาธิการ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์กิจโชติ นันทนสิริวิกรม<br />

เรียบเรียงภาษาไทย : ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.อานันท์ กาญจนพันธุ์<br />

ศาสตราจารย์ ดร.ชัยวัฒน์ สถาอานันท์<br />

ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อัมมาร สยามวาลา<br />

ศาสตราจารย์เกียรติคุณอรศิริ ปาณินท์<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุนนท์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา<br />

อารย์ชัยบูรณ์ ศิริธนะวัฒน์<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์กิจโชติ นันทนสิริวิกรม<br />

ผู้ร่วมส่งผลงานบ้าน<br />

แปลภาษาอังกฤษ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์เด่น วาสิกศิริ คุณจิราภรณ์ อาชวาคม<br />

คุณปาณสาร ธรรมแสง คุณสุชา ชูชาติ<br />

คุณษิระ น้อยทิพย์ คุณพลอยชมพู พินทุเสนีย์<br />

คุณสุพินท์ เรียนศรีวิไล<br />

กองบรรณาธิการ : คุณลีนวัตร ธีระพงษ์รามกุล คุณนัตติยา อุปรมัย<br />

คุณวรัญญา แซ่ลิ่ม<br />

ภาพ: ผู้ร่วมส่งผลงานบ้าน<br />

ภาพประกอบ: คุณมนัสวี สุขล้น คุณภาณุเดชน์ จันทราศร<br />

คุณนัตติยา อุปรมัย คุณอติรัตน์ โรจนเสถียร<br />

คุณธนภัทร ธนะโสธร คุณอินทิรา อิงคนินันท์<br />

ออกแบบ : คุณสุเมธ ถาวร คุณวิลภา กาศวิเศษ<br />

คุณนัตติยา อุปรมัย คุณอติรัตน์ โรจนเสถียร<br />

คุณณัฏฐชัย ชัยเลิศ<br />

บริษัท บานาน่า สตูดิโอ จำกัด<br />

ISBN : 978-616-7384-27-6<br />

พิมพ์ครั้งที่ 1: 2561 (ฉบับปรับปรุง 2562)<br />

พิมพ์ที่: บริษัท พลัสเพรส จำกัด โทรศัพท์ 02-692-0621-3<br />

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2561<br />

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ การคัดลอกส่วนใดๆ ในหนังสือเพื่อเผยแพร่ไม่ว่าในรูปแบบใดต้องได้รับอนุญาต<br />

เป็นลายลักษณ์อักษรจากสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!