20.07.2023 Views

ASA JOURNAL 12/2023

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

On the Roof<br />

<strong>2023</strong>.Mar-Apr<br />

The Architectural Journal of the Association of Siamese Architects under Royal Patronage


advertorial<br />

The Beauty of Nature<br />

SHERA<br />

Villa Lanta ส่วนต่อขยายของ Twin Lotus Resort Koh<br />

Lanta เป็นบ้านพักอาศัยริมทะเลที่ถูกออกแบบโดยคำนึงถึง<br />

ภูมิอากาศแบบร้อนชื้น และลักษณะสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น<br />

ของภาคใต้ สู่ที่มาของการออกแบบตัวบ้านที่เน้นในเรื่อง<br />

ของความโดดเด่นของหลังคา ด้วยทรงจั่วขนาดใหญ่พิเศษ<br />

มีองศาการลาดเอียงของหลังคาที่ชัน และมีชายคาที่ยื่นยาว<br />

เพื่อตอบโจทย์การป้องกันแดดและฝน ไปจนถึงการเลือก<br />

ใช้วัสดุหลังคา เฌอร่า ซีดาร์ เชค ที่มีความทนทานสูงและ<br />

ยังมาพร้อมกับระบบ Inter-Lock ช่วยป้องกันการรั่วซึมของ<br />

น้ำ เหมาะกับสภาพภูมิอากาศแถบภาคใต้ที่ถูกขนานนามว่า<br />

ฝน 8 แดด 4 อีกทั้งสีสันของหลังคา เฌอร่า ซีดาร์ เชค ยังมี<br />

พื้นผิวที่สวยงามเสมือนไม้จริง และมีหน้ากว้างของผลิตภัณฑ์<br />

ถึง 3 ขนาด ทำให้สามารถจัดเรียงแผ่นหลังคาได้อย่างอิสระ<br />

ช่วยให้สถาปัตยกรรมเกิดความกลมกลืนเป็นหนึ่งเดียวกับ<br />

ธรรมชาติยิ่งขึ้น<br />

“เราอยากให้บ้านมีลักษณะที่สะท้อนถึงสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น<br />

ภาคใต้ และมีความกลมกลืนกับบริบทเดิมของโครงการ Villa<br />

Lanta ที่อาคารใช้กระเบื้องแป้นเกล็ด แต่ด้วยความที่งาน<br />

ออกแบบส่วนต่อขยายนี้เป็นการออกแบบบ้านเพื่อการใช้งาน<br />

ที่ไม่ต้องการดูแลรักษาบ่อยนัก เราจึงมองหาวัสดุมุงหลังคา<br />

ที่มีความทนทาน แต่ยังได้ความรู้สึกเป็นธรรมชาติคล้ายกับ<br />

แป้นเกล็ดไม้จริง จนมาเจอ หลังคา เฌอร่า ซีดาร์ เชค ที่เข้า<br />

มาตอบโจทย์ความเป็นธรรมชาติได้ดี มีการคละสีที่ดูเป็น<br />

ธรรมชาติแผ่นคล้ายกับไม้จริงๆ โดยเราได้เลือกเฉดสีเป็น<br />

สีเมโทร เกรย์ (Metro Grey) มาใช้ เพราะอยากให้ส่วนของ<br />

พื้นที่หลังคาเป็นสีเทาเข้มตัดกับตัวบ้านที่เป็นสีขาวล้วน<br />

ตอบโจทย์กับแนวคิดในการออกแบบ” ศุภชัย เขียวงาม<br />

Associate จาก Somdoon Architects ขยายความถึงการ<br />

เลือกใช้วัสดุในการออกแบบครั้งนี้<br />

Villa Lanta, the latest addition to The Twins Lotus Resort<br />

Koh Lanta, is a beachside villa generated with major<br />

climate conditions and southern indigenous design in<br />

focus. This is because the dwelling’s conceptual design<br />

meets the picture. The resort with an outstanding roof<br />

incorporates an expanse of gable roofs with an upward<br />

slope and an enlarged roof over an external wall for<br />

deeper rain and sun protection. The architect utilized<br />

SHERA Zedar Shake, an aesthetically pleasing alter<br />

native roof design material that is highly durable as well<br />

as having an Inter-Lock system for avoiding leakage of<br />

water. This is suggested for the climate of the southern<br />

region, which has been recognized for possessing a<br />

total of eight months of rain and four months of sun.<br />

Additionally, the texture of the SHERA Zedar Shake<br />

roof has an appealing surface that’s comparable to<br />

natural wood. With three sizes of product width selections,<br />

it allows the roofing sheets to be contributed<br />

randomly and naturally, enabling the architecture to<br />

be more accessible and in peace with nature.<br />

“We would like to design the house to reflect the southern<br />

vernacular architecture style and blend with the original<br />

context of the Villa Lanta project, where the building<br />

uses the teak wood roofing shingles or Paen Gled.”<br />

Vacation residences, adhering to the low-maintenance<br />

fundamental nature, should not require the same upkeep<br />

compared to conventional homes. We attempt durable<br />

roofing materials with a natural feel, which includes real<br />

wood. We rediscovered SHERA Zedar Shake, which<br />

complimented the natural response. There are plenty of<br />

colors that appear natural, similar to authentic wood.We<br />

chose Metro Gray as we projected the roofing to be dark<br />

gray to contrast with the white house. It is a wonderful<br />

option for our design concept, according to Suphachai<br />

Somdul, a professional architect who touched on the<br />

materials utilized in the design.<br />

shera.com<br />

05<br />

เป็นที่รู้กันดีว่าน้ำและความชื้นในอากาศคือหนึ่งในคู่ปรับของ<br />

วัสดุก่อสร้างหลายๆ ชนิด การเลือกใช้วัสดุก่อสร้างสำหรับ<br />

งานสถาปัตยกรรมในประเทศไทยที่มีภูมิอากาศในลักษณะ<br />

แบบร้อนชื้น จึงจำเป็นต้องมองไปถึงเรื่องของความทนทาน<br />

ต่อสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงบ่อย ยิ่งไปกว่านั้น หากเป็น<br />

สภาพภูมิอากาศในแถบภาคใต้ของประเทศไทยหรือเป็น<br />

อาคารติดริมทะเล ที่ต้องเจอกับไอทะเลและฝนตกชุกตลอดปี<br />

ก็อาจส่งผลเสียต่อโครงสร้างและวัสดุอาคารให้เกิดการผุพัง<br />

เร็วกว่าเวลาอันควร<br />

Moisture and humidity in the atmosphere are considered<br />

to be key hazards to many materials for construction in<br />

our experience. When confronting turbulence in weather<br />

conditions, material selection over architecture work in<br />

a tropical region like Thailand requires to be brought<br />

out from a sustainability perspective. This is especially<br />

important in the southern portion of Thailand, where<br />

buildings have been raised with the coast close, impacting<br />

construction structures and materials and causing<br />

premature deterioration from heavy rain all year.


<strong>2023</strong><br />

MAR-APR<br />

ON THE ROOF<br />

The Association<br />

of Siamese Architects<br />

under Royal Patronage<br />

248/1 Soi Soonvijai 4 (Soi 17)<br />

Rama IX Rd., Bangkapi,<br />

Huaykwang, Bangkok 10310<br />

T : +66 2319 6555<br />

F : +66 2319 6419<br />

W : asa.or.th<br />

E : asaisaoffice@gmail.com<br />

Subscribe to <strong>ASA</strong> Journal<br />

T : +662 319 6555<br />

Infinity Ground<br />

Thailand and Taiwan<br />

Contemporary Architecture<br />

Exhibition<br />

<strong>ASA</strong> <strong>JOURNAL</strong><br />

COMMITTEE<br />

2022-2024<br />

Advisor<br />

Chana Sumpalung<br />

Chairperson of Committee<br />

Kulthida Songkittipakdee<br />

Committee<br />

Asst. Prof. Saithiwa<br />

Ramasoot, Ph.D.<br />

Vorapoj Tachaumnueysuk<br />

Padirmkiat Sukkan<br />

Prachya Sukkaew<br />

Namtip Yamali, Ph.D.<br />

Jenchieh Hung<br />

Secretary<br />

Theerarat Kaeojaikla<br />

Editor-in-Chief<br />

Mongkon Ponganutree<br />

Editor<br />

Supreeya Wungpatcharapon<br />

Managing Editor<br />

Kamolthip Kimaree<br />

Assistant Editor<br />

Pichapohn Singnimittrakul<br />

Contributors<br />

Korrakot Lordkam<br />

Kullaphut Senevong Na Ayudhaya<br />

Nuttawadee Suttanan<br />

Nawan Yudhanahas<br />

Patikorn Na Songkhla<br />

Peerapat Wimolrungkarat<br />

Rangsima Arunthanavut<br />

Xaroj Phrawong<br />

English Translators<br />

Tanakanya Changchaitum<br />

Pawit Wongnimmarn<br />

English Editors<br />

Daniel Cunningham<br />

Sheena Sophasawatsakul<br />

Advertising Executives<br />

Napharat Petchnoi<br />

Chatchakwan Fagon<br />

Napisit Woranaipinit<br />

Special Thanks<br />

Architects 49<br />

ASWA (Architectural Studio<br />

of Work - Aholic)<br />

DOF Sky|Ground<br />

Eco Architect<br />

Greenbox Design<br />

IDIN Architects<br />

Peerapat Wimolrungkarat<br />

(ADDCANDID)<br />

Phuttipan Aswakool<br />

S Pace Studio<br />

S.O.S Architects<br />

Tawichakorn Laochaiyong<br />

Print<br />

SUPERPIXEL<br />

Publisher<br />

The Association of<br />

Siamese Architects<br />

Under Royal Patronage<br />

Correction<br />

The photo of the cover on page<br />

8 of the Jan-Feb <strong>2023</strong> issue, -<br />

Concrete / Concept / Construction,<br />

was courtesy of Beer Singnoi.<br />

We apologise for the oversight.<br />

เครดิตภาพหน้าปก<br />

ที่หน้า 8 ของวารสารอาษา<br />

ฉบับเดือนมกราคม - กุมภาพันธ์ 2566<br />

Concrete / Concept / Construction<br />

ที่ถูกต้อง ได้รับการเอื้อเฟื ้ อโดย<br />

วีระพล สิงห์น้อย<br />

บทความหรือภาพที่ลงใน<br />

วารสารอาษาหรือสื่ อออนไลน์<br />

สมาคมฯ ขอสงวนลิขสิทธิ ์ตาม<br />

กฎหมาย การนำาบทความ<br />

หรือภาพจากวารสารอาษา<br />

ไปตีพิมพ์ อ้างอิงหรือประโยชน์<br />

ใดในสิ ่งพิมพ์หรือสื่ อออนไลน์<br />

อื่น ต้องได้รับอนุญาตจาก<br />

สมาคมฯ ผู้เป็ นเจ้าของลิขสิทธิ์<br />

ตามกฎหมายเท่านั้น<br />

Graphic Design<br />

art4d WORKS<br />

Wasawat Dechapirom<br />

Jitsomanus Kongsang<br />

Photographer<br />

Ketsiree Wongwan<br />

Production Manager<br />

Areewan Suwanmanee<br />

Account Director<br />

Rungladda Chakputra<br />

Copyright <strong>2023</strong><br />

No responsibility can be<br />

accepted for unsolicited<br />

manuscripts or photographs.<br />

ISSN 0857-3050<br />

Contact<br />

asajournal@asa.or.th<br />

Photo Credit: DOF Sky|Ground<br />

18 JUL - 6 AUG <strong>2023</strong><br />

Bangkok Art & Culture Centre<br />

(BACC), L Floor<br />

Hosts Co-Organizers Supporters<br />

More Information


์<br />

10<br />

message from the president<br />

Infinity Ground<br />

รายนามคณะกรรมการ<br />

บริหาร สมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

ประจำปี 2565-2567<br />

นายกสมาคม<br />

ชนะ สัมพลัง<br />

Thailand and Taiwan<br />

Contemporary Architecture<br />

Exhibition<br />

Infinity Ground Dialogue<br />

18 JULY <strong>2023</strong>, 14:30 - 16:45<br />

อุปนายก<br />

นิเวศน์ วะสีนนท์<br />

จีรเวช หงสกุล<br />

ไพทยา บัญชากิตติกุล<br />

ชุตยาเวศ สินธุพันธุ์<br />

ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อังกสิทธิ<br />

รุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว<br />

Architects 49<br />

Limited<br />

Behet Bondzio<br />

Lin Architekten<br />

Duangrit Bunnag<br />

Architect Limited<br />

MAYU architects<br />

เลขาธิการ<br />

พิพัฒน์ รุจิราโสภณ<br />

สารจากนายกสมาคม<br />

ขอขอบคุณทุกๆ ท่านอีกครั้งสำาหรับการติดตามเนื้อหาต่างๆ<br />

ของวารสารอาษา และก็ยังคงจะขอให้สมาชิกทุกๆ ท่าน<br />

ช่วยสนับสนุนหนังสื อของเราแบบนี้ต่อไปเรื่อยๆ เพื่อให้เรามี<br />

หนังสื อที่จะได้ ใช้เผยแพร่ทั้งความรู้และกิจกรรมข่าวสารใน<br />

วงการของเรามาสู่สมาชิกและบุคคลทั่วไปต่อไป ขณะเดียวกัน<br />

ก็จะขอเชิญชวนผู้สนับสนุนอื่นๆ เช่น ซัพพลายเออร์ต่างๆ ที่<br />

เห็นประโยชน์ของวารสารอาษา รวมถึงชุมชนสถาปนิกของเรา<br />

มาใช้พื้นที่ตรงนี้ในการประชาสัมพันธ์สิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่อง<br />

ในวิชาชีพสถาปั ตยกรรมและการออกแบบ เพื่อเผยแพร่เรื่อง<br />

ราวความน่าสนใจอื่นๆ นอกเหนือไปจากความรู้ของเนื้อหา<br />

ภายในหนังสื อ ตลอดจนทุกวันนี้สมาคมฯ ของเราเองก็ยัง<br />

มีหลากหลายช่องทางที่จะเผยแพร่ข้อมูลต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ น<br />

ออนไลน์และออฟไลน์ ในรูปแบบสิ่งพิมพ์ ขณะเดียวกันก็ยังไป<br />

แตะที่สมาคมเพื่อนบ้านด้วย เพื่อช่วยกันผลักดันและกระจาย<br />

ข่าวสารในวงการสถาปั ตยกรรมให้เป็ นที่รู้จักทั้งเพื่อนบ้าน<br />

ใกล้เคียง ไปจนถึงภูมิภาคเอเชียต่อๆ ไป<br />

สำาหรับวารสารฉบับนี้ภายใต้หัวข้อ ON THE ROOF มีเนื้อหา<br />

เกี่ยวกับเรื่องของหลังคา ซึ ่งหลังคาก็เป็ นส่วนหนึ ่งของอาคาร<br />

ที่ทำาให้เกิดอัตลักษณ์ที่น่าสนใจของตัวงานสถาปั ตยกรรม ทั้งนี้<br />

ก็ขอให้ทุกท่านเพลิดเพลินไปกับการอ่านเนื้อหาภายในวารสาร<br />

ฉบับนี้ ซึ ่งจะเป็ นเล่มสุดท้ายประจำาปี แต่หวังว่าจะไม่ใช่เป็ นท้าย<br />

ที่สุดที่สมาคมฯ จะพัฒนา ต่อยอด และทำาให้ส่วนนี้เป็ นหนึ ่งใน<br />

กิจกรรมของสมาคมต่อๆ ไปในอนาคต<br />

นายทะเบียน<br />

คมสัน สกุลอำนวยพงศา<br />

เหรัญญิก<br />

ไมเคิลปริพล ตั้งตรงจิตร<br />

ปฏิคม<br />

เฉลิมพล สมบัติยานุชิต<br />

ประชาสัมพันธ์<br />

กุลธิดา ทรงกิตติภักดี<br />

กรรมการกลาง<br />

ศ.ดร.ต้นข้าว ปาณินท์<br />

ดร.วสุ โปษยะนันทน์<br />

เฉลิมพงษ์ เนตรพฤษรัตน์<br />

อดุลย์ แก้วดี<br />

ผศ.ณธทัย จันเสน<br />

ธนพงษ์ วิชคำหาญ<br />

ประธานกรรมาธิการ<br />

สถาปนิกล้านนา<br />

ปราการ ชุณหพงษ์<br />

ประธานกรรมาธิการ<br />

สถาปนิกอีสาน<br />

วีรพล จงเจริญใจ<br />

ประธานกรรมาธิการ<br />

สถาปนิกทักษิณ<br />

ดร.กาญจน์ เพียรเจริญ<br />

ประธานกรรมาธิการ<br />

สถาปนิกบูรพา<br />

คมกฤต พานนสถิตย์<br />

กรรมการที่ปรึกษา<br />

การบริการ<br />

สมิตร โอบายะวาทย์<br />

Arsomsilp<br />

Community<br />

and Environment<br />

Architect<br />

Ambi Studio<br />

Bangkok Art<br />

& Culture Centre<br />

(BACC), Auditorium,<br />

5 th Floor<br />

Hosts Co-Organizers Supporters<br />

Department<br />

of ARCHITECTURE<br />

Registration<br />

Atelier Or<br />

Architecture as Dialogue for All (Lecture 1)<br />

21 JULY <strong>2023</strong>, 13:00 - 17:30<br />

Saowaruj<br />

Rattanakhamfu<br />

Vice President<br />

and Research Director<br />

Thailand Development<br />

Research Institute<br />

Linda Cheng<br />

Managing Director<br />

River City Bangkok<br />

Chun-Ming Huang<br />

Adjunct Associate Professor<br />

Department of Architecture,<br />

Chung Yuan Christian University<br />

Chairman<br />

Alliance for Architectural<br />

Modernity Taiwan<br />

Hsuan-Chen Chen<br />

Associate Professor<br />

Department of Architecture,<br />

Chung Yuan Christian<br />

University<br />

Principal Architect<br />

ArchiBlur Lab<br />

Architecture as Dialogue for All (Lecture 2)<br />

29 JULY <strong>2023</strong>, 13:00 - 17:30<br />

Apiradee<br />

Kasemsook<br />

Dean and Associate<br />

Professor<br />

Faculty of Architecture,<br />

Silpakorn University<br />

Komgrij<br />

Thanapet<br />

Assistant Professor<br />

Department of Urban<br />

and Regional Planning,<br />

Faculty of Architecture,<br />

Chulalongkorn University<br />

Prompt<br />

Udomdech<br />

Head of Department<br />

of Architecture and<br />

Design Intelligence<br />

School of Architecture,<br />

Art, and Design,<br />

King Mongkut’s Institute<br />

of Technology Ladkrabang<br />

M.L. Paskorn<br />

Abhakorn<br />

Head of Branding<br />

Division<br />

Office of Innovation<br />

and Value Creation,<br />

Department of<br />

International Trade<br />

Promotion<br />

Curators<br />

Jenchieh Hung<br />

& Kulthida<br />

Songkittipakdee


<strong>12</strong><br />

message from the president<br />

We would like to express our gratitude to all of you<br />

for following the content of the <strong>ASA</strong> Journal. We hope<br />

to receive your continued support in the future as<br />

we strive to promote knowledge and updates in our<br />

industry to both our fellow members and the general<br />

public. I would like to extend an invitation to any<br />

potential sponsors, including brands and product<br />

suppliers, who recognize the value of the <strong>ASA</strong> Journal<br />

and our community of architects. We welcome you<br />

to utilize this publication as a platform to share,<br />

promote, and distribute anything related to the<br />

architecture and design profession, in addition to<br />

the contents we have created for our readers. So far,<br />

the association has developed various channels for<br />

<strong>ASA</strong> Journal, whether it be in the form of an online<br />

platform or physical copies, to promote information<br />

and content we think will be beneficial to our fellow<br />

members. We have expanded our work to other<br />

professional associations in neighboring countries<br />

with the goal of promoting the latest developments<br />

and updates within the architecture industry to<br />

other nations in both the Southeast Asian and Asian<br />

regions.<br />

This issue, like its theme “ON THE ROOF” implies,<br />

looks at the roof, a fundamental architectural<br />

element that has played a significant role in shaping<br />

and developing different styles and designs of<br />

architecture. I sincerely hope you enjoy reading the<br />

content we have prepared. This <strong>ASA</strong> Journal marks<br />

the final issue of the year, but we hope it won’t<br />

be the last one. The association is committed to<br />

continuing to develop and include the <strong>ASA</strong> journal<br />

as a part of our future activities and contributions.<br />

<strong>ASA</strong> COMMITTEE<br />

2022-2024<br />

President<br />

Chana Sumpalung<br />

Vice President<br />

Nives Vaseenon<br />

Jeravej Hongsakul<br />

Phaithaya Banchakitikun<br />

Chutayaves Sinthuphan<br />

Asst. Prof. Rattapong Angkasith, Arch.D.<br />

Rungroth Aumkaew<br />

Secretary General<br />

Pipat Rujirasopon<br />

Honorary Registrar<br />

Khomsan Sakulamnuaypongsa<br />

Honorary Treasurer<br />

Michael Paripol Tangtrongchit<br />

Social Event Director<br />

Chalermpon Sombutyanuchit<br />

Public Relations Director<br />

Kulthida Songkittipakdee<br />

Executive Committee<br />

Prof. Tonkao Panin, Ph.D.<br />

Vasu Poshyanandana, Ph.D.<br />

Chalermphong Netplusarat<br />

Adul Kaewdee<br />

Asst. Prof. Nathatai Chansen<br />

Tanapong Witkhamhan<br />

Chairman of<br />

Northern Region (Lanna)<br />

Prakan Chunhapong<br />

Chairman of<br />

Northeastern Region (Esan)<br />

Werapol Chongjaroenjai<br />

Chairman of<br />

Southern Region (Taksin)<br />

Dr.Kam Phiancharoen<br />

Chairman of<br />

Eastern Region (Burapa)<br />

Komkrit Panonsatit<br />

Advisory Committee<br />

Smith Obayawat<br />

OUT<br />

NOW!<br />

Available at<br />

E: mail@art4d.com<br />

FB: art4dMagazine<br />

T: 02 260 2606-8 art4d.com


14<br />

foreword<br />

จากถ้ำาในธรรมชาติ เพิงหรือกระโจมกลางแจ้ง พัฒนามาจนเป็นอาคาร<br />

ที่อยู่อาศัยถาวร และสถาปัตยกรรมในรูปแบบต่างๆ นั้น ระนาบเหนือ<br />

ศีรษะที่ห่อหุ้มที่ว่างรอบตัวเราไว้ อาจไม่ใช่แค่เพียงการออกแบบเพื่อ<br />

การปกป้องร่างกายมนุษย์จากสภาพแวดล้อมเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับ<br />

มนุษย์ในเชิงจิตวิทยา ทั้งในแง่การคุ้มครองตัวเราให้รู้สึกปลอดภัยทาง<br />

ใจ การหลบซ่อนจากภัยอันตราย หรือรวมไปถึงการเชิดชูคุณค่าที่เชื่อม<br />

โยงกับความเชื่อ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของยุคสมัยนั้นๆ ความหมายทั้งหมดนี้ถูก<br />

ถ่ายทอดผ่านรูปทรงของ “หลังคา” องค์ประกอบหนึ่งที่สำาคัญ และนับ<br />

ได้ว่าสร้างความโดดเด่น เป็นสัญลักษณ์ของงานสถาปัตยกรรมเสมอมา<br />

ตั้งแต่ยุคสมัยโบราณ จนกระทั่งในปัจจุบันที่ภาพจำาของระนาบหลังคาใน<br />

งานสถาปัตยกรรมเริ่มเปลี่ยนแปลงไป เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่สามารถเข้า<br />

ถึงได้มากขึ้น เป็นพื้นที่สาธารณะเชื่อมต่อกับบริบทของเมือง หรือทำ าให้<br />

เกิดความคลุมเครือระหว่างความเป็นระนาบพื้นและระนาบหลังคา ที่ช่วย<br />

สร้างประสบการณ์ใหม่ๆ ให้กับผู้ใช้ของอาคารและเมือง<br />

“Up On the Roof” วารสารอาษาฉบับนี้จึงนำาเสนอผลงานออกแบบของ<br />

สถาปนิกไทยที่น่าสนใจ ในการตีความ และนำาเสนอรูปทรงความหมาย<br />

ของหลังคาใหม่ รวมถึงเทคนิคการก่อสร้างและวัสดุที่หลากหลาย ด้วย<br />

ประเภทอาคารที่แตกต่างกัน ทั้งในระดับของอาคารสาธารณะ และบ้าน<br />

พักอาศัย ในส่วนของ <strong>ASA</strong> Professional เป็นบทสนทนากับคุณคำารณ<br />

สุทธิ จาก Eco Architect กับแนวทางการออกแบบสถาปัตยกรรมที่<br />

คำานึงถึงสิ่งแวดล้อมและความน่าสบายของผู้ใช้งาน รวมทั้งแนะนำาสตูดิโอ<br />

SOS Architect<br />

ส่วนใน <strong>ASA</strong> Material นำาเสนอทางเลือกของวัสดุหลังคาโลหะที่น่าจะเป็น<br />

ประโยชน์ต่อการเลือกใช้ในการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะ<br />

สำาหรับการออกแบบสถาปัตยกรรมแห่งช่วงเวลาที่ท้าทายในอนาคต<br />

ข้างหน้านี้ ที่สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่อาจรุนแรง<br />

ขึ้น การผสานกันมากกว่าขึ้นระหว่างเทคโนโลยีโลกเสมือนและโลกจริง<br />

ทางกายภาพ หรือนวัตกรรมการก่อสร้างที่ก้าวหน้า ล้วนน่าจะเป็นโจทย์<br />

ใหม่ๆ สำาหรับสถาปนิกในการเลือกใช้วัสดุและรูปทรงของระนาบหลังคา<br />

ว่าจะสร้างสรรค์หน้าตาของสถาปัตยกรรมแบบใดให้กับบริบทใหม่ใน<br />

อนาคต และจะมีส่วนสร้างประสบการณ์ หรือความหมายในมิติใดอีกบ้าง<br />

ต่อมนุษย์<br />

From natural caves and outdoor makeshift shelters to permanent<br />

residential buildings and all types and genres of architecture,<br />

the overhead roof planes of these structures serve purposes<br />

beyond shielding humans from their environment. The roof, a<br />

fundamental element of architecture, carries with it a range of<br />

psychological implications. It serves not only to provide a sense<br />

of mental security and protection from harm, but also to embody<br />

the values and sacred beliefs of diverse cultures throughout<br />

history. The diverse interpretations and embodiments of meaning<br />

are exemplified through the various sizes and forms of roofs.<br />

The roof, an essential component of architectural design, holds<br />

great significance in the symbolic representation of a structure.<br />

Throughout history, the roof has undergone its own evolution,<br />

and as time passes, people’s perception and memory of this<br />

crucial architectural element continues to evolve, shaping the<br />

way we view and appreciate it. No longer just a mere protective<br />

covering, the roof has now emerged as a dynamic space that<br />

is increasingly becoming accessible to the public. It has been<br />

designed as public space that seamlessly connects buildings<br />

to the various surroundings of towns and cities. There are times<br />

when an interplay between the roof plane and floor surface can<br />

evoke a sense of ambiguity, resulting in new experiences for both<br />

inhabitants and the surrounding urban environment.<br />

The latest issue of <strong>ASA</strong> Journal, themed “Up On the Roof,” brings<br />

you incredible works by Thai architects that showcase their<br />

unique interpretations and presentations of roofs, as well as a<br />

diverse range of construction techniques and materials that are<br />

tailored to suit the unique nature and physical characteristics of<br />

each building. This issue showcases a diverse range of projects<br />

that span across various scales, ranging from public structures<br />

to residential buildings. For <strong>ASA</strong> Professional, we talked with<br />

Khamron Sutthi, founder of Eco Architect, a design studio that<br />

values the environment and user comfort in its architectural<br />

approach. The issue additionally introduces SOS Architect.<br />

<strong>ASA</strong> Material selects metal roofing materials that offer architects<br />

and designers alternative solutions to the increasing threats posed<br />

by climate change. Greater integration of augmented reality technologies<br />

with the real physical world, as well as innovative building<br />

techniques, will create new challenges for architects and professionals<br />

in the industry. These challenges will span across various<br />

aspects of architectural design, including the selection of materials,<br />

the design of roofs, and the creation of architecture that is relevant<br />

to the future context of the world, as architects will be driven to<br />

consider and contemplate how their works can bring new meaning<br />

and dimensions of experiences to the human race.


<strong>2023</strong><br />

MAR-APR<br />

ON THE ROOF<br />

around<br />

The Pritzker<br />

Architecture<br />

Prize <strong>2023</strong>:<br />

David<br />

Chipperfield<br />

18<br />

RIBA Royal Gold<br />

Medal <strong>2023</strong>:<br />

Yasmeen Lari<br />

22<br />

theme<br />

On the Roof<br />

Roof is such an influential<br />

architectural element that it can<br />

protect and, therefore, give life.<br />

Roof can even control the quality<br />

of the space underneath. Roof<br />

is a true mediator—one that<br />

negotiates between existing<br />

conditions for the good of<br />

humankind. But if so, why does<br />

roof sometimes receive less<br />

priority in contemporary design?<br />

In this article, we shall look back<br />

in history to celebrate the values<br />

of roof and look beyond to the<br />

new developments and what<br />

the future may bring.<br />

26<br />

Photo Credit: Jorge Royan<br />

46<br />

Photo Credit: DOF Sky |Ground<br />

theme / review<br />

Two In One<br />

In designing the Center<br />

of Excellence for Forest<br />

Conservation in Map Ta Phut,<br />

Architects 49 has developed<br />

an innovative solution to the<br />

brief with two types of roofs<br />

composed in a large circular<br />

structure.<br />

theme / review<br />

Pitch Perfect<br />

A new extension of the famous<br />

restaurant in the riverfront<br />

area of Kanchanaburi, designed<br />

by IDIN Architects, is a lofty and<br />

open concrete structure with a<br />

sophisticated gable roof serving<br />

as the key factor for the entire<br />

architecture.<br />

60<br />

Photo Credit: DOF Sky |Ground<br />

theme / review<br />

The Fifth<br />

Element<br />

S.Pace Studio has designed a<br />

house in Khon Kaen that offers<br />

a pool-villa-like experience,<br />

with the roof meticulously<br />

intended to strike a balance<br />

between fulfilling elementary<br />

functions and meeting the<br />

demands of the users.<br />

76<br />

theme / review<br />

Wrap It Up<br />

ASWA Architects has designed a<br />

new office for a manufacturer of<br />

innovative food wrapping film,<br />

with the roof form inspired by<br />

the look of a building covered in<br />

food wrapping film.<br />

90<br />

Photo Credit: Tawichakorn Laochaiyong<br />

Photo Credit: ASWA (Architectural Studio of Work - Aholic)<br />

roofventsaustralia.com.au<br />

shera.com<br />

material<br />

Metal Roofing<br />

Materials<br />

Metal roofing is an alternative<br />

roofing material that creates<br />

beauty, modernity, strength,<br />

is light weight, and can cover a<br />

large area without the need for<br />

many structural columns. In this<br />

issue, the <strong>ASA</strong> Journal examines<br />

some important factors to<br />

consider when selecting metal<br />

materials for metal roofing.<br />

104<br />

BEMO<br />

Sheets and<br />

Panels for Roofs<br />

116<br />

SHERA<br />

Zedar Shake<br />

Roof Materials<br />

117<br />

Onduline<br />

Roof Sheets<br />

118<br />

professional<br />

Between<br />

Architecture<br />

and Nature<br />

The founder and principal<br />

architect of Eco Architect,<br />

Kamron Sutthi, is a firm<br />

believer that architecture<br />

and ecology must be viewed<br />

as inseparable entities.<br />

Kamron has demonstrated<br />

an unchanging architectural<br />

identity and approach<br />

to architectural design<br />

throughout his career and via<br />

his expanding body of work.<br />

<strong>12</strong>0<br />

professional<br />

S.O.S. Architects<br />

136<br />

chat<br />

Prakan<br />

Chunhapong<br />

The Chairman of the Northern<br />

Region (Lanna) of the Association<br />

of Siamese Architects under<br />

Royal Patronage discussed the<br />

growing and developing of the<br />

architecture profession in the<br />

North and their past activities.<br />

140<br />

Photo Courtesy of Eco Architect<br />

the last page<br />

144


18<br />

around<br />

The Pritzker Architecture Prize <strong>2023</strong><br />

19<br />

Sir David Alan Chipperfield, photo courtesy of Tom Welsh<br />

1<br />

The Pritzker<br />

Architecture<br />

Prize <strong>2023</strong>:<br />

David Chipperfield<br />

Photo Courtesy of The Pritzker Architecture Prize except as noted<br />

01<br />

Sir David Alan<br />

Chipperfield<br />

02<br />

อาคารชมการแข่งขัน<br />

America’s Cup ในเมือง<br />

Valencia สเปน โดดเด่น<br />

ด้วยพื้นคอนกรีต ยื่นยาว<br />

กว่า 15 เมตร สำาหรับ<br />

จุดชมการแข่งขันแบบเปิด<br />

มุมมองกว้างสู่ริมทะเล<br />

02<br />

ผลงานการบูรณะ<br />

อาคาร Neues Museum,<br />

ออกแบบไว้โดย Friedrich<br />

August Stiiler ที่ได้รับ<br />

ความเสียหายจากระเบิด<br />

ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2<br />

Sir David Alan Chipperfield CH สถาปนิกชาวอังกฤษที่มี<br />

สำานักงานออกแบบในหลายเมืองของยุโรปและในเซี่ยงไฮ้<br />

ได้รับเลือกให้เป็นผู้ได้รับรางวัล The Pritzker Architecture<br />

Prize <strong>2023</strong> ซึ่งถือเป็นรางวัลที่ได้รับการยกย่องในระดับ<br />

สากลว่าเป็นเกียรติสูงสุดทางด้านสถาปัตยกรรม ด้วยผลงาน<br />

มากกว่าหนึ่งร้อยชิ้นที่สร้างขึ้นของ David Chipperfield ใน<br />

กว่าสี่ทศวรรษที่ผ่านมานั้นหลากหลายทั้งในด้านประเภทของ<br />

สถาปัตยกรรม และที่ตั้งทั่วเอเชีย ยุโรป และอเมริกาเหนือ<br />

โดยมีความครอบคลุมตั้งแต่อาคารสาธารณะ อาคารทาง<br />

วัฒนธรรม สถาบันวิชาการ สำานักงาน ไปจนถึงที่อยู่อาศัย<br />

และการวางผังเมือง<br />

รางวัล Pritzker Prize นี้มอบให้เพื่อการประกาศถึงพรสวรรค์<br />

วิสัยทัศน์ และความมุ่งมั่นของสถาปนิก ซึ่งมีส่วนร่วมสําคัญ<br />

ต่อประโยชน์ของมนุษยชาติ และสภาพแวดล้อมที่สร้างขึ้น<br />

อย่างต่อเนื่องผ่านศิลปะแห่งสถาปัตยกรรม ผลงานของ<br />

Chipperfield ได้แสดงการคํานึงถึงผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม<br />

และประวัติศาสตร์ ยอมรับในสิ่งที่มีอยู่ก่อนแล้ว การออกแบบ<br />

และแทรกแซงด้วยการสนทนากับเวลา และสถานที่ เพื่อนํา<br />

ไปประยุกต์ใช้ตามบริบทและการตีความใหม่ภาษาสถาปัตย-<br />

กรรมของแต่ละสถานที่ แทนที่จะออกแบบด้วยสถาปัตยกรรม<br />

สมัยใหม่ทั้งหมด ดังจะเห็นได้ในงานบูรณะหรือปรับปรุงอาคาร<br />

ที่มีอยู่ และผลงานชิ้นเอกทางสถาปัตยกรรม เช่น Berlin’s<br />

Museum Island หรือในกรณีของ Neue Nationalgalerie<br />

อันเป็นสัญลักษณ์ของ Mies van der Rohe ในเบอร์ลิน<br />

Sir David Alan Chipperfield CH, a British architect<br />

with design offices across multiple European cities<br />

as well as Shanghai, has been named the latest<br />

recipient of the Pritzker Architecture Prize <strong>2023</strong>, the<br />

most prestigious international architectural award<br />

given to architectural professionals. Over the last<br />

four decades, Sir David Alan Chipperfield has created<br />

over a hundred projects encompassing various<br />

genres and locations, including Asia, Europe, and<br />

North America. His portfolio spans everything from<br />

public cultural and office buildings to educational<br />

institutions and residential and urban planning<br />

projects.<br />

The Pritzker Prize is awarded in recognition of each<br />

laureate’s talent, vision, and desire to better the lives<br />

of people and the evolution of the built environment<br />

through the art of architecture. Chipperfield’s works<br />

have demonstrated a strong understanding of environmental<br />

and historical implications, as well as the<br />

recognition and acceptance of pre-existing creations,<br />

both natural and manmade. Instead of replacing<br />

or constructing newly created modern architectural<br />

structures, his design and intervention through meaningful<br />

and thoughtful dialogues with time and places<br />

allow for the contextual applications and revival of<br />

architectural languages that genuinely correspond<br />

with their places of origin. His approach to design<br />

may be seen in many restoration and renovation<br />

projects of old, already-existing structures, such as<br />

Berlin’s Museum Island or the Neue Nationalgalerie,<br />

Mies van der Rohe’s last major project in Berlin.<br />

America’s Cup Building ‘Veles e Vents,’ photo courtesy of Christian Richters<br />

The Neues Museum, courtesy of SPK / David Chipperfield Architects, photo Joerg von Bruchhausen<br />

2<br />

3


around<br />

20<br />

The Pritzker Architecture Prize <strong>2023</strong><br />

21<br />

04<br />

ผลงานออกแบบอาคาร<br />

สำานักงานใหญ่ BBC ใน<br />

Scotland<br />

ผลงานของ David Chipperfield สะท้อนให้เห็นว่า ในฐานะ<br />

สถาปนิก เขาเป็นผู้พิทักษ์ความหมาย ความทรงจํา และ<br />

มรดก และเมื่อเมืองเป็นบันทึกทางประวัติศาสตร์ เช่นเดียว<br />

กับสถาปัตยกรรมในช่วงเวลาหนึ่งๆ เมืองยังมีพลวัต มี<br />

วิวัฒนาการของตัวเองอีกด้วย และในวิวัฒนาการนั้น หาก<br />

เรานําสิ่งปลูกสร้างหนึ่งออกไปและแทนที่ด้วยอาคารอื่นๆ<br />

แสดงว่าเราเลือกเพียงตัวเอง แต่ละเลยการปกป้องตัวละคร<br />

และคุณสมบัติที่สะท้อนถึงความร่ำารวยของวิวัฒนาการ<br />

ของเมืองนั้นๆ ด้วย ในผลงานอื่นๆ เช่น อาคารของรัฐหรือ<br />

เอกชน Chipperfield ยังเน้นถึงการสร้างโอกาสให้กับสังคม<br />

แห่งการอยู่ร่วมกัน ด้วยการปกป้องความเป็นปัจเจกบุคคล<br />

ไปพร้อมกับการส่งเสริมความรู้สึกเป็นเจ้าของทางสังคม<br />

ร่วมกัน โดย David Chipperfield เน้นย้ำาไว้ว่าในฐานะ<br />

สถาปนิก เราสามารถมีบทบาทที่โดดเด่นและมีส่วนร่วมใน<br />

การสร้างโลกที่สวยงามขึ้น และยังเป็นโลกที่ยุติธรรมและ<br />

ยั่งยืนมากขึ้น โดยเขามองว่าเราต้องช่วยสร้างแรงบันดาลใจ<br />

ให้คนรุ่นต่อไปยอมรับความรับผิดชอบนี้ด้วยวิสัยทัศน์และ<br />

ความกล้าหาญอีกด้วย<br />

David Chipperfield’s works highlight his role as an<br />

architect who is a preserver of meaning, memories,<br />

and heritage. A city serves as a historical archive,<br />

similar to how architecture documents a specific<br />

time period in history. A city has its own dynamic<br />

and evolution, and removing a built structure and<br />

replacing it with a new one could indicate that we put<br />

ourselves above certain characters or qualities that<br />

actually reflect the richness of the city’s evolution.<br />

Through his expanding body of work, from government-owned<br />

projects to private buildings, Chipperfield<br />

focuses on creating opportunities for every aspect<br />

of society to coexist by protecting individuality while<br />

encouraging a common sense of ownership. David<br />

Chipperfield emphasized that, as an architect, one<br />

can play a role in creating a better, more beautiful<br />

world as well as a more just and sustainable society.<br />

He believes that it is everyone’s job to inspire future<br />

generations to embrace such responsibility with<br />

vision and courage.<br />

pritzkerprize.com<br />

4<br />

BBC Scotland Headquarters, photo courtesy of Ute Zscharnt for David Chipperfield Architects<br />

ในเมืองต่างๆ เราอาจไม่เห็นอาคารของ David Chipperfield<br />

ที่เป็นที่รู้จักในทันที แต่อาคารของเขามักจะออกแบบมา<br />

แตกต่างกันไปโดยเฉพาะสําหรับแต่ละบริบท การปรากฏ<br />

ตัวของอาคารที่โดดเด่นโดยสร้างความสัมพันธ์ใหม่กับ<br />

พื้นที่ใกล้เคียงไปด้วย เรียกได้ว่าภาษาสถาปัตยกรรม<br />

ของเขาสร้างสมดุลระหว่างความสอดคล้องกับหลักการ<br />

ออกแบบพื้นฐานและความยืดหยุ่นต่อวัฒนธรรมท้องถิ่น<br />

David Chipperfield’s creations may not be easily<br />

recognized or distinguishable from their surroundings.<br />

They are intended to vary, with context being<br />

a crucial determining factor. They are buildings that<br />

reveal themselves through renewed connections<br />

with the places or neighborhoods of which they are<br />

a part. One can say that his architectural language<br />

strikes a balance between the integrity of core<br />

design principles and its flexibility and adaptability<br />

to local cultures.<br />

James-Simon-Galerie, photo courtesy of Ute Zscharnt for David Chipperfield Architects<br />

5<br />

Saint Louis Art Museum, photo courtesy of Simon Menges<br />

05<br />

การออกแบบส่วนทางเข้า<br />

ใหม่ของ Museum Island<br />

ในเมืองเบอร์ลิน โดยการ<br />

ออกแบบให้เห็นการอยู่<br />

ด้วยกันของสถาปัตยกรรม<br />

เก่าและใหม่<br />

06<br />

อาคารส่วนต่อขยายใหม่<br />

ของ Saint Louis Art<br />

Museum ที่เชื่อมระหว่าง<br />

อาคารเก่ากับสวนที่<br />

ปรับปรุงใหม่<br />

6


22<br />

around<br />

RIBA Royal Gold Medal <strong>2023</strong><br />

23<br />

นับตั้งแต่เกษียณอย่างเป็นทางการในปี 2543 ความ<br />

สนใจของเธอเปลี่ยนไปที่การสร้างสรรค์การออกแบบและ<br />

เทคนิคการก่อสร้างที่คนทั่วไปเข้าถึงได้ และเน้นความ<br />

เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อช่วยเหลือผู้คนที่อยู่ต่ำากว่า<br />

เส้นความยากจน รวมทั้งผู้ที่พลัดถิ่นจากภัยธรรมชาติ เช่น<br />

น้ำาท่วมใหญ่ที่กินพื้นที่หนึ่งในสามของประเทศในปี 2565<br />

ที่ผ่านมา<br />

Since her formal retirement in 2000, Lari’s concentration<br />

has shifted to the creation of ideas and<br />

building processes that the masses can access and<br />

utilize, as well as a focus on environmental awareness.<br />

She continues to strive to assist individuals<br />

living below the poverty threshold as well as those<br />

affected by natural disasters such as the 2022<br />

flood, which devastated one-third of Pakistan.<br />

Yasmeen Lari<br />

RIBA Royal<br />

Gold Medal <strong>2023</strong>:<br />

Yasmeen Lari<br />

Photo Courtesy of RIBA Architecture except as noted<br />

1<br />

01<br />

Yasmeen Lari สถาปนิก<br />

หญิงจากปากีสถาน ผู้ได้รับ<br />

รางวัล RIBA Royal Gold<br />

Medal <strong>2023</strong><br />

02<br />

พื้นที่เรียนรู้ทางวัฒนธรรม<br />

ของผู้หญิงและเด็กที่<br />

Heritage Foundation<br />

ใน Maki สร้างด้วยไผ่<br />

Royal Institute of British Architects (RIBA) ประกาศ<br />

มอบรางวัล Royal Gold Medal ประจำาปี 2566 สาขา<br />

สถาปัตยกรรม ให้แก่ Yasmeen Lari สถาปนิกหญิงคนแรก<br />

ของปากีสถาน โดยรางวัลนี้เป็นหนึ่งในรางวัลเกียรติยศ<br />

สูงสุดสำาหรับสถาปัตยกรรม และเป็นรางวัลแรกที่พระเจ้า-<br />

ชาร์ลส์ที่ 3 ทรงอนุมัติเป็นการส่วนตัว ซึ่งเป็นการยกย่อง<br />

ผลงานของ Yasmeen Lari ในการสนับสนุนแนวคิดการ<br />

ก่อสร้างด้วยตนเอง โดยเฉพาะการเน้นงานออกแบบด้วย<br />

แนวคิดคาร์บอนเป็นศูนย์สำาหรับประชากรที่พลัดถิ่น<br />

Yasmeen Lari เกิดในปี 2484 ที่ประเทศปากีสถาน และ<br />

ย้ายไปลอนดอนกับครอบครัวเมื่ออายุได้ 15 ปี ที่ซึ่งเธอได้<br />

ศึกษาศิลปะก่อนที่จะได้รับการตอบรับเข้าเรียนที่ School<br />

of Architecture Oxford Brookes University และ Oxford<br />

Polytechnic เมื่ออายุได้ 23 ปี เธอกลับไปปากีสถานพร้อม<br />

กับสามีเพื่อก่อตั้งบริษัทสถาปัตยกรรม Lari Associates<br />

The Royal Institute of British Architects (RIBA) recently<br />

awarded Yasmeen Lari the <strong>2023</strong> Royal Gold<br />

Medal in the field of architecture, making her the<br />

first Pakistani female architect to receive the honor.<br />

The RIBA Royal Gold Medal, one of the most prestigious<br />

architectural awards and the first award<br />

personally approved by King Charles III, recognizes<br />

Yasmeen Lari’s body of work and its advocacy<br />

of zero-carbon self-build concepts for displaced<br />

populations.<br />

Born in Pakistan in 1941, Yasmeen Lari moved to<br />

London with her family at the age of fifteen. It was<br />

here that she studied art and was later accepted<br />

into the School of Architecture at Oxford Brookes<br />

University and Oxford Polytechnic when she was<br />

23 years old. She then moved back to Pakistan with<br />

her husband and established her own architecture<br />

practice, Lari Associates.<br />

Zero Carbon Cultural Centre, © Heritage Foundation of Pakistan<br />

2


around<br />

24<br />

RIBA Royal Gold Medal <strong>2023</strong><br />

25<br />

Angoori Bagh, © Heritage Foundation of Pakistan<br />

4<br />

5<br />

Yasmeen Lari outside Women’s Centre, Pakistan, ©Heritage Foundation of Pakistan<br />

04<br />

อาคารพักอาศัยที่ออกแบบ<br />

โดย Lari ใน Lahore ช่วง<br />

ปี 1973<br />

05<br />

ภาพถ่ายของ Yasmeen<br />

Lari หน้าศูนย์ชุมชนใน<br />

ปากีสถาน ที่เธอออกแบบ<br />

สำาหรับพื้นที่ทางสังคมของ<br />

สตรีในหมู่บ้าน<br />

จากผลงานสถาปัตยกรรมและงานด้านมนุษยธรรมของ<br />

Yasmeen Lari นับได้ว่าเป็นหนึ่งเสียงที่ทรงพลังที่สุดใน<br />

วงการสถาปัตยกรรมปากีสถานและทั่วโลก ด้วยการ<br />

ออกแบบที่เน้นประเด็นผลกระทบของการตัดไม้ทำาลายป่า<br />

มลพิษ และอันตรายต่อสุขภาพที่ผู้หญิงในพื้นที่ชนบทต้อง<br />

เผชิญ มีการนิยามการทำางานของเธอไว้ว่าเป็น ”นักสตรี<br />

นิยมเชิงนิเวศ” ด้วยมุมมองของการวิเคราะห์ สำารวจ<br />

แนวทางการคงอยู่คู่กันระหว่างผู้หญิงกับธรรมชาติ ใน<br />

วัฒนธรรม เศรษฐกิจ ศาสนา และการเมือง ที่ตอบสนอง<br />

ความต้องการของผู้หญิงและโลกใบนี้ไปพร้อมๆ กัน<br />

Yasmeen Lari’s architectural initiatives and humanitarian<br />

efforts have taken her to the forefront of the<br />

Pakistani and worldwide architectural communities.<br />

Her design centers around the effects of deforestation,<br />

pollution, and health risks that women living<br />

in rural regions confront. Some refer to her architectural<br />

work as eco-feminism because of the way<br />

she analyzes and navigates various approaches for<br />

women and the environment to coexist, whether in<br />

cultural, economic, religious, or political aspects,<br />

all of which strive to meet the needs of both women<br />

and the world.<br />

03<br />

บ้านพักในศูนย์ชุมชน<br />

ที่สร้างโดยได้รับอิทธิพล<br />

จากแนวคิดโมเดลแบบ<br />

“Barefoot Enterpreneur”<br />

โดย Yasmeen Lari<br />

LOG Shelter, © Heritage Foundation of Pakistan<br />

3<br />

จะเห็นได้ว่า ผลรางวัล Royal Gold Medal ทั้งจากในปีที่<br />

ผ่านมาซึ่งมอบให้แก่ Balkrishna Doshi สถาปนิกชาวอินเดีย<br />

ผู้ล่วงลับ และผลรางวัลในปีนี้แก่ Yasmeen Lari ช่วยเน้นย้ำา<br />

ถึงทิศทางใหม่ของ RIBA ที่สนับสนุนให้สถาปนิกไม่เพียง<br />

ทำางานให้กับผู้คน 1% ที่มีอำานาจเท่านั้น แต่ยังควรให้ความ<br />

สำาคัญกับมนุษยชาติโดยรวม และผู้ที่ต้องทุกข์ทรมานจาก<br />

ความเหลื่อมล้ำา ความขัดแย้ง และการเปลี่ยนแปลงสภาพ-<br />

ภูมิอากาศอีกด้วย<br />

From last year’s Royal Gold Medal winner, the late<br />

Indian architect Balkrishna Doshi, to this year’s<br />

winner, Yasmeen Lari, it’s an interesting manifestation<br />

of the RIBA’s new direction and the support it<br />

gives to architects. From now on, more architects<br />

will be recognized not for the works they did for<br />

the 1% of the world with all the money and power,<br />

but for the contribution of their knowledge and<br />

ability to help the human race, especially those<br />

who are suffering from inequality, disparity, and<br />

catastrophic natural disasters caused by climate<br />

change.<br />

architecture.com


26<br />

theme<br />

OnThe<br />

Roof<br />

Roof is such an influential architectural element<br />

that it can protect and, therefore, give life.<br />

Roof can even control the quality of the space<br />

underneath. Roof is a true mediator—one that<br />

negotiates between existing conditions for the<br />

good of humankind. But if so, why does roof<br />

sometimes receive less priority in contemporary<br />

design? In this article, we shall look back in<br />

history to celebrate the values of roof and look<br />

beyond to the new developments and what the<br />

future may bring.<br />

Text: Nawanwaj Yudhanahas<br />

1<br />

Photo Credit: Jorge Royan via Wikimedia Commons<br />

01<br />

หลังคาโครงสร้างTensile<br />

ของ Olympic Park โดย<br />

Frei Otto


28<br />

theme<br />

ON THE ROOF<br />

29<br />

“ในการสร้างที่อยู่อาศัยของเรา ก่อนอื่นเราต้องสร้างร่ม<br />

เพื่อทอดเงาลงบนพื้นโลก และภายใต้แสงเงาอ่อนๆ นั้น<br />

เราจึงสร้างบ้านขึ้นมา” Junichiro Tanizaki นักเขียนชาว<br />

ญี่ปุ่นที่มีชื่อเสียง ได้เขียนไว้ในหนังสือคลาสสิกเกี่ยวกับ<br />

สุนทรียศาสตร์ของญี่ปุ่น “In Praise of Shadows” เมื่อปี<br />

1933 ในบทความที่มีชื่อเสียงนี้ Tanizaki สังเกตค่านิยม<br />

ดั้งเดิมของญี่ปุ่นผ่านสิ่งของและสิ่งแวดล้อมในชีวิตประจำ าวัน<br />

อย่างห้องพักในโรงแรม ห้องสุขา แสงไฟ เครื่องใช้บนโต๊ะ<br />

อาหาร อาหาร และอื่นๆ Tanizaki ไม่ใช่สถาปนิก แต่การ<br />

สังเกตของเขาสามารถให้มุมมองใหม่ๆ แก่สถาปนิกในการ<br />

มองสถาปัตยกรรม บทนำานี้อาจเป็นเครื่องเตือนเราว่า บางที<br />

ทุกอย่างอาจเริ่มต้นขึ้นที่ “หลังคา” หลังคาก่อกำาเนิดและ<br />

กำาหนดทุกสิ่งที่ตามมา หากไม่มีหลังคากั้นกลางระหว่าง<br />

เรากับดวงอาทิตย์ ก็จะไม่มีร่มเงาบนโลกและไม่มีสิ่งมีชีวิต<br />

ที่สามารถอาศัยอยู่ได้<br />

Tanizaki ยังเขียนบันทึกเปรียบเทียบสุนทรียศาสตร์ของ<br />

ญี่ปุ่นกับของตะวันตก ตัวอย่างเช่น เขาพูดถึงหลังคาของ<br />

อาสนวิหารโกธิคและวัดญี่ปุ่น Tanizaki กล่าวว่า “ความ<br />

งามพิเศษ” ของอาสนวิหารแบบโกธิคอยู่ที่หลังคาทรงสูง<br />

และแหลม โดยยอดของมหาวิหารนั้น “สูงขึ้นไปบนสวรรค์<br />

ให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้” ตรงกันข้ามกับลักษณะที่<br />

โดดเด่นของวัดญี่ปุ่นคือหลังคาหนาพร้อมชายคาที่สร้างเงา<br />

ที่ “ทอดไกลและกินพื้นที่กว้างขวาง”<br />

สิ่งนี้เตือนเราว่าการออกแบบหลังคามักแฝงไปด้วยนัยสำ าคัญ<br />

อาสนวิหารโกธิคนิยมสร้างหลังคาแหลมสูงเพื่อเป็นสื่อกลาง<br />

ระหว่างเรากับสวรรค์ และเพราะความต้องการอยู่ภายใต้<br />

ร่มเงาของแสงแดดและแสงภายในอาคารที่นุ่มนวล วัดญี่ปุ่น<br />

จึงนิยมสร้างหลังคาในลักษณะที่ชายคายื่นออกมา<br />

หลังคาจึงเป็นองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมที่มีอิทธิพลซึ่ง<br />

สามารถปกป้องและให้ชีวิตได้ หลังคายังสามารถควบคุม<br />

คุณภาพของพื้นที่ที่อยู่เบื้องล่าง หลังคานับเป็นสื่อกลางที่อยู่<br />

“ระหว่าง” อย่างแท้จริง โดยเป็นสื่อกลางที่คอย “เจรจา”<br />

ระหว่างสภาพที่เป็นอยู่เพื่อประโยชน์ของมนุษยชาติ แต่ถ้า<br />

เป็นเช่นนั้น ทำาไมบางครั้งหลังคาถึงมีความสำาคัญน้อยกว่า<br />

ในการออกแบบร่วมสมัย? ในบทความนี้ เราจะมองย้อน<br />

กลับไปในประวัติศาสตร์เพื่อเชิดชูคุณค่าของหลังคาและ<br />

มองออกไปให้ไกลยังการพัฒนาใหม่ๆ และสิ่งที่จะเกิดขึ้น<br />

ในอนาคต<br />

ระหว่างเรากับสภาพภูมิอากาศ<br />

จากข้อสังเกตของ Tanizaki เขาชี้ให้เห็นว่า "ถ้าหลังคาของ<br />

บ้านญี่ปุ่นเป็นเหมือนร่ม หลังคาของบ้านแบบตะวันตกก็<br />

คงเป็นเหมือนฝาครอบ" เขาอธิบายเพิ่มเติมว่าเป็นเพราะ<br />

หลังคาของบ้านตะวันตกถูกสร้างขึ้นเพื่อกำาบังลมและน้ำาค้าง<br />

“In making for ourselves a place to live, we first<br />

spread a parasol to throw a shadow on the earth,<br />

and in the pale light of the shadow we put together<br />

a house.”—wrote Junichiro Tanizaki, a renowned<br />

Japanese author in 1933 in the classic book on<br />

Japanese aesthetics In Praise of Shadows. In this<br />

famous essay, Tanizaki observes traditional Japanese<br />

values through everyday things: hotel rooms, toilets,<br />

lighting, tableware, food and so on. Tanizaki was<br />

not an architect. But his observation provides a<br />

fresh eye for architects to look at architecture.<br />

This introduction quote reminds us that perhaps,<br />

it all started with a roof. Roof gives rise to and<br />

prescribes everything that follows. Without a roof<br />

mediating between us and the sun, there will be<br />

no shadows on the earth and no life underneath.<br />

Tanizaki also makes a note comparing Japanese<br />

aesthetics to that of the Western. For instance,<br />

he talks about the roofs of Gothic cathedrals and<br />

Japanese temples. Tanizaki says the ‘special beauty’<br />

of the Gothic cathedral lies in the tall, pointed roof,<br />

with its top ‘as high in the heavens as possible’. On<br />

the contrary, the striking characteristic of Japanese<br />

temples is the heavy roof with eaves that create<br />

‘deep, spacious’ shadows.<br />

This reminds us that the design of the roof carries<br />

great significance. We yearn for heaven. And<br />

so Gothic cathedrals favour high pointed roof to<br />

mediate between us and heaven. We seek protection<br />

from the sun and diffused interior lighting.<br />

So, Japanese temples favour a roof with extended<br />

overhanging eaves.<br />

Roof is such an influential architectural element<br />

that can protect and, therefore, give life. Roof can<br />

even control the quality of space underneath. Roof<br />

is a true mediator—one that negotiates between<br />

existing conditions for the good of humankind. But<br />

if so, why does roof sometimes receive less priority<br />

in contemporary design? In this article, we shall<br />

look back in history to celebrate the values of roof<br />

and look beyond to the new developments and<br />

what the future may bring.<br />

Between us and the climate<br />

Among his observation, Tanizaki points out that<br />

"if the roof of a Japanese house is a parasol, the<br />

roof of a Western house is no more than a cap".<br />

He further elaborates that this is because the roof<br />

of the Western house is built to shelter from the<br />

wind and dew but maximises the amount of sun<br />

reaching the interior. The roof of the Japanese<br />

อีกทั้งเพิ่มปริมาณแสงแดดให้สามารถส่องถึงพื้นที่ภายใน<br />

ในทางกลับกัน หลังคาของบ้านญี่ปุ่นมีชายคายื่นยาวออกไป<br />

เพื่อป้องกันแสงแดดและเพื่อให้ร่มเงาแก่พื้นที่ภายใน<br />

อันที่จริงแล้ว เราสามารถทราบถึงสภาพอากาศของภูมิภาคใด<br />

ภูมิภาคหนึ่งได้จากการออกแบบหลังคาของสถาปัตยกรรม<br />

พื้นถิ่นในพื้นที่นั้นๆ หลังคาจั่วสูงชันสำ าหรับเอเชียตะวันออก-<br />

เฉียงใต้นั้นเป็นองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมที่ยอดเยี่ยม<br />

สำาหรับกำาบังฝนที่ตกหนักและป้องกันแสงแดด ส่วนชายคา<br />

ที่ยื่นออกมาหนาทึบของญี่ปุ่นนั้นก็ยอดเยี่ยมสำ าหรับกำาบัง<br />

แสงแดดในฤดูร้อนและหิมะในฤดูหนาว<br />

หลังคาของ Naoshima Hall ใน Honmura โดย Hiroshi<br />

Sambuichi มีชายคายื่นออกมาไกล กลุ่มอาคารประกอบ<br />

ด้วยอาคารสองหลัง คือศูนย์ชุมชน และห้องโถงที่เป็นทั้ง<br />

โรงยิม รวมถึงโรงละครหุ่นกระบอก เมื่อมองแวบแรก<br />

อาคารทั้งสองหลังจะดูคล้ายกับหลังคาปั้นหยาผสมกับ<br />

หลังคาจั่วซึ่งเป็นหลังคาในรูปแบบดั้งเดิมของภูมิภาคนี้<br />

หากแต่หลังคานี้ได้มีการดัดแปลงเล็กน้อย<br />

house, on the other hand, has deep overhanging<br />

eaves to keep off the sun; and to keep the interior<br />

in shadows.<br />

Indeed, we can get a clue about the climate of a<br />

particular region from the design of the roof of its<br />

vernacular architecture. The steep gabled roof for<br />

Southeast Asia is great for sheltering from heavy<br />

rain and sun, and the thick overhanging eave of<br />

Japan is great for sheltering the hot summer sun<br />

and winter snow.<br />

The roof of Naoshima Hall in Honmura by Hiroshi<br />

Sambuichi features a typical deep overhanging<br />

eave. The complex consists of two buildings: the<br />

community centre and the hall that doubles as a<br />

gymnasium and a puppet theatre. At first glance,<br />

the two buildings resemble the traditional hip-andgable<br />

roof of the region. But there is a twist.<br />

Photo Credit: Sambuichi Architects / Downloaded from dezeen.com<br />

2<br />

02<br />

อาคารหลังใหญ่<br />

ของ Naoshima Hall


30<br />

theme<br />

ON THE ROOF<br />

31<br />

Tanizaki points out that "if the roof of a Japanese house is a<br />

parasol, the roof of a Western house is no more than a cap".<br />

This is because the roof of the Western house is built to shelter<br />

from the wind and dew but maximises the amount of sun<br />

reaching the interior, while the roof of the Japanese house has<br />

deep overhanging eaves to keep off the sun, and to keep the<br />

interior in shadows.<br />

05-06<br />

ตลาด Santa Caterina<br />

อาคารที่อยู่ติดกันคือห้องโถงซึ่งตั้งอยู่บนเนินดินขนาดเล็ก<br />

ที่ปกคลุมด้วยหญ้ามอส ชายคายื่นออกไปจนเกือบจรดพื้น<br />

ดิน และความชันของหลังคาก็เป็นองศาเดียวกันกับความชัน<br />

ของเนินดิน ทำาให้รู้สึกว่าอาคารได้เติบโตขึ้นมาจากผืนดิน<br />

ลักษณะเด่นของอาคารนี้ อยู่ที่หลังคาด้านบน เนื่องจาก<br />

ห้องโถงรองรับผู้มาใช้งานได้ถึง 300 คน อากาศที่ถ่ายเทจึง<br />

เป็นสิ่งจำาเป็นสำาหรับความสบาย สถาปนิกวางแนวอาคารรับ<br />

ลมใต้-เหนือ ช่องสามเหลี่ยมขนาดใหญ่ใต้จั่วช่วยให้อากาศ<br />

ผ่านเข้าออกได้ แต่อีกหนึ่งกิจกรรมที่สำาคัญ คือห้องโถงนี้<br />

ถูกใช้เล่นแบดมินตันอยู่บ่อยครั้ง ดังนั้นอากาศจึงจะต้องไม่<br />

เคลื่อนที่เร็วมากจนเกินไป มิฉะนั้นจะส่งผลต่อลูกขนไก่ที่ไว<br />

ต่อแรงลม จึงมีช่องเปิดบนสันหลังคาทำาหน้าที่เป็นปล่อง<br />

ทำางานร่วมกับช่องระบายอากาศบนพื้นและโครงข่ายท่อ<br />

ใต้ดินที่ช่วยลดอุณหภูมิของอาคารลง ชายคาที่ทอดต่ำา<br />

ยังสามารถป้องกันแสงแดดที่อาจจะแยงตารบกวนผู้เล่น<br />

แบดมินตัน แต่เพื่อยังให้มีแสงสว่างภายในอย่างเพียงพอ<br />

ปูนขาวแบบญี่ปุ่นดั้งเดิมได้ถูกฉาบคลุมพื้นผิวภายในทั้งหมด<br />

ของหลังคา ซึ่งช่วยในการสะท้อนและกระจายแสงจาก<br />

ธรรมชาติ<br />

An adjacent building is the hall which sits on a<br />

small moss-covered mound. The eaves extend<br />

close to the ground. And the slope of the roof<br />

echoes the slope of the mound. This gives an<br />

impression that the building is rising out of the<br />

landscape. The distinctive feature lies at the top<br />

of the roof. Since the hall accommodates up to<br />

300 audeience, fresh air is essential for comfort.<br />

The building orientation captures the south-north<br />

wind. A large triangular hollow underneath the<br />

gable allows air to pass through. But the hall is<br />

also frequently used for playing badminton. Therefore,<br />

the air must not move too fast, otherwise it<br />

will affect the wind-sensitive shuttlecock. A hole<br />

in the roof ridge acts as a funnel. This works in<br />

conjunction with vents in the floor and a network<br />

of underground ducts that help cool down the<br />

building. The low eaves also prevent glare that<br />

may disturb the badminton players. But to provide<br />

ample lighting, traditional Japanese white plaster<br />

covers the entire interior surface of the roof, bouncing<br />

and distributing natural light.<br />

Sambuichi เรียกสายลมและแสงแดดว่า “วัสดุจากธรรมชาติ<br />

ที่เคลื่อนไหว” และที่ Naoshima Hall หลังคาก็กลายเป็น<br />

เครื่องมือของเขาในการทำางานร่วมกับ “วัสดุจากธรรมชาติ<br />

ที่เคลื่อนไหว” เหล่านี้<br />

The architect, Sambuichi, calls the wind and the<br />

sun ‘moving materials of nature’. And at Naoshima<br />

Hall, roof becomes his means to work with these<br />

‘moving materials of nature’.<br />

3<br />

Photo Credit: Sambuichi Architects / Downloaded from dezeen.com<br />

4<br />

03<br />

ภายในอาคารหลังใหญ่<br />

ของ Naoshima Hall<br />

04<br />

รูปตัดอาคารใหญ่<br />

ของ Naoshima Hall<br />

ส่วนที่เป็นศูนย์ชุมชนเป็นอาคารขนาดเล็กที่มีหลังคาเล็ก<br />

ซ้อนอยู่ภายใต้หลังคาใหญ่ อาคารประกอบด้วยห้องสี่ห้อง<br />

ที่แยกออกจากกัน โดยแต่ละห้องมีหลังคาของตัวเอง หลังคา<br />

สูงชันอีกหลังคาหนึ่งปกคลุมหลังคาทั้งสี่นี้ไว้ และตัวหลังคา<br />

เองถูกหุ้มด้วยบานเกล็ดไม้ทั้งด้านในและด้านนอก โดย<br />

ด้านบนมีช่องเปิดซึ่งสามารถรับแสงแดดและให้อากาศ<br />

ระบายเข้าออกได้<br />

The community centre is the smaller building with<br />

roofs within a roof. It consists of four separate<br />

room, each with its own roof. Another steep roof,<br />

clad with timber louvres on both sides, covers<br />

these four roofs. At the top is an opening which<br />

lets in sunlight and allows air to ventilate.<br />

Photo Credit: Duccio Malagamba /<br />

Downloaded from arquitecturaviva.com<br />

5<br />

Photo Credit: Duccio Malagamba /<br />

Downloaded from arquitecturaviva.com<br />

6


32<br />

theme<br />

ON THE ROOF<br />

33<br />

8<br />

Photo Credit: Scottish Parliamentary Corporate Body-20<strong>12</strong> / Downloaded from archdaily.com<br />

Photo Credit: Duccio Malagamba / Downloaded from arquitecturaviva.com<br />

7<br />

ระหว่างภายในและภายนอก<br />

นอกจากให้ความสะดวกสบายแก่เราแล้ว หลังคายังสามารถ<br />

เป็นองค์ประกอบที่ช่วยทำาให้พื้นที่ละแวกใกล้เคียงมีชีวิตชีวา<br />

ได้อีกด้วย โดยการสร้างความประทับใจแรกและเป็นหนึ่งใน<br />

สิ่งที่ต้อนรับและเชื้อเชิญให้เราก้าวเข้าไปด้านใน<br />

เมื่อปี 1997 ได้มีการประกวดแบบเพื่อฟื้นฟูตลาดเก่า Santa<br />

Caterina ในย่านเมืองเก่าของบาร์เซโลนา แบบโครงการ<br />

ที่ประกวดชนะเป็นของสถาปนิกชาวสเปน Enric Miralles<br />

และ Benedetta Tagliabue (EMBT) ซึ่งเสนอหลังคาของ<br />

ตลาด Santa Caterina ที่มีรูปทรงโดดเด่น แตกต่างกับ<br />

หลังคาที่เรียบง่าย ของ Naoshima Hall ที่ได้กล่าวถึงก่อน<br />

หน้านี้ แบบโครงการนี้ยังคงส่วน façade เดิมของอาคาร<br />

สไตล์นีโอคลาสสิกเอาไว้ และนำาเสนอหลังคาใหม่ที่เสมือน<br />

ลอยอยู่ด้านบน หลังคารองรับด้วยโครงสร้างเหล็กและไม้<br />

ซึ่งปูคลุมด้วยกระเบื้องหลังคาจำานวน 325,000 ชิ้น ที่มี<br />

สีสันมากมายถึง 67 สี หลังคาครอบคลุมพื้นที่ขนาดใหญ่<br />

กว่า 5,500 ตารางเมตร จากมุมมองภายนอก โครงการ<br />

หลังคาใหม่ที่อยู่เหนือส่วน façade ได้ช่วยขยายพื้นที่<br />

สาธารณะในร่มสามารถให้ผู้คนมารวมตัวและใช้ประโยชน์<br />

ด้านนอกตลาด และเมื่อมองจากอาคารที่สูงกว่าที่อยู่รายรอบ<br />

ตลาดแห่งนี้ หลังคานี้ก็ดูเหมือนผืนผ้าใบสีสันสดใส และ<br />

สำาหรับมุมมองจากพื้นที่ภายในนั้น ผู้ซื้อก็จะเพลิดเพลินไป<br />

กับประสบการณ์การจับจ่ายที่น่าพึงพอใจ มีความโปร่งโล่ง<br />

สบายและได้รับการปกป้องเป็นอย่างดีภายใต้หลังคาสูงนี้ี้<br />

แต่นอกเหนือจากหลังคาที่ใหญ่และแผ่ตัวปกคลุมอาคาร<br />

แล้ว หลังคาของอาคารอาจประกอบด้วยชิ้นส่วนเล็กๆ ใน<br />

หลายส่วน อีกหนึ่งโครงการระดับตำานานของ EMBT คือ<br />

อาคารรัฐสภาสกอตแลนด์ ในเอดินเบอระ อันประกอบด้วย<br />

รูปแบบที่ซับซ้อนมากมาย มีหลังคาหลากหลายประเภทใน<br />

พื้นที่เดียว ทั้งหลังคา Flat slab หลังคากระจกที่เอียงเล็กน้อย<br />

หลังคาเขียว (Green roof) หลังคาเมทัลชีทที่ลาดเอียงใน<br />

องศาและทิศทางที่สลับกันไปอย่างต่อเนื่อง หลังคาที่โดดเด่น<br />

ที่สุดอาจเป็นหลังคาที่อยู่เหนือส่วนโถงรับรองจากทางเข้า<br />

ด้านสวน (Garden lobby) โถงรับรองมีหลังคาหลายชิ้น แต่<br />

ละชิ้นมีรูปร่างเหมือนเรือที่เรียงตัวไปในทิศทางต่างๆ กัน<br />

พื้นที่ภายในสว่างไสวจากแสงธรรมชาติ และด้วยโครงสร้าง<br />

รับหลังคาที่ซับซ้อน ประกอบด้วยชิ้นส่วนโครงสร้างที่สั้น-<br />

ยาวต่างๆ กันไป และแต่ละชิ้นยื่นลงมาในพื้นที่ภายในด้าน<br />

ล่าง ทำาให้บรรยากาศของพื้นที่โถงรับรองนี้ น่าตื่นตาตื่นใจ<br />

ไม่น้อย<br />

9<br />

Photo Credit: Scottish Parliamentary Corporate Body-20<strong>12</strong> /<br />

Downloaded from archdaily.com<br />

Between inside and outside<br />

More than giving us comfort, roof can be the<br />

element that uplifts the neighbourhood—the first<br />

impression and the one that welcomes and invites<br />

us to step inside.<br />

A competition was held in 1997 to restore the<br />

old Santa Caterina market in the old quarter of<br />

Barcelona. The winning proposal went to Spanish<br />

architects Enric Miralles and Benedetta Tagliabue<br />

(EMBT). Contrasting to the modest roof of Naoshima<br />

Hall, Santa Caterina Market is bold. The<br />

proposal retains the old neoclassical façade and<br />

introduces a new roof hovering above. Supported<br />

by a composite structure of steel and wood and<br />

clad in 325,000 pieces and 67 colours of ceramic<br />

tiles, the roof covers a large area of 5,500 square<br />

metres. From the outside, the new roof projects<br />

beyond the façade extending the shaded public<br />

space for people to gather and utilize. From buildings<br />

surrounding the market, the roof appears like<br />

a colourful canvas. And from the inside, shoppers<br />

enjoy a pleasant shopping experience, airy and<br />

protected under the high roof.<br />

But apart from being large and overarching, roof<br />

of a building may consist of many smaller parts.<br />

The Scottish Parliament in Edinburgh, another<br />

legendary project by EMBT, is composed of many<br />

complex forms. Its roofs come in various types: flat<br />

roofs, a gently-inclined glazed roof, green roofs,<br />

arched and sloping steel roofs that intersect one<br />

another and so on. The most striking roof is perhaps<br />

one over the Garden Lobby. The lobby is topped<br />

with several roofs in a jagged manner. Each roof is<br />

shaped like a boat. Brightly lit, the interior space is<br />

a complex and exciting sight as structure extend at<br />

varying length from the roof above.<br />

07<br />

ตลาด Santa Caterina<br />

08-09<br />

รัฐสภาแห่งสกอตแลนด์


34 35<br />

11<br />

รัฐสภาแห่งสกอตแลนด์<br />

10<br />

Duccio Malagamba downloaded from arquitecturaviva.com


36<br />

theme<br />

ON THE ROOF<br />

37<br />

ระหว่างเรากับเมือง<br />

ใน Google Arts and Culture ได้มีคอลัมน์โดยเฉพาะสำาหรับ<br />

Milan Duomo Rooftops หรือหลังคาของอาสนวิหารเมือง<br />

มิลาน ไม่ใช่แค่ตัวสถาปัตยกรรมของอาสนวิหารเท่านั้น แต่<br />

คือส่วนหลังคาเลย โดยตั้งชื่อว่า “A Walk on Milan Duomo<br />

Rooftops” Google เน้นว่านี่คือ “อาสนวิหารโกธิคแห่งเดียว<br />

ที่สามารถขึ้นไปบนหลังคาได้” และประสบการณ์นั้น<br />

“ไม่เหมือนใคร” เพราะใครๆ ก็สามารถตื่นตาตื่นใจไปกับ<br />

รูปปั้น ยอดแหลม การ์กอยล์ และรายละเอียดหินอ่อนทั้งหมด<br />

ได้ในระยะใกล้มาก และไม่เพียงเท่านั้น หลังคา Duomo<br />

ยังเป็นพื้นที่สำาหรับชมเมืองใหม่ที่ทันสมัยของมิลานอีกด้วย<br />

Between us and the city<br />

A page on Google Arts and Culture is dedicated<br />

to Milan Duomo Rooftops. Not just the cathedral,<br />

but its rooftops. Simply titled ‘A Walk on Milan<br />

Duomo Rooftops’, Google stresses that this is<br />

‘the only Gothic cathedral with accessible terraces’.<br />

And that the experience is ‘unique’ because one<br />

can marvel at the statues, spires, gargoyles, and<br />

all the marble details in close-up. Not only that, the<br />

Duomo rooftops also provide a platform to see the<br />

modern city of Milan.<br />

<strong>12</strong><br />

มุมมองไปยังเมืองใหม่<br />

ของมิลานจากหลังคาของ<br />

อาสนวิหารเมืองมิลาน<br />

13<br />

หลังคาของอาสนวิหาร<br />

เมืองมิลาน<br />

Photo Credit: Filip Šlapal / Downloaded from dezeen.com<br />

11<br />

Photo Credit: Duomo di Milano<br />

<strong>12</strong><br />

11<br />

โรงเรียนอนุบาล<br />

Větrník<br />

ในงานออกแบบโรงเรียนอนุบาล Větrník ในสาธารณรัฐเช็ก<br />

มีการเลือกใช้กลุ่มของหลังคาขนาดเล็กหลายชิ้นเช่นกัน<br />

และเช่นเดียวกับสองโครงการที่กล่าวถึงไปก่อนหน้านี้ของ<br />

EMBT รูปทรงหลังคาของโรงเรียนอนุบาลแห่งนี้ ก่อให้เกิด<br />

พื้นที่ภายในอาคารที่น่าสนใจ โดยจากบริเวณภายนอกเรา<br />

ก็พอจะบอกได้ว่าพื้นที่ภายในนั้นจะน่าตื่นเต้นเพียงใด ที่<br />

โรงเรียนอนุบาล Větrník บล็อกหลากสีสันมีหลังคารูปทรง<br />

พีระมิดทั้งหมดสี่บล็อกติดอยู่กับบล็อกสีขาวที่มีหลังคา<br />

Flat slab โครงสร้างเหล็กและไม้รองรับส่วนหลังคาทรง<br />

พีระมิด ในบางห้องเรียน จันทันเหล็กที่มองเห็นได้จากใน<br />

ห้องจะถูกทาด้วยสีสันสดใสให้สอดคล้องกันกับสีของหลังคา<br />

นั้นๆ โดยสถาปนิกกล่าวว่าแรงบันดาลใจเบื้องหลังรูปทรง<br />

เรขาคณิตของอาคารคือความเป็นธรรมชาติและความขี้เล่น<br />

ของเด็กๆ แต่ไม่ใช่เพียงการสร้างลูกเล่นกับรูปทรงเรขาคณิต<br />

เท่านั้น พื้นที่ที่เกิดขึ้นตรงจุดเชื่อมระหว่างบล็อกหลังคา<br />

Flat slab และบล็อกยอดพีระมิดนั้นก็มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว<br />

หลังคาพีระมิดลาดเอียง มีการเจาะช่องหน้าต่างรูปสามเหลี่ยม<br />

ที่ด้านข้างและช่องรับแสงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่ปลายยอด เกิด<br />

เป็นเวิ้งพื้นที่เล่นซึ่งยื่นขยายออกมาจากห้องเรียน<br />

Větrník Kindergarten, in the Czech Republic also<br />

opts for a cluster of different roofs. Like the previous<br />

two projects by EMBT, the design of the roof gives<br />

rise to the interior space. And so from the outside,<br />

we are given a glimpse on how exciting the space<br />

would be inside. At Větrník Kindergarten, four colourful<br />

blocks with pyramidical roofs are attached to<br />

a flat-roofed white block. Steel frame and timber<br />

rafters provide support for the pyramidical roofs.<br />

In some classrooms, the steel frames are exposed<br />

and painted in corresponding bright colours. The<br />

architects say the inspiration behind the building<br />

geometry is the spontaneity and playfulness of<br />

children. But not only a play on geometry, the<br />

space created at the junction between the plain<br />

flat-roofed block and the pyramid-topped blocks<br />

is unique. The sloping pyramidical roof, pierced<br />

with triangular-shaped windows on the sides and<br />

rectangular skylight at its apex, provides a niche<br />

for play area that extends from the classroom.<br />

Photo Credit: Daniel Case via Wikimedia Commons<br />

13


38<br />

theme<br />

ON THE ROOF<br />

39<br />

โรงอุปรากรออสโลซึ่งออกแบบโดย Snøhetta เป็นโรงอุปรากร<br />

ที่ปูด้วยหินอ่อนเหมือนกันกับอาสนวิหารเมืองมิลาน แต่มี<br />

อายุที่ห่างกันหลายศตวรรษ โรงอุปรากรแห่งนี้ ได้บอกกับ<br />

ผู้มาเยือนว่า “กรุณาเดินบนหลังคา” หลังคาที่ปูด้วยหินอ่อน<br />

สีขาวได้ลาดเอียงลงมายังบริเวณพื้นที่ลานริมอ่าว เชื่อม<br />

ส่วนลานกว้างและอาคารเข้าไว้ให้เป็นส่วนเดียวกัน ผู้เข้าชม<br />

สามารถเดินเหนือโรงอุปรากรได้ รวมถึงหัวใจของอาคาร<br />

อย่างตัวโรงละครและเวทีการแสดง นอกจากการเดินแล้ว<br />

เว็บไซต์ Visit Norway ยังแนะนำาผู้เข้าชมว่าหลังคายังเป็น<br />

ที่ที่เหมาะสำาหรับการนั่งชมทิวทัศน์ของเมืองอีกด้วย จาก<br />

หลังคานี้ เราสามารถชื่นชมหมู่เกาะฟยอร์ด บ้านฤดูร้อนแบบ<br />

ดั้งเดิมของนอร์เวย์ เนินเขาของนอร์เวย์ และเมืองออสโลที่<br />

ทันสมัย การแสดงยังไม่ได้จำากัดอยู่แค่ในอาคาร หรือเฉพาะ<br />

ผู้ชมที่จ่ายค่าบัตรเท่านั้น แต่หลังคาและลานริมน้ำ ายังเป็น<br />

สถานที่จัดกิจกรรมกลางแจ้ง เช่น การแสดงละครและ<br />

คอนเสิร์ต หลังคาได้กลายเป็นสื่อกลางสำาหรับผู้อยู่อาศัยใน<br />

เมืองออสโล รวมถึงนักท่องเที่ยวเพื่อชื่นชมเมือง ไม่ใช่ทุกคน<br />

ที่จะจ่ายเงินเข้าไปดูการแสดง แต่หลังคาเป็นส่วนของอาคาร<br />

ที่ทำาให้อาคารสาธารณะแห่งนี้สามารถเข้าถึงได้สำ าหรับทุกคน<br />

ไม่ว่าจะจ่ายเงินหรือไม่ก็ตาม<br />

เมื่อเร็วๆ นี้ Sou Fujimoto เสนอไอเดีย ศูนย์ชุมชนใน<br />

เมืองฮิดะ ประเทศญี่ปุ่น โดยอาคารมีพื้นที่ทั้งหมด 21,300<br />

ตารางเมตร และตั้งอยู่ติดกับสถานีรถไฟหลักของเมือง<br />

ตัวอาคารมีผังพื้นเป็นวงกลม ส่วนบนเป็นหลังคาวงกลม<br />

อันโดดเด่น อาคารนี้หลากหลายด้วยฟังก์ชันต่างๆ ซึ่ง<br />

ประกอบด้วยสปา พื้นที่จัดแสดงนิทรรศการ ศูนย์วิจัย และ<br />

ร้านค้า ซึ่งจะตั้งอยู่รอบๆ พื้นที่ศูนย์กลางที่เป็นลาน หลังคา<br />

ใช้รูปทรงเหมือนกับชาม ในลักษณะสูงขึ้นบริเวณขอบและ<br />

ลาดลงตรงกลางซึ่งเป็นที่ตั้งของลาน ด้านบนหลังคาเป็น<br />

สวนสาธารณะที่ปกคลุมด้วยหญ้าและเปิดให้ผู้คนเดินได้<br />

เนื่องจากเมืองฮิดะเป็นภูมิภาคที่มีภูเขาอันงดงาม จึงหวังว่า<br />

สถาปัตยกรรมแห่งนี้จะทำาให้ “รับรู้ถึงธรรมชาติอันยิ่งใหญ่<br />

ของเมืองฮิดะ” ได้ดียิ่งขึ้น หลังคาจึงนับเป็นอีกวิธีหนึ่งใน<br />

การชื่นชมเมืองจากด้านบน<br />

A marble-clad counterpart but several centuries<br />

apart, Oslo Opera House designed by Snøhetta<br />

tells visitors to ‘Please walk on the roof’. The white<br />

marble-covered roof folds down to the waterfront<br />

plaza, connecting the plaza and the building into<br />

one. Visitors can walk above the Opera House, including<br />

the heart of the complex—the performance<br />

hall. Apart from walking, the Visit Norway website<br />

reminds visitors that the roof is also a great place<br />

to sit and take in the vista of the city. From here,<br />

one can admire the fjord archipelago, traditional<br />

Norwegian summer houses, the Norwegian hills,<br />

and the modern city of Oslo. Performance does<br />

not confine to inside the building—in other words,<br />

for only ticket-paying audience. But the roof, along<br />

with the waterfront plaza, also hosts outdoor events<br />

like plays and concerts. The roof becomes a medium<br />

for Oslo residents and tourists alike to admire the<br />

city. Not everyone will go in to see the performance.<br />

But its roof is a section of the building that makes<br />

this civic building accessible for all, whether they<br />

pay or not.<br />

Recently, Sou Fujimoto proposes a community<br />

centre in Hida, Japan. The building has a total area<br />

of 21,300 square metres and is located next to the<br />

main railway station of the town. The building is<br />

circular in plan, topped with a distinctive circular<br />

roof. Various functions which include a spa, exhibition<br />

spaces, research facilities and shops, will be<br />

located around the central plaza. The roof takes<br />

on a shape of a bowl, rising higher at the rim, and<br />

sags in the centre where the plaza is located. The<br />

roof will eventually be a grass-covered park and<br />

open for people to walk on. As Hida is a picturesque<br />

mountainous region, it is hoped that the architecture<br />

will give ‘a better awareness of the majestic nature<br />

of Hida’. Roof is once again a means for admiring the<br />

city from above.<br />

Photo Credit: Daniel Case via Wikimedia Commons<br />

14<br />

14<br />

โรงอุปรากรออสโล<br />

15-16<br />

ศูนย์ชุมชนในเมืองฮิดะ<br />

The roof, along with the waterfront plaza, hosts outdoor<br />

events like plays and concerts. The roof becomes a medium<br />

for the city residents and tourists alike to admire the city.<br />

Not everyone will go in to see the performance. But its roof<br />

is a section of the building that makes this civic building<br />

accessible for all, whether they pay or not.<br />

16<br />

Photo Credit: Sou Fujimoto Architects / Downloaded from dezeen.com<br />

<strong>12</strong>


40<br />

theme<br />

ON THE ROOF<br />

41<br />

17-18<br />

ห้องสมุด Maya Somaiya<br />

19-20<br />

โรงงาน Lingotto ใกล้กับ<br />

เมืองตูริน ประเทศอิตาลี<br />

18<br />

Photo Credit: Sou Fujimoto Architects / Downloaded from dezeen.com<br />

ระหว่างปั จจุบันกับอนาคต<br />

หลังคานับว่าได้เข้ามามีส่วนร่วมในช่วงเวลาสำาคัญมากมาย<br />

ในประวัติศาสตร์ของเรา ในช่วงเวลาแห่งการบุกเบิกและ<br />

การก้าวไปสู่การเปลี่ยนแปลงของสังคม ในปี 1923 Fiat<br />

บริษัทรถยนต์สัญชาติอิตาลีได้เปิดโรงงาน Lingotto ใกล้กับ<br />

เมืองตูริน ประเทศอิตาลี เมื่อเดินทางผ่านอาคารทั้ง 5 ชั้น<br />

ที่ออกแบบโดย Giacomo Matté-Trucco ผู้ที่เข้ามาเยี่ยม<br />

เยือนอาคารแห่งนี้ จะได้เห็นขั้นตอนการผลิตรถยนต์ ตั้งแต่<br />

วัตถุดิบไปจนถึงรถยนต์ที่ประกอบแล้วเสร็จ โดยรถยนต์ที่<br />

ประกอบพร้อมใช้จะได้รับการทดสอบที่สนามทดสอบบน<br />

ชั้นดาดฟ้าขนาด 1680x260 ฟุต นอกเหนือจากการเป็น<br />

โรงงานผลิตรถยนต์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ณ เวลานั้น หลังคา<br />

ของโรงงานผลิตรถยนต์ที่เป็นสนามทดสอบรถด้วยจะต้อง<br />

เป็นเรื่องแปลกใหม่มาก ๆ เมื่อแรกเปิดตัวอย่างแน่นอน<br />

ในปี 1972 เยอรมนีเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาครั้ง<br />

แรกหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ดังนั้นจึงเป็นโอกาสในการนำา<br />

เสนอภาพลักษณ์หลังสงครามของประเทศสู่สายตาชาว<br />

โลก การออกแบบที่ชนะเลิศสำาหรับ Olympic Park ในมิ<br />

วนิกเป็นของ Behnisch and Partners (B+P) ซึ่งเสนอ<br />

แบบโครงการอาคารที่ผสมผสานกับภูมิทัศน์ โดยสิ่งอำานวย<br />

ความสะดวกทางด้านกีฬาอยู่ร่วมกับลำาธารและทะเลสาบ<br />

องค์ประกอบที่โดดเด่นคือหลังคาลักษณะโครงสร้าง Tensile<br />

ที่ครอบคลุมพื้นที่เกือบ 75,000 ตารางเมตร ซึ่งช่วย<br />

บังแดดสำาหรับส่วนพื้นที่สนามกีฬาหลักและเชื่อมต่อพื้นที่<br />

ต่าง ๆ ของ Olympic Park เข้าด้วยกัน B+P ทำางานร่วม<br />

กับ Frei Otto ทำาให้เกิดผลงานชิ้นเอกทางด้านวิศวกรรม<br />

จากสายเคเบิลเหล็กและแผ่นอะคริลิก นวัตกรรมนี้แสดง<br />

ภาพลักษณ์สมัยใหม่ที่ประเทศต้องการสื่อ ลองคิดดูว่าเมื่อ<br />

โอลิมปิกเกมเริ่มต้นขึ้นในปี 1972 ผู้ชมจะรู้สึกว่าสิ่งนี้น่าตื่น<br />

เต้นและเป็นการก้าวเข้าสู่อนาคตแค่ไหน<br />

Between now and the future<br />

Roof has played a part in many important moments<br />

in our history—a moment of pioneering, and of<br />

optimism. In 1923, Fiat, the Italian automobile company,<br />

opened the Lingotto factory near Turin, Italy.<br />

As one journeys through the five storeys designed<br />

by Giacomo Matté-Trucco, one practically follows<br />

a manufacturing process of a car, from the raw<br />

materials to a finished car. And the finished cars<br />

were to be tested at the 1680x260 feet rooftop<br />

test track. Apart from being the largest car factory<br />

in the world at the time, how ground-breaking this<br />

must have been for a car factory with a banked<br />

reinforced concrete racetrack on its roof?<br />

In 1972, it was Germany's first time to host the<br />

Games after the Second World War so it was an<br />

opportunity to present the country's post-War<br />

image to the world. The winning design for the<br />

Olympic Park in Munich went to Behnisch and<br />

Partners (B+P) who proposed a scheme with buildings<br />

blending with the landscape. Sport facilities<br />

coexist with streams and lakes. The distinctive element<br />

was the tensile roof covering almost 75,000<br />

square metres, shading the main stadium and tying<br />

different area of the Olympic Park together. B+P<br />

collaborated with Frei Otto, resulting in an engineering<br />

masterpiece from steel cables and acrylic panels.<br />

Most importantly, it signifies the modern image<br />

that the country wants to portray. When the Games<br />

opened in 1972, how exciting and forward-looking<br />

this must have felt for spectators?<br />

แต่หลังคาที่มอบความเพลิดเพลินในการมองจากด้านบน<br />

อาจไม่จำาเป็นว่าจะทำาได้เฉพาะกับอาคารสาธารณะขนาดใหญ่<br />

เท่านั้น อาคารขนาดเล็กเองก็สามารถมอบประสบการณ์บน<br />

ชั้นดาดฟ้าได้เช่นกัน ในเมืองเล็กๆ ทางตะวันออกของมุมไบ<br />

Sameep Padora + Associates (sP+a) ออกแบบห้องสมุด<br />

โรงเรียนซึ่งมีหลังคาที่สามารถเดินด้านบนได้ ห้องสมุด<br />

Maya Somaiya มีรูปทรงที่โดดเด่น โดยใช้รูปแบบหลังคาโค้ง<br />

แบบคาตาลัน ซึ่งก่อสร้างจากกระเบื้องอิฐ 20 มม. จำานวน<br />

สามชั้นวางซ้อนตั้งฉากเรียงต่อเนื่องและยึดเข้าด้วยปูน<br />

เส้นทางของหลังคายกขึ้นสูงและทอดลงสู่พื้นทำาให้สามารถ<br />

ใช้หลังคาของห้องสมุดเป็นสะพานเชื่อมจากส่วนหนึ่งของ<br />

โรงเรียนไปยังอีกที่หนึ่งได้<br />

But a roof that allows for the pleasure of looking<br />

from above may not necessarily be restricted to<br />

large civic buildings. A small building can offer a<br />

rooftop experience, too. In a small town east of<br />

Mumbai, Sameep Padora + Associates (sP+a)<br />

designs a school library featuring a walkable roof.<br />

Maya Somaiya Library has a distinctive shape.<br />

It employs the Catalan vault, a construction from<br />

three layers of 20mm brick tiles laid perpendicular<br />

to each other and held together by mortar. The<br />

way the roof rises, and falls back to the ground<br />

makes it possible to use the roof of the library<br />

as a bridge to go from one part of the school to<br />

another.<br />

Uploaded by Dgtmedia - Simone at Italian Wikipedia<br />

19 20<br />

Photo Credit: www.atlasofplaces.com


42<br />

theme<br />

ON THE ROOF<br />

43<br />

21-22<br />

หลังคาโครงสร้าง Tensile<br />

ของ Olympic Park โดย<br />

Frei Otto<br />

Photo Credit: Timothy Schenck /<br />

Downloaded from www.archdaily.com<br />

23<br />

Photo Credit: Iwan Baan / Downloaded from www.archdaily.com<br />

24<br />

22<br />

There are so many things that a roof can be. The next time<br />

we start designing a building, perhaps we can also start<br />

with the roof—just like what Junichiro Tanizaki wrote that<br />

we first spread a parasol, and under the parasol's shadow,<br />

we built a house.<br />

Photo Credit: M(e)ister Eiskalt / Downloaded from www.archdaily.com<br />

Photo Credit: Jorge Royan via Wikimedia Commons<br />

21<br />

23<br />

The Shed พื้นที่ที่เพิ่มขึ้น<br />

จากการเลื่อนออกมาของ<br />

หลังคา<br />

24<br />

The Shed โดย Diller<br />

Scofidio + Renfro<br />

และ Rockwell Group<br />

หลังคาได้เข้ามามีส่วนในประวัติศาสตร์ของเรา แล้วอนาคต<br />

ละจะเป็นอย่างไร?<br />

จะเกิดอะไรขึ้นถ้าหลังคาเคลื่อนที่ได้? Diller Scofidio +<br />

Renfro และ Rockwell Group ออกแบบศูนย์วัฒนธรรม<br />

ขนาด 18,500 ตารางเมตรในนครนิวยอร์กที่เรียกว่า<br />

The Shed สร้างแล้วเสร็จในปี 2019 หลังคาขนาดมหึมาที่<br />

ห่อหุ้มด้วยวัสดุ ETFE โปร่งแสง ครอบคลุมส่วนหนึ่งของ<br />

อาคาร แต่ก็สามารถเลื่อนออกไปยังบริเวณลานกลางแจ้งได้<br />

และด้วยการทำาเช่นนั้น จึงทำาให้ลานกลางแจ้งได้กลายเป็น<br />

พื้นที่พิเศษสำาหรับการแสดงและศิลปะในรูปแบบอื่นๆ ได้<br />

อีกด้วย<br />

หรือจะเป็นอย่างไรถ้าหลังคาไม่ว่าจะเล็กหรือใหญ่ก็มีส่วน<br />

สร้างพื้นที่สีเขียวให้กับเมืองของเราได้? Hayhurst and Co<br />

เสนอหลังคาเขียว (Green roof) รูปแบบใหม่ให้กับบ้าน<br />

สองชั้นในลอนดอน หลังคาที่พุ่งสอบขึ้น โดยมีชั้นสแตนเลส<br />

ซึ่งทำาหน้าที่เป็นที่ปลูกต้นไม้สำ าหรับพืชกว่า 800 ต้น สถาปนิก<br />

ผู้ออกแบบเรียกสิ่งนี้ว่า “หลังคาตะกร้าแขวน” สำาหรับเมือง<br />

ที่มีพื้นที่ทำาสวนจำากัดอย่างลอนดอน จะช่วยให้เจ้าของมี<br />

พื้นที่เพิ่มเติมในการทำาสวนและนำาเสนอภูมิทัศน์หลังคาใหม่<br />

ที่น่าตื่นเต้นให้กับย่านที่พักอาศัยของเมืองอีกด้วย<br />

ที่ประเทศเนเธอร์แลนด์ NL Architects ได้ออกแบบบ้าน<br />

จัดสรรจำานวนสิบยูนิตที่มีหลังคาในรูปแบบที่บิดและพลิ้ว<br />

การจัดเรียงแต่ละยูนิตก็น่าสนใจเพราะไม่มียูนิตใดเลยที่มี<br />

ลักษณะเหมือนกัน โดยแตกต่างกันไปตามพื้นที่และจำานวน<br />

ชั้น อย่างไรก็ตาม ทุกยูนิตมีปริมาตรที่เท่ากันและสามารถ<br />

เข้าถึงหลังคาสีเขียวได้ อาคารหลังนี้เสมือนคืนพื้นที่สีเขียว<br />

ให้กับพื้นที่ใกล้เคียง และทำาให้ผู้อยู่อาศัยได้ใกล้ชิดกับพื้นที่<br />

สีเขียวมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้อีกด้วย<br />

Roof played a part in our history. So what can the<br />

future be?<br />

What if roof itself could move? In 2019, Diller Scofidio<br />

+ Renfro and Rockwell Group completed a<br />

18,500-square metre cultural centre in New York<br />

City called the Shed. The gigantic roof clad in<br />

translucent ETFE covers part of the building. But<br />

it can slide out to cover an outdoor plaza. And by<br />

doing so, converting the outdoor plaza into an<br />

extra space for performance and other imaginable<br />

forms of art.<br />

Or what if a roof, big or small, can contribute some<br />

green area to our city? Hayhurst and Co introduces<br />

a new type of green roof to a two-storey house in<br />

London. The pitched roof features stainless-steel<br />

tiers which act as planters for over 800 plants. The<br />

studio called this a ‘hanging-basket roof’. For a city<br />

with limited gardening space like London, it gives the<br />

owners some extra space to garden and presents<br />

an exciting new roofscape to the residential part of<br />

the city.<br />

In the Netherlands, NL Architects designs a housing<br />

block for 10 units with a wavy rooftop. The unit<br />

arrangement is interesting as none of the units is<br />

identical. They vary in floor area and the number of<br />

storeys. However, all units get the same volume of<br />

space and access to the green roof. This building<br />

is giving some green back to the neighbourhood<br />

and getting its residents as close to the greenery<br />

as possible.


ON THE ROOF<br />

44 45<br />

25<br />

Garden House<br />

โดย Hayhurst and Co.<br />

26<br />

Funen Blok K<br />

โดย NL Architects<br />

ข้อคิดจากหลังคา<br />

การออกแบบหลังคาสามารถกลายมาเป็นสัญลักษณ์ได้ และ<br />

หลังคาก็สามารถเป็นเครื่องมือในการควบคุมสภาพอากาศ<br />

ให้เย็นสบาย หลังคานั้นยังสามารถเป็นเหมือนประติมากรรม<br />

ขนาดใหญ่และมีสีสันสะดุดตา หลังคาอาจมีโครงสร้างที่<br />

ซับซ้อน หรือประกอบด้วยกลุ่มของหลังคารวมกัน หลังคา<br />

สามารถเป็นเวทีให้เราได้ดื่มด่ำากับทัศนียภาพอันกว้างไกล<br />

สามารถเป็นส่วนที่ติดกับที่ หดได้ หรือเคลื่อนย้ายได้ก็ได้<br />

การออกแบบหลังคายังสามารถมีหน้าตาที่บุกเบิกรูปแบบ<br />

ใหม่ๆ จนนับว่าเป็นสัญลักษณ์ว่าเรากำาลังเข้าสู่ยุคใหม่<br />

และการออกแบบหลังคาก็อาจเป็นก้าวเล็กๆ ของเราใน<br />

การก้าวสู่อนาคตที่ยั่งยืนยิ่งขึ้น มีหลายสิ่งหลายอย่างที่<br />

หลังคาสามารถเป็นได้ ในครั้งต่อไปที่เราเริ่มออกแบบ<br />

อาคาร บางทีเราอาจจะเริ่มด้วยหลังคาก็ได้ เหมือนกับที่<br />

Junichiro Tanizaki เขียนไว้ว่าเรากางร่มก่อน และภายใต้<br />

เงาของร่มนั ้น เราจึงสร้างบ้านขึ้นมา<br />

Reflecting on the roof<br />

The design of a roof can be symbolic. A roof can<br />

be instrumental in controlling the climatic comfort.<br />

A roof can be bold and colourful. It can be complex<br />

in structure. It can be playful in its form. It can be a<br />

platform for us to absorb a panoramic view. It can<br />

be fixed, or retractable, or moveable. The design of<br />

a roof can be so pioneering that it symbolises that<br />

we are entering a new era. And the design of a roof<br />

can be our little step towards a more sustainable<br />

future. There are so many things that a roof can be.<br />

The next time we start designing a building, perhaps<br />

we can also start with the roof—just like what<br />

Junichiro Tanizaki wrote that we first spread a<br />

parasol, and under the parasol's shadow, we built<br />

a house.<br />

นวันวัจน์ ยุธานหัส<br />

จบการศึกษาระดับ<br />

ปริญญาตรีและปริญญาโท<br />

จากคณะสถาปั ตยกรรม-<br />

ศาสตร์ที่ Bartlett School<br />

of Architecture, University<br />

College London<br />

และเป็ นภัณฑารักษ์ผู้ช่วย<br />

ของ Thai Pavilion ใน<br />

งาน Venice Architecture<br />

Biennale ครั้งที่ 17 เมื่อ<br />

ปี ค.ศ. 2021 นอกจาก<br />

งานหลักที่เกี่ยวข้องกับ<br />

จุดร่วมของสถาปั ตยกรรม<br />

วัฒนธรรมและศิลปะแล้ว<br />

นวันวัจน์เป็ นอดีตอาจารย์<br />

พิเศษที่คณะสถาปั ตย-<br />

กรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร และปั จจุบัน<br />

นวันวัจน์แชร์ความสนใจ<br />

ในการบอกเล่าเรื่องราวที่มี<br />

ค่าผ่านงานสถาปั ตยกรรม<br />

กับนักออกแบบรุ่นใหม่ที่<br />

International Programme<br />

in Communication<br />

Design (CommDe)<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

Nawanwaj<br />

Yudhanahas<br />

studied her Bachelor’s<br />

and Master’s degrees<br />

in Architecture at the<br />

Bartlett School of<br />

Architecture in London.<br />

She was an assistant<br />

curator for the Thai<br />

Pavilion at the 17th<br />

Venice Architecture<br />

Biennale in 2021. Her<br />

full-time job lies at the<br />

intersection of architecture,<br />

culture, and<br />

contemporary art. She<br />

also taught critical<br />

thinking in architectural<br />

design at Silpakorn<br />

University. Currently,<br />

she shares her passion<br />

for telling meaningful<br />

stories via architecture<br />

with students at the<br />

International Programme<br />

in Communication<br />

Design (CommDe),<br />

Chulalongkorn University.<br />

Photo Credit: Raoul Kramer / Downloaded from www.archdaily.com<br />

26<br />

25<br />

Photo Credit: Kilian O’Sullivan / Downloaded from www.archdaily.com<br />

Bibliography<br />

Tanizaki, Junichiro. In Praise of Shadows. Vintage Books, 2001. Japan in Architecture: Genealogies of Its Transformation. Mori Art Museum, 2018.


46<br />

theme / review<br />

Two<br />

In<br />

One<br />

1<br />

In designing the Center of<br />

Excellence for Forest Conservation<br />

in Map Ta Phut,<br />

Architects 49 has developed<br />

an innovative solution to<br />

the brief with two types of<br />

roofs composed in a large<br />

circular structure.<br />

Text: Xaroj Phrawong<br />

Photo Courtesy of Architects 49 Limited<br />

and DOF Sky|Ground except as noted<br />

2<br />

01<br />

มุมมองในเวลากลางคืน<br />

เงาในน้ำาสะท้อนรูปด้าน<br />

ช่วยบรรยากาศได้ดี<br />

02<br />

ภายใน Climatic<br />

Dome มุมมองจากชั้นที่ 1


theme / review<br />

TWO IN ONE<br />

48 49<br />

องค์ประกอบสถาปัตยกรรมมีประโยชน์ตาม<br />

การใช้สอย ตามระบบที่เราคุ้นชินกัน เสามี<br />

หน้าที่รับน้ำาหนักจากคาน ผนังมีหน้าที่แบ่ง<br />

พื้นที่ใช้สอย หลังคามีหน้าที่กันแดดกันฝน แต่<br />

ในโลกยุคปัจจุบันที่เทคโนโลยีก้าวไกลมากขึ้น<br />

หลังคาไม่จำาเป็นต้องทำาหน้าที่แบบเดิมเพียง<br />

อย่างเดียว แต่ยังขยายหน้าที่ของมันเองไปอีก<br />

ยังพรมแดนของอรรถประโยชน์ใช้สอย หลังคา<br />

ในงานสถาปัตยกรรมร่วมสมัยได้ถูกปรับ<br />

บทบาทไปตามเทคโนโลยี วัสดุ และวิธีการ<br />

อาคารสำานักงาน Center of Excellence for<br />

Forest Conservation ที่ตำาบลมาบตาพุด จังหวัด<br />

ระยอง ชี้ชวนให้เห็นถึงหลังคาในอีกนิยามใหม่<br />

จากการสำารวจความเป็นไปได้โดยทีมสถาปนิก<br />

Architects 49 ที่มีส่วนร่วมในโครงการนี้ โดย<br />

เริ่มจากการประกวดแบบจนได้รับการคัดเลือก<br />

สถาปนิกได้สำารวจถึงกิจกรรมภายในโครงการ<br />

ที่กำาลังจะเกิดขึ้น โดยโครงการนี้เป็นอาคาร<br />

สำานักงานที่รองรับกิจกรรมจาก Nong Fab<br />

LNG Receiving Terminal ซึ่งทำาหน้าที่กักเก็บ<br />

LNG หรือ Liquified Natural Gas คือก๊าซ<br />

ธรรมชาติเหลวเป็นแหล่งพลังงานทางเลือกใน<br />

หลายประเทศ ในการสำารวจนี้ สถาปนิกมองเห็น<br />

โอกาสที่จะได้ใช้ความเย็นอันเป็นผลพลอยได้<br />

มาเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาโครงการ<br />

เมื่อสถาปนิกมีโอกาสเข้าสำารวจภายในถังที่เก็บ<br />

LNG จึงเกิดความสนใจในรูปทรงกระบอกที่ดู<br />

มหึมาภายใน ที่จะได้เห็นเพียงแค่ช่วงก่อนใช้งาน<br />

เท่านั้น จึงประยุกต์รูปทรงกระบอกของถัง LNG<br />

มาออกแบบเป็นรูปทรงภายในอาคาร จากภาพ<br />

จำาที่ติดตา จึงพัฒนาสู่รูปทรงโดยรวม แต่เมื่อ<br />

มองจากภายนอกโดยรวมไม่ได้สื่อถึงภาพของ<br />

ถังเก็บแก๊ส เนื่องด้วยสถาปนิกออกแบบด้วย<br />

แนวคิดให้มีความสัมพันธ์กับชุมชนโดยรอบ จึง<br />

สร้างเนินดินบางส่วน เพื่อลดขนาดสัดส่วนอาคาร<br />

และลดความแรงของรูปทรงภายนอกที่จะกลาย<br />

เป็นถังขนาดใหญ่อีกใบ เป็นการลดผลกระทบ<br />

ทางสายตา เมื่อมีการสร้างสถาปัตยกรรมใหม่<br />

จนอาจเกิดการเบียดเบียนสภาพของธรรมชาติที่<br />

มีอยู่เดิม จึงออกแบบให้มีสภาพแวดล้อมที่ดีมา<br />

ทดแทน นำามาสู่การสร้างภูมิทัศน์รองรับระบบ<br />

การไหลของน้ำาตามธรรมชาติขึ้นใหม่ ส่งผลให้<br />

ระบบนิเวศน์ และสิ่งแวดล้อมฟื้นคืนสู่สภาพเดิม<br />

ส่วนหนึ่งของระบบน้ำาเป็นสระน้ำาขนาดใหญ่ทำา<br />

หน้าที่เป็นที่เก็บน้ำ าสำาหรับพื้นที่โดยรอบแทน<br />

ในส่วนของการใช้สอยพื้นที่ภายใน ครึ่งหนึ่ง<br />

เป็นระบบนิเวศไม้เมืองหนาว และสำานักงาน<br />

พนักงานสามารถเดินเข้ามาชมสวนได้ โดย<br />

ส่วนสำานักงานจัดวางให้อยู่ในชั้น 2 และ 3 ส่วน<br />

พื้นที่ชั้น 1 เปิดเป็นสวนสาธารณะเข้าชมไม้<br />

เมืองหนาว ที่บุคคลภายนอกเข้ามาเยี่ยมชม<br />

พันธุ์ไม้ได้ เป็นการแยกทางสัญจรเพื่อการ<br />

เข้าถึงพื้นที่สาธารณะและพื้นที่ส่วนตัว<br />

เนื่องจากขั้นตอนการจากกระบวนการแปร-<br />

สภาพก๊าซ LNG กลับคืนสู่สถานะก๊าซ ถูก<br />

นำามาใช้แทนการทิ้งลงทะเลตามปกติ ซึ่งวิธี<br />

นี้ส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม อากาศเย็นที่เป็น<br />

ผลพลอยได้จากกระบวนการแปรสภาพก๊าซนี้<br />

ทำาให้เกิดความเย็น -162 องศาเซลเซียส จึง<br />

นำาน้ำามาหล่อความเย็น ดึงความเย็นที่เกิดขึ้น<br />

มาใช้ภายในโดมกระจกไม้เมืองหนาว เป็นการ<br />

นำาความเย็นที่เหลือมาใช้ในงานสถาปัตยกรรม<br />

ให้เป็นพลังงานเย็นที่เป็นผลพลอยได้ และถูก<br />

นำามาใช้ใหม่เพื่อควบคุมอุณหภูมิภายในอาคาร<br />

สำาหรับการเพาะปลูกพืชในสภาพอากาศหนาว<br />

เย็นนั้นยังสร้างผลกำาไรให้กับโครงการปีละ 2-3<br />

ร้อยล้านบาท จากขายดอกไม้ในโครงการไป<br />

ต่างประเทศ แล้วยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวให้กับ<br />

จังหวัดระยองด้วยเช่นกัน<br />

หลังคาจึงเป็นส่วนหลักของโครงการนี้ โดย<br />

หลังคามี 2 ส่วนหลังคาทึบที่เป็นพื้นท่ีสีเขียว<br />

และ Climatic Dome เป็นเอเทรียมกระจกสูง<br />

3 ชั้น รูปทรงของหลังคามาจากการแบ่งครึ่ง<br />

การใช้สอย เนื่องจากภายในโดมกระจกต้อง<br />

รักษาอุณหภูมิที่ต่ำากว่าภายนอก 10 องศา<br />

เซลเซียส ทำาให้เกิดปรากฏการณ์การควบแน่น<br />

(Condensation) ลักษณะรูปทรงเป็นแบบรวม<br />

เข้าหาศูนย์กลาง ด้วยโครงสร้างแบบ surface<br />

structure เนื่องจากรูปทรงมีความลื่นไหล การ<br />

ประกอบเข้าของรูปทรงจึงเป็นโพลีกอนที่มี<br />

ขนาดไม่สม่ำาเสมอ โครงหลังคาเป็นลักษณะ<br />

สี่เหลี่ยมข้าวหลามตัดแล้วคั่นด้วยเหล็กท่อ<br />

แนวนอน การแบ่งโครงเป็นรูปสามเหลี่ยม<br />

ทำาให้เกิดความโค้งยืดหยุ่นได้ง่าย Climatic<br />

Dome เป็นโดมกระจกทรงกระบอกไม่มีเสารับ<br />

แผงหลังคา รัศมีโดมมีรัศมี 32 เมตร ตัวโดม<br />

มีจุดรับแรงที่คานด้านล่าง และคานคอนกรีต<br />

ที่ด้านบนตรงช่องระหว่างหลังคาเหล็กและ<br />

หลังคากรีนรูฟ การปะทะกันของ 2 หลังคา<br />

ถูกออกแบบเป็นช่องระบายอากาศด้วยเช่นกัน<br />

สำาหรับการระบายอากาศแบบเร่งด่วนในกรณี<br />

เกิดเพลิงไหม้<br />

การก่อสร้าง Climatic Dome ผลิตจากโรงงาน<br />

เป็นชุดโครงถัก จากนั้นจึงนำามาติดตั้งที่หน้างาน<br />

ภายหลัง เมื่อติดตั้งโครงถักเสร็จ จึงมาวัดขนาด<br />

ช่องสามเหลี่ยมแต่ละช่องที่หน้างาน เพื่อนำาไป<br />

ประกอบการตัดกระจกที่จะมาติดเป็นเปลือก<br />

อีกครั้งหนึ่ง เพราะ surface เป็นโค้งสามมิติ<br />

ทำาให้มีขนาดสามเหลี่ยมที่หลากหลายขนาด<br />

มาก การออกแบบรายละเอียดของโครงสร้าง<br />

โดม ถูกออกแบบให้ตัวยึดแผ่นกระจกยื่นออก<br />

จากเมมบอร์เหล็กกลม เพื่อทำาการยึดเปลือก<br />

ภายนอกที่เป็นกระจกลามิเนต ซึ่งการออกแบบ<br />

รายละเอียดส่วนนี้จะเป็นลักษณะ free end<br />

ให้มีความยืดหยุ่นเพื่อการขยายตัวของวัสดุ<br />

เนื่องจากอุณหภูมิภายในโดมถูกรักษาไว้ที่ 15<br />

องศาเซลเซียส สิ่งที่ผู้ออกแบบต้องคำานึงถึงคือ<br />

ป้องกันการควบแน่นจากอุณหภูมิที่ต่างกันของ<br />

ภายนอกและภายใน วิธีแก้ไขคือการออกแบบ<br />

รายละเอียดของรอยต่อกระจกให้แต่ละวัสดุที่<br />

มีอุณหภูมิต่างกัน ไม่เชื่อมต่อกัน จนเกิดการ<br />

ควบแน่นในอากาศได้ง่าย<br />

นอกจากหลังคาที่โปร่งใส ส่วนที่ต้องการความ<br />

ทึบตามการใช้งานเป็นสวนบนหลังคาที่สามารถ<br />

ขึ้นไปใช้งานได้ ซึ่งสร้างความสัมพันธ์กับเนิน<br />

ดินที่หุ้มภายนอกจากสาเหตุลดความแรงของ<br />

ทรงกระบอกคล้ายถัง LNG การเลือกพืชมา<br />

คลุมหลังคาจึงสัมพันธ์ไปกับสภาพแวดล้อม<br />

โดยรอบ ทั้งจากพืชที่มีในท้องถิ่น ทำาให้บาง<br />

ช่วงของหน้าแล้ง อาจจะมีหญ้าตายบ้าง จึง<br />

ต้องออกแบบให้สวนบนหลังคาที่เป็นคอนกรีต<br />

ป้องกันรั่วซึมด้วยการใช้เมมเบรน ออกแบบ<br />

ให้มีส่วนป้องกันดินไหล เพิ่มจุดพ่นน้ำาป้องกัน<br />

อัคคีภัยให้กับหลังคาส่วนนี้ด้วย<br />

โลกของสถาปัตยกรรมก่อนยุคสมัยใหม่ต่างถูก<br />

ควบคุมด้วยเงื่อนไขทางโครงสร้างที่ส่วนใหญ่<br />

ที่เป็นผนังรับน้ำาหนัก เมื่อเทคโนโลยีได้พัฒนา<br />

ต่อยอดจนสลายรวมผนัง หลังคาในงานสถา-<br />

ปัตกรรมได้ แล้วยังดึงแสงธรรมชาติเข้ามา<br />

สังสรรค์ในพื้นที่ได้แบบที่เปลี่ยนไปจากดั้งเดิม<br />

การตั้งคำาถามถึงการออกแบบสถาปัตยกรรม<br />

ร่วมสมัยในทุกวันนี้ จึงเป็นส่วนผสมของการ<br />

คำานึงถึงเทคโนโลยี และพฤติกรรม อย่างหลีก<br />

เลี่ยงไม่ได้<br />

03<br />

มุมมองภายนอก<br />

สู่ทางเข้าหลัก<br />

04<br />

ผังบริเวณ<br />

4<br />

MASTER PLAN<br />

10 M<br />

3


5<br />

05<br />

ภายใน Climatic Dome<br />

มุมมองจากชั้นที่ 4 จาก<br />

มุมสูง ทำาให้ภาพรวม<br />

ภายในโดม


theme / review<br />

TWO IN ONE<br />

52 53<br />

7<br />

1st FLOOR PLAN<br />

3 M<br />

1. AUDITORIUM<br />

2. HALL<br />

3. EXHIBITION<br />

4. ENTRANCE DECK<br />

5. PUBLIC ENTRANCE<br />

6. CANTEEN<br />

7. COFFEE BOOTH<br />

8. MAIN LOBBY<br />

9. CLIMATIC ATRIUM<br />

10. MEETING ROOM<br />

11. MEP ROOM<br />

<strong>12</strong>. WATER POND<br />

6<br />

06<br />

หลังคาเป็นโครงสร้าง<br />

Surface Structure<br />

เมื่อดูใกล้เข้าไป จะเห็น<br />

ความค่อยกลายรูปทรง<br />

07<br />

ผังพื้นชั้นที่ 1<br />

Each of the architectural components possesses<br />

its own functional merits. Standard architectural<br />

systems typically consist of columns that support a<br />

load of beams, walls that divide and define spaces,<br />

and roofs that provide shelter from rain and sunlight.<br />

In today’s modern world, technology has advanced<br />

significantly, and as a result, the roof has been given<br />

additional roles beyond its conventional functions.<br />

These expanded roles go beyond the utilitarian<br />

realm. The role of roofs in contemporary architecture<br />

has been adapted to keep up with advancements in<br />

technology, materials, and construction methods.


theme / review<br />

TWO IN ONE<br />

54 55<br />

SECTION A<br />

8<br />

The architecture team at A49 came up with a<br />

distinctive roof design for the architecture of the<br />

Center of Excellence for Forest Conservation in<br />

Thailand’s Map Ta Phut district. Their innovative<br />

approach to exploring possibilities has resulted<br />

in a new definition of what a roof can be. Upon<br />

winning the design competition, the architects<br />

conducted a site survey to analyze the activities<br />

that would be carried out on the project. This office<br />

space is intended to support the operational activities<br />

of the Nong Fab LNG Receiving Terminal.<br />

The terminal primarily functions as a storage<br />

facility for liquefied natural gas (LNG), which has<br />

become an increasingly popular alternative energy<br />

source in a number of countries. The survey led to<br />

the architecture team recognizing an opportunity<br />

to incorporate the cold temperature, which is a<br />

byproduct of the process, into the design.<br />

The enormous cylindrical shape of an LNG<br />

storage tank piqued the design team’s interest as<br />

they examined its interior. The tanks are normally<br />

accessible only prior to being opened and put into<br />

operation. One idea is to integrate the physical<br />

features of the LNG tanks into the interior design<br />

of the building. The overall architectural design was<br />

developed based on the visual impression it creates.<br />

The building’s design does not overtly reference<br />

the tank and natural gas from its exterior. Instead,<br />

the architect aimed to create a design that would<br />

reflect the local community’s surroundings. The<br />

hilly landscape has been designed in a way that<br />

reduces the dominant presence of the structure,<br />

thereby preventing it from appearing like a massive<br />

tank and minimizing any unfavorable visual impact.<br />

Constructing a new architectural structure can<br />

have environmental impacts. Therefore, the design<br />

team realized that it was important to create a welldesigned<br />

and constructed new environment. The<br />

landscape architecture was conceived to accommodate<br />

the natural water flow system, which has<br />

enabled the ecosystem and environment to revive.<br />

The waterscape features a large pool that serves<br />

as an irrigation system for the nearby region.<br />

The interior functional program consists of an office<br />

space and a winter forest ecosystem, each making<br />

up half of the spatial program. The landscape is<br />

accessible for both employees and visitors to enjoy.<br />

The second and third floors of the building house<br />

the office spaces. On the first floor, there is a<br />

garden open for public access where winter plants<br />

and flowers are grown. The design incorporates<br />

a separation of circulation, which allows for accessibility<br />

to both public and private areas.<br />

08<br />

รูปตัดขวาง แสดง Space<br />

ที่ลื่นไหลภายในโดม<br />

10<br />

09<br />

ภายใน Dome เมื่อมอง<br />

จากชั้นที่ 3<br />

10<br />

ภาพภายในส่วนสำานักงาน<br />

9


theme / review<br />

TWO IN ONE<br />

56 57<br />

The project’s main component is<br />

the roof, which consists of two<br />

sections: the green roof and the<br />

climatic dome. The climatic dome<br />

is a three-story- high glass atrium<br />

whose roof is determined by the<br />

separated functional programs.<br />

The elements of the roof’s surface<br />

structure converge towards<br />

the center, creating a centralized<br />

form.<br />

The process of converting LNG gas back into<br />

its gaseous form has been implemented instead<br />

of releasing it into the sea, which would have<br />

had harmful impacts on the environment. The<br />

gas conversion process produces cool air at a<br />

temperature of -162 degrees Celsius. This cool<br />

air is utilized to evaporate water and create a cool<br />

environment inside the glass house where winter<br />

plants are cultivated. The gas conversion process<br />

produces excess coldness, which has been used<br />

to maintain the appropriate temperature inside<br />

the architectural structure and the interior temperature<br />

control of the area where winter plants<br />

and flowers are being grown. While the company<br />

has generated profits of two to three hundred<br />

million Thai Baht per year through the export of<br />

these winter flowers and plants, the center has<br />

grown to become one of Rayong’s popular tourist<br />

destinations.<br />

<strong>12</strong><br />

11<br />

ภายในห้องประชุมใหญ่<br />

<strong>12</strong><br />

มุมมองจากทางเดิน<br />

ยกระดับสู่อาคาร<br />

11<br />

The project’s primary element is the roof, which<br />

consists of two parts: the green roof and the<br />

climatic dome. The climatic dome is a three-story<br />

glass atrium. The divided functional programs<br />

determine the shape of the roof. The interior of<br />

the dome must maintain a temperature that is 10<br />

degrees Celsius lower than the outside temperature,<br />

which results in condensation. By directing<br />

the elements of the surface structure towards the<br />

center, the design achieves its ‘centralized’ form,<br />

while a calculated assembly of various polygonal<br />

shapes allows for the architecture’s fluidity to be<br />

achieved. The roof structure, shaped like a diamond,<br />

is divided into sections using vertically installed<br />

steel pipes. By dividing the structure into two<br />

triangles, it becomes more flexible and allows<br />

for the construction of curving attributes to be<br />

achieved. The Climatic Dome is a cylindrical dome<br />

with a radius of 32 meters. In the absence of<br />

columns, the load-bearing points of the structure<br />

are located at the lower beams and the concrete<br />

beams at the top, the latter of which span between<br />

the steel roof and the green roof. The point where<br />

the two roof structures meet has been intentionally<br />

designed to serve as a vent for emergency ventilation<br />

in the event of a fire.<br />

The Climatic Dome was constructed using a prefabricated<br />

truss structure that was installed on site.<br />

The triangular openings were measured on-site after<br />

the truss installation was completed. This was done<br />

to ensure the most accurate measurements were<br />

obtained for cutting the glass that would be used<br />

as the building’s skin. The curved nature of threedimensional<br />

surfaces requires the triangular glass<br />

pieces to come in various sizes in order to deliver<br />

the intended appearance. The structural details of<br />

the dome’s design include parts that are developed<br />

and utilized to fasten the protruding glasses onto<br />

the circular steel member. The mechanism is responsible<br />

for holding together the laminated glass<br />

components that make up the outer layer of the<br />

building. The free-end details provide sufficient<br />

flexibility to accommodate the expansion and<br />

shrinkage of the material. To maintain a consistent<br />

interior temperature of 15 degrees Celsius within<br />

the dome, the design team had to devise a solution<br />

to prevent condensation resulting from the temperature<br />

difference between the inside and outside of the<br />

structure. To prevent such scenarios, extra attention<br />

was paid to the details of the glass panels’ joineries<br />

to ensure that materials with different temperatures<br />

are not installed adjacent to each other.


theme / review<br />

TWO IN ONE<br />

58 59<br />

13<br />

ภาพจากมุมมองแบบสูง<br />

เห็นการเชื่อมต่อของหลังคา<br />

ทั้ง 2 ระบบ ทั้ง Green<br />

Roof และ Climatic Dome<br />

The green roof section, which requires both opacity<br />

and transparency, is designed to blend in with<br />

the hilly landscape surrounding the structure while<br />

providing access for maintenance. The design was<br />

developed with the intention of toning down the<br />

intimidating appearance of the cylindrical structure,<br />

inspired by an LNG tank. The selection of plants,<br />

including indigenous plants that cover the roof, is in<br />

line with the context of the site, hence the inevitable<br />

case of dead grass during the drought season. To<br />

prevent leakage and provide extra protection against<br />

landslides and fires, a membrane is used in conjunction<br />

with the concrete part of the green roof.<br />

The prevalent load-bearing wall system came with<br />

a number of structural limitations that governed<br />

architecture in the pre-modern era. Since then,<br />

technological advancements have enabled the<br />

seamless integration of walls and roofs while effectively<br />

incorporating natural light into functional<br />

spaces in unprecedented ways. It is therefore<br />

inescapable for questions that have been raised<br />

about contemporary architectural design to revolve<br />

around a combination of constantly evolving<br />

technologies and ever-changing user behaviors.<br />

a49.com<br />

สาโรช พระวงค์<br />

เป็ นสถาปนิก นักเขียน<br />

สนใจในสถาปั ตยกรรม<br />

สมัยใหม่ถึงสถาปั ตยกรรม<br />

ร่วมสมัย ปั จจุบันเป็ น<br />

อาจารย์ประจำาคณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี<br />

ราชมงคลธัญบุรี<br />

Project: Center of Excellence for Forest Conservation Building Type: Office Building Project Stage: Completed Location: Map Ta Phut, Mueng<br />

Rayong Owner: PTT LNG Company Limited Area: 13,500 sq.m. Site: 67,200 sq.m. Design: NOV 2016 Construction: DEC 2017 Completed:<br />

DEC 2021 Architect: Architects 49 Limited Structural Engineer: Architectural Engineering 49 Limited System Engineer: M&E Engineering 49<br />

Limited Interior Architect: Interior Architects 49 Limited Landscape Architect: TK Studio Company Limited Lighting Designer: 49 Lighting Design<br />

Consultants Limited Graphic Designer: G49 Limited Construction Manager: Consulting &Management 49 under TGES Contractor: Christiani &<br />

Nielsen (Thai ) Public Company Limited under SPCC joint venture<br />

13<br />

Xaroj Phrawong<br />

Architect and writer<br />

who is interested in<br />

modern an contem<br />

porary architecture<br />

now he is a lecturer<br />

at Faculty of Architecture,<br />

RMUTT.


60<br />

theme / review<br />

Pitch<br />

Perfect<br />

A new extension of the famous restaurant in the riverfront area of<br />

Kanchanaburi, designed by IDIN Architects, is a lofty and open concrete<br />

structure with a sophisticated gable roof serving as the key factor for<br />

the entire architecture.<br />

Text: Korrakot Lordkam<br />

Photo Courtesy of IDIN Architects and DOF Sky|Ground except as noted<br />

1<br />

01<br />

จุดทางเข้าของอาคาร<br />

เห็นการเชื่อมต่อระดับพื้น


theme / review<br />

PITCH PERFECT<br />

62 63<br />

02-03<br />

จุดทางเข้าของร้านอาหาร<br />

ที่มีจุดเด่นด้วยบันไดและ<br />

หลังคาจั่วขนาดใหญ่<br />

ดึงสายตาของผู้ใช้เข้าไป<br />

ภายในอาคารและพื้นที่<br />

ริมน้ำาด้านหลัง<br />

04<br />

รูปตัดของอาคาร<br />

3<br />

2<br />

4<br />

หนึ่งในร้านอาหารที่มีชื่อเสียงมายาวนานที่สุด<br />

ร้านหนึ่งบริเวณสะพานข้ามแม่น้ำาแคว อำาเภอ<br />

เมือง จังหวัดกาญจนบุรี “คีรีธารา” ให้บริการ<br />

อาหารไทยในร้านอาหารออกแบบตกแต่งสไตล์<br />

“บาหลี” อันอาจเป็นกระแสความนิยมสร้าง<br />

บรรยากาศพักผ่อนของร้านอาหารในช่วงเวลา<br />

หลายสิบปีก่อน จวบจนปัจจุบัน คีรีธาราได้<br />

โอกาสขยายพื้นที่ให้บริการให้กว้างใหญ่ขึ้น<br />

โดยได้จับจองที่ดินริมแม่น้ำาแควในบริเวณ<br />

ไม่ใกล้ไม่ไกลจากตำาแหน่งเดิม เปิดเป็นร้าน<br />

อาหารแห่งใหม่ในนาม “คีรีธารา ริเวอร์ไซด์”<br />

โดยบรรดาเมนูอาหารไทยที่ยังคงเอกลักษณ์<br />

รสชาติเดิมไว้ได้ถูกเสิร์ฟบนจานใหม่ ในสถา-<br />

ปัตยกรรมคอนกรีตสูงโปร่งที่คงความเป็น<br />

ตะวันออกไว้ด้วยผืนหลังคาจั่วขนาดใหญ่ ที่ให้<br />

ทั้งความรู้สึกแตกต่างและคุ้นเคยในเวลาเดียวกัน<br />

จีรเวช หงสกุล สถาปนิกจาก IDIN Architects<br />

ผู้รับหน้าที่ออกแบบอาคารของร้านอาหาร<br />

แห่งใหม่นี้เล่าให้ฟังถึงที่มาที่ไปของอาคารว่า<br />

ที่ดินที่ตั้งริมแม่น้ำาแห่งนี้แม้จะมีขนาดไม่เล็ก<br />

แต่ความต้องการพื้นที่ใช้สอยจำานวนมากเกิน<br />

กว่าขนาดผืนดินหลายเท่าเป็นความท้าทาย<br />

แรกสุดที่พวกเขาต้องเผชิญ โดยในเบื้องต้น<br />

โจทย์จากทางร้านอาหารคือต้องการพื้นที่ครัว<br />

ขนาดใหญ่มากถึงราว 1,000 ตารางเมตร<br />

อันจะถูกใช้เป็นครัวส่วนกลางสำาหรับบริการ<br />

ทั้งร้านอาหารนี้ และบริการธุรกิจอาหารและ<br />

เครื่องดื่มร้านอื่นๆ ของเจ้าของเดียวในละแวก<br />

ด้วย เพื่อความสะดวกในการบริการและรับส่ง<br />

ทรัพยากรและสินค้า ครัวทั้งหมดจึงต้องอยู่บน<br />

ชั้นพื้นดินชั้นเดียวกัน เมื่อได้จัดวางพื้นที่ใช้สอย<br />

นั้นรวมกับที่จอดรถที่ต้องเพียงพอสำาหรับ<br />

รองรับผู้มาใช้บริการที่ใช้รถยนต์ส่วนตัวแล้ว<br />

นั้น ทำาให้เต็มพื้นที่ของที่ดินจนแทบไม่เหลือ<br />

พื้นที่ให้สำาหรับที่นั่งของร้านอาหารได้อีก<br />

จีรเวชเล่าว่า ส่วนใช้สอยของร้านอาหารทั้งหมด<br />

จึงต้องถูกยกขึ้นไปยังชั้นบน ด้วยวิธีการใดก็ได้<br />

ไม่ให้ผู้ใช้สอยรู้สึกลำาบากในเข้าถึงร้านอาหาร<br />

หรือไม่ให้รู้สึกว่าส่วนหลักของร้านอาหารอยู่<br />

ห่างไกลจากพื้นดินมากเกินไป และในขณะ<br />

เดียวกันก็ต้องซ่อนพื้นที่ใช้สอยหลังบ้านขนาด<br />

มโหฬารให้แนบเนียนจากการรับรู้จากภายนอก<br />

ด้วย สถาปนิกจัดการประเด็นทั้งหมดที่ว่านั้น<br />

ด้วยการออกแบบทางเข้าด้านหน้าให้เป็นลาน<br />

กว้างพร้อมผืนบันไดขนาดใหญ่นำาเส้นทาง<br />

ของผู้ใช้สอยขึ้นไปยังส่วนใช้งานหลักเบื้องบน<br />

สถาปนิกเปรียบลานนี้ว่าเป็นดัง “พลาซ่า”<br />

อันจะช่วยลดความรู้สึกว่าร้านอาหารอยู่สูง<br />

หรือลึกเกินไป และช่วยให้ดึงความสนใจของ<br />

ผู้คนออกจากพื้นที่ใช้สอยหลังบ้านที่ซ่อนอยู่<br />

เบื้องล่างทั้งหมดด้วย<br />

ประเด็นต่อมาคือการออกแบบพื้นที่ร้านอาหาร<br />

โดยมีสองโจทย์หลักคือต้องเอื้อให้มีที่นั่งรับชม<br />

ทัศนียภาพของโค้งน้ำาแควให้มากที่สุดเท่าที่<br />

จะทำาได้ รวมถึงต้องประกอบด้วยพื้นที่ใช้สอย<br />

สำาคัญอีกส่วนคือห้องจัดเลี้ยงเอนกประสงค์<br />

ในขนาดรองรับจำานวน 1,000 คนด้วย พื้นที่<br />

ใช้สอยขนาดใหญ่ทั้งหมดที่ว่ามานั้นถูกซ้อน<br />

ชั้นขึ้นไป ทำาให้ในทางเทคนิคเมื่อรวมครัวที่<br />

ชั้นล่างอาคารจะประกอบด้วยทั้งหมด 3 ชั้น<br />

แต่พื้นที่ใช้สอยสำาหรับร้านจริงๆ คือพื้นที่<br />

รับประทานอาหารจะเริ่มที่ชั้น 2 พร้อมมีส่วน<br />

ที่นั่งที่ลดหลั่นลงไปติดริมแม่น้ำา และมีห้อง<br />

เอนกประสงค์อยู่ที่ชั้น 3 ที่มีส่วนที่นั่งยื่นออก<br />

มารับทัศนียภาพของแม่น้ำาเช่นกัน ที่สำาคัญ<br />

สถาปนิกยังได้ออกแบบพื้นที่ใช้สอยเหนือห้อง<br />

เอนกประสงค์ให้เป็นดาดฟ้าเพื่อให้ร้านอาหาร<br />

ได้มีพื้นที่รับบรรยากาศริมแม่น้ำาให้มากขึ้น<br />

เท่าที่จะทำาได้ด้วย<br />

เมื่อได้เริ่มต้นวางลักษณะพื้นที่ใช้สอยทั้งหมด<br />

อันเป็นพื้นฐานของการใช้งานอาคารดังที่ว่ามา<br />

แล้ว องค์ประกอบสำาคัญที่จะมัดรวมทุกพื้นที่<br />

ใช้สอยพร้อมกับนำาเสนอทั้งเรื่องราวและความ<br />

งามในเชิงสถาปัตยกรรม คือผืนหลังคาขนาด<br />

ใหญ่ที่สร้างความโดดเด่นตั้งแต่ด้านหน้า พื้นที่<br />

ใช้สอยด้านใน และที่พื้นที่ปลายสุดด้านติดริม<br />

แม่น้ำา<br />

แนวความคิดที่นำามาซึ่งผืนหลังคาดังกล่าวมา<br />

จากอีกโจทย์ของเจ้าของโครงการ คือความ<br />

ต้องการเชื่อมโยงวัฒนธรรมความเป็นไทยของ<br />

ร้านสู่ตัวสถาปัตยกรรม จีรเวชกล่าวว่า แม้<br />

ร้านอาหารแห่งนี้จะมีพื้นที่ใช้สอยมากจนนับ<br />

ได้ว่าเป็นอาคารขนาดใหญ่ แต่เขาก็ต้องการ<br />

หยิบเอาลักษณะทางสถาปัตยกรรมไทยจาก<br />

อาคารขนาดเล็กอย่างบ้านพักอาศัยมาใช้<br />

มากกว่าการนำาองค์ประกอบจากอาคารขนาด<br />

ใหญ่อย่างวัดหรือวังมาออกแบบ การตีโจทย์<br />

“ความเป็นไทย” ในที่นี้ สถาปนิกกล่าวว่าจึง<br />

เป็นเรื่องของการนำา “ความรู้สึก” ในอาคาร<br />

มาใช้มากกว่านำาสัดส่วนหรือรายละเอียดของ<br />

องค์ประกอบใดๆ มาใช้อย่างตรงไปตรงมา<br />

อย่างไรก็ตาม ท้ายที่สุดอาคารก็ได้ผืนหลังคา<br />

ขนาดใหญ่ที่คลุมยาวตั้งแต่ส่วนต้อนรับด้านหน้า<br />

ไปจนถึงพื้นที่รับประทานอาหารด้านหลัง เป็น<br />

องค์ประกอบตามแนวคิดที่สถาปนิกกล่าวว่า<br />

ต้องการให้ผืนหลังคานี้สร้างเอกลักษณ์ของ<br />

ภาพลักษณ์อาคารที่ภายนอก รวมถึงจะได้<br />

มอบพื้นที่ใต้หลังคาอันจะสร้างความรู้สึกและ<br />

บรรยากาศแบบ “ตะวันออก” อันคุ้นเคยทั่ว<br />

ทั้งภายในร้านอาหาร โดยเพื่อให้อาคารยังคง<br />

รูปลักษณ์ที่ดูทันสมัยในปัจจุบัน รวมถึงไม่ให้<br />

ขนาดส่วนของหลังคาใหญ่โตเกินความเหมาะสม<br />

สถาปนิกได้ออกแบบและย้ายตำาแหน่งอกไก่<br />

จากที่ควรอยู่กึ่งกลางอาคาร เยื้องมาสู่ฝั่งซ้าย<br />

มือในตำาแหน่งเดียวกับบันไดและทางเดินเข้า<br />

สู่ร้าน แล้วปรับสัดส่วนองศารวมถึงความแอ่น<br />

โค้งของมุมหลังคาในด้านต่างๆ ให้ร่วมสมัยขึ้น<br />

วิธีนี้จะทำาให้ได้รูปลักษณ์ของอาคารภายนอก<br />

ที่โดดเด่น โดยหลังคาก็ได้ถูกออกแบบให้<br />

มีสัดส่วนความลาดชันโค้งรับกับขนาดของ<br />

อาคารโดยรวมไม่ให้ดูใหญ่โตเกินไป ในขณะ<br />

เดียวกันก็ได้สร้างมุมมองด้านทางเข้าสู่อาคาร<br />

ที่ใหญ่โตโอ่อ่า แต่ยังรักษาเอกลักษณ์และ<br />

กลิ ่นอายความนุ่มนวลแบบ “ตะวันออก” ไว้ได้<br />

มากกว่านั้น การยักย้าย ปรับและบิดองศา<br />

หลังคาดังว่า ยังส่งผลให้เกิดลูกเล่นด้าน<br />

สถาปัตยกรรมในหลายจุดที่พบได้ในอาคาร<br />

ตัวอย่างเช่น การบิดเส้นสายของผืนหลังคา<br />

เอื้อให้สถาปนิกสามารถออกแบบช่องแสง<br />

เหนือบริเวณอกไก่ที่ลากยาวจากด้านหน้าสู่ด้าน<br />

หลัง อันเป็นช่องนำาแสงที่สร้างเทคนิคพิเศษ<br />

ทางสถาปัตยกรรมที่น่าสนใจได้ นอกจากนั้น<br />

การเยื้องไปของหลังคายังทำาให้บนบริเวณชั้น 3<br />

เกิดองศาการลาดของหลังคาที่จรดพอดีกับพื ้น<br />

เป็นโอกาสที่เอื้อให้สถาปนิกได้ออกแบบบันได<br />

พาดทับไปบนหลังคา ที่นำาไปสู่พื้นที่ดาดฟ้า<br />

สร้างความรู้สึกราวกับว่าผู้ใช้งานได้เดินไต่<br />

หลังคาขึ้นสู่ชั้นถัดไป<br />

ทั้งหมดนี้ สำาเร็จได้จากวิธีการออกแบบที่มี<br />

หลังคาเป็นปัจจัยหลัก ที่นอกจากจะสร้างความ<br />

เป็นองค์รวมให้อาคาร ยังตอบคำาถามเรื่องนัย<br />

และความหมาย อีกทั้งยังสร้างลูกเล่นและความ<br />

น่าสนใจให้กับอาคารได้ภายในเวลาเดียวกัน


5<br />

The new restaurant serves its signature dishes in a new<br />

presentational style, while the architecture boasts a lofty<br />

and open concrete structure with the familiar hip roof that<br />

keeps the oriental spirit intact while also providing a sense<br />

of familiarity to its clientele and the general public.<br />

05<br />

ส่วนช่องแสงจากหลังคา<br />

ของอาอาร ที่เกิดจากการ<br />

ปรับย้าย การวางอกไก่<br />

ออกจากกึ่งกลางของอาคาร


theme / review<br />

PITCH PERFECT<br />

66 67<br />

06<br />

การวางตำาแหน่งบันได<br />

พาดทับไปบนหลังคาสู่<br />

ชั้นดาดฟ้าทำาให้เหมือน<br />

เดินไต่หลังคา<br />

07<br />

มุมมองริมแม่น้ำาแคว<br />

08<br />

Diagram แสดงแนวคิด<br />

และการพัฒนาแบบทาง<br />

สถาปัตยกรรม<br />

Jeravej Hongsakul, the architect from IDIN Architects<br />

who was responsible for the design of the<br />

project, explains how the building came to be.<br />

While the riverside land on which the new building<br />

would be built is not small, functional requirements<br />

far exceed the size of the land. This presented the<br />

first challenge for him and the rest of the design<br />

team. The initial brief called for a kitchen space<br />

of 1,000 square meters. This area was intended to<br />

serve as the center for the restaurant’s operations,<br />

as well as other establishments owned by the same<br />

owner located within the vicinity. The goal was to<br />

provide maximum convenience in terms of service<br />

and logistics for all resources, products, and operations<br />

while following the owner’s request for the<br />

kitchen to be located on the ground floor. During<br />

the development of the layout, the parking space<br />

was taken into consideration to ensure that it would<br />

be spacious enough to accommodate the prospective<br />

patrons, the majority of whom travel to the<br />

restaurant by personal vehicles. The main functional<br />

space, such as the back-of-house area and parking<br />

space, would therefore take up the entire first floor<br />

of the property, leaving no room for the dining areas.<br />

Jeravej stated that in order to meet the aforementioned<br />

demands, the seating areas needed to be<br />

situated on the upper level. This had to be done<br />

in a way that wouldn’t make male patrons feel that<br />

accessing the restaurant’s dining area is much<br />

of a hassle, nor should it make them feel like the<br />

dining area is too far away from the ground floor.<br />

Simultaneously, it was necessary to prevent patrons<br />

from seeing the massive back-of-house operation<br />

area as they approached the building. The architect<br />

successfully met all of the challenging requirements<br />

by creating an entryway that opens up into<br />

a large, open space. This was achieved through<br />

the use of a set of wide, low-rise steps that guide<br />

visitors up to the dining areas located above the<br />

ground floor. The area, which the architect referred<br />

to as the “plaza,” makes access to the dining area<br />

easier and more pleasant. It doesn’t feel too high<br />

or far away to get there. The plaza also serves as<br />

a distraction for visitors, diverting their attention<br />

from the hidden back-of-house area situated on<br />

the ground floor.<br />

6<br />

7<br />

Keeree Tara is a highly acclaimed and well-established<br />

restaurant located in the riverfront area of<br />

Kanchanaburi. The location is famous for its picturesque<br />

view of the iconic bridge over the River<br />

Kwai. The restaurant provides a diverse selection<br />

of Thai dishes that are presented within Balinese<br />

inspired architecture and decoration, once a<br />

popular design trend several decades ago. Keeree<br />

Tara has recently expanded its enterprise by<br />

acquiring a new plot of riverfront land that is not<br />

too far from its original location. The brand’s new<br />

restaurant, Keeree Tara Riverside, serves its signature<br />

dishes in a new presentational style, while<br />

the architecture boasts a lofty and open concrete<br />

structure with the familiar gable roof that keeps the<br />

oriental spirit intact while also providing a sense<br />

of familiarity to its clientele and the general public.<br />

8


68 69<br />

9<br />

09<br />

จากการซ้อนชั้นของอาคาร<br />

สถาปนิกใช้การออกแบบ<br />

ที่เล่นระดับพื้นทำาให้เกิด<br />

การลดหลั่นกันของระดับ<br />

ชั้นที่ยังเชื่อมโยงกันทาง<br />

สายตา


theme / review<br />

PITCH PERFECT<br />

70 71<br />

11<br />

พื้นที่ Semi-Outdoor<br />

ที่ออกแบบให้เปิดรับและ<br />

เชื่อมต่อกับวิวแม่น้ำา<br />

1ST FLOOR PLAN<br />

2 M<br />

2ND FLOOR PLAN<br />

2 M<br />

3RD FLOOR PLAN<br />

2 M<br />

11<br />

10<br />

ROOF PLAN<br />

2 M<br />

10<br />

ผังพื้นทุกชั้นและหลังคา<br />

ของอาคาร<br />

The next step involves designing the main dining<br />

area, which has to fulfill two requirements. Firstly,<br />

the design was expected to maximize the number of<br />

tables with access to the view of the meandering<br />

course of the Kwai River. Secondly, the design<br />

should be able to accommodate a multifunctional<br />

room with a capacity of 1,000 people. The project<br />

features a total of three stories of functional spaces,<br />

including a kitchen on the ground floor. These<br />

spaces are stacked and overlapped to create<br />

a large-scale terrace. The second floor of the<br />

building houses the primary dining area, which<br />

extends down the slope towards the riverside zone.<br />

On the third floor, there is a multifunctional room<br />

with its own seating area that has been designed<br />

to provide an unobstructed view of the river. The<br />

architect intended to design the functional space<br />

above the multifunctional room as a rooftop that<br />

would increase the overall usable space of the<br />

restaurant.


theme / review<br />

PITCH PERFECT<br />

72 73<br />

<strong>12</strong><br />

มุมมองจากส่วน<br />

รับประทานอาหาร<br />

เห็นความเชื่อมต่อของ<br />

ระนาบพื้นและต่อเนื่อง<br />

ไปกับผืนหลังคา<br />

<strong>12</strong><br />

13<br />

มุมมองทางเข้าของ<br />

ร้านอาหาร<br />

14<br />

บรรยากาศภายนอก<br />

ของร้านอาหาร<br />

The spatial location is based on the key functional<br />

necessities. The roof structure is an essential<br />

element that intertwines the brand’s story and<br />

architectural aesthetics. It is massive and visually<br />

striking, with a prominent presence that is visible<br />

from the front, interior functional spaces, and the<br />

dining zone by the river.<br />

The owner’s expressed intention for the architectural<br />

design to incorporate characteristics of Thai culture<br />

led to the conceptualization of the roof. Jeravej<br />

elaborated that although the diversity and quantity<br />

of the restaurant’s functional spaces make it a largescale<br />

building, he opted to incorporate certain architectural<br />

elements of small-scale structures, such as<br />

traditional Thai houses, instead of larger ones such<br />

as temples or palaces. Jeravej’s interpretation of<br />

traditional Thai identity and characteristics revolves<br />

around the “sentiment” rather than simply focusing<br />

on the physical proportions of specific architectural<br />

components.<br />

However, the design ultimately resulted in a colossal<br />

roof structure that covers the front of the restaurant,<br />

from the reception area to the main dining areas<br />

located further towards the river. The roof design<br />

aligns with the architect’s vision to enhance the<br />

overall architectural style of the building. The roof<br />

structure creates a spatial program beneath its<br />

majestic presence that is imbued with oriental<br />

aesthetics. To maintain the building’s contemporary<br />

appearance, the architect is well aware that the scale<br />

of the roof must be maintained so that it does not<br />

appear too big and imposing. The architect relocated<br />

the ridges, which are typically situated at the center<br />

of the building, to the left side, causing them to align<br />

on the same axis as the stairs and main entrance.<br />

The roof’s angles and curvatures are specifically<br />

designed to render an overall appearance that is<br />

more modern in nature. Together, these efforts<br />

created a unique architectural structure. The inclined<br />

angle of the roof is intentionally calculated to correspond<br />

with the building’s scale while keeping it<br />

from appearing too imposing. Although the entryway<br />

may appear grand and spacious, there are intricate<br />

features and details that contribute to the delicate<br />

oriental aesthetics of the overall architecture.<br />

Everything has been<br />

achieved with the design,<br />

where the roof serves as<br />

the key factor, creating<br />

visual harmony for the<br />

entire architectural structure,<br />

all the while hold ing<br />

meaning, implications and<br />

delivering gimmicks and<br />

interesting details to the<br />

building simultaneously.<br />

14<br />

13


theme / review<br />

PITCH PERFECT<br />

74 75<br />

กรกฎ หลอดคำ<br />

ศึกษาจบปริญญาตรีสาขา<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

ปริญญาโทสาขา Architectural<br />

History จาก<br />

The Bartlett School<br />

of Architecture, UCL<br />

ทำางานเขียนเรื่องบ้าน<br />

งานออกแบบ และ<br />

สถาปั ตยกรรมเป็ นหลัก<br />

15<br />

Korrakot Lordkam<br />

is a Silpakorn University<br />

architecture graduate<br />

with a master’s<br />

degree in architectural<br />

history from the<br />

Bartlett School of<br />

Architecture, UCL,<br />

who writes primarily<br />

about houses, design,<br />

and architecture<br />

15<br />

รูปด้านอาคาร 3 ชั้นที่<br />

ออกแบบให้เกิดพื้นที่<br />

ระเบียงภายนอกของ<br />

ส่วนทานอาหารสำาหรับ<br />

การชมวิวริมแม่น้ำา และ<br />

ช่วยลดทอนขนาดของ<br />

อาคาร<br />

16<br />

วิวมุมสูงของอาคารกับ<br />

ทิวทัศน์แม่น้ำาแคว<br />

Furthermore, the manipulation of the roof’s angles<br />

and details creates a number of interesting architectural<br />

features in the building. For instance,<br />

the roof’s divergent plane enables the architect<br />

to incorporate a skylight above the ridge that<br />

extends from the front to the back, enhancing the<br />

design with another special architectural element.<br />

The building mass deviation resulted in the third<br />

floor’s roof inclining at an angle that correctly<br />

descends towards the ground. This feature allows<br />

the architect to design a stairway that gives users<br />

the sensation of climbing up to the upper floor as<br />

they access the rooftop area.<br />

Everything has been achieved with the design,<br />

where the roof serves as the key factor, creating<br />

visual harmony for the entire architectural structure,<br />

all the while holding meaning, implications<br />

and delivering gimmicks and interesting details to<br />

the building simultaneously.<br />

idin-architects.com<br />

16<br />

Project: Keeree Tara Riverside Completion: 2013-2022 Location: Kanchanaburi, Thailand Functional Space: 2.290 Square Meter Owner: Pramote Kamolpantip<br />

Architect: IDIN Architects Interior Architect: Pramote Kamolpantip Structural Engineering: C-Insight Co., Ltd. Contractor: Pramote Kamolpantip


76<br />

theme / review<br />

The<br />

Fifth<br />

Ele-<br />

ment<br />

S.Pace Studio has designed a house in Khon Kaen that offers a pool-villalike<br />

experience, with the roof meticulously intended to strike a balance<br />

between fulfilling elementary functions and meeting the demands of<br />

the users.<br />

Text: Kullaphut Seneevong Na Ayudhaya<br />

Photo Courtesy of S Pace Studio and Tawichakorn Laochaiyong except as noted<br />

1<br />

01<br />

ทัศนียภาพด้านหน้าของ<br />

บ้านที่สถาปัตยกรรม<br />

ออกแบบมาให้มีกลิ่นอาย<br />

ของความเป็นสถาปัตย-<br />

กรรมท้องถิ่นด้วยผนัง<br />

ตีโครงคร่าวไม้ สอด<br />

ประสานกับการออกแบบ<br />

ภูมิสถาปัตยกรรมด้วย<br />

พรรณไม้ท้องถิ่น


theme / review<br />

THE FIFTH ELEMENT<br />

78 79<br />

“หลังคาเป็นองค์ประกอบแห่งความเปลี่ยนแปลง<br />

เพราะมันสามารถสร้างประสบการณ์และมี<br />

พลังในการสร้างนิยามการรับรู้เชิงพื้นที่ให้เกิด<br />

ขึ้นกับสถาปัตยกรรม ซึ่งเราสามารถเรียกได้ว่า<br />

หลังคาคือเปลือกอาคารในมิติที่ห้า “fifth façade”<br />

สร้างความเป็นไปได้ใหม่ ให้เกิดปฏิสัมพันธ์ต่อ<br />

สภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง” ข้อความดังกล่าว<br />

คือคำาจำากัดความที่มีต่อคุณลักษณะของหลังคา<br />

ผ่านทัศนะของ Rem Koolhaas สถาปนิกชาว<br />

ดัตช์ ในหนังสือ “S, M, L, XL” หนังสือทฤษฎี<br />

ทางสถาปัตยกรรมที่มีชื่อเสียง<br />

หลังคาคือองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม<br />

สำาคัญที่มีไว้เพื่อการกันแดด กันฝน และปกป้อง<br />

พื้นที่ภายในของอาคาร นิยามดังกล่าว เป็นความ<br />

หมายพื้นฐานของหลังคาที่ถูกอธิบายผ่านมิติ<br />

ด้านอัตถประโยชน์ อย่างไรก็ตามหลังคากลับ<br />

ครอบคลุมนิยามความหมายที่หลากหลายมาก<br />

เกินกว่าจะอธิบายได้ด้วยมิติของอัตถประโยชน์<br />

ใช้สอย พรมแดนความหมายของหลังคาได้<br />

ครอบครองความหมายทางสัญวิทยา ภาพ-<br />

สะท้อนทางวัฒนธรรมและวิถีชีวิต ส่งผลให้<br />

หลังคาได้กลายเป็นหนึ่งในหัวใจสำาคัญของ<br />

องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมที่มีส่วนช่วย<br />

สร้างมิติอาคาร เฉกเช่น มิติที่ห้าของเปลือก<br />

อาคาร “fifth façade” ที่ช่วยเชื่อมโยง เปิดรับ<br />

และปกคลุมพื้นที่ว่างระหว่างสถาปัตยกรรมกับ<br />

บริบทรอบข้างกลายมาเป็นบทสนทนาระหว่าง<br />

พื้นที่ว่าง และบริบทพื้นที่ตั้งแวดล้อม และหนึ่ง<br />

ในกรณีศึกษาของการออกแบบหลังคาที่มี<br />

ความน่าสนใจ ต่อการออกแบบสถาปัตยกรรม<br />

ร่วมสมัย คือ โครงการบ้านมักม่วน ที่อำาเภอ<br />

สีชมพู จังหวัดขอนแก่น<br />

เนื่องด้วยตัวโครงการตั้งอยู่ในพื้นที่ห่างไกล<br />

ชุมชน และเจ้าของโครงการต้องการที่พักอาศัย<br />

ที่ให้ความรู้สึกพักผ่อน ปรับสมดุลให้กับชีวิต<br />

แก่เจ้าของบ้าน “อยากให้บ้านหลังนี้ให้ความ<br />

รู้สึกเหมือนกับอยู่ในพูลวิลล่า” คุณทวิชากร<br />

เหล่าไชยยงค์ สถาปนิกแห่ง S.Pace.Studio<br />

กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของโครงการ ด้วยเงื่อนไขที่<br />

บ้านจำาเป็นจะต้องตอบสนองต่อความต้องการ<br />

ของผู้ใช้ที่มีสมาชิกของครอบครัวเป็นผู้สูงอายุ<br />

ผู้ออกแบบจึงออกแบบบ้านชั้นเดียว ที่มีรูปแบบ<br />

ผังพื้นกึ่งปิดล้อม ด้วยลักษณะผังรูปตัว L โอบ<br />

ล้อมพื้นที่ฝั่งทิศตะวันตกที่เป็นส่วนสระว่ายน้ำา<br />

รับกับวิวพระอาทิตย์ตกดิน ประกอบกับพื้นที่<br />

ตั้งโครงการอยู่ห่างจากพื้นที่ชุมชน และแวดล้อม<br />

ไปด้วยพื้นที่สวนและป่า ภาษาของการออกแบบ<br />

ทางสถาปัตยกรรมจึงจำาเป็นต้องให้ความรู้สึก<br />

ปลอดภัยไปในเวลาเดียวกัน<br />

หลังคาทรงจั่วขนาดใหญ่ถูกเลือกนำามาใช้เป็น<br />

หัวใจของโครงการด้วยเงื่อนไขหลายประการ<br />

เช่น การเป็นตัวแทนของสัญลักษณ์ของความ<br />

เป็นบ้าน หลังคาคือภาพสะท้อนของความเป็น<br />

บ้านหากแต่หลังคานั้นถูกออกแบบให้ปกคลุม<br />

พื้นที่ทั้งหมดของบ้าน กลายมาเป็นจั่วที่พัฒนา<br />

ขยายพื้นที่ครอบคลุมพื้นที่ใช้สอยภายใน<br />

ทั้งหมด “เราตกลงเลือกหลังคาจั่ว เพื่อสร้าง<br />

ระนาบหลังคาขนาดใหญ่ชักชายคาออกมา<br />

ปกคลุมโดยรอบ ซึ่งมันสร้างความรู้สึกที่เข้าถึง<br />

ได้ง่ายและอบอุ่นในทางเดียวกัน ซึ่งกว่าจะมา<br />

สู่รูปแบบนี้เราก็ศึกษาความเป็นไปได้ในหลาย<br />

รูปแบบมาก่อนจนในที่สุดมาจบที่รูปแบบ<br />

ดังกล่าว” คุณทวิชากรกล่าวเสริมถึงการเลือก<br />

ใช้หลังคาในงานออกแบบ<br />

ถึงแม้ว่าปริมาตรของระนาบหลังคาจะมีสัดส่วน<br />

ขนาดใหญ่ (สัดส่วนระหว่างพื้นที่ความสูง<br />

ผนังต่อความสูงของรูปด้านหลังคาอยู่ที่ราวๆ<br />

1:2 ส่วน) แต่ผู้ออกแบบกลับสามารถใช้ความ<br />

แตกต่างของการเลือกใช้วัสดุมุงให้เป็นประโยชน์<br />

ต่อการสร้างความเชื่อมโยงระหว่างพื้นที่ได้อย่าง<br />

แยบคาย กล่าวคือผืนหลังคาในฝั่งที่ประชิดกับ<br />

พื้นที่ด้านหน้าของบ้านที่ปกคลุมส่วนด้านหน้า<br />

ของบ้านและส่วนโรงรถเป็นหลังคาที่ปิดทึบส่วน<br />

พื้นที่หลังคาที่ปกคลุมส่วนเชื ่อมต่อกับสวนและ<br />

สระว่ายน้ำาถูกออกแบบให้มีความโปร่งด้วยแนว<br />

ระแนงอลูมิเนียมสีเทาเข้มที่สร้างคุณลักษณะ<br />

กึ่งปิดให้กับพื้นที่ว่างบริเวณส่วนเชื่อมต่อของ<br />

สวน ทำาให้หลังคาจั่วฝั่งนี้เชื่อมโยงความสัมพันธ์<br />

ระหว่างพื้นที่กึ่งพักอาศัยจากชานไปยังสวนท่าม<br />

กลางภูมิทัศน์ที่แวดล้อมไปด้วยป่าต้นพะยูง ต้น<br />

มะค่าโมง และต้นสัก ในขณะที่จั่วหลังคาอีกฝั่ง<br />

กลับทำาหน้าที่ปกป้องพื้นที่ส่วนพักอาศัย สร้าง<br />

คุณลักษณะของการสร้างพื้นที่ความเป็นส่วนตัว<br />

และทำาการกรุด้วยฝ้าไม้ตามความชันของ<br />

หลังคาจั่วที่ลาดลงในพื้นที่ด้านใน เพื่อสร้าความ<br />

เชื่อมต่อระหว่างหลังคากับพื้นที่อยู่อาศัยภายใน<br />

ในมิติของความเชื่อมโยงระหว่างพื้นที่ ผู้ออกแบบ<br />

ได้ออกแบบให้ส่วนจอดรถด้านหน้าถูกปกคลุม<br />

ด้วยแนวหลังคาปิดทึบ ก่อนที่จะเข้ามาสู่พื้นที่<br />

ทางเดินและส่วนของห้องอเนกประสงค์ที่ใช้เป็น<br />

พื้นที่ส่วนกลางในการรับแขกและรับประทาน<br />

อาหาร พื้นที่ส่วนนี้เปรียบเสมือนจุดศูนย์กลาง<br />

ที่เชื่อมต่อพื้นที่กึ่งสาธารณะภายนอกเข้ากับ<br />

พื้นที่อยู่อาศัยภายในและเชื่อมต่อไปยังชาน<br />

ด้านในที่เป็นส่วนของสระว่ายน้ำาและสวน พื้นที่<br />

ส่วนนี้ได้รับการออกแบบให้มีการเชื่อมต่อทาง<br />

สายตาผ่านผนังกระจกบานกว้าง และเมื่อเดิน<br />

ไปทางส่วนของปีกอาคารทิศตะวันตก จะเข้าถึง<br />

พื้นที่พักอาศัยในส่วนห้องนอน ซึ่งเชื่อมโยงด้วย<br />

ทางเดินภายใน พื้นที่ส่วนนี้จะเป็นส่วนที่ได้รับ<br />

การออกแบบให้เป็นส่วนตัวมากที่สุดแต่ยัง<br />

เชื่อมต่อกับพื้นที่ธรรมชาติด้วยผังพื้นตัว L<br />

ที่หันฝั่งทางเดินเข้าสู่พื้นที่ชานด้านใน และวิว<br />

ด้านทิศเหนือของห้องนอนทั้งหมดหันออกไป<br />

สู่พื้นที่ภูมิทัศน์ด้านทิศเหนือเพื่อหลบเลี่ยง<br />

แสงแดดและความร้อนจากฝั่งทิศตะวันตก<br />

พื้นที่ฝั่งทิศตะวันตกได้รับการลดความร้อน<br />

ด้วยระนาบของแนวผืนหลังคาระแนวอลูมิเนียม<br />

ขนาดใหญ่ แนวระแนงนี้สร้างสภาวะกึ่งโปร่ง<br />

ให้เกิดขึ้นกับพื้นที่ว่างบริเวณชานและสวนของ<br />

courtyard ภายในบ้าน<br />

ในมิติของการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมจะ<br />

พบว่าผู้ออกแบบใส่ใจต่อการออกแบบภูมิทัศน์<br />

ให้สอดคล้องกับปริมาตรของตัวอาคาร ด้วย<br />

การออกแบบแนวของไม้พุ่มที่กลมกลืนกันกับ<br />

จุดนำาสายตาของพื้นที่ใช้สอยภายใน โดยจาก<br />

แนวของไม้พุ่มที่ออกแบบให้สัมพันธ์กับพื้นที่<br />

ใช้สอยของบ้านไปสู่ตัวของสระว่ายน้ำากลาง<br />

ผู้ออกแบบได้ออกแบบประสบการณ์จากการ<br />

ว่ายน้ำาให้เกิดความรู้สึกที่แตกต่าง จากการ<br />

ว่ายในพื้นที่ชานจะพบความรู้สึกของการเป็น<br />

ส่วนหนึ่งเดียวกับบ้าน ในขณะที่เมื่อว่ายออกไป<br />

ตามแนวแกนทางทิศใต้ จะค่อยๆ พ้นระยะขอบ-<br />

เขตของตัวบ้านไปสู่พื้นที่ว่างโล่งกว้างของสวนที่<br />

สายตานำาไปสู่ป่าด้านนอก สร้างประสบการณ์<br />

ในอีกระดับให้แก่การสัมผัสพื้นที่ใช้สอย<br />

ในส่วนของการเลือกใช้วัสดุ ผู้ออกแบบจงใจ<br />

เลือกสร้างบทสนทนาที่มีไวยกรณ์จากวัสดุ<br />

ท้องถิ่นเช่น อิฐ และไม้ เพื่อคงกลิ่นอายของ<br />

ความเป็นชนบทไปพร้อมกันกับการออกแบบ<br />

ร่วมสมัย ผ่านการออกแบบผนังในส่วนต่างๆ<br />

เช่นการออกแบบผนังไม้แบบแสดงโครงคร่าว<br />

เข้าลิ้น ซึ่งเป็นเอกลักษณ์หนึ่งที่พบได้โดยทั่วไป<br />

ของผนังยุ้งข้าวอีสาน โดยในส่วนของผนัง<br />

ภายนอกผู้ออกแบบเลือกใช้โครงเหล็กยึดเส้น<br />

ตั้งเพื่อเสริมแรงและใช้วัสดุปิดผิวสำาเร็จรูปเพื่อ<br />

สร้างผนังคร่าว ในขณะที่ในส่วนของผนังที่กั้น<br />

ระหว่างโรงรถกับพื้นที่ทางเดินด้านในได้เลือกใช้<br />

ผนังก่ออิฐ เว้นร่อง เพื่อสร้างผนังที่มีคุณลักษณะ<br />

กึ่งโปร่งเพื่อระบายอากาศ และสร้างความเชื่อม<br />

ต่อแบบกึ่งสาธารณะไปพร้อมกัน<br />

เมื่อเราพิจารณาถึงเงื่อนไขและข้อจำ ากัด ไม่ว่า<br />

จะเป็นด้านงบประมาณ ความต้องการของผู้ใช้<br />

อาคารที่ต้องการความปลอดภัย อบอุ่น และได้<br />

รับประสบการณ์คล้ายกับการพักผ่อนในพูลวิลล่า<br />

การคำานึงถึงภูมิทัศน์และบริบทแวดล้อมของ<br />

โครงการ โครงการบ้านมักม่วนถือว่าเป็นหนึ่งใน<br />

โครงการที่มีความน่าสนใจต่อการใช้การออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรม ผ่านการใช้ไวยกรณ์ของการ<br />

ออกแบบหลังคาเพื่อผสานประโยชน์ใช้สอยให้<br />

สอดรับกันกับความต้องการได้อย่างสมดุล<br />

“ทุกวันนี้แม้ว่าโครงการจะแล้วเสร็จไปร่วมปีแล้ว<br />

แต่ภาพถ่ายที่ได้รับมาหลังการอยู่อาศัยยังพบว่า<br />

เหมือนวันแรกที่เราก่อสร้างเสร็จ ภาพของบ้าน<br />

2<br />

ที่เห็นยังคงแทบไม่แตกต่างจากเดิม เหมือนครั้ง<br />

ที่เราถ่ายลงวารสารสถาปัตยกรรม เพราะเจ้าของ<br />

รักและมีความสุขที่ได้อยู่อาศัยในบ้านหลังนี้”<br />

คุณทวิชากรกล่าวทิ้งท้าย ถึงบทสรุปของบท<br />

สนทนาของสถาปัตยกรรมที่ยังคงไม่สิ้นสุด ณ<br />

บ้านมักม่วนแห่งนี้<br />

02<br />

หลังคาขนาดใหญ่ได้สร้าง<br />

ระนาบปกคลุมพื้นที่อยู่<br />

อาศัยเพื่อทอนความร้อน<br />

ที่เข้าสู่ระนาบผนัง อำานวย<br />

ให้เกิดสภาวะน่าสบาย<br />

แก่พื้นที่ใช้สอยภายใน<br />

03<br />

พื้นที่ทางเข้าที่หลังคา<br />

ปกคลุมลงมาครอบคลุม<br />

พื้นที่จอดรถของบ้าน<br />

ในขณะเดียวกันผู้ออกแบบ<br />

ได้ใช้การออกแบบภูมิทัศน์<br />

ด้วยการปลูกพืชเพื่อ<br />

สร้างความเป็นส่วนตัว<br />

ทางสายตาให้กับพื้นที่<br />

ส่วนพักอาศัย<br />

3


theme / review<br />

THE FIFTH ELEMENT<br />

80 81<br />

The roof has emerged as a significant architectural element<br />

in shaping and diversifying the form and scope of architecture.<br />

It serves as the “fifth façade,” linking, exposing, and enveloping<br />

the space that exists between architecture and its surrounding<br />

environment, thereby facilitating a dialogue between the empty<br />

space and the contextual setting of the site.<br />

6<br />

5<br />

4<br />

04<br />

ผังพื้นของโครงการเป็น<br />

รูปตัว L กึ่งปิดล้อมส่วน<br />

สระว่ายน้ำาทางทิศตะวันตก<br />

สอดรับกับภูมิทัศน์โดยรอบ<br />

05<br />

รูปด้านหน้าของโครงการ<br />

แสดงให้เห็นสัดส่วนระหว่าง<br />

ความสูงผนังต่อความสูง<br />

หลังคา ในอัตราส่วนราว 1:2<br />

06<br />

ทัศนียภาพจากพื้นที่สวน<br />

ฝั่งทิศตะวันตกหันเข้า<br />

สู่พื้นที่หลังคาระแนง<br />

ขนาดใหญ่<br />

“The roof is a transformative element. It has the<br />

power to redefine our perception of space and<br />

create unique experiences within architecture.<br />

It can act as a fifth façade, opening up new possibilities<br />

for interaction with the built environment.”<br />

The quoted statement is attributed to Dutch architect<br />

Rem Koolhaas, who defines the architectural<br />

element in his renowned book on theories of architecture,<br />

“S, M, L, XL.”<br />

The roof constitutes a fundamental architectural<br />

element. Its contributions to a built structure include<br />

providing protection from sunlight and rain to its<br />

interiors. The roof has traditionally been defined<br />

based on its functional dimension, which has been<br />

considered a fundamental aspect of its meaning.<br />

However, the concept of the roof encompasses a<br />

multitude of meanings and definitions that extend<br />

beyond its utilitarian merits and cannot be completely<br />

explained solely from this perspective. The boundaries<br />

in regards to possible definitions of a roof<br />

have expanded to encompass symbolic interpretation,<br />

cultural reflection, and ways of life. The roof<br />

has emerged as a significant architectural element,<br />

playing a crucial role in shaping and diversifying<br />

the form and scope of architecture. It serves as the<br />

“fifth façade,” linking, exposing, and enveloping<br />

the space that exists between architecture and its<br />

surrounding environment, thereby facilitating a dialogue<br />

between the empty space and the contextual<br />

setting of the site. The Makmuan House, located in<br />

the Sri Chom Phu district of Thailand’s Khon Kaen<br />

province, presents an intriguing case study on the<br />

influence of roof design in contemporary architectural<br />

works.


7<br />

07<br />

ทัศนียภาพส่วนชานบ้าน<br />

และพื้นที่สระว่ายน้ำา<br />

ที่ออกแบบให้สัมพันธ์<br />

กับงานภูมิสถาปัตยกรรม


theme / review<br />

THE FIFTH ELEMENT<br />

84 85<br />

09<br />

รูปตัดของโครงการ<br />

แสดงให้เห็นการออกแบบ<br />

ภูมิทัศน์ที่สอดรับกับ<br />

ตัวสถาปัตยกรรม และ<br />

แสดงให้เห็นความต่อเนื่อง<br />

ของพื้นที่ว่างระหว่าง<br />

พื้นที่ภายใน กับพื้นที่ว่าง<br />

ภายนอก<br />

Due to its remote location and distance from<br />

the nearest community, the owner desires for the<br />

project to be like an escape—a safe haven for one<br />

to come to rest and readjust the balance in their<br />

life. “They want the place to be like a pool villa,”<br />

Tawichakorn Lhaochaiyong, the architect behind<br />

S.Pace Studio, said about the conceptualization<br />

that served as the inception of the project. The<br />

architect worked on the given requirements in<br />

response to the wishes of elderly family members<br />

and devised a single-level dwelling featuring a<br />

partially enclosed floor plan. The layout of the<br />

house’s interior is designed into an L-shape, encompassing<br />

the west-facing part of the property,<br />

where the swimming pool is situated, thereby<br />

granting a picturesque view of the sunset. Given<br />

the proximity of the site to the nearest community<br />

and its surrounding orchards and forestland, it is<br />

essential that the architectural language of the<br />

house conveys a sense of security that fosters a<br />

feeling of safety and protection among residents.<br />

9<br />

8<br />

08<br />

ภาพทัศนียภาพบริเวณ<br />

ชานด้านในที่ถูกปกคลุม<br />

ด้วยหลังคาระแนง<br />

อลูมิเนียม เชื่อมความ<br />

สัมพันธ์ทางสายตา<br />

ระหว่างสวนภายนอก<br />

กับพื้นที่สระว่ายน้ำาและ<br />

ส่วนชานของบ้าน


theme / review<br />

THE FIFTH ELEMENT<br />

86 87<br />

“The gable roof was decided as it was deemed suitable for<br />

creating an expansive plane and projecting eaves that provide<br />

protection for the living areas. It emanates a perception<br />

of both approachability and warmth. A range of possibilities<br />

were explored prior to arriving at this conclusion and finalizing<br />

the design,”<br />

10<br />

10<br />

ห้องอเนกประสงค์ที่<br />

ใช้เป็นพื้นที่ส่วนกลาง<br />

ในการรับแขกและ<br />

รับประทานอาหาร<br />

11<br />

รูปทรงของหลังคา<br />

ส่งผลต่อเส้นขอบของ<br />

พื้นที่ใช้สอยภายใน<br />

เช่น ส่วนของห้องนอน<br />

The primary element of the project is the large<br />

gable roof, due to a number of different reasons.<br />

The roof serves as a symbol of domesticity and is<br />

intended to encompass all of the house’s functional<br />

spaces. “The gable design of the roof was decided<br />

as it was deemed suitable for creating an expansive<br />

plane and projecting eaves that provide protection<br />

for the living areas. It emanates a perception of both<br />

approachability and warmth. A range of possibilities<br />

were explored prior to arriving at this conclusion and<br />

finalizing the design,” Tawichakorn elaborated on<br />

the rationale behind the implementation of the roof.<br />

The roof exhibits a significant volume, with a 1:2<br />

ratio between the wall height and the roof elevation.<br />

The architect effectively leveraged the distinctions<br />

in the roofing materials to optimize spatial connectivity<br />

in a resourceful manner. To clarify, the segment<br />

of the roof is oriented towards the front of the house<br />

and provides complete coverage for both the front<br />

section of the house and the garage.<br />

The roofing section that spans across the area connecting<br />

the garden and swimming pool is designed<br />

to be more open, which is achieved through the<br />

incorporation of dark gray aluminum laths. This<br />

feature serves to imbue the area with a semi-open<br />

quality. The gable roof situated on this particular<br />

side of the house serves as a connecting element<br />

between another living space and the garden, which<br />

boasts landscape architecture comprising a forest<br />

of Siamese rosewood, teak wood, and Makha. The<br />

opposite side of the roof functions as a protective<br />

barrier for the living quarter, affording inhabitants<br />

a sense of seclusion. The wooden ceiling features<br />

are in accordance with the sloping angle of the<br />

roof, which descends towards the interior space,<br />

thereby promoting a seamless connection between<br />

the roof and the living areas within.<br />

<strong>12</strong><br />

ผนังก่ออิฐ เว้นร่อง<br />

บริเวณพื้นที่ทางเดิน<br />

ด้านใน สร้างให้เกิดการใช้<br />

ประโยชน์จากคุณลักษณะ<br />

กึ่งโปร่งของผนังเพื่อการ<br />

ระบายอากาศ และการ<br />

สร้างสภาวะกึ่งส่วนตัว<br />

11<br />

<strong>12</strong>


theme / review<br />

THE FIFTH ELEMENT<br />

88 89<br />

13<br />

พื้นที่สระว่ายน้ำาที่<br />

ถูกออกแบบให้เป็นพื้นที่<br />

เชื่อมต่อระหว่างชานกับ<br />

สวนภายนอกในแนวแกน<br />

ทิศเหนือ-ใต้<br />

14<br />

การจัดแสงแก่ระนาบ<br />

ผนังโครงคร่าวไม้ตัดกับ<br />

แนวเส้นระนาบของไม้พุ่ม<br />

ด้านหน้า<br />

Regarding spatial connectivity, the architect has<br />

designed the garage to be situated at the front<br />

of the structure and fully covered by the roof. The<br />

circulation subsequently leads to a walkway that<br />

provides access to a multifunctional room, which<br />

has been designed to cater to visitors and serve as<br />

a dining area. The area in question also functions<br />

as the central hub of the abode, connecting the<br />

semi-common outdoor area to the internal living<br />

quarters. Furthermore, it establishes a connection<br />

with the deck situated deeper within the house,<br />

adjacent to the pool and the garden area. This<br />

particular section of the spatial program features<br />

expansive curtain walls that facilitate visual connectivity.<br />

The western wing of the house provides<br />

access to the sleeping quarters through an interior<br />

walkway. The living space has been intentionally<br />

designed to optimize privacy through an L-shaped<br />

layout that seamlessly integrates natural elements,<br />

thereby enhancing the overall living experience.<br />

The layout positions the pathway towards the deck<br />

while orienting all the bedrooms towards the north<br />

to avoid the effects of excessive heat and sunlight<br />

from the west.<br />

The west wing features a large aluminum lath wall<br />

designed to minimize solar heat gain. Despite being<br />

an integral component of the interior program, the<br />

laths effectively contribute to the semi-open space<br />

of both the deck and courtyard. The design of the<br />

landscape architecture necessitates a correspondence<br />

with the architectural mass and volume of the<br />

house. The placement of shrubs in rows is intended<br />

to complement the main contours that define the<br />

interior spaces. The woody plants have been strategically<br />

positioned in accordance with the functional<br />

spatial arrangement of the home and the adjacent<br />

swimming pool. The pool is designed to provide<br />

diverse user experiences. The closest part of the<br />

swimming pool is next to the deck. It gives users<br />

a sense of connection with the home. Swimming<br />

towards the southern axis would result in a spatial<br />

transition from the house’s periphery to the vast<br />

expanse of the garden and forestland beyond,<br />

consequently offering one a distinct level of spatial<br />

encounter.<br />

14<br />

13<br />

กุลพัชร์ เสนีวงศ์<br />

ณ อยุธยา<br />

ปั จจุบันเป็ นหัวหน้านัก<br />

วิจัยสำารวจภาคสนาม<br />

ให้กับ Maritime Asia<br />

Heritage Survey Thailand<br />

Project มหาวิทยา<br />

ลัยเกียวโต ประเทศญี่ปุ ่ น<br />

และนักศึกษาปริญญา<br />

เอกสาขาสถาปั ตยกรรม<br />

พื้นถิ ่น คณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

สนใจศึกษามรดกทาง<br />

วัฒนธรรมและขณะนี้<br />

กำาลังทำาวิจัยเกี่ยวกับ<br />

สภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง<br />

ในพื้นที่ภูมิทัศน์วัฒนธรรม<br />

มลายู<br />

Kullaphut Seneevong<br />

Na Ayudhaya<br />

is a Field Team Leader<br />

of the Maritime Asia<br />

Heritage Survey Thailand<br />

Project, Kyoto<br />

University, Japan, and<br />

a vernacular architecture<br />

Ph.D. candidate<br />

at Silpakorn University.<br />

His research on<br />

the built environment<br />

of the Malay cultural<br />

landscape is being<br />

done out of a passion<br />

for cultural heritage.<br />

The selection of materials is intended to articulate<br />

an architectural dialogue with local accents. The<br />

combination of local materials, such as wood and<br />

brick, helps preserve rural sentiment within the<br />

context of contemporary architectural design. This<br />

is achieved through the incorporation of various<br />

wall components and the use of tongue and groove<br />

details in the wooden wall frame, which are typical<br />

features of the vernacular architecture of rice barns<br />

in Thailand’s northeastern region, or Isan. The construction<br />

of the wall frames involves the utilization<br />

of steel frames with vertical reinforcement and prefabricated<br />

cladding materials for the exterior walls.<br />

The wall that separates the garage and the interior<br />

walkway is constructed using bricks that feature<br />

apertures, which serve to augment air circulation<br />

and enable a semi-public connection for the area.<br />

The MakMuan House is a noteworthy example of<br />

how architectural design can effectively address<br />

and overcome various limitations and conditions,<br />

including budget constraints, users’ requirements<br />

for safety and comfort, and the desire for a poolvilla-like<br />

experience. Additionally, the design doesn’t<br />

fail to take the project’s surrounding context and<br />

landscape into account. The house’s roof components<br />

were meticulously designed to strike a balance<br />

between fulfilling elemental functions and meeting<br />

the demands of the users, making it an interesting<br />

work of architecture.<br />

“Despite the fact that the project was completed<br />

more than a year ago, the pictures I’ve seen after<br />

the house had been lived in show how the place<br />

remains just the same as when the construction was<br />

finalized. The living spaces look just like when they<br />

were photographed to be featured in an architectural<br />

magazine,” Tawichakorn concluded the architectural<br />

conversations that seem to be continuing at Makmuan<br />

House.<br />

fb.com/spacestudiodesign<br />

Project: Makmuan House Location: Sri Chom Phu District, Khon Kaen Province Architect: S.pace.studio Project Team: S.pace.studio<br />

Interior Designer: S.pace.studio Contractor: K. Kijrungrueang Company Land Area: 6 Rai Limited Building Area: 330 sq.m. Completion: 2021<br />

Materials: Cotto,Vista Flooring, Wilsonart Sanitary Ware: Cotto, American Standard Basin: Cotto, American Standard


90<br />

theme / review<br />

Wrap<br />

It<br />

Up<br />

1<br />

ASWA Architects has designed a new office for a manufacturer of<br />

innovative food wrapping film, with the roof form inspired by the look<br />

of a building covered in food wrapping film.<br />

Text: Rangsima Arunthanavut<br />

Photo Courtesy of ASWA (Architectural Studio of Work - Aholic) and Phuttipan Aswakool except as noted<br />

2<br />

01-02<br />

รูปภาพมุมสูงของอาคาร<br />

เห็นทรงหลังคารูปทรง<br />

โดดเด่น


theme / review<br />

WRAP IT UP<br />

92 93<br />

เมื่อถึงคราวขยับขยาย บริษัทนวัตกรรมฟิล์ม<br />

ถนอมอาหารอย่าง Sevenlakes ก็ถึงเวลาพา<br />

พนักงานหลายชีวิตย้ายมาอยู่อาคารสำานักงาน<br />

แห่งใหม่ในย่านลาดกระบังที่ได้ทีมสถาปนิก<br />

ASWA Architects มาออกแบบรังสรรค์ให้<br />

สำานักงานแห่งใหม่เต็มไปด้วยบรรยากาศที่น่า<br />

ทำางานตลอดวัน ภายใต้อาคารทรงสี่เหลี่ยม<br />

คางหมูที่ได้แรงบันดาลใจมาจากรูปทรงของ<br />

การห่อหุ้มอาหารด้วยฟิล์ม<br />

“เวลาซื้อแพ็กเกจหมูแฮม หรือไส้กรอก จะมี<br />

ฟิล์มขุ่นๆ ห่อหุ้มวัตถุดิบเหล่านั้นอยู่ นั่นคือ<br />

ผลิตภัณฑ์ของ Sevenlakes สิ่งที่เราพยายาม<br />

ตีความ จึงเป็นการทำาอย่างไรให้อาคารสื่อสาร<br />

ถึงตัวโปรดักต์นี้ได้มากที่สุด เรามองคุณสมบัติ<br />

ที่น่าสนใจของฟิล์มนี้อย่างหนึ่ง ซึ่งคือการเปลี่ยน<br />

แปลงไปตามรูปฟอร์มในการห่อหุ้มอาหารที่อยู่<br />

ด้านใน” สถาปนิกเล่า<br />

จากแนวคิดดังกล่าว ทำาให้อาคารที่เราเห็นมี<br />

รูปทรงคล้ายสี่เหลี่ยมคางหมูที่ออกแบบขอบ<br />

มุมดัดโค้ง ลดเหลี่ยมมุมที่เกิดขึ้นให้มากที่สุด<br />

เพื่อให้อาคารล้อไปกับผลิตภัณฑ์ซึ่งไม่มีรูปทรง<br />

ที่ชัดเจน แต่เกิดจากการห่อหุ้มวัตถุดิบที่ซ่อน<br />

อยู่ภายใต้ฟิล์ม<br />

เมื่อได้ภาพแนวคิดหลักคร่าวๆ นำามาสู่การ<br />

จัดวางพื้นที่ใช้สอยภายใน โดยทางเจ้าของ<br />

ต้องการพื้นที่สำานักงานขนาดไม่ใหญ่ที่ประกอบ<br />

ไปด้วยส่วนทำางานสำาหรับพนักงาน 6-8 ที่<br />

ห้องทำางาน 2 ที่นั่งของเจ้าของสามีภรรยา และ<br />

สระว่ายน้ำาขนาดพอดีที่ทั้งคู่สามารถพาลูกมา<br />

พักผ่อนได้ในวันหยุดสุดสัปดาห์<br />

แต่เมื่อนำาพื้นที่ใช้สอยต่างๆ เหล่านี้มาอ้างอิง<br />

กับบริบทที่รายล้อมซึ่งเป็นพื้นที่โล่งกว้าง<br />

รอการพัฒนาในอนาคต ทำาให้ทีมออกแบบและ<br />

เจ้าของไม่สามารถรู้ได้เลยว่าพื้นที่ที่จะเกิดขึ้น<br />

โดยรอบจะมีลักษณะเป็นอย่างไร กลายเป็นที่มา<br />

ของการปิดล้อมของอาคารให้เกิดความเป็น<br />

ส่วนตัวในแง่ของมุมมอง แต่ในขณะเดียวกัน<br />

ก็มีการออกแบบคอร์ทยาร์ดจำานวน 2 ส่วน<br />

โดยแบ่งเป็นคอร์ทพื้นที่สีเขียว และสระว่ายน้ำา<br />

ที่ซ่อนอยู่ ราวกับเป็นโอเอซิสให้กับผู้ใช้งาน<br />

ภายใน<br />

เริ่มจากทางเข้าบริเวณใจกลางอาคาร เราจะ<br />

พบคอร์ทสีเขียวตั้งอยู่ที่อยู่มุมซ้าย ซึ่งจะมอง<br />

เห็นได้จากส่วนทำางานของพนักงานและจาก<br />

ห้องประชุม ส่วนทางด้านขวาจะเป็นห้องทำางาน<br />

ของสองเจ้าของเชื่อมเข้าสู่คอร์ทสระว่ายน้ำาที่<br />

ปลายอีกด้านของอาคาร<br />

“คอร์ทพื้นที่สีเขียว เป็นจุดที่เราอยากให้เขาได้<br />

แชร์สเปซกัน ซึ่งก็เติมบรรยากาศการทำางานไป<br />

ด้วย และอยากให้บรรยากาศสดชื่นจากพื้นที่<br />

สีเขียวภายในเป็น Surprise Space ที่แตกต่าง<br />

จากบรรยากาศภายนอกอาคารอย่างสิ้นเชิง”<br />

โจทย์ตั้งต้น คือความต้องการที่อยากให้พนักงาน<br />

ทำางานอย่างมีความสุขและอยู่ในบรรยากาศ<br />

ผ่อนคลาย คอร์ทสีเขียวจึงเปรียบเสมือนพื้นที่<br />

หลัก โดยสถาปนิกออกแบบให้มีความสูง 6 เมตร<br />

ซึ่งเป็นความสูงในระยะที่แสงธรรมชาติส่องถึง<br />

ได้อย่างพอดี สร้างภาวะอยู่สบายสำาหรับการ<br />

ทำางานได้จริง โดยความสูงของคอร์ทสีเขียวนี้<br />

จะเป็นจุดสูงสุดของอาคาร ก่อนจะไล่ไปถึงพื้นที่<br />

ต่ำาสุดอย่างคอร์ทสระว่ายน้ำา รูปทรงของหลังคา<br />

ที่ค่อยๆ ไล่ระดับจากสูงไปต่ำ า จึงล้อไปกับแนว-<br />

คิดการห่อหุ้มของฟิล์มห่ออาหารที่ผู้ออกแบบ<br />

ตั้งใจไว้ตั้งแต่ต้น<br />

เพื่อให้อาคารดูไล่ระดับเป็นชิ้นเดียวกันทั้งหมด<br />

คล้ายการหุ้ม ประกอบกับแนวคิดภาษาการ<br />

ออกแบบสถาปัตยกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของ<br />

ASWA ทางผู้ออกแบบจึงมองหาวัสดุหลักหนึ่ง<br />

ชนิดที่สามารถห่อหุ้มอาคารเป็นเนื้อเดียวกันได้<br />

ตั้งแต่หลังคาไล่มาจนถึงผนังอาคารภายนอก<br />

เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ทำ าให้เห็นแนวคิดโดดเด่น<br />

ออกมาอย่างชัดเจน ก่อนจะมาเจอกับวัสดุ<br />

ที่ตอบโจทย์อย่าง อะลูมิเนียมคอมโพสิตสีดำา<br />

เมทัลลิก ที่ให้โทนสีเข้มในแบบที่เจ้าของต้องการ<br />

สามารถดัดโค้งได้ และยังมีคุณสมบัติความ<br />

สะท้อน (Reflective) คล้ายฟิล์มถนอมอาหาร<br />

แต่การเลือกใช้อะลูมิเนียมคอมโพสิตทั้งหมด<br />

ก็ตามมาด้วยข้อจำากัดของวัสดุที่ไม่สามารถ<br />

ป้องกันอากาศ หรือน้ำารั่วซึมได้เนื่องจากแผ่น<br />

ต่อแผ่นของวัสดุต้องเชื่อมเข้าหากันด้วยการ<br />

ใช้ซิลิโคน สถาปนิกจึงออกแบบซ้อนโครงสร้าง<br />

หลังคาสองชั้นในลักษณะ Double Roof เพื่อ<br />

ให้อะลูมิเนียมคอมโพสิตเป็นเพียงผิวชั้นนอก<br />

ของอาคาร (Secondary Skin) ในขณะที่ด้าน<br />

ในดีไซน์ซ่อนโครงสร้างเหล็กของอาคารเอาไว้<br />

ทั้งหมด เช่นเดียวกับส่วนหลังคาที่มีการซ้อน<br />

โครงสร้างหลักอย่างวัสดุเมทัลชีทเอาไว้ภายใน<br />

ก่อนจะใช้อะลูมิเนียมคอมโพสิตเป็นเพียงวัสดุ<br />

ห่อหุ้มที่เปลือกชั้นนอกของอาคาร<br />

แน่นอนว่า การออกแบบอาคารที่ลดเหลี่ยมมุม<br />

ให้โค้ง ทำาให้การก่อสร้างยากขึ้น สถาปนิกจึง<br />

ต้องเลือกวัสดุให้เหมาะกับพื้นที่ที่ควรจะเป็น ซึ่ง<br />

อะลูมิเนียมคอมโพสิตตอบโจทย์เพราะสามารถ<br />

ดัดโค้งได้ไม่ยาก แต่มีข้อจำ ากัดเรื่องรัศมีความ<br />

โค้ง จึงเป็นที่มาของเส้นสาย รูปลักษณ์ของมุม<br />

อาคาร รวมถึงหลังคา<br />

ส่วนในขั้นตอนการก่อสร้าง การเชื่อมอะลูมิเนียม-<br />

คอมโพสิตแต่ละชิ้นเข้าด้วยกันไม่เหมือนอาคาร<br />

ทั่วไปเพราะต้องไล่เรียงตั้งแต่หลังคาสู่ผนัง ทำ าให้<br />

ทางสถาปนิกต้องมีการถอดแพทเทิร์นของวัสดุ<br />

แต่ละชิ้นให้มีขนาดที่พอดีทั้งในด้านประโยชน์<br />

ใช้สอย และการออกแบบ ก่อนจะส่งต่อให้กับทีม<br />

ผู้รับเหมาและเหล่าช่างหน้างาน<br />

“เราพยายามดีไซน์แพทเทิร์นเหล่านี้ให้มัน<br />

เป็นเส้นที่ต่อเนื่องตรงกันทั้งหมดตั้งแต่หลังคา<br />

ลงมาสู่ผนังอาคารภายนอก ซึ่งในรายละเอียด<br />

ของเส้นเชื่อม เรายังต่อรองกับทางผู้รับเหมา<br />

โดยขอเป็นเส้น Joint ซิลิโคนขนาดร่องบาง<br />

ที่สุดเท่าที่เขาจะทำาได้ เพื่อให้งานออกแบบดู<br />

กลมกล่อมเป็นหนึ่งเดียวกันทั้งหมด”<br />

สถาปนิกทิ้งท้ายด้วยความประทับใจว่า ที่<br />

โครงการรูปทรงสะดุดตานี้ประสบความสำาเร็จ<br />

เป็นเพราะได้ทีมที่มองเห็นภาพตรงกันทั้งผู้-<br />

ออกแบบ เจ้าของโครงการ รวมถึงผู้รับเหมา<br />

ที่ต่างก็มีส่วนช่วยทำาให้แนวคิดตั้งต้นเดินทาง<br />

มาถึงขั้นตอนสุดท้ายได้อย่างลุล่วง นำามาสู่<br />

ภาพอาคารรูปลักษณ์จัดจ้านที่ชัดเจนในแนวคิด<br />

ตั้งแต่หลังคาจรดพื้น และยังสามารถถ่ายทอด<br />

เรื่องราว ความเป็นธุรกิจแบรนด์ฟิล์มถนอม<br />

อาคารของสองเจ้าของสามี-ภรรยาผ่านการ<br />

ตีความสถาปัตยกรรมไว้อย่างน่าสนใจ<br />

03-04<br />

รูปทรงหลังคาคล้าย<br />

สี่เหลี่ยมคางหมูยกสูง<br />

พร้อมช่องเปิดสูง 6 เมตร<br />

ตรงจุดสูงสุดและไล่ระดับ<br />

ลงมาปรากฎเป็นรูปด้าน<br />

ของอาคาร<br />

4<br />

3


theme / review<br />

WRAP IT UP<br />

94 95<br />

“What we attempted to decipher was how to construct<br />

a structure that would reflect the company’s product.<br />

We had a look at all of the interesting qualities of the film,<br />

and the one that stood out to us is its ability to adapt to<br />

the shape of whatever type of food it wraps around”<br />

05<br />

รูปด้านทั้ง 4 ด้านของ<br />

อาคาร แสดงการห่อหุ้ม<br />

ด้วยอลูมิเนียมคอมโพสิต<br />

สีเข้มตั้งแต่หลังคาจรด<br />

ผนังเป็นชิ้นเดียว<br />

6<br />

The architect developed interior functional spaces<br />

by following the owners’ brief to build a moderatesized<br />

office space that would be enough to accommodate<br />

6–8 employees, including a private office<br />

for the two owners, who are a married couple. A<br />

medium-sized swimming pool for their children to<br />

play in on weekends was an additional request.<br />

However, with the site’s surrounding context being<br />

a vast empty land, the owner and the design team<br />

initially had no knowledge of what it would be developed<br />

into but developing a functional program<br />

in reference to that led to the idea of creating an<br />

enclosure to provide the building’s users with the<br />

best possible privacy. Meanwhile, the design includes<br />

two courtyards, which house green areas<br />

and the swimming pool, serving as the project’s<br />

oasis.<br />

When the time for an expansion came around,<br />

Sevenlakes, a manufacturer of innovative food<br />

wrapping film, chose to relocate its staff to a new<br />

location in Bangkok’s Lad Krabang area. The new<br />

office was designed by ASWA Architects, who<br />

created a high-quality workspace with a pleasant<br />

working atmosphere inside a trapezoidal architecture<br />

inspired by the look of a building covered in<br />

a layer of food wrapping film.<br />

06-07<br />

มุมอาคารที่ตัดขอบโค้งลด<br />

ความเหลี่ยมมุมของอาคาร<br />

“When you buy a pack of ham or sausage, there’s<br />

usually a piece of translucent film wrapping each<br />

of the ingredients, and that film is what Sevenlakes<br />

is known for. What we attempted to decipher was<br />

how to construct a structure that would reflect the<br />

company’s product. We had a look at all of the<br />

interesting qualities of the film, and the one of the<br />

purposes that stood out to us is its ability to adapt<br />

to the shape of whatever type of food it wraps<br />

around,” the architect explained.<br />

5<br />

From that concept, the building’s trapezoidal shape<br />

is developed to have twisted, curved corners with<br />

sharpness eliminated, corresponding with the very<br />

flexible physical property of the product, whose<br />

form is defined by the ingredient beneath which it<br />

envelops.<br />

7


8<br />

08<br />

การเปิดช่องเปิดสู่คอร์ท<br />

2 พื้นที่แทรกสวนต้นไม้<br />

สีเขียวและสระว่ายน้ำา<br />

ติดกับอาคารและพื้นที่<br />

ภายนอกที่ออกแบบไว้<br />

เป็นสีเข้ม


theme / review<br />

WRAP IT UP<br />

98 99<br />

09<br />

ผังพื้นอาคารชั้นล่าง<br />

และผังหลังคา<br />

10<br />

รูปตัดอาคาร<br />

“These patterns are designed as<br />

continuous lines running from<br />

the roof to the exterior walls.<br />

The joineries’ intricacies were<br />

obtained by working with the<br />

contractor to keep the joints as<br />

thin as possible to get an illusion<br />

of a cohesive, unified mass.”<br />

Walking through the door leading into the center<br />

of the building, one will see a green space in the<br />

form of a courtyard to the left. The area is visible<br />

from the office and the conference room. To the<br />

right is the private office of the two owners, which<br />

leads to the swimming pool courtyard situated at<br />

the opposite end of the building.<br />

“The courtyard with green space is intended for<br />

everyone to share and enjoy. It adds a pleasant<br />

atmosphere to the workspace since we want the<br />

lush courtyard to be the surprise space that sets<br />

the atmosphere of the interior program apart from<br />

the outside environment.”<br />

The basic requirement for the design is an office<br />

space with a pleasant and relaxing environment<br />

for the employees’ happiness and well-being. This<br />

courtyard functions as the heart of the program<br />

with its 6-meter height, which brings ample natural<br />

light and thermal comfort to the workspace. The<br />

height of the court is the building’s highest point,<br />

with the swimming pool court being the project’s<br />

lowest plane. The roof’s shape descends from<br />

higher to lower levels, conforming to the design’s<br />

food wrapping film concept.<br />

11<br />

สถาปนิกดีไซน์ซ้อน<br />

โครงสร้างหลังคาสองชั้น<br />

เป็น Double Roof เพื่อ<br />

ป้องกันอากาศหรือน้ำา<br />

รั่วซึม<br />

9<br />

10 11


WRAP IT UP<br />

101<br />

13<br />

<strong>12</strong><br />

<strong>12</strong><br />

ช่องเปิดสู่พื้นที่ส่วนกลาง<br />

อาคาร<br />

13<br />

ที่มุมหนึ่งของพื้นที่ภายใน<br />

มีคอร์ดพื้นที่สีเขียวเป็น<br />

หัวใจสำาคัญ ช่วยสร้าง<br />

บรรยากาศการทำางานให้<br />

กับเหล่าพนักงาน<br />

ASWA demonstrates its unique architectural<br />

language through the use of a principal material<br />

that would render the look of beautifully wrapped<br />

masses on the building’s roof structure and external<br />

walls. The design results in the building’s<br />

appearance as a single, unified architectural form,<br />

with everything wrapped together under one layer.<br />

The endeavor yields a final look that precisely<br />

represents the design concept. The metallic black<br />

aluminum composite was the chosen principal<br />

material due to its ability to provide the desired<br />

dark color tone while also being flexible and reflective,<br />

comparable to the physical properties of the<br />

company’s food packaging film.<br />

The use of aluminum composite panels for the<br />

entire construction of the building’s skin came<br />

with certain disadvantages, the most significant<br />

of which is the inability to prevent air and water<br />

leakage owing to the joineries between panels,<br />

which had to be bonded together using silicone.<br />

The architect devised a double roof structure so<br />

that the material would only serve as a secondary<br />

skin, with the underlying steel structure hidden<br />

beneath. The roof is likewise coated with metal<br />

sheets, while the building’s shell is constructed<br />

using aluminum composite panels.


theme / review<br />

WRAP IT UP<br />

102 103<br />

14<br />

อีกฝั่งหนึ่งของอาคาร<br />

เป็นคอร์ทสระว่ายน้ำา<br />

สำาหรับสองเจ้าของเพื่อ<br />

การพักผ่อนสุดสัปดาห์<br />

รังสิมา อรุณธนาวุฒิ<br />

จบการศึกษาภูมิสถาปั ตย-<br />

กรรม จากมหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร์ ปั จจุบัน<br />

เป็ นนักเขียนเกี่ยวกับงาน<br />

ออกแบบในสื่อสถาปั ตย-<br />

กรรม<br />

Rangsima<br />

Arunthanavut<br />

graduated from the<br />

Department of Landscape<br />

Architecture,<br />

Kasetsart University.<br />

She is currently a<br />

writer on design in<br />

architectural media.<br />

A building with tapering corners was certainly<br />

challenging to create. The design team needed to<br />

find the right materials to achieve such a difficult<br />

design, and aluminum composite fits the bill for its<br />

bendable characteristics, but with limits regarding<br />

the curving angles. This resulted in the lines, corners,<br />

and roof structure of the completed building.<br />

Because the material must cover the roof all the<br />

way to the walls, installing aluminum composite<br />

panels into the specified shape differs from how it<br />

is generally done with other structures. The design<br />

team was responsible for creating working drawings<br />

for the contractor team and builders to work<br />

with, detailing the varied patterns of the panels<br />

in order for them to be in the proper dimensions<br />

and sizes to deliver the required function and<br />

aesthetics.<br />

“We attempted to design these patterns as continuous<br />

lines running from the roof to the exterior<br />

walls. The joineries’ intricacies were obtained by<br />

working with the contractor to keep the silicone<br />

joints as thin as possible so that we could get the<br />

illusion of a cohesive, unified mass.”<br />

The architectural team expressed their admiration<br />

for this project and attributed its success to the<br />

shared vision of the owners, the design team, and<br />

the contractor, all of whom contributed to the idea<br />

being transformed into reality in the most beautiful<br />

way. The ultimate result of this combined endeavor<br />

is a structure with a distinct and visually arresting<br />

look and architectural interpretation that captures<br />

not just the design concept but also the story of<br />

the food wrapping film brand that this couple has<br />

created together.<br />

aswarchitect.com<br />

Project: SLOT Office Location: Bangkok, Thailand Type: Office Building Area: 230 sq.m. Total Floor Area: 230 sq.m. Landscape Area: 900 sq.m. Bldg.<br />

Coverage Ratio: 25 Gross Floor Ratio: 27 Structure: Steel Structure Exterior Finish: Metallic Black Aluminum Composite Cladding Interior Finish: Plaster<br />

Design Period: 6 months Construction Period: <strong>12</strong> months Project Architect: Phuttipan Aswakool Team: Phuttipan Aswakool, Chotiros Techamongklapiwat,<br />

Prassapol Suguanwattanaraksa Collaborator: LAAB (Landscape Design) Construction: CCK<br />

14


104<br />

materials<br />

METAL ROOFING MATERIALS<br />

105<br />

Metal<br />

Roofing<br />

Materials<br />

Metal roofing is an alternative<br />

roofing material that creates beauty,<br />

modernity, strength, is light weight,<br />

and can cover a large area without<br />

the need for many structural columns.<br />

In this issue, the <strong>ASA</strong> Journal examines<br />

some important factors to consider<br />

when selecting metal materials for<br />

metal roofing.<br />

Metal roofing is an alternative roofing material<br />

that is an architectural design element that<br />

creates beauty, modernity, strength, is light<br />

weight, and can cover a large area without the<br />

need for many structural columns. There are<br />

many alternative thin sheet metal materials<br />

used in the building and construction industries<br />

today, such as coated steel, stainless steel,<br />

aluminum, copper, zinc alloy, titanium, etc.<br />

These are in the form of corrugated, smooth<br />

corrugated sheets with high ridges (standing<br />

seam), sheet stamping forming tiles (roof tile),<br />

and flat tiles of various forms overlaid (shingle).<br />

In Thailand, the most popular and widely used<br />

are the rust-proof, color-coated steel sheets,<br />

which can be used in both large public buildings<br />

and small homes, with corrugated sheet products<br />

installed on top of the side sheets, which<br />

will reduce the joints of the sheets and reduce<br />

the chance of leakage.<br />

หลังคาโลหะเป็ นทางเลือกวัสดุหลังคาซึ ่งเป็ นองค์ประกอบงานออกแบบสถาปั ตยกรรม<br />

ที่สร้างความสวยงาม ทันสมัย แข็งแรง มีน ้ำหนักเบา สามารถครอบคลุมพื้นที่ได้กว้าง<br />

ขวางโดยไม่ต้องมีเสาโครงสร้างมารองรับมากมาย มาเกะกะในพื้นที่ใช้สอย วัสดุโลหะ<br />

แผ่นบางที่เป็ นทางเลือกนำมาใช้ ในงานอาคารมีหลากหลาย ได้แก่ เหล็กเคลือบโลหะ<br />

กันสนิม เหล็กสเตนเลส อะลูมิเนียม ทองแดง สังกะสีผสมไททาเนียม เป็ นต้น รูปแบบ<br />

ที่นำมาใช้งานมีทั้งเป็ นแบบแผ่นรีดลอนยาว (Corrugated) แผ่นท้องลอนเรียบมีสัน<br />

ลอนสูง (Standing Seam) แผ่นปั ๊ มขึ ้นรูปแบบกระเบื้อง (Roof Tile) แผ่นกระเบื้อง<br />

แบนรูปแบบต่างๆ วางซ้อนทับ (Shingle) ที่เห็นใช้กันแพร่หลายในบ้านเราวันนี้ส่วนใหญ่<br />

จะเป็ นแผ่นเหล็กเคลือบกันสนิม เคลือบสี ใช้ทั้งงานอาคารสาธารณะขนาดใหญ่จนถึง<br />

บ้านพักอาศัยขนาดเล็ก ผลิตภัณฑ์ลักษณะแผ่นยาวรีดลอนติดตั้งซ้อนทับแผ่นด้านข้าง<br />

จะลดรอยต่อแผ่นวัสดุ ลดโอกาสที่จะเกิดการรั่วซึม<br />

Text: Patikorn Na Songkhla


106<br />

materials<br />

METAL ROOFING MATERIALS<br />

107<br />

ปัจจัยในการพิจารณาเลือกใช้งานหลังคาโลหะนอกเหนือจากเรื่องความ<br />

สวยงาม ราคา รายละเอียดในการติดตั้งแล้ว ยังมีเรื่องอื่นๆ ที่จะต้อง<br />

พิจารณาให้ความสำาคัญ ได้แก่ อายุการใช้งาน ความหนาของโลหะ<br />

การเกิดสนิม วัสดุเคลือบช่วยป้องกันการกัดกร่อน ระบบเคลือบสี การ<br />

เข้ากันของวัสดุ (Compatibility) การป้องกันการรั่วซึม การเลือกฉนวน<br />

กันความร้อน ค่าการป้องกันเสียง งานติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ บนหลังคา<br />

มาตรฐานการทดสอบ การรับประกันทั้งผลิตภัณฑ์และการติดตั้ง<br />

การติดตั้งหลังคาโลหะแต่ละประเภทจะมีรายละเอียดการติดตั้งแตกต่าง<br />

กันไป สถาปนิกจะต้องศึกษา ทำางานออกแบบ กำาหนดรายละเอียดให้<br />

สอดคล้องกับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ การทดสอบตามมาตรฐานสากล เพื่อ<br />

ให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด มีความสวยงาม แข็งแรง ป้องกันการรั่วซึม<br />

ของน้ำา ลดปัญหาความเสียหายอันอาจจะเกิดขึ้นได้หลังการติดตั้งและ<br />

ใช้งาน<br />

หลังคาเหล็ก<br />

หลังคาโลหะที่มีการใช้งานแพร่หลายในบ้านเรามากที่สุดเป็นหลังคา<br />

เหล็ก ซึ่งเหล็กจะมีประเด็นปัญหาหลักเป็นเรื่องของการเกิดสนิม<br />

กัดกร่อนเจาะทะลุจนเกิดเป็นความเสียหายกับอาคารและทรัพย์สิน<br />

ที่อยู่ภายใน จนในปัจจุบันได้มีการพัฒนาวัสดุเคลือบผิวคุณภาพสูงทำา<br />

ให้สามารถยืดระยะเวลาอายุการใช้งานหลังคาเหล็ก เช่น การใช้โลหะ<br />

อะลูมิเนียมผสมสังกะสีหรือโลหะอื่นที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมา เป็นต้น<br />

หลังคาเหล็กเคลือบโลหะกันการกัดกร่อนหรือกันสนิมอาจมีการเคลือบ<br />

สีช่วยให้ความสวยงาม และเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันการกัดกร่อน<br />

ยืดอายุการใช้งาน นอกจากนั้นยังช่วยการลดอุณหภูมิพื้นผิวหลังคา<br />

ช่วยประหยัดการใช้พลังงานด้วยการลดความร้อนที่จะส่งผ่านหลังคา<br />

เข้าสู่ภายในตัวอาคาร<br />

หลังคาเหล็กสเตนเลส<br />

สถาปนิกไทยอาจไม่ค่อยคุ้นเคยกับหลังคาเหล็กสเตนเลสหรือเหล็กกล้า<br />

ไร้สนิม Website www.worldstainless.org ให้ข้อมูลของเหตุผลในการ<br />

เลือกใช้งานหลังคาเหล็กสเตนเลสเป็นเรื่องของความสวยงาม แข็งแรง<br />

คงทน อายุการใช้งานยาวนาน ลดการดูแลบำารุงรักษา ระบบหลังคา<br />

โดยรวมมีน้ำาหนักเบา ตัวอย่างอาคารที่มีอายุอยู่มาอย่างยาวนาน ได้แก่<br />

ตึกไครส์เลอร์ในมหานครนิวยอร์ก ซึ่งสร้างเสร็จมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1931<br />

ใช้เหล็กสเตนเลสคุณภาพสูงประกอบด้วยโครเมียม 18% และนิกเกิล<br />

8% ยังมีตัวอย่างสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ออกแบบโดยสถาปนิกชาว<br />

อเมริกัน Frank Gehry ที่รังสรรค์งานโดยการใช้วัสดุเหล็กสเตนเลส<br />

มาหุ้มอาคารสร้างความแตกต่างแปลกตาน่าสนใจ เช่น Walt Disney<br />

Concert Hall ที่ Los Angeles เป็นต้น<br />

There are many factors to consider when selecting materials<br />

for roofing besides aesthetics, price, and installation details:<br />

service life, thickness of metal, rust, coating material to prevent<br />

corrosion, coating system, material compatibility, waterproofing,<br />

selection of insulation, and sound protection value.<br />

Installation of equipment on the roof, testing standards, and<br />

a warranty for both the product and the installation.<br />

Each type of metal roof installation comes with different details.<br />

Architects and designers need to study, work on designs, and<br />

determine details in accordance with product standards. What<br />

is also important is testing certification according to international<br />

standards to get the highest efficiency, be beautiful,<br />

strong, prevent water leakage, and reduce problems that may<br />

occur after installation and use.<br />

Steel roof<br />

Metal roofs that are widely used in Thailand are steel ones.<br />

The main problem with steel roofs is rust, corrosion, and<br />

penetrating, causing damage to the building and its properties.<br />

Until now, high-quality coating materials have been developed<br />

to extend the life of steel roofs, such as zinc-aluminum alloy or<br />

other metals. Corrosion-resistant metal roofing may have a<br />

special coating to help make it beautiful, enhance anticorrosion<br />

performance, and prolong service life. It also helps to<br />

reduce the temperature of the roof surface and helps conserve<br />

energy by reducing heat transmitted through the roof into the<br />

building.<br />

Stainless steel roof<br />

In Thailand, architects and designers may not be familiar<br />

with stainless steel roofing. This interesting website,<br />

www.worldstainless.org, provides some good reasons for<br />

choosing stainless steel roofing for beauty, strength, durability,<br />

and long service life. It also helps reduce maintenance costs,<br />

and the roof system is lightweight. The Chrysler Building in<br />

New York City is an example of a long-standing building. It<br />

was completed in 1931 and used high-quality stainless steel<br />

containing 18% chromium and 8% nickel. It also features a<br />

modern architectural example, the Walt Disney Concert Hall<br />

in Los Angeles, designed by American architect Frank Gehry.<br />

In this world-renowned project, stainless steel is used distinctively<br />

to cover the building, creating an extraordinary and<br />

dramatic difference.<br />

1 2 3<br />

5<br />

6<br />

4<br />

Photo Reference<br />

1. atas.com / 2. zappone.com / 3. roof-experts.ca<br />

4. lawnstarter.com / 5-6. tatabluescopesteel.com<br />

7. roofventsaustralia.com.au<br />

7


108<br />

materials<br />

METAL ROOFING MATERIALS<br />

109<br />

หลังคาอะลูมิเนียม<br />

หลังคาอะลูมิเนียมใช้โลหะอะลูมิเนียมคุณภาพสูง มีความแข็งแรง คงทน<br />

ต่อสภาวะอากาศ มีน้ำาหนักเบา ช่วยตอบสนองสุนทรียะงานออกแบบ<br />

เป็นวัสดุทางเลือกสามารถนำาไปใช้กับงานประเภทสนามบิน งานชายฝั่ง<br />

ทะเล ย่านอุตสาหกรรม รวมถึงพื้นที่ต่างๆ ที่มีสภาวะการกัดกร่อนสูง<br />

การออกแบบเพื่อการใช้งานอย่างเป็นระบบยังช่วยในการป้องกันความ<br />

ร้อน ให้ค่าการกันความร้อนตั้งแต่ 0.11 W/m2K ป้องกันเสียงรบกวน<br />

ได้เป็นอย่างดีสามารถให้ค่าการกันเสียง Rw 31-75 dB<br />

วัสดุอะลูมิเนียมมีความยืดหยุ่นตอบสนองในหลากหลายลักษณะงาน<br />

ออกแบบสมัยใหม่ สามารถดัดโค้งได้เรียบร้อยให้ความสวยงาม สร้าง<br />

งานในรูปแบบที่หลังคาเหล็กไม่สามารถทำาได้ อายุการใช้งานยาวนาน<br />

มากกว่า 30 ปี มีระบบเคลือบผิวคุณภาพสูงเฉดสีต่างๆ ให้พิจารณาเลือก<br />

11<br />

Aluminum roof<br />

Aluminum roofs usually use high-quality aluminum metal that<br />

is strong, resistant to weather conditions, and light-weight,<br />

helping to meet the aesthetics of the design. It is an alternative<br />

material that can be used in particular building types and<br />

projects, such as airports, coastal work, industrial districts, and<br />

areas with highly corrosive conditions. The design, with its practical<br />

systematics, also helps to prevent overheating, providing<br />

heat protection from 0.11 W/m2K, good noise prevention, and<br />

being able to provide sound protection from 31–75 dB.<br />

One advantage is that aluminum is flexible enough to respond<br />

to many modern designs. It can be bent neatly to give beauty<br />

and create works in ways that metal roofs cannot do. It also<br />

has a more than 30-year service life and a high-quality coating<br />

system with various shades of color.<br />

หลังคาโลหะอื่นๆ<br />

หลังคาทองแดง หลังคาสังกะสีผสมไททาเนียม หลังคาไททาเนียม เป็น<br />

หลังคาที่ให้ความสวยงามทรงคุณค่าด้วยสัจจะของวัสดุ มีคุณลักษณะ<br />

เฉพาะเฉพาะแตกต่างจากหลังคาโลหะที่ใช้กันทั่วไป มีความคงทนต่อ<br />

สภาวะอากาศ ทนการกัดกร่อนสูง ลดภาระการดูแลรักษา แต่ก็จะมีราคา<br />

ค่อนข้างสูงต้องอาศัยผู้ติดตั้งที่มีประสบการณ์เฉพาะเข้ามาดำาเนินการ<br />

การใช้งานหลังคาทองแดงในต่างประเทศได้รับการพิสูจน์ยืนยันโดยมี<br />

อายุการใช้งานยาวนานนับร้อยปี ทนทานสภาวะอากาศ ทนสภาพการ<br />

กัดกร่อนได้อย่างดีเยี่ยม ให้ความสวยงามร่วมสมัย มีลักษณะเฉพาะ<br />

แตกต่างจากวัสดุหลังคาอื่นๆ จนมีการพัฒนาวัสดุโลหะทางเลือกเพื่อ<br />

การใช้งานหลังคาให้มีประสิทธิภาพ อายุการใช้งานไม่ด้อยไปกว่าหลังคา<br />

ทองแดง<br />

9<br />

8<br />

<strong>12</strong><br />

13<br />

Copper roof<br />

Copper roofs, zinc alloy roofs, and titanium roofs are a few<br />

examples of metal roofing that provide beauty and natural<br />

value with the truth of the material. Some unique features of<br />

these materials that are different from other metal roofs commonly<br />

used are their resistance to weather conditions, high<br />

corrosion resistance, and reduced maintenance burden. But<br />

these qualities come at a relatively high price and usually<br />

require an experienced installer to perform them.<br />

Copper roofs abroad have been proven to last hundreds of<br />

years, with great weather and excellent corrosion resistance,<br />

providing contemporary beauty. These roofs are unique and<br />

distinctive. Recently, there has been an effort to develop<br />

alternative metal materials for practical roofing with a longlasting<br />

service life that is equally effective as conventional<br />

copper roofing.<br />

Problems with metal roofing<br />

The website www.sheffieldmetals.com has listed seven<br />

issues with metal roofing in addition to the noise that rain<br />

causes:<br />

14<br />

The oil canning effect is a phenomenon that occurs when<br />

metal hits light and the surface appears wavy and reflected.<br />

These reflections are uneven, thus creating effects that are<br />

not neat and beautiful. This is a typical feature of thin, smooth<br />

metal with a wide face, where when the metal is subjected to<br />

too much stress, it cannot maintain a flat shape, resulting in<br />

a visible wavy surface. This may be caused by the production<br />

section, sheet cutting, insufficient space for stretching or contracting,<br />

modifying the original structural form that causes<br />

stress or improper handling, and storage by the contractor.<br />

10<br />

Photo Reference<br />

8. skyscrapercenter.com<br />

9. californiathroughmylens.com<br />

10. brabbu.com<br />

11-13. Picture Credit: Kingspan<br />

14. mainichi.jp


110<br />

materials<br />

METAL ROOFING MATERIALS<br />

111<br />

ปั ญหาหลังคาโลหะ<br />

นอกจากเรื่องของเสียงรบกวนที่เกิดจากฝนตกกระทบแผ่นหลังคาโลหะ<br />

แล้ว Website www.sheffieldmetals.com ได้กล่าวถึง 7 ปัญหาของ<br />

หลังคาโลหะ<br />

โลหะหย่อน (Oil Canning Effect) เป็นอาการที่เกิดขึ้นเมื่อโลหะกระทบ<br />

แสงแล้วพื้นผิวปรากฏเงาสะท้อนดูพลิ้วเป็นคลื่น สะท้อนแสงจะไม่<br />

สม่ำาเสมอกัน แลดูไม่เรียบร้อยสวยงาม ซึ่งเป็นลักษณะทั่วไปของโลหะ<br />

ผิวเรียบบางและมีหน้ากว้าง ที่เมื่อโลหะรับแรงเค้นมากเกินไปจนไม่<br />

สามารถคงรูปแบนราบจึงทำาให้เกิดพื้นผิวคลื่นที่มองเห็นได้ โดยอาจมี<br />

สาเหตุมาจากส่วนการผลิต การตัดแผ่น การที่พื้นที่ในการยืดหรือหดตัว<br />

ไม่เพียงพอ การปรับเปลี่ยนรูปแบบโครงสร้างเดิมที่ทำ าให้เกิดความเครียด<br />

หรือมีการจัดการ การจัดเก็บ ที่ไม่เหมาะสมโดยผู้ติดตั้ง แนวทางที่จะ<br />

ลดปัญหาโลหะหย่อนอาจทำาได้โดยการเพิ่มความหนาแผ่นโลหะ ใช้<br />

ลักษณะรูปลอนที่ลดขนาดพื้นผิวเรียบ เลือกใช้แผ่นวัสดุที่มีค่าการสะท้อน<br />

แสงต่ำาหรือมีลักษณะพื้นผิวแบบด้าน การเลือกซื้อแผ่นโลหะที่มีการปรับ<br />

สภาพความตึงผิวเพื่อจะได้ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงสู่สภาพเดิม ติดตั้งบน<br />

แผ่นรองรับหลังคาแบบเรียบ และสิ่งที่สำาคัญมากที่สุด คือ เลือกผู้ติดตั้ง<br />

ที่มีทักษะและประสบการณ์ มีความรู้ในการจัดการเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหา<br />

โลหะหย่อน<br />

การรั่วซึม (Leaking) เป็นเรื่องที่ไม่มีใครอยากให้เกิดขึ้น นอกจากจะ<br />

เกิดค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมแล้ว ยังสามารถทำาให้เกิดความเสียหาย<br />

กับสิ่งของมีค่าในอาคาร การรั่วซึมมีโอกาสเกิดขึ้นได้เสมอ ในบางกรณี<br />

เกิดจากธรรมชาติกระทำาซึ่งนอกเหนือการควบคุมของเรา หรือบ่อยครั้ง<br />

ก็เกิดจากความผิดพลาดของมนุษย์ สาเหตุที่นำาไปสู่การรั่วซึมของหลังคา<br />

ได้แก่ ภาวะฝนตกหนัก แรงลม ความเสียหายของโครงสร้าง สภาพ-<br />

อากาศลักษณะอื่นๆ รวมถึงการติดตั้งที่ผิดพลาด การใช้วัสดุอุปกรณ์<br />

ไม่ถูกต้องเหมาะสม<br />

The solution to reducing the problem of metal slack could be<br />

to increase the thickness of the metal sheet, use a corrugated<br />

appearance that reduces the size of a smooth surface, select<br />

a sheet profile with low reflectivity or a matt finish, or those<br />

that have been adjusted to the surface tension so that it will<br />

not change to the original condition, or install them on a flat<br />

roof support plate. The most important thing is choosing<br />

skilled and experienced builders with management skills and<br />

knowledge to avoid metal slack problems.<br />

Leaking is a common problem that causes damage to valuables<br />

and incurs repair costs, but it is always possible. In<br />

some cases, natural actions are beyond control, often due to<br />

human error. Causes that lead to roof leakage include heavy<br />

rain, strong winds, structural damage, and other weather<br />

conditions, including faulty installations or improper use of<br />

equipment.<br />

Scuffing and scratching can occur in the same way on painted<br />

or coated materials. Such marks can appear at all stages,<br />

from slitting, coiling, and transportation to installation at the<br />

construction site or trampling on the roof. Contractors and roof<br />

installers must pay attention to management and care to avoid<br />

damage to the surface of the roof sheet material that may occur.<br />

However, if the damage causes a deep groove in the material,<br />

it may be necessary to replace the sheet immediately.<br />

Corrosion can occur with different types of roofing materials.<br />

The appropriate materials and coatings will help prevent<br />

corrosion. In general environments and those that are highly<br />

corrosive, such as industrial areas, the area near the sea has<br />

high salinity. Additional considerations include the protective<br />

coating on the back surface of the metal roof, dissimilar metal<br />

corrosion, and prevention of corrosion around the cutting edge.<br />

15<br />

16<br />

การขูดขีดจากวัตถุเกิดเป็นรอย (Scuffing & Scratching) สามารถเกิด<br />

ขึ้นได้ลักษณะเดียวกันกับวัสดุที่มีการเคลือบสี การเกิดรอยดังกล่าวเกิด<br />

ได้ในทุกขั้นตอนตั้งแต่การตัดแบ่งแผ่น การม้วนแผ่น การขนส่ง จนถึง<br />

การติดตั้งที่สถานที่ก่อสร้าง การเหยียบย่ำาบนหลังคา ผู้รับเหมา ผู้ติดตั้ง<br />

งานหลังคาจึงต้องให้ความสำาคัญในการจัดการดูแล เพื่อไม่ให้ผิวหน้า<br />

วัสดุแผ่นหลังคาเกิดความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ทั้งนี้หากความเสีย<br />

หายนั้นกินเข้าไปในเนื้อวัสดุมากอาจเป็นความจำาเป็นต้องเปลี่ยนแผ่น<br />

โดยทันที<br />

Dissimilar metals and materials that come into contact can<br />

cause deterioration. For example, aluminum-zinc-coated steel<br />

roofing performs better when not exposed to copper, brick,<br />

lumber, steel, or concrete. Contact with such materials will<br />

cause galvanic corrosion. Therefore, the suitability of using<br />

all materials in the roof installation must be overseen and<br />

checked.<br />

17<br />

การกัดกร่อน (Corrosion) สามารถเกิดขึ้นได้กับวัสดุหลังคาประเภท<br />

ต่างๆ วัสดุและระบบเคลือบผิวที่เหมาะสมจะช่วยป้องกันการกัดกร่อน<br />

ในสภาวะแวดล้อมทั่วไป สภาวะแวดล้อมที่จะมีการกัดกร่อนสูง เช่น<br />

ย่านอุตสาหกรรม พื้นที่ใกล้ทะเลมีความเค็มสูง นอกจากนั้นเรื่องที่ต้อง<br />

พิจารณาเพิ่มเติม ได้แก่ การเคลือบป้องกันพื้นผิวด้านหลังของหลังคา<br />

โลหะ การกัดกร่อนจากการสัมผัสของโลหะต่างชนิดกัน (Dissimilar<br />

metal corrosion) การป้องกันการกัดกร่อนบริเวณขอบแผ่นตัด<br />

Photo Reference<br />

15. kme.com<br />

16. rheinzink.com<br />

17. stylepark.com<br />

18. rheinzink.com<br />

19-20. sheffieldmetals.com<br />

18<br />

19<br />

20


1<strong>12</strong><br />

materials<br />

METAL ROOFING MATERIALS<br />

113<br />

23<br />

21<br />

22<br />

24<br />

โลหะและวัสดุต่างชนิด (Dissimilar Metals & Materials) ที่สัมผัสกัน<br />

อาจทำาให้เกิดการเสื่อมสภาพ ตัวอย่างเช่น หลังคาเหล็กเคลือบอะลูมิเนียม<br />

ผสมสังกะสีจะทำาหน้าที่ได้ดีเมื่อไม่ได้สัมผัสกับวัสดุทองแดง อิฐ ไม้<br />

แปรรูป เหล็ก และคอนกรีต โดยที่เมื่อได้สัมผัสกับวัสดุดังกล่าวจะเกิด<br />

การกัดกร่อนอันเนื่องจากความต่างศักย์ (Galvanic Corrosion) ดังนั้น<br />

จึงต้องมีการตรวจสอบความเหมาะสมของการใช้วัสดุอุปกรณ์ทุกส่วน<br />

ในการติดตั้งงานหลังคา<br />

สีเกิดเป็นฝุ่นผง ซีดจาง (Chalking & Fading) สามารถเกิดขึ้นได้กับ<br />

งานหลังคาโลหะเคลือบสี การเกิดฝุ่นขาวบนพื้นผิวเคลือบสีเกิดจากการ<br />

เสื่อมสภาพของเรซินเมื่อสัมผัสรังสี UV การซีดจางเกิดเมื่อเม็ดสีที่ใช้<br />

กับพื้นผิวโลหะสลายตัวเนื่องจากรังสี UV น้ำา มลภาวะ สารเคมี ซึ่งส่ง<br />

ผลให้สีเปลี่ยนแปลงไป สีที่ซีดจางอาจเกิดขึ้นไม่เท่ากันเนื่องจากหลังคา<br />

ไม่ได้ถูกแสงแดดและสารอื่นๆ อย่างสม่ำาเสมอ การใช้หลังคาโลหะเป็น<br />

เนื้อวัสดุที่มีความคงทน ไม่ต้องมีการเคลือบสีจะช่วยไม่ให้เกิดปัญหาใน<br />

เรื่องนี้ ในกรณีจำาเป็นต้องมีสีเคลือบควรพิจารณาเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่มี<br />

ระบบเคลือบสีคุณภาพสูง มีการทดสอบยืนยันประสิทธิภาพการใช้งาน<br />

ในระยะเวลานาน<br />

ความผิดพลาดจากการติดตั้ง (Other Installation Error) เป็นเรื่องที่<br />

ไม่สามารถจะคาดเดาได้ เช่น ชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์ติดตั้งหายไป สกรู<br />

หลวมเกินไป การติดตั้งครอบกันน้ำาหลังคาไม่ดี เป็นต้น การเลือกใช้<br />

ผู้ติดตั้งที่ถูกต้องเหมาะสมจะช่วยลดปัญหาอันอาจจะเกิดขึ้นได้ดังที่กล่าว<br />

มาข้างต้นอาจกล่าวได้ว่า ผู้ติดตั้งเป็นหนึ่งในปัจจัยหลักของปัญหาต่างๆ<br />

ในงานหลังคาโลหะ ดังนั้นการเลือกใช้ผู้ติดตั้งที่มีทักษะ มีประสบการณ์<br />

ความรู้ สามารถจัดการกับโจทย์ที่มีได้เป็นอย่างดี นับได้ว่าเป็นเรื่อง<br />

สำาคัญมาก นอกจากการกำาหนดผลิตภัณฑ์ที่จะนำามาใช้งานแล้ว<br />

สถาปนิกควรระบุชื่อผู้ติดตั้งไว้ด้วยโดยสามารถตรวจสอบกับทาง<br />

ผลิตภัณฑ์ ซึ่งยังต่อเนื่องไปถึงการรับประกันที่ไม่ใช่เป็นเรื่องแต่เฉพาะ<br />

ผลิตภัณฑ์เท่านั้น ยังต้องให้ครอบคลุมไปถึงเรื่องของการติดตั้งด้วย<br />

หากพูดถึงเรื่องของการรับประกันหลังคาโลหะจะมีเงื่อนไขที่สถาปนิก<br />

ควรจะรู้ด้วยว่า อาจมีบางสิ่งที่ทำาให้ไม่ถือว่าอยู่ภายใต้การรับประกัน<br />

ผลิตภัณฑ์แผ่นหลังคาเหล็ก Lysaght กล่าวถึงกรณีการไม่รับประกัน<br />

การผุกร่อน เช่น ความเสียหายที่เกิดจากการใช้เครื่องมือ สารเคมี หรือ<br />

ความเสียหายอื่นๆ ที่เกิดขึ้นก่อน ระหว่าง หรือภายหลังการติดตั้ง การ<br />

สัมผัสกับตัวทำาปฏิกิริยานอกเหนือจากฝนตกตามธรรมชาติ การขาด<br />

การทำาความสะอาดในบริเวณที่ไม่ถูกฝนชะล้างตามธรรมชาติ พื้นที่<br />

ผลิตภัณฑ์สัมผัสกับโลหะที่ไม่เข้ากัน หรือพื้นที่ที่รองรับของเหลวที่ไหล<br />

มาจากบริเวณที่มีวัสดุดังกล่าว การขาดการกำาจัดเศษเหล็ก ฝุ่นเหล็ก การ<br />

จัดการเพื่อให้เกิดการระบายน้ำาได้โดยสะดวก การผุกร่อนของผลิตภัณฑ์<br />

อันเกิดจากการสัมผัสกับเศษไม้ กิ่งไม้สด หรือไม้ที่ผ่านกรรมวิธีทางเคมี<br />

การติดตั้งในบริเวณที่มีสภาพแวดล้อมรุนแรง ติดทะเล เขตอุตสาหกรรม<br />

หรือสภาพที่มีการกัดกร่อนสูง เป็นต้น<br />

Chalking and fading can occur with color-coated metal roofing.<br />

The degradation of the resin when exposed to UV rays is what<br />

causes white dust formation on painted surfaces. Fading<br />

occurs when pigments applied to metal surfaces deteriorate<br />

due to UV rays, water, pollution, and chemicals, which results in<br />

color discoloration. Color fading may occur unevenly because<br />

the roof is not consistently exposed to sunlight and other substances.<br />

The use of metal roofing as a durable material with<br />

no paint will avoid this problem. It is advisable to consider<br />

using a high-quality coating system if a coating is required.<br />

There is a test to confirm the effectiveness of long-term use<br />

and durability.<br />

Other unpredictable installation errors are, for example, missing<br />

parts or accessories, screws too loose, poor roof waterproofing<br />

installation, etc. Choosing the right contractors will help reduce<br />

such problems.<br />

As mentioned earlier, contractors are one of the main factors<br />

in metal roofing problems. Therefore, choosing a contractor<br />

that is skilled, knowledgeable, experienced, and able to deal<br />

with onsite or preconstruction problems very well is very<br />

important. In addition to determining the products that will be<br />

used, it is recommended that architects specify the contractor’s<br />

name as well. This can be checked with the suppliers, and<br />

the non-product-specific warranty must also cover the matter<br />

of installation.<br />

Concerning the warranty of metal roofs, architects should know<br />

that some conditions and issues are not covered under warranty.<br />

For example, the Lysaght steel roofing sheet mentioned cases<br />

where corrosion is not warranted, such as damage caused by<br />

the use of tools, chemicals, or other damage that occurs before,<br />

during, or after installation; exposure to reagents other than<br />

natural rain; lack of cleaning in areas that are not naturally<br />

washed away by rain; places where the product is in contact<br />

with incompatible metals, or areas that support liquids flowing<br />

from where such material is located; lack of removal of iron<br />

scraps and iron dust; management for drainage; product corrosion<br />

caused by exposure to wood chips, fresh twigs, or chemically<br />

treated wood; installation in harsh environments, near the<br />

sea; industrial areas; highly corrosive conditions, etc.<br />

25<br />

Photo Reference<br />

21. facebook.com/photo?fbid=134219708704253&set=pb.100063486732747.-2207520000<br />

22-25. sheffieldmetals.com


114<br />

materials<br />

METAL ROOFING MATERIALS<br />

115<br />

มาตรฐานอ้างอิง<br />

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมของไทยในปัจจุบันมีการกำาหนด<br />

มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับงานหลังคาโลหะ ได้แก่ มอก. 1<strong>12</strong>8-2562<br />

แผ่นเหล็กมุงหลังคา มอก. 1038-2535 กระเบื้องแผ่นเหล็กเคลือบ<br />

มุงหลังคา มอก. 2132-2564 เหล็กแผ่นเคลือบสังกะสีโดยกรรมวิธี<br />

จุ่มร้อน และเคลือบสี: แผ่นลอน มอก. 3059-2563 เหล็กกล้าทรงแบน<br />

เคลือบสังกะสีผสมอะลูมิเนียม 0.5% ถึง 6% และแมกนีเซียม 0.4%<br />

ถึง 4% โดยกรรมวิธีจุ่มร้อน มอก. 2753-2559 เหล็กกล้าทรงแบน<br />

รีดเย็น เคลือบอะลูมิเนียม 55% ผสมสังกะสี โดยกรรมวิธีจุ่มร้อน และ<br />

เคลือบสี มอก. 50-2565 เหล็กกล้าทรงแบนรีดเย็นเคลือบสังกะสี โดย<br />

กรรมวิธีจุ่มร้อน แผ่นม้วน แผ่นแถบ แผ่นตัด และแผ่นลูกฟูก สถาปนิก<br />

ผู้ออกแบบสามารถนำาไปใช้อ้างอิงในการทำาข้อกำาหนดวัสดุอาคารได้<br />

ส่วนมาตรฐานสากลทางด้านความปลอดภัยก็สามารถนำามาอ้างอิงเพื่อ<br />

ยืนยันประสิทธิภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ได้ เช่น FM 4471 Panel Roofs<br />

UL 580 Safety Testing for Uplift Resistance of Roof Assemblies,<br />

BS 476 Fire test on building materials and structures เป็นต้น ทั้งนี้<br />

ต้องตรวจสอบก่อนว่าผลิตภัณฑ์ที่จะระบุใช้งานนั้นได้ผ่านการรับรอง<br />

ตามมาตรฐานเหล่านั้นแล้วหรือไม่<br />

หลังคาโลหะสามารถนาวัสดุกลับมาใช้ใหม่ เป็ นมิตรกับสิ ่งแวดล้อม<br />

มีการสะท้อนความร้อนได้ดีขึ ้นอยู่กับผลิตภัณฑ์และระบบสีที่เลือก<br />

ใช้ งานหลังคาโลหะก็เช่นเดียวกันกับงานหลังคาทั่วไปที่มีเรื่องต้อง<br />

พิจารณาอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็ นการออกแบบเพื่อใช้งานในสภาวะแวดล้อม<br />

ที่แตกต่าง การระบายน้ำา การทา Overflow การทาช่องแสงบน<br />

หลังคา (Skylight) การเจาะทะลุของงานระบบอาคาร งานติดตั้ง<br />

อุปกรณ์ต่างๆ บนหลังคา การติดตั้งแผง Solar Cell ซึ ่งจะต้อง<br />

คานึงถึงการบารุงรักษา การซ่อมแซม ในบางกรณีอาจต้องให้ความ<br />

ปลอดภัยมีค่าการกันไฟในกรณีเกิดเหตุการณ์เพลิงไหม้ด้วย ทั้งนี้<br />

เพื่อไม่ให้เป็ นปั ญหานามาซึ ่งความเสียหายในชีวิตและทรัพย์สินอันที่<br />

สามารถจะเกิดขึ ้นได้ ในอนาคต<br />

27<br />

28<br />

Reference standards<br />

Currently, Thai industrial product standards have established<br />

standards related to metal roofing, including TIS 1<strong>12</strong>8-2562<br />

Roofing steel sheet, TIS 1038-2535 Coated steel sheet<br />

roofing tiles, TIS 2132-2564 Prepainted hot-dip zinc-coated<br />

steel: corrugated, TIS 3059-2563 Hot-dip zinc 0.5% to 6%<br />

aluminium 0.4% to 4% magnesium alloy-coated flat steel, TIS<br />

2753-2559 Prepainted Hot-DIP 55% Aluminium/Zinc-Coated<br />

Cold-Reduced flat steel, TIS 50-2565 Hot-dip zinc-coated<br />

cold reduced flat steel strips, sheets and corrugated sheets.<br />

Architects and designers can use these standards to prepare<br />

building material specifications.<br />

The international safety standards can also be referenced to<br />

confirm product performance, such as FM 4471 Panel Roofs,<br />

UL 580 Safety Testing for Uplift Resistance of Roof Assemblies,<br />

BS 476 Fire Test on Building Materials and Structures, etc.<br />

It is essential to check beforehand if the intended product is<br />

certified to those standards.<br />

Metal roofs are reusable and environmentally<br />

friendly. It has good heat reflection, depending on<br />

the product and paint system. Metal roofing is no<br />

different than other roofing materials in that it has<br />

to be considered in many areas, such as designing<br />

for use in different environments, drainage, overflow,<br />

skylights, penetration of building systems,<br />

installation of various equipment on the roof,<br />

and installation of solar cell panels, which must<br />

take into account maintenance, repairs. In some<br />

cases, we may have to provide safety with a fire<br />

protection value in the event of a fire so as not to<br />

be a problem that will cause damage to life and<br />

property in the future.<br />

อนุเคราะห์ข้อมูลและรูปภาพ: BLUESCOPE, KINGSPAN<br />

29<br />

Photo Reference<br />

26-27. ppa-europe.eu<br />

28. csereport2005.bluescopesteel.com<br />

29. greenstarcoatings.com<br />

26<br />

ปฏิกร ณ สงขลา<br />

เป็ นสถาปนิกอาวุโส<br />

บริษัท สถาปนิก 49 จำากัด<br />

มีประสบการณ์ทำางาน<br />

มากกว่า 35 ปี ปั จจุบัน<br />

ยังเป็ นหัวหน้าโครงการ<br />

ISA Material Info Series<br />

กิจกรรมส่งเสริมข้อมูล<br />

ความรู้เกี่ยวกับวัสดุและ<br />

เทคโนโลยีการก่อสร้าง<br />

ของสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

Patikorn Na Songkhla<br />

is a Senior Architect at<br />

Architects 49 Limited,<br />

with more than 35 years<br />

of work experience.<br />

Currently he Also serves<br />

as Head of ISA Material<br />

Info Series, activities to<br />

promote information<br />

and knowledge about<br />

construction materials<br />

and technology of the<br />

Association of Siamese<br />

Architects under royal<br />

patronage.


116 117<br />

BEMO<br />

Sheets and Panels for Roofs<br />

materials<br />

อาคารศูนย์ศิลปะแห่งชาติไต้หวัน ออกแบบ<br />

โดยทีมสถาปนิก Mecanoo จากเนเธอร์แลนด์<br />

ได้ชื่อว่าเป็นศูนย์ศิลปะการแสดงที่ใหญ่ที่สุดใน<br />

โลกที่อยู่ภายในอาคารเดียว อาคารขนาดกว้าง<br />

116 เมตร ยาว 225 เมตรนี้ มีพื้นที่ใช้งาน<br />

มากกว่า 140,000 ตารางเมตรมีลักษณะทาง<br />

สถาปัตยกรรมเด่นที่หลังคา ที่เป็นพื้นต่อเนื่อง<br />

ชิ้นเดียวในลักษณะรูปทรงอิสระตามสเปซ<br />

ตามฟังก์ชันการใช้งานด้านล่าง หลังคาขนาด<br />

มหึมานี้มีพื้นที่ประมาณ 35,000 ตารางเมตร<br />

BEMO ผู้ผลิตระบบหลังคาจากเยอรมนี เป็นทีม<br />

ดูแลงานก่อสร้างระบบหลังคาตั้งแต่ต้น ทำาให้<br />

แนวคิดในการออกแบบของสถาปนิกเป็นไปได้<br />

ด้วยความสามารถรูปแบบอิสระของ BEMO-<br />

MONRO ที่สามารถทำาชิ้นส่วนที่รองรับหลังคา<br />

รูปทรงพิเศษ<br />

การปรับความคลาดเคลื่อนทั้ง 4 ชั้นในโครงสร้าง<br />

หลังคาหนา 800 มม. ได้รับการออกแบบด้วย<br />

ระบบสแกน 3 มิติ และใช้แผ่นโลหะผลิตใน<br />

สถานที่ด้วยเทคโนโลยีเฉพาะของ BEMO<br />

ระบบ BEMO MONRO ช่วยให้สถาปนิก<br />

สามารถออกแบบได้อย่างอิสระโดยสมบูรณ์<br />

ในการสร้างชิ้นส่วนโลหะรูปทรงต่างๆ การติด<br />

ตั้งวัสดุปิดทับทำาด้วยโปรไฟล์เสริมแรงที่ยึด<br />

หลังคากันน้ำาแบบตะเข็บรอยต่อของ BEMO<br />

โดยไม่ต้องเจาะแผ่น และวางตำาแหน่งแผง<br />

ภายนอกได้ง่ายแม้ในที่ที่มีรูปทรงซับซ้อน<br />

The National Kaohsiung Center for<br />

the Arts in Taiwan, designed by leading<br />

Dutch architecture practice Mecanoo,<br />

is known as the world’s largest performing<br />

arts center under one roof. This<br />

116-meter-wide and 225-meter-long<br />

building has a usable area of more<br />

than 140,000 square meters, covered<br />

by a single, continuous, flowing roof<br />

according to the functions underneath.<br />

This gigantic roof covers an area of<br />

about 35,000 square meters.<br />

BEMO, a roofing system manufacturer<br />

from Germany, was involved from an<br />

early stage, making the architect’s<br />

design intent feasible with its unique<br />

BEMO-MONRO free-form competence,<br />

created to support a specially shaped<br />

roof. BEMO-engineered tolerance<br />

adjustments over the 4 layers in the<br />

800mm roof build-up are based on<br />

3D scans of the as-built structure.<br />

The roof panels were produced onsite<br />

with BEMO mobile technology.<br />

The BEMO MONRO systems allow<br />

the architect to design with complete<br />

freedom, creating multiple shapes of<br />

metal envelopes. The covering materials<br />

are installed with reinforcement profiles<br />

that clamp the BEMO standing seam<br />

watertight roof without any drilling<br />

of the sheets. The system offers easy<br />

positioning of external panels, even in<br />

the presence of complex shapes.<br />

bemo.com<br />

SHERA Zedar Shake<br />

Roof Materials<br />

ไม่ว่าเวลาจะผ่านไปนานแค่ไหน หลังคา<br />

กระเบื้องแป้นเกล็ดก็ยังได้รับความนิยมจาก<br />

คนที่ชื่นชอบสถาปัตยกรรมที่มีกลิ่นอายพื้นถิ่น<br />

หรือความงามธรรมชาติแบบรีสอร์ท ผู้ผลิต<br />

ไฟเบอร์คอมโพสิตชั้นนำาอย่างเฌอร่า จึงเสนอ<br />

ผลิตภัณฑ์หลังคาเฌอร่า ซีดาร์ เชค เพื่อเข้า<br />

มาตอบสนองความต้องการนี้ พร้อมๆ กับนำา<br />

เสนอการแก้ปัญหาเรื่องความทนทาน ทั้งจาก<br />

สภาพดินฟ้าอากาศต่างๆ และจากการกัดกิน<br />

ของปลวก มีระบบอินเตอร์ล็อค ที่ช่วยป้องกัน<br />

ปัญหาเรื่องการรั่วซึมของงานอีกด้วย<br />

เช่นเดียวกับผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของเฌอร่า<br />

วัสดุหลังคาซีดาร์ เชค ได้รับการพัฒนาให้มี<br />

พื้นผิวและสีสันที่สวยงามเสมือนไม้ธรรมชาติ<br />

ด้วยเทคโนโลยีผสมสีเนื้อผลิตภัณฑ์ (Color<br />

Through) ผ่านทางสีเปลือกไม้สามระดับ<br />

ที่มีเฉดสีต่างๆ ให้เลือก และมีหน้ากว้างของ<br />

ผลิตภัณฑ์ 3 ขนาด ทำาให้สถาปนิกสามารถ<br />

ออกแบบจัดเรียงแผ่นหลังคาได้ตามดีไซน์<br />

อย่างหลากหลายและอิสระ<br />

Traditional roof tiles made from teak<br />

wood, Paen Gled, and other shingle<br />

roofs have long been popular with<br />

people who love vernacular architecture<br />

or natural beauty like those tropical<br />

or resort-style buildings. SHERA, the<br />

leading fiber-composite material manufacturer,<br />

has created SHERA Zedar<br />

Shake roofing products that meet this<br />

need and offer solutions for durability,<br />

both from various weather conditions<br />

and from termites. There is an interlock<br />

system. That helps prevent the problem<br />

of leakage from the work as well.<br />

Like other SHERA products, Cedar<br />

Shake roofing material has been developed<br />

to have a beautiful texture and<br />

color similar to natural wood with Color<br />

Through technology through three<br />

levels of bark color. There are various<br />

shades to choose from, and there are<br />

3 sizes of product widths, allowing<br />

architects to design and arrange roofing<br />

sheets according to their design<br />

with variety and freedom.<br />

shera.com


118<br />

materials<br />

119<br />

Onduline<br />

Roof Sheets<br />

วัสดุมุงหลังคาที่มีลักษณะคล้ายกระเบื้องลอนนี้<br />

ถูกคิดค้นขึ้นในฝรั่งเศส เมื่อเกือบร้อยปีก่อน<br />

และได้รับการพัฒนาต่อมาในรัสเซีย ทำาให้<br />

Onduline เป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลายใน<br />

ยุโรป คุณสมบัติเด่นคือมีระยะลอนที่สวยงาม<br />

ขนาดแผ่นใหญ่ ประมาณ 0.95x200 ซม.<br />

หนา 3 มม. โดยมีความสูงของลอน 36 มม.<br />

และมีน้ำาหนักที่เบาเพียง 6 กก.<br />

คุณลักษณะเฉพาะตัวของ Onduline คือเป็น<br />

ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นจากเส้นใยเซลลูโลส ซึ่ง<br />

ผ่านกระบวนการให้ความร้อน การกดและสร้าง<br />

ลอน ที่อุณหภูมิประมาณ <strong>12</strong>0 องศา แล้วจึง<br />

เคลือบด้วยสีและชุบด้วยสารประกอบบิทูมินัส<br />

ซึ่งเป็นส่วนประกอบของแอสฟัลท์ หรือยาง<br />

มะตอย ซึ่งทั้งหมดนี้ทำาให้ Onduline มีข้อดี<br />

ในเรื่องความเบา การกันเสียง และการเป็น<br />

มิตรต่อสิ่งแวดล้อม นอกจากเรื่องของน้ำาหนัก<br />

ความยืดหยุ่นและรูปลักษณ์ที่สวยงาม ในขณะ<br />

ที่ข้อเสียที่ควรพิจารณา คือเรื่องของการทนไฟ<br />

วัสดุมีความปลอดภัยจากอัคคีภัยในระดับต่ำา<br />

เนื่องจากประกอบด้วยน้ำามันดิน และยังมี<br />

โอกาสที่จะเกิดกลิ่นซึ่งก็มาจากองค์ประกอบ<br />

ของวัสดุอย่างบิทูมิเมนที่นำามาใช้ผลิตนั่นเอง<br />

Onduline corrugated sheet was initially<br />

invented in France almost a hundred<br />

years ago. It was later developed in<br />

Russia, making Onduline widely popular<br />

in Europe. The outstanding features are<br />

its beautiful corrugation, strength, and<br />

lightweight. The sheet size is large, about<br />

0.95 x 200 cm, with a thickness of 3 mm,<br />

a corrugation height of 36 mm, and only<br />

6 kg per sheet.<br />

The unique feature of Onduline is that<br />

it is made from cellulose fibers, which<br />

undergo a heat treatment process of<br />

pressing and curling at a temperature<br />

of about <strong>12</strong>0 degrees, then are coated<br />

with paint and moistened with bituminous<br />

compounds, a component of<br />

asphalt or bitumen, all of which give<br />

Onduline advantages in terms of lightness,<br />

soundproofing, and environmental<br />

friendliness, in addition to its weight,<br />

flexibility, and beautiful appearance.<br />

While the disadvantage to consider is a<br />

matter of fire resistance, the material<br />

has a low level of fire safety since it<br />

contains bitumen. There is also a chance<br />

that there will be a smell when exposed<br />

to extreme heat, which comes from the<br />

bitumen used to produce it.<br />

onduline.com


<strong>12</strong>0<br />

PROFESSIONAL<br />

Between<br />

Architecture<br />

and<br />

Nature<br />

The founder and principal architect<br />

of Eco Architect, Khamron Sutthi,<br />

is a firm believer that<br />

architecture and ecology must be<br />

viewed as inseparable entities.<br />

Kamron has demonstrated an<br />

unchanging architectural identity<br />

and approach to architectural<br />

design throughout his career and<br />

via his expanding body of work.<br />

Text: Nuttawadee Suttanan<br />

Photo Courtesy of Eco Architect<br />

01<br />

The Motifs Eco Hotel<br />

จันทบุรี 1


professional<br />

ECO ARCHITECT<br />

<strong>12</strong>2 <strong>12</strong>3<br />

02<br />

สมาชิก Eco Architect<br />

Khamron Sutthi, the founder and principal architect of Eco Architect, is a firm<br />

believer that architecture and ecology must be viewed as inseparable entities.<br />

Khamron has demonstrated an unchanging architectural identity and approach<br />

to architectural design throughout his career and via his expanding body of work.<br />

3<br />

Experiences outside of textbooks<br />

Since his first year as an architecture student at Khon Kaen University, Khamron Sutthi’s<br />

summer breaks have consisted of him traveling into the jungle, spending time with himself,<br />

and interning. He used his internship to enhance and expand his abilities, knowing what he<br />

was still lacking in the career path he chose. At the time, there were just a few architecture<br />

firms in Khon Kaen where he could pursue an internship. Throughout his first three years of<br />

college, he chose Bangkok-based studios to do his internship. As he began his fourth year of<br />

studies, Khamron discovered that the Bangkok lifestyle wasn’t right for him. He began looking<br />

for studios outside of the capital city before settling on an internship with a Phuket-based<br />

firm. This internship was a watershed moment for him, propelling him to launch and pursue<br />

a career as a professional architect on this southern island in the Andaman Sea.<br />

Eco Architect ก่อตั้งโดย “แก้ว คำรน สุทธิ” สถาปนิก<br />

ผู้ยึดมั่นว่าสถาปั ตยกรรมกับธรรมชาติต้องเป็ นเรื่อง<br />

เดียวกัน และตลอดระยะเวลาการทำงานที่ผ่านมา เขา<br />

ก็ได้ ใช้ผลงานมากมายอธิบายตัวตนและแนวทางการ<br />

ออกแบบของเขาได้เป็ นอย่างดี<br />

ประสบการณ์ที่หาไม่ได้จากตำรา<br />

ตั้งแต่ปีแรกของการเป็นนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยขอนแก่น ทุกปิดเทอมภาคฤดูร้อน แก้ว คำรณ<br />

สุทธิ จะใช้เวลาที่เหลือจากการเข้าป่า อยู่กับธรรมชาติและ<br />

ตัวเอง ไปกับการฝึกงาน เพราะรู้สึกว่าตัวเองยังไม่เก่งพอ<br />

เขาจึงใช้การฝึกงานมาเพิ่มทักษะให้ตัวเอง ด้วยยุคสมัยนั้น<br />

ตัวเลือกบริษัทสถาปนิกสำหรับเข้ามาฝึกงานในขอนแก่นไม่<br />

ค่อยมีมากเท่าไหร่ คำรณจึงเข้ามาฝึกงานที่กรุงเทพมหานคร<br />

ตั้งแต่ปี 1 จนถึง ปี 3 จนเข้าปีที่ 4 ค ำรณเริ่มรู้สึกว่าการใช้<br />

ชีวิตที่กรุงเทพมหานครไม่เหมาะกับเขา เขาจึงหาที่ฝึกงานที่<br />

อยู่นอกกรุงเทพมหานคร ในที่สุดเขาก็ได้ที่ฝึกงานที่จังหวัด<br />

ภูเก็ต และการฝึกงานครั้งนี้ก็เป็นจุดเปลี่ยนส ำคัญที่ทำให้เขา<br />

เกิดความมุ่งมั่นที่จะเริ่มต้นชีวิตการเป็นสถาปนิกเต็มตัวที่<br />

จังหวัดภูเก็ตแห่งนี้<br />

หลังจากใช้ชีวิตเป็นสถาปนิกในบริษัทที่ภูเก็ตอยู่ 2 ปี ค ำรณ<br />

ก็ตัดสินใจออกมารับงานอิสระ ซึ่งถือว่าเป็นอีกจุดเปลี่ยนส ำคัญ<br />

ที่ทำให้เกิด Eco Architect ขึ้นในอีกหลายปีต่อมา เพราะ<br />

ระหว่างที่รับงานอิสระ เขาได้มีโอกาสออกแบบบ้านให้ลูกค้า<br />

ชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ภายในจังหวัดภูเก็ต ด้วยความคุ้นเคย<br />

กับงานร่วมสมัย จึงออกแบบบ้านเป็นรูปทรงร่วมสมัยซึ่งเป็น<br />

ที่นิยมในช่วงเวลานั้น แต่ผลลัพธ์กลับไม่เป็นอย่างที่คิดเพราะ<br />

เมื่อบ้านสร้างเสร็จแล้วกลับอยู่อาศัยไม่ได้เลย บ้านแสนเท่<br />

ในความคิดของเขาก็กลายเป็นเตาอบลมร้อนของผู้อยู่อาศัย<br />

และปัญหาจากการออกแบบในครั้งนั้น ทำให้เขาต้องย้อนกลับ<br />

มามองเรื่องแก่นของการออกแบบใหม่ทั้งหมด ผนวกกับ<br />

ภูมิประเทศของจังหวัดภูเก็ตที่ที่ดินส่วนมากเป็นเนินเขาท ำ<br />

ให้เขาเริ่มมีความเชี่ยวชาญการออกแบบบ้านบนที่สูง ซึ่งมี<br />

รายละเอียด ความซับซ้อนที่ต้องใช้ความรู้ ความเข้าใจเป็น<br />

อย่างสูงและการที่มีโอกาสได้ออกแบบบ้านให้ชาวต่างชาติ<br />

จำนวนมาก รูปแบบที่เป็นที่นิยมของชาวต่างชาติ คือ<br />

“เรือนไทยภาคกลาง” ทำให้จากที่แก้วเคยตั้งคำถามกับ<br />

การสร้างบ้านโดยเอารูปแบบของเรือนไทยภาคกลางมา<br />

เป็นส่วนหนึ่งในการออกแบบบ้านที่ภาคใต้เมื่อเวลาผ่านไป<br />

เขาก็ได้ค้นพบว่า รูปแบบของเรือนไทยภาคกลาง เมื่อน ำมา<br />

ประยุกต์เข้ากับบริบทของพื้นที่จังหวัดภูเก็ต กลับมีความ<br />

ลงตัวอย่างไม่น่าเชื่อ ประสบการณ์การท ำงานที่ใช้เวลาเรียนรู้<br />

และสั่งสมกว่า 7 ปี ทำให้เขาเริ่มตกผลึก และเห็นทิศทางงาน<br />

ออกแบบของตัวเองได้ชัดเจนขึ้น คำรณตัดสินใจไปเรียนต่อ<br />

ระดับปริญญาโท สาขานวัตกรรมการออกแบบนิเวศน์สถาปัตย์<br />

ที่ทำให้ได้เรียนรู้ว่า จริงๆ ธรรมชาติมีสิ่งที่เราไม่รู้และมี<br />

ประโยชน์กับเราเต็มไปหมด แต่เรามักจะมองข้าม และเป็น<br />

ที่มาของการก่อตั้งบริษัท Eco Architect หลังจากเรียนจบ<br />

2<br />

03<br />

คารน สุทธิ ผู้ก่อตั้ง<br />

Eco Architect<br />

04<br />

บรรยากาศการทางาน<br />

ของ Eco Architect<br />

4<br />

Khamron decided to leave his job as an architect at a Phuket-based firm after two years<br />

and work as a freelancer. The choice was yet another turning point in his life, eventually<br />

leading to the establishment of Eco Architect years later. He was offered the opportunity<br />

to design a house for a foreigner living in Phuket during his freelance days. Because of<br />

his expertise in contemporary architectural design, Khamron created a structure that was<br />

contemporary both in form and component, an aesthetic that was considered popular at the<br />

time. But the ultimate outcome was far from what he had hoped for. The completed building<br />

was nearly unlivable. The cool-looking abode he imagined became a living oven packed with<br />

scorching hot air. The project’s unsatisfactory end fundamentally altered his perspective and<br />

way of thinking about architectural design. Because of this realization, as well as the fact<br />

that the majority of Phuket’s geographical landscape is comprised of hillside and sloped<br />

lands, Khamron developed expertise in working with cliff-top landscapes and sites located<br />

high above ground level, which involve elaborate details and complications and necessitate<br />

extensive and in-depth knowledge and understanding. After designing multiple homes for<br />

foreign clients, the most preferred architectural style among this group of clients is the<br />

‘traditional Thai house from the central area of Thailand.’ Khamron, who used to wonder<br />

whether the architectural elements of a traditional Thai house from the central region would<br />

fit clients’ functional requirements and the context of the sites on an island in the south,<br />

eventually realized over time that the style and components of a traditional Thai house from<br />

central Thailand can be applied to the local context of Phuket and produce surprisingly<br />

ideal results.<br />

The experiences he has gained over the course of his seven years of work have manifested,<br />

and he can now see a clearer picture of the direction of his architectural design and philosophy.<br />

Khamron chose to pursue a master’s degree in Eco Architecture Innovations and<br />

Design, which led him to understand that nature is full of mysteries he doesn’t know about<br />

that are valuable to this planet—things that people often ignore or take for granted. After<br />

graduating, he used his newly accumulated knowledge to launch his own architecture firm,<br />

Eco Architect.<br />

We wish to create a coexisting ecosystem and architecture.<br />

Eco Architect was created with the intention of incorporating ecosystems into architectural<br />

design. “Being at ease and in harmony with nature is at the heart of every design because<br />

we desire a healthy ecosystem and architecture that can coexist.” Since its inception, the<br />

goal of Eco Architect has remained the same.


professional<br />

ECO ARCHITECT<br />

<strong>12</strong>4 <strong>12</strong>5<br />

“I’ve set myself the objective of designing houses that can genuinely<br />

breathe with nature. It’s not about us being able to survive, but about<br />

nature being able to continue existing--to keep on breathing. It’s a<br />

mutually beneficial relationship in which we take from nature and vice<br />

versa, all the while minimizing pollution and creating a truly comfortable<br />

living space.”<br />

เราอยากออกแบบระบบนิเวศควบคู่ไปกับสถาปั ตยกรรม<br />

Eco Architect เกิดขึ้นภายใต้ความตั้งใจที่จะออกแบบระบบ<br />

นิเวศควบคู่ไปกับสถาปัตยกรรม โดยการออกแบบทุกงาน<br />

จะมีหัวใจสำคัญคือ “ต้องอยู่สบายและต้องหายใจร่วมกับ<br />

ธรรมชาติ เพราะเราอยากออกแบบระบบนิเวศควบคู่ไปกับ<br />

สถาปัตยกรรม” และจากวันแรกจนถึงวันนี้ เป้าหมายของ<br />

Eco Architect ก็ยังคงเป็นเช่นเดิมไม่เคยเปลี่ยนแปลง<br />

“เราเกิดเป้ าหมายที่จะสร้างบ้านที่หายใจร่วมกับ<br />

ธรรมชาติได้ คือไม่ใช่ว่าเราหายใจได้คนเดียว ธรรมชาติ<br />

ก็ต้องมีชีวิตที่ยืนยาวต่อไป ธรรมชาติก็หายใจร่วมกัน<br />

ไป เหมือนเราดูแลธรรมชาติ ธรรมชาติดูแลเรา สร้าง<br />

มลภาวะให้น้อย สร้างมลพิษให้น้อย แล้วก็ทำให้บ้าน<br />

อยู่สบายจริงๆ”<br />

ในช่วงแรก งานของ Eco Architect มักเป็นงานจากลูกค้า<br />

เก่าที่เคยทำงานร่วมกันก่อน แต่เมื่อเวลาผ่านไป ด้วยความ<br />

พยายามตั้งใจให้ทุกงานที่เกิดขึ้นของ Eco Architect พิสูจน์<br />

ได้ว่า “อยู่สบาย” อย่างแท้จริงๆ” ผลงานทุกชิ้นจึงให้ความ<br />

รู้สึกถึงความเป็นบ้าน มีความสบาย มีความผ่อนคลาย แม้<br />

กระทั่งสำนักงานที่ภูเก็ต ก็เป็นอีกตัวอย่างที่ท ำให้ทุกคนเห็น<br />

ว่า นอกจากออกแบบบ้านให้คนอื่นได้อยู่สบายแล้ว สมาชิก<br />

Eco Architect ก็ทำงานแบบ “อยู่สบาย” จากลูกค้าเดิม จึง<br />

เกิดคำแนะนำแบบปากต่อปาก จนเกิดการขยายฐานลูกค้า<br />

เป็นความพยายามในการใช้งานพิสูจน์ตัวเองที่ประสบความ<br />

สำเร็จอย่างงดงาม และทำให้“บ้านอยู่สบาย บ้านที่หายใจร่วม<br />

กับธรรมชาติ” เป็นเครื่องหมายการค้าและภาพจำของ Eco<br />

Architect ตลอดมา<br />

จนถึงตอนนี้เราก็ยังอยู่แบบครอบครัว<br />

Eco Architect เริ่มจากคำรณเพียงคนเดียว ต่อมาในปีที่สาม<br />

ของบริษัท พนักงานคนแรกก็เข้ามาในตำแหน่งพนักงาน<br />

เขียนแบบ ตามมาด้วยสถาปนิก และมัณฑนากรเป็นลำดับ<br />

และใน 5 ปีที่ผ่านมา Eco Architect ได้มีการขยายบริษัทมา<br />

เปิดที่กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันสมาชิกของ Eco Architect<br />

ทั้ง 2 ทีม มีจำนวนรวมกัน <strong>12</strong> คน โดยจำนวนสมาชิกทั้งทีม<br />

ภูเก็ตและกรุงเทพฯจะมีประมาณไม่เกิน 6 คนต่อทีม<br />

5<br />

แม้จะมีการขยายบริษัท แต่จำนวนสมาชิกกลับไม่ได้เพิ่มมาก<br />

ขึ้นนัก ด้วยเหตุผลที่ว่าขนาดของบริษัทที่เป็นอยู่ในทุกวันนี้<br />

\ยังสามารถบริหารจัดการด้วยตัวคนเดียวได้ และสามารถ<br />

ทำให้ทุกคนทำงานได้อย่างมีความสุข<br />

“ปี แรกๆ บริหารแบบครอบครัว จนถึงตอนนี้เราก็ยังอยู่<br />

แบบครอบครัว”<br />

จากวันแรกที่ก่อตั้งจนถึงปัจจุบัน ำรณเป็นทั้งผู้ก่อตั้ง ค<br />

สถาปนิก<br />

ธุรการ บัญชี ฝ่ายบุคคล หรือแม้กระทั่งศูนย์กลางทางจิตใจ<br />

ของน้องๆ ในทีม เขามองว่าการทำงานอย่างที่ Eco Architect<br />

เป็นอยู่ จะทำให้ทุกคนในบริษัทรู้สึกว่าพวกเขาคือครอบครัว<br />

เดียวกัน และผลงานที่ดีก็จะเกิดจากการท ำงานที่ให้ใจกัน<br />

นั่นเอง<br />

ระบบบริหารจัดการของ Eco Architect มีกำหนดว่าหนึ่งต้อง<br />

ทำงานกี่ชั่วโมง แต่ไม่ได้มีก ำหนดเวลาในการเข้างานหรือ<br />

เลิกงาน สมาชิกทุกคนจะมีสมุดลงเวลาของตัวเอง ซึ่งต้องส่ง<br />

ให้คำรณทุกสิ้นเดือน โดยไม่จำกัดว่าจะเป็นการบันทึกลงใน<br />

คอมพิวเตอร์หรือสมุดบันทึก สิ่งที่บันทึกในสมุดลงเวลาเป็น<br />

เหมือนบันทึกประจำวันว่าแต่ละวันพวกเขาทำงานอะไรกัน<br />

นี่คือสิ่งที่ช่วยให้สามารถประเมินได้ว่า แต่ละคนในทีมท ำงาน<br />

อะไรอยู่บ้าง และเห็นจุดอ่อนหรืออุปสรรคของการท ำงาน และ<br />

ทำให้เขาสามารถให้คำแนะนำสมาชิกในทีมได้อย่างตรงจุด<br />

05-06<br />

บรรยากาศการทางาน<br />

ของ Eco Architect<br />

07<br />

บ้านสุขใจดี<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

6<br />

7<br />

The majority of Eco Architect’s first assignments were for former clients with whom Khamron<br />

had previously worked. As time passed, it became evident that all of Eco Architect’s efforts<br />

and ideas resulted in genuinely “livable” homes. Relaxing and thermally comfortable living<br />

spaces characterize their design, which simultaneously emanates a sense of warmth and<br />

belonging. Even their office in Phuket exemplifies the value of a comfortable work environment,<br />

which is something Kamrom prioritizes for Eco Architect’s employees, who are responsible for<br />

the studio’s renowned residential projects that feature high-quality living spaces. The studio’s<br />

clientele has increased due to the success of word-of-mouth among its existing clients. This<br />

development serves as proof of the studio’s success, which has been propelled by the quality<br />

of their work, and has made the expression “a comfortable home that shares the same breath<br />

with nature” not merely a catchphrase but a trademark and an integral part of Eco Architect’s<br />

identity.<br />

We were like a family back then, and we’re still like that now.<br />

Khamron was the one and only founder and staff member when Eco Architect began. In its<br />

third year, the studio employed its second team member to serve as a draftsman. An architect<br />

and an interior designer were eventually added to the studio. In the past five years, Eco<br />

Architect has expanded with a branch based in Bangkok. The studio presently has two<br />

teams and a total of <strong>12</strong> employees. The Bangkok and Phuket offices have no more than six<br />

working staff members due to Khamron’s desire to keep the firm small enough that he can<br />

run it alone and for his employees to maintain a happy working life.<br />

“We were like a family back then, and we’re still like that now.”<br />

Khamron has been the creator, principal architect, administration officer, accountant, human<br />

resource officer, and even the mentor—the go-to guy for his team members—since the<br />

company’s starting point. He believes that the present method by which Eco Architect is run<br />

will foster a sense that everyone at the organization is a family member and that exceptional<br />

works are the product of everyone’s mutual trust, understanding, and devotion.<br />

Kamrom runs Eco Architect on a flex time system, which outlines the daily working hours<br />

that each employee must meet without a set time signaling when to clock in and out. Each<br />

member of the staff has their own roster, which they must present to Khamron at the end of<br />

each month. The roster might be kept in a notebook or as a digital file. Each notebook contains<br />

daily updates on what each member of staff accomplishes on a daily basis. This method<br />

enables Khamron to evaluate the job that each staff member has done and is doing, as well<br />

as stay informed about the flaws or hurdles that each of his team members is dealing with,<br />

allowing him to give effective and relevant advice.<br />

“It’s almost as if they’re practicing keeping a journal. At the end of<br />

each month, I can assess their output as well as their workflow so<br />

that I may make the appropriate recommendations.”


PROFESSIONAL<br />

ECO ARCHITECT<br />

<strong>12</strong>6 <strong>12</strong>7<br />

8<br />

08<br />

บ้านสุขใจดี<br />

กรุงเทพมหานคร7


professional<br />

ECO ARCHITECT<br />

<strong>12</strong>8 <strong>12</strong>9<br />

“เป็ นเหมือนการสอนให้ฝึ กจดบันทึก พอสิ ้นเดือน เราก็<br />

จะสามารถประเมินได้ว่า คนนี้ทำงานอะไรบ้าง ความเร็ว<br />

ความช้าเป็ นแบบไหน เราก็จะได้แบบเข้าไปไปช่วยแนะนำ<br />

ไปช่วยเสริมได้”<br />

ด้วยแนวทางการบริหารจัดการที่อยู่กันแบบครอบครัว ท ำให้<br />

Eco Architect ไม่มีการนัดหมายประชุมอย่างเป็นทางการ<br />

แต่เป็นการพูดคุยแลกเปลี่ยนความก้าวหน้าในการท ำงาน<br />

ระหว่างกันตามสถานการณ์ บางครั้งคำรณก็เหมือนหัวหน้า<br />

ครอบครัว ที่ต้องคอยสังเกตสมาชิกแต่ละคน และเมื่อเห็นว่า<br />

ใครเริ่มมีปัญหาในการทำงาน เขาก็สร้างบทสนทนาเพื่อลด<br />

ความกังวลในการทำงาน หรือสร้างบรรยากาศการทำงานให้<br />

สนุกมากขึ้น<br />

การที่มีสมาชิก 2 ทีม อยู่กันคนละภูมิภาค ก็ไม่ได้ท ำให้การ<br />

ทำงานของ Eco Architect เกิดปัญหาหรือเป็นอุปสรรคใน<br />

การทำงานแต่อย่างใด คำรณวางจังหวะชีวิตในการทำงาน<br />

ของตนเองไว้ว่า ครึ่งเดือนแรกเขาจะอยู่ที่กรุงเทพฯ ส่วนครึ่ง<br />

เดือนหลังจะไปอยู่ที่ภูเก็ต ท ำให้เขาสามารถดูแลสมาชิกทั้ง 2<br />

ทีมได้อย่างครอบคลุม โดยอาจจะมีการปรับเปลี่ยนตามงาน<br />

ได้ในบางครั้ง และหากเกิดปัญหาในช่วงเวลาที่เขาไม่อยู่กับ<br />

ทีมจะใช้ระบบวิดีโอคอลกับสมาชิกในทีม ซึ่ง Eco Architect<br />

ใช้ระบบการทำงานเช่นนี้มาตั้งแต่ก่อนจะเกิดสถานการณ์<br />

โควิด 19 ที่ทำให้การทำงานในหลายองค์กรเริ่มใช้การประชุม<br />

ผ่านระบบออนไลน์มากขึ้น ดังนั้นในช่วงที่เกิดโควิดจึงแทบ<br />

ไม่ส่งผลกระทบต่อการทำงานของพวกเขา<br />

นอกจากนี้ Group Chat on Facebook Messenger คืออีก<br />

รูปแบบหนึ่งของการทำงานร่วมกันของ Eco Architect ที่<br />

น่าสนใจเป็นอย่างมาก คำรณใช้กลุ่มสนทนาออนไลน์นี้มา<br />

ตั้งแต่เริ่มแรกของการทำงาน<br />

เราจะพยายามสอนให้เด็กเรารู้ทุกเรื่อง<br />

คุณสมบัติสำคัญอย่างหนึ่งของการเป็นสมาชิกครอบครัว Eco<br />

Architect คือคำรณจะพยายามคัดเลือกสมาชิกที่เป็นคนใน<br />

พื้นที่นั้น ดังนั้นสมาชิกทีมภูเก็ตส่วนมากก็จะเป็นคนในภูเก็ต<br />

เช่นเดียวกับทีมกรุงเทพฯ ที่ถึงแม้จะมีความหลากหลาย<br />

มากกว่า แต่ส่วนมากจะเป็นคนกรุงเทพเช่นกัน สาเหตุของ<br />

การทำเช่นนี้ ส่วนหนึ่งก็เพราะความเชื่อว่า คนในพื้นที่นั้นๆ<br />

จะมีความรักในบ้านเกิดของพวกเขา แต่จะช่วยกันสร้างงาน<br />

ที่ทำให้เมืองของเขาเติบโตในแนวทางที่ดีได้<br />

สำหรับการคัดเลือกสมาชิก นอกจากภูมิลำเนา สิ่งที่คำรณ<br />

ให้ความสำคัญอันแรกคือ “การคัดเลือกจากแฟ้มสะสมผลงาน<br />

เพราะการดูผลงานที่ผ่านมา จะทำให้รู้ว่าคนคนนั้นเป็นคนแบบ<br />

ไหน หรือชอบงานออกแบบประมาณไหน แต่การสัมภาษณ์<br />

ก็เป็นหัวใจสำคัญที่สุดในการตัดสินใจรับสมาชิกคนใหม่ของ<br />

บ้านหลังนี้<br />

09-10<br />

บ้านสุขใจดี<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

11<br />

บรรยากาศการทางาน<br />

ของ Eco Architect<br />

10<br />

Eco Architect has never had an official planned meeting due to a management style that<br />

treats employees like family members. Meetings take the form of group talks in which everyone<br />

exchanges and shares progress on various projects as well as current issues. Khamron takes<br />

on the position of family head at times, monitoring each staff member. Whenever he observed<br />

one of his employees struggling, he would approach them with a conversation that would help<br />

ease their anxieties and worries, or even boost the mood and make the atmosphere lighter and<br />

more fun.<br />

Eco Architect’s operations are not hampered by having two teams working in two separate<br />

regions. Khamron arranges his month by spending the first half in Bangkok and the second<br />

half in Phuket. This enables him to keep an eye on the two teams. Changes can be applied<br />

in a variety of circumstances. If an issue arises while Khamron is not physically present in<br />

the Bangkok or Phuket offices, he will be on a video conference with the team members.<br />

Eco Architect employed this approach of working even before COVID-19, which prompted a<br />

revolution in the way corporations manage their businesses through the use of online meeting<br />

technology. This is one of the reasons why COVID-19 had so little of an impact on the studio’s<br />

production and efficacy.<br />

One of the methods utilized to facilitate Eco Architect’s internal operations is the group chat<br />

on Facebook Messenger. What’s particularly intriguing is how Khamron has used the platform<br />

since the very beginning of his studio, from accelerating duties and tasks to making comments<br />

and even amending works that require modification. “Online chats via our group chat keep<br />

everyone in the team informed and up to date on progress and obstacles and enable constructive<br />

problem-solving, especially when similar challenges are encountered, and one may apply<br />

previously presented solutions to their own work.”<br />

“I believe it is a good system in that it allows everyone to collaborate,<br />

learn, and grow together. For example, everyone in the team can<br />

benefit from a revision of a staff member’s work. When I make a suggestion,<br />

everyone can see the specifics and solutions I provide for a<br />

certain problem, and they can use that as a guideline to solve similar<br />

problems. It’s as though everyone is learning alongside one another,<br />

and there are no secrets since everyone can see everything.”<br />

ทั้งในการแบ่งงาน แนะนำ หรือแม้กระทั่งปรับแก้งานของ<br />

ทุกคนในทีม การคุยงานผ่านระบบสนทนาออนไลน์แบบกลุ่ม<br />

เช่นนี้ทำให้สมาชิกทุกคนในทีมรู้ว่าใครก ำลังทำอะไรอยู่ และ<br />

ใครติดขัดปัญหาอุปสรรคตรงไหน อย่างไร มีวิธีการแก้ไข<br />

ปัญหาอย่างไร และเมื่อเกิดปัญหาที่คล้ายคลึงกันกับตัวเอง<br />

ก็สามารถนำเอาแนวทางการทำงานไปใช้ร่วมกันได้<br />

I teach my staff about every aspect of the job.<br />

One of the requirements for being a part of the Eco Architect family, or at least what Khamron<br />

looks for when hiring new employees, is that the individual has to be from the region where<br />

the offices are situated. Simply put, the bulk of the Phuket office’s employees hail from Phuket,<br />

and the same is true for the Bangkok office, where, although having a more diversified crew,<br />

the majority of them are still from Bangkok. This arises in part from his idea that people’s<br />

passion for their hometowns would become a driving force behind their desire to push their<br />

communities ahead towards a better path and future.<br />

“เรารู้สึกว่าระบบนี้ดี ตรงที่ว่ามันทำให้เราได้เรียนรู้ ไป<br />

ด้วยกันและเกิดพัฒนาการในการทำงานร่วมกัน เช่น<br />

คนนี้ทำงานนี้อยู่ ส่งงานมายังไม่เรียบร้อย เมื่อเราปรับ<br />

แก้กลับไป คนอื่นก็จะเห็นการแก้งานของเราไปด้วย เขา<br />

ก็จะจำได้ว่าถ้าเป็ นงานลักษณะนี้ รายละเอียดจะเป็ นแบบ<br />

นี้ ควรทำอย่างไร เหมือนการเรียนรู้ ไปด้วยกัน มันจะไม่<br />

แบบไม่ได้มีความลับ ทุกคนก็จะเห็นด้วยกันทั้งหมด”<br />

9<br />

11<br />

In addition to their hometowns, Khamron’s first consideration when hiring a new team member<br />

is their “portfolio.” Each person’s work will help him understand their personality and preferred<br />

styles of work. Nonetheless, interviews are still an important part of Khamron’s decision to add<br />

a new member to this family of his.


professional<br />

ECO ARCHITECT<br />

130 131<br />

“When I interview someone, certain responses let me know whether the person<br />

shares the same vision and direction as me or not, which plays a significant role in<br />

my decision to ask them to join our team.” The work they have done serves as the<br />

initial filter, although it does not completely determine the choice I make. We may<br />

not be able to work effectively together even if someone has an excellent portfolio<br />

but has an altogether different attitude or philosophy, which is usually expressed<br />

during the interview.”<br />

Working on Eco Architect entails working closely with Khamron. One staff member will<br />

be in charge of three projects, each of which will take 1-2 years to complete. Seniority exists<br />

despite the flexibility of the work system, and everyone looks out for one another. While<br />

everyone has their own tasks and duties, the senior members of the team will show the<br />

younger ones the ropes.<br />

<strong>12</strong><br />

<strong>12</strong><br />

บ้านลอยลม ภูเก็ต<br />

“ตอนสัมภาษณ์ บางคำถามที่เราถามแล้วเขาตอบ แล้ว<br />

มันเป็ นแนวทางเดียวกับเรา เราก็จะรับเขาเข้ามาทำงาน<br />

ด้วยกัน ผลงานที่ผ่านมาคือเป็ นตัวคัดกรองด่านแรกให้<br />

เรา แต่ว่าไม่ได้มีผลถึงขนาดว่าเราจะต้องรับ ถ้าสมมุติ<br />

ผลงานดี ประทับใจมาก แต่สัมภาษณ์ ไปแล้วอาจจะ<br />

คนละแนวทางกัน ก็อาจจะไม่ได้ทำงานด้วยกันอยู่ดี”<br />

เมื่อได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัวEco Architect ทุกคน<br />

จะได้ทำงานร่วมกับคำรณโดยตรง โดย 1 คน จะได้รับผิดชอบ<br />

งานประมาณ 3 โครงการ ซึ่งระยะเวลาการทำงานมักจะ<br />

ยาวนานเป็นปีหรือสองปีและในความยืดหยุ่นของระบบการ<br />

ทำงาน ก็ยังมีระบบลำดับชั้นของรุ่นพี่-รุ่นน้อง ที่มีไว้เพื่อดูแล<br />

กันและกัน แม้ทุกคนจะได้รับผิดชอบโครงการของตัวเอง แต่<br />

รุ่นน้องที่เข้ามาใหม่ก็จะมีรุ่นพี่คอยบอกรายละเอียดการท ำงาน<br />

หรือแนะนำว่าควรทำอย่างไร<br />

ระบบการทำงานของ Eco Architect แบ่งเป็นการทำงานของ<br />

ทีมนักออกแบบและทีมเขียนแบบ การทำงานจะเริ่มจากทีม<br />

ออกแบบ และส่งต่อให้ทีมเขียนแบบในการเก็บรายละเอียด<br />

ทุกอย่างจนพัฒนาเป็นแบบก่อสร้าง หลังจากนั้นทีมออกแบบ<br />

จะเข้ามาดูแลเรื่องการก่อสร้างจนกระทั่งสร้างเสร็จสมบูรณ์<br />

สำหรับทีมนักออกแบบ สมาชิกในทีมจะต้องดูภาพรวมทั้ง<br />

ในส่วนของงานออกแบบสถาปัตยกรรมและออกแบบภายใน<br />

รวมถึงงานภูมิสถาปัตยกรรม แม้ว่าในทีมจะมีทั้งสถาปนิก<br />

และมัณฑนากร แต่ก็ไม่ได้มีการแบ่งขอบเขตการท ำงานกัน<br />

อย่างชัดเจน นักออกแบบ 1 คน จึงต้องทำงานทั้งออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรม และออกแบบภายใน แล้วก็สามารถดูภาพรวม<br />

ของงานภูมิสถาปัตยกรรมได้ ในส่วนรายละเอียดที่ซับซ้อน<br />

หรือต้องการความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษจะเป็นการท ำงานร่วม<br />

กับภูมิสถาปนิกจากภายนอก ดังนั้นทีมออกแบบที่รับผิดชอบ<br />

แต่ละโครงการจึงต้องดูแลตั้งแต่ต้นจนจบโครงการ เริ่มตั้งแต่<br />

การนำเสนอกับลูกค้า และจบงานเมื่อโครงการสร้างเรียบร้อย<br />

“เราจะพยายามสอนให้เด็กเรารู้ทุกเรื่อง เพราะว่าเรา<br />

ออกแบบสถาปั ตยกรรมกับระบบนิเวศ งานของเราจึง<br />

เป็ นเหมือนงานที่ต้องกลมกลืนและเป็ นเนื้อเดียวกัน”<br />

แม้จะแยกกันรับผิดชอบแต่ละโครงการ แต่ถ้าเกิดปัญหา<br />

ในการทำงาน ทุกคนในบริษัทก็จะมาช่วยกันจัดการงานให้<br />

เรียบร้อยร่วมกัน ดังนั้นสมาชิก ทั้ง 2 ทีม จึงมีโอกาสได้พูด<br />

คุยกันเสมอแม้จะทำงานคนละที่ก็ตามสิ่งเหล่านี้ต่างหลอมรวม<br />

ให้ Eco Architect กลมกลืนเป็นหนึ่งเดียวเหมือนกับงาน<br />

ออกแบบที่พวกเขาเขาสร้างสรรค์ขึ้นมา<br />

13<br />

บ้านลอยลม ภูเก็ต<br />

14<br />

แบบจาลอง บ้านลอยลม<br />

ภูเก็ต<br />

13<br />

14<br />

Eco Architect’s work method splits employees into two teams: production and design. The<br />

design team starts the work process, while the production team works on all the details to<br />

develop working drawings. The building process begins with the design team supervising and<br />

ensuring that everything is done according to plan. Members of the design team must keep<br />

their eyes on a project’s complete overview, from architecture to interior and landscape design.<br />

Despite the fact that we have architects and interior designers on our team, no clear line is<br />

drawn between the scopes of work. The members of the design team must be able to work<br />

on the architecture and interior design while overseeing the overall look and feel of landscape<br />

architecture. Details that are more complicated or require special expertise typically involve<br />

collaborating with outsourced landscape architects. But each design team is responsible for<br />

a project from inception to completion, from client presentations to finishing and handing over<br />

the completed work.<br />

“I try to teach my staff about every aspect of the job because our approach encompasses the<br />

design of both architecture and the ecosystem, and the works are like these unified creations<br />

of these two components that are interconnected and inseparable.” Despite having their own<br />

tasks and duties, every team member helps ensure that the jobs get done properly. This implies<br />

that while working in different locations, members of the two teams will always be in the loop.<br />

These factors keep Eco Architect in unison, much like the great works they create.<br />

A house that breathes the same air as nature.<br />

Almost throughout their decade-long career, Eco Architect has built a client base, with half<br />

of their clients being in Phuket and the other half being owners with projects around the<br />

country and beyond. Their most distant project to date is a restaurant in Malta that they codesigned<br />

with another architect from New York, as well as a project in Seim Reap, Cambodia.<br />

While the quantity of their overseas projects has declined owing to a variety of constraints,<br />

the majority of their clientele in Phuket are predominantly expats. The Bangkok branch, on the<br />

other hand, only has Thai clients. As a result of this distinction, the portfolios of the two offices<br />

vary. Projects in Phuket and other areas outside of Bangkok where nature is still a dominant<br />

element and weather conditions are still relatively good tend to have styles that differ from<br />

those in Bangkok, where spaces, neighborhoods, and several limitations and factors must<br />

be considered. Nonetheless, 80% of Eco Architect’s projects are domestic, with the basic<br />

principle of the design being “a house that breathes the same air as nature.” Meanwhile, in<br />

other projects such as hotels, resorts, restaurants, and cafés, “comfort” remains at the center<br />

of every design, from living to dining and resting spaces.<br />

“We create works to improve people’s quality of life; to allow them to take a<br />

full breath of fresh air because we want to design a house that shares the same<br />

breath as nature. That is the area in which we wish to excel.”


professional<br />

ECO ARCHITECT<br />

132 133<br />

บ้านที่หายใจร่วมกับธรรมชาติ<br />

ตลอดระยะเวลาเกือบ 10 ปี ของ Eco Architect ลูกค้าครึ่งหนึ่ง<br />

อยู่ภูเก็ต ส่วนอีกครึ่งหนึ่งกระจายไปทั่วประเทศตั้งแต่เหนือ<br />

จรดใต้ รวมไปถึงต่างประเทศ ไกลสุดสำหรับ Eco Architectu<br />

คือการทำร้านอาหารที่หมู่เกาะมอลตาร่วมกับสถาปนิกจาก<br />

นิวยอร์ก นอกจากนี้ยังมีงานที่เสียมเรียบ กัมพูชา ซึ่งปัจจุบัน<br />

ในส่วนของงานต่างประเทศจะลดน้อยลง เนื่องจากข้อจำกัด<br />

ต่างๆ สำหรับลูกค้าที่สาขาภูเก็ตส่วนมากจะเป็นต่างชาติมาก<br />

กว่าคนไทย ส่วนที่สาขากรุงเทพฯ จะเป็นคนไทยล้วน ท ำให้<br />

ลักษณะงานของทั้ง 2 พื้นที่มีความแตกต่างกัน งานที่ภูเก็ต<br />

หรือที่ต่างจังหวัดอื่นๆ ด้วยความที่ยังมีความเป็นธรรมชาติ<br />

อากาศยังดี รูปแบบงานก็จะเป็นรูปแบบที่แตกต่างจากงาน<br />

ที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีความซับซ้อนมากกว่า<br />

และมีหลายปัจจัยที่ต้องคำนึง แต่ถึงอย่างไรผลงานของ Eco<br />

Architect ประมาณ 80% ก็จะเป็นการออกแบบบ้านซึ่งมี<br />

แนวคิด “บ้านที่หายใจร่วมกับธรรมชาติ” เป็นหัวใจการ<br />

ออกแบบ นอกจากนี้ งานที่เหลือก็เป็นโรงแรม รีสอร์ท ร้าน<br />

อาหารหรือร้านกาแฟ ทุกงานออกแบบจะต้อง “อยู่สบาย”<br />

ไม่ว่าจะเป็นอยู่บ้านสบาย กินอาหารสบาย หรือพักผ่อนสบาย<br />

“ไม่ใช่ว่าเราไปสร้างเพื่อเท่ๆ แต่ว่ามันต้องไปช่วยให้<br />

คุณภาพชีวิตเขาดีขึ ้น หรือว่าให้เขาหายใจได้เต็มปอด<br />

เพราะเราอยากออกแบบบ้านที่หายใจร่วมกับธรรมขาติ<br />

เราอยากจะเป็ นผู้เชี่ยวชาญด้านนี้”<br />

ขั้นตอนแรกของการทำงานและเป็นหัวใจที่ Eco Architect ให้<br />

ความสำคัญ คือ การเก็บข้อมูลพื้นที่โครงการ โดยจะเริ่มจาก<br />

การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่โดยรอบที่ตั้งโครงการ (Site surrounding)<br />

ทั้งการเก็บข้อมูลภาพรวมของที่ดิน และการเก็บ<br />

ข้อมูลความเร็วลม ทิศทางแดด ลม ข้อมูลฝน มาประกอบกัน<br />

ทั้งหมด เป็นการพยายามใช้ประโยชน์จากธรรมชาติที่มีอยู่<br />

มาใช้ในการออกแบบให้มากที่สุด<br />

“เรื่องการเก็บข้อมูลสำคัญ เพราะว่าก่อนออกแบบแล้ว<br />

ต้องไปรู้ว่าข้อมูลที่อยู่รอบๆ มันเป็ น ทั้งแดดลมฝน น ้ำ<br />

ทุกอย่าง สำคัญหมด”<br />

อีกขั้นตอนหนึ่งของการทำงานที่อาจจะเรียกได้ว่าป็นความ<br />

พิเศษของ Eco Architect คือการทดลองจำลองการหันหน้า<br />

ของบ้านรูปทรงต่างๆ ในแต่ละทิศ เพื่อดูว่าทิศไหนที่เหมาะ<br />

กับบ้านทรงแบบนี้ ต้องวางบ้านในทิศไหน จะร้อนหรือไม่<br />

แล้วก็ทำการบันทึกไว้ เป็น “คัมภีร์” ที่ส่งต่อให้สมาชิกในทีม<br />

ได้ใช้งาน ซึ่งเป็นนำความรู้จากการเรียนระดับปริญญาโท<br />

ของคำรณมาประยุกต์ใช้กับการทำงาน งานทุกหลังเขาจะ<br />

เป็นคนวางทิศให้ว่าบ้านหลังนี้ แสงเข้า ลมเข้า แต่ไม่จ ำเป็น<br />

ต้องทำการจำลองแบบนี้กับทุกหลัง ในกรณีที่งานไหนมี<br />

รูปแบบหรือบริบทที่คล้ายคลึงกัน ก็สามารถน ำ “คัมภีร์”<br />

นี้ไปปรับใช้งานได้ทันที<br />

“เราใช้หลายๆ อย่างมาประกอบในการทำงาน แต่เน้น<br />

เรื่องการนำองค์ความรู้เรื่องพลังงานที่มีมาประกอบ<br />

ด้วย มันจะไม่ใช่แค่สภาพแวดล้อมแบบนี้ สร้างแบบนี้<br />

แต่เราก็ใช้องค์ความรู้เรื่องพลังงานที่เรามีมาประกอบ<br />

เพราะว่าเราจะอยู่สบายไม่ได้ ถ้าเราไม่เข้าใจบริบท”<br />

15<br />

แบบจาลอง The Motifs<br />

Eco Hotel จันทบุรี<br />

16-17<br />

The Motifs Eco Hotel<br />

จันทบุรี<br />

16<br />

The first and most important element in Eco Architect’s work process is data collection.<br />

From site surrounding study to overall site condition, to specifics of wind directions and<br />

speeds, sun trajectories, and seasonal rainfall, information on a site is diligently acquired<br />

and evaluated. Everything will be considered in the development of a design, allowing for<br />

the best use of natural surroundings and conditions.<br />

“Data collection is critical because we need to know about these surrounding<br />

factors before creating a design, whether it’s sunlight, wind, rain, or water.”<br />

Another phase, and maybe one of Eco Architect’s notable characteristics, is the creation<br />

of models to study variations of building orientation. The method aids the design team in<br />

researching and determining the best orientation for each type of house, as well as whether a<br />

certain orientation for a certain type of house would result in a higher interior temperature or<br />

not. The results have been collected and compiled into the studio’s “bible,” which everyone<br />

on the team may access. This methodology is an application of what Khamron learned<br />

throughout his post-graduate studies. For each project, Khamron would concentrate on<br />

building orientation, ensuring that each house or structure makes the maximum use of natural<br />

light and ventilation. Because of the ‘bible,’ any project with similar details or context to the<br />

previously documented issues and solutions might benefit from the collected data.<br />

“We incorporate a lot of elements and factors into our work process, but we<br />

particularly focus on the integration of our growing body of knowledge in<br />

energy, knowing that a comfortable living experience can never be achieved<br />

without a true understanding of the context.”<br />

17<br />

Bann Sook Jai Dee (Bangkok) transforms the owner’s lifestyle from one of spending most of<br />

each day in an air-conditioned room to one of relishing living in a house where an air conditioner<br />

is no longer essential. Bann Loi Lom (Phuket) demonstrates a superb use of nature’s<br />

enormous potential with a roof structure built to carry rainwater to a water tank placed<br />

beneath the elevated floor of the house, providing a year-round supply of rainwater to the<br />

residents. A drone was used to assist with data collection, which led to the conclusion that<br />

lifting the home 8 meters higher would eliminate the need for air conditioning. The design of<br />

Motif Eco Hotel produces a building that breathes in sync with nature. By building the rooms<br />

with a space in the middle that allows for each unit to open to the presence of nature, the<br />

work proves and verifies that a house that breathes the same air as nature is a viable notion<br />

that has been translated into practical architectural creations.<br />

We are who we are, and they are who they are, and we have all been brought together. The<br />

majority of the studio’s early clientele were foreigners who prioritized energy conservation<br />

and environmental concerns. Eco Architect has demonstrated significant understanding of<br />

these subjects through their work as they learn through each project that they produce.<br />

15<br />

“They value natural wind and the process of making a house accommodate<br />

and enhance natural airflow and ventilation. It taught me not to make functions<br />

overlap when designing a home and making what the purpose of this<br />

functional area is obvious, while being sure they don’t hinder each other’s<br />

airflow. Apart from that, in situations where they can, the eaves should extend<br />

as far as possible. It’s also vital to think about how to keep a structure and<br />

its inhabitants as sheltered from the sun as possible.”


professional<br />

ECO ARCHITECT<br />

134 135<br />

บ้านสุขใจดี (กรุงเทพมมหานคร) ที่สามารถเปลี่ยนวิถีชีวิต<br />

จากคนที่อยู่ห้องแอร์มาตลอดชีวิต ให้ไปอยู่แบบไม่เปิดแอร์<br />

แล้วรู้สึกมีความสุขกว่า หรือ บ้านลอยลม (ภูเก็ต) ที่ดึง<br />

ศักยภาพของธรรมชาติมาใช้ในการออกแบบได้อย่างมาก<br />

ตัวอย่างเช่น การเลือกทำหลังคาเพื่อรับน้ำฝน แล้วเอาน้ำฝน<br />

มาเก็บไว้ใต้ถุนบ้าน ทำให้สามารถใช้น้ำฝนได้ทั้งปี หรือการ<br />

ใช้โดรนบินขึ้นไปเก็บข้อมูล แล้วได้ผลจากการวิเคราะห์ว่า<br />

ถ้ายกบ้านขึ้นประมาณ 8 เมตร บ้านหลังนี้จะไม่ต้องเปิด<br />

เครื่องปรับอากาศ และ The Motifs Eco Hotel ที่ออกแบบให้<br />

เป็นโรงแรมที่หายใจร่วมกับธรรมชาติ ด้วยการออกแบบเป็น<br />

ห้องที่แทรกด้วยพื้นที่ตรงกลาง ท ำให้ทุกห้องสามารถเปิดหา<br />

ธรรมชาติได้ ล้วนเป็นบทพิสูจน์และยืนยันว่า “บ้านที่หายใจ<br />

ร่วมกับธรรมชาติ” ไม่ใช่แค่แนวคิดที่จับต้องไม่ได้ แต่ Eco<br />

Architect สามารถสทำให้สิ่งเหล่าเกิดขึ้นได้และมีอยู่จริง<br />

เราก็เป็ นเรา เขาก็เป็ นเขา แล้วเราก็มาเจอกัน<br />

ช่วงแรกของ Eco Architect ลูกค้าส่วนมากคือชาวต่างชาติ<br />

ซึ่งให้ความสำคัญกับเรื่องการประหยัดพลังงาน นอกจากจะ<br />

ได้เรียนรู้จากงานเหล่านี้ ยังท ำให้ Eco Architect ให้้ความ<br />

สำคัญกับเรื่องเหล่านี้ในงานออกแบบอยู่เสมอ<br />

18<br />

ณัฐวดี สัตนันท์<br />

จบการศึกษาจากคณะ<br />

โบราณคดี มหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร ปั จจุบันกำาลัง<br />

ศึกษาต่อระดับปริญญา<br />

เอกสาขาสถาปั ตยกรรม<br />

พื้นถิ ่น ที่คณะสถาปั ตย-<br />

กรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร พร้อมกับการ<br />

ทำาบริษัทชื่อ “สนใจ” ที่<br />

ทำางานเรื่องการพัฒนา<br />

เมือง การให้คนเป็ นศูนย์-<br />

กลางและกระบวนการ<br />

มีส่วนร่วมในรูปแบบที่<br />

หลากหลาย<br />

Nuttawadee Suttanan<br />

completed her bachelor’s<br />

degree in archaeology<br />

and is currently pursuing<br />

PhD in vernacular<br />

architecture at<br />

Faculty of Architecture,<br />

Silpakorn University.<br />

She is also a partner<br />

of “SONJAI”, a studio<br />

working on urban development,<br />

people-centered<br />

and participatory<br />

process in various<br />

means.<br />

In Khamron’s view, not only foreigners but also Thais are becoming increasingly aware of<br />

matters such as nature and the environment, pollution, natural disasters, and pandemics.<br />

Following the peak of COVID-19, individuals have prioritized their quality of life over the<br />

appearance of their homes. From having visual references of their ideal houses and current<br />

trends and designs in mind, the requirements are now being geared toward a “more comfortable<br />

living environment for a higher quality of life.” It is an architect’s responsibility to design<br />

and construct a house that is both visually appealing and pleasant to live in.<br />

“It used to be that clients wanted to build a modern-looking home with<br />

contemporary architectural style, but now they want to build a house with<br />

true livability—a house that corresponds with their lifestyles and quality of<br />

living; a house where they can breathe fresh air and have a good night’s sleep.<br />

People are becoming increasingly conscious of their quality of life.”<br />

Aside from changing customer needs, one of the visible changes among Eco Architect’s<br />

clients is a deeper knowledge of the studio’s design philosophy and approach. Such a shift<br />

gives them greater creative freedom when creating a work. Everyone is now being drawn to<br />

one another through their shared interests and tastes, as well as the vision and trajectory<br />

they are pursuing.<br />

“เขาให้ความสำคัญเรื่องใช้ลมธรรมชาติ ทำอย่างไรให้<br />

บ้านรับลมได้ดี ลมไหลเวียนได้ตลอด ทำให้แบบเรารู้ว่า<br />

การทำบ้านอย่าให้การใช้งานซ้อนทับกันเยอะ ให้ชัดเลย<br />

ว่าส่วนไหนเป็ นอะไร แล้วก็อย่าให้มันไปซ้อนบังลมกัน<br />

แล้วก็การยื่นชายคา ในทิศที่ควรยื่นก็ยื่นไปเยอะๆ เลย<br />

หรือทำยังไงให้ป้ องกันความร้อนจากแสงแดดได้มาก<br />

ที่สุ ดเท่ าที่ทำได้”<br />

ส่วนในปัจจุบัน คำรณวมองว่าไม่ใช่เพียงแค่ชาวต่างชาติ แต่<br />

คนไทยก็เริ่มให้ความส ำคัญกับเรื่องธรรมชาติ มลพิษ ภัยพิบัติ<br />

โรคระบาด มากขึ้น โดยเฉพาะในช่วงหลังจากโควิด คนให้<br />

ความสำคัญกับเรื่องคุณภาพชีวิตมากกว่าเรื่องความสวยงาม<br />

จากเมื่อก่อนที่ลูกค้าจะมีภาพบ้านในใจ โดยเน้นไปที่รูปแบบ<br />

ที่ร่วมสมัยตามสมัยนิยม แต่ตอนนี้โจทย์กลับเป็น “อยู่สบาย<br />

ขึ้น และทำให้ใช้ชีวิตได้ดีขึ้น” ดังนั้น ในฐานะสถาปนิกหน้าที่<br />

สำคัญก็คือการออกแบบให้สวยงามและอยู่สบายไปพร้อมกัน<br />

“แต่ก่อนก็อยากจะได้บ้านรูปทรงร่วมสมัย พอช่วงหลังๆ<br />

เขาไม่ได้สนใจเรื่องพวกนั้น เขาสนใจว่า บ้านต้องอยู่<br />

สบายจริง ต้องแบบตอบโจทย์วิถีชีวิตของเขา คุณภาพ<br />

ชีวิตเขาต้องดีขึ ้น เขาได้หายใจได้เต็มปอด เขาจะนอน<br />

หลับสบาย เขามองเรื่องคุณภาพชีวิตเป็ นหลัก”<br />

มากยิ่งขึ้น ทำให้การทำงานของพวกเขาใส่ความเป็นตัวตน<br />

ของพวกเขาได้เต็มที่ เหมือนว่าพวกเขาต่างดึงดูดกันและกัน<br />

ด้วยความชอบ ความสนใจ ทีเป็นไปในทิศทางเดียวกัน<br />

“ช่วงแรกลูกค้าอาจจะเป็ นคนทั่วไปที่แค่อยากออกแบบ<br />

บ้านที่สวยงาม แต่ช่วงหลัง เขามาหาเราเพราะเขารู้จัก<br />

เรา ว่าเราออกแบบแนวนี้ เราถนัดด้านนี้ เขาเข้าใจเรา<br />

ว่าเราเป็ นอย่างนี้แหละ เราก็จะออกแบบงานออกมา<br />

ประมาณนี้ เมื่อเราก็เป็ นเรา เขาก็เป็ นเขา แล้วเราก็มา<br />

เจอกัน ชอบในสิ ่งที่คล้ายกัน ก็ทำให้คุยและเข้าใจอะไร<br />

บางอย่างได้ง่ายขึ ้น”<br />

ในปัจจุบันที่โลกเริ่มให้ความส ำคัญกับการออกแบบตาม<br />

สมัยนิยมลดน้อยลง แต่ให้ความสำคัญกับเรื่องธรรมชาติและ<br />

สิ่งแวดล้อมมากขึ้น สำหรับ Eco Architect นี่คือสัญญานที่ดี<br />

ดังนั้นเป้าหมายในอนาคตของ Eco Architect จึงเป็นการ<br />

ทำให้บริษัทเล็กๆ แห่งนี้ สร้างสรรค์ผลงานที่มีคุณภาพ มี<br />

ความสุขกับการงาน และมีส่วนในการสร้างเมืองและโลกที่ดี<br />

ไปพร้อมกัน<br />

18-19<br />

The Motifs Eco Hotel<br />

จันทบุรี<br />

“We used to have people who wanted to create a beautiful-looking home.<br />

However, clients have recently turned to us because they are familiar with<br />

our design philosophy and expertise. They understand our nature. They can<br />

anticipate how our design will turn out. We are who we are, they are who<br />

they are, and everyone is brought together because we like similar things,<br />

which allows us to communicate and grasp certain concepts more easily.”<br />

This is the world and the time when people are less concerned with popular design trends<br />

and more conscious of nature and the environment. This is undoubtedly a good sign for<br />

Eco Architect. The long-term ambition for Eco Architect is for their small design business<br />

to continue producing high-quality work, for every employee to love what they do, and to<br />

contribute to the creation of better communities and, ultimately, a better world.<br />

“I want us to be a small but high-quality studio capable of doing amazing<br />

things for people, cities, and the world. We want to do our jobs with happiness,<br />

and we want to continue to improve our work with each passing year.”<br />

นอกจากความต้องการของลูกค้าจะเปลี่ยนไปตามกาลเวลา<br />

ความเปลี่ยนแปลงอย่างหนึ่งคือลูกค้าของ Eco Architect จะ<br />

เริ่มเป็นกลุ่มลูกค้าที่เข้าใจแนวทางการออกแบบของพวกเขา<br />

“เราอยากได้บริษัทที่เล็กๆ แต่ว่ามีคุณภาพ สามารถ<br />

สร้างสิ่งดีๆ ให้กับผู้อยู่อาศัย ทั้งเมืองทั้งโลกของเรา<br />

เพราะเราอยากทำงานแบบมีความสุข อยากทำงานให้<br />

ดีขึ ้น ในทุกๆ ปี ”<br />

19


136<br />

professional / studio<br />

S.O.S ARCHITECTS<br />

137<br />

S.O.S<br />

Architects<br />

The <strong>ASA</strong> Journal talks to S.O.S Architects,<br />

a Chiang Mai-based studio founded by<br />

Chaikla Dangboon and Tawanshine<br />

Intarachit.<br />

ทีมงาน S.O.S Architects<br />

ART FARMER<br />

จุดเริ ่มต้นของ S.O.S Architects เริ ่มขึ ้น<br />

ได้อย่างไร และชื่อสตูดิโอนี้มีที่มาจากอะไร<br />

ชัยกล้า แดงบุญ: หลังจากพวกเราเรียน<br />

จบจากที่ มช. เราก็สมัครงานประจำกันปกติ<br />

เหมือนคนอื่นๆ แต่ทุกอย่างเริ่มจากการมอง<br />

หางานเสริม เราก็เลยรับงานออกแบบมาทำ<br />

พาร์ทไทม์ควบคู่ไปกับงานประจำ โดยทุกเย็น<br />

จะมีผม ชัยกล้า แดงบุญ, ตะวันฉาย อินทรชิต<br />

และเพื่อนอีกคนหนึ่งที่ตอนนี้ออกไปทำอย่าง<br />

อื่นแล้วเรา 3 คนจะตกลงกันว่าหลังจากทุกคน<br />

เคลียร์ภารกิจของตัวเองเสร็จแล้วจะนัดกันมา<br />

รวมตัวทำงาน พอเราทำแบบนี้ไปได้สักพักจน<br />

มีงานเยอะขึ้น ต้องไปพบลูกค้า ต้องไปหน้างาน<br />

มากขึ้น ก็เลยตัดสินใจลาออกจากงานประจำ<br />

เพื่อมาดูแลแต่ละส่วน นับจากวันนั้นจนตอนนี้<br />

น่าจะประมาณ <strong>12</strong> ปีได้แล้ว<br />

ส่วนชื่อ S.O.S จริงๆ น่าจะมีที่มาจากหนังสือ<br />

art4d ตอนนั้นเราตกลงชื่อสตูดิโอกันไม่ได้<br />

ก็เลยเปิดนิตยสารมาหน้าหนึ่งถ้าเจออะไรก็<br />

จะใช้ชื่อนั้นเลย (หัวเราะ) ในใจก็หวังว่าจะเปิด<br />

มาแล้วให้เจอหน้าที่เป็นงานสถาปัตยกรรม<br />

แต่ดันไปเปิดเจอหน้าที่เป็นโฆษณาหลอดไฟ<br />

รุ่น sense and simplicity ซึ่งถ้าย่อแล้วก็จะ<br />

เป็น SAS แต่เราว่ามันแปลกๆ ก็เลยเปลี่ยน<br />

เป็น SOS ที่เป็นรหัสมอสขอความช่วยเหลือ<br />

ก็เปรียบเปรยเหมือนกับว่าใครที่อยากออกแบบ<br />

หรือรีโนเวทก็ให้นึกถึงเราก่อนอะไรแบบนั้น<br />

งานออกแบบในเชียงใหม่ส่วนใหญ่เป็ นงาน<br />

สเกลประมาณไหน และ S.O.S Architects<br />

มีความสนใจงานประเภทใดเป็ นพิเศษ<br />

ชัยกล้า แดงบุญ: ทุกคนน่าจะรู้ดีว่าเชียงใหม่<br />

ส่วนใหญ่งานประเภทบ้าน โรงเรม ร้านอาหาร<br />

และร้านกาแฟจะเยอะ ช่วงแรกที่รับงานเราก็ได้<br />

งานประเภทนี้ตลอดแต่จะสเกลไม่ได้ใหญ่มาก<br />

ประมาณ 200-350 ตร.ม. พอมาปัจจุบันก็มี<br />

งานสเกลใหญ่ๆ เข้ามาเพิ่มขึ้น ทั้งบ้านขนาด<br />

ใหญ่หรือโรงแรม ถ้าถามถึงความสนใจก็คง<br />

สนใจอาคารทุกประเภททั้งที่เคยทำมาและยัง<br />

ไม่เคยทำ เพราะรู้สึกว่าแต่ละโปรเจ็คต์มันก็จะ<br />

มีความแตกต่างกันไปตามโจทย์และข้อจำกัด<br />

ดีไซน์หรือสไตล์ต่างๆ ก็ไม่เหมือนกัน แต่ที่<br />

ผ่านมาผลงานของเราอาจจะหนักไปที่โรงแรม<br />

กับร้านกาแฟเยอะหน่อย เพราะโซนภาคเหนือ<br />

ไม่ว่าจะเป็นเชียงราย ลำปาง ลำพูน ซึ่งเป็น<br />

พื้นที่ท่องเที่ยวก็จะมีอาคารประเภทเหล่านี้เกิด<br />

ขึ้นเยอะ แต่พอทุกวันนี้ที่เราเริ่มโปรโมทงานลง<br />

โซเชียลที่ทำให้คนจากหลายๆ ที่มองเห็นผลงาน<br />

เรามากขึ้น เราก็ได้งานประเภทอื่นแทรกๆ เข้ามา<br />

รวมถึงงานในภาคอื่นๆ หรือจังหวัดอื่นๆ ด้วย<br />

ช่วยยกตัวอย่างผลงานที่รู้สึกประทับใจ 1-3<br />

ผลงาน<br />

ชัยกล้า แดงบุญ: จะมีบ้านหลังหนึ่งที่รู้สึกชอบ<br />

มาก เพราะโจทย์จากเจ้าของบ้านค่อนข้างน่าสนใจ<br />

คือเจ้าของบ้านหลังนี้เค้าจะค่อนข้างเก็บตัวไม่ชอบ<br />

สุงสิงกับใคร ดีไซน์รอบบ้านก็จะถูกออกแบบให้<br />

ทึบและปิดกั้นจากภายนอกเยอะหน่อย แต่ภายใน<br />

ตัวบ้านก็ยังออกแบบให้รับแสงธรรมชาติได้ดี<br />

บวกกับตัวเค้าเองก็ชอบเรื่องวัสดุแปลกใหม่ด้วย<br />

มันก็เลยมีอะไรให้ได้ลองดีไซน์เยอะ ก็เป็นโจทย์<br />

ที่สนุกดี แล้วก็มีอีกหลังอยู่แม่ก ำปอง ซึ่งไซต์ตรง<br />

นั้นอยู่ติดริมผา เราก็เลยต้องคิดโครงสร้างอาคาร<br />

ที่อยู่ใกล้กับผานั้น ซึ่งยังมีข้อจ ำกัดอื่นๆ และ<br />

ความท้าทายอีกเยอะมาก อันนี้ก็เป็นอีกโปรเจ็คต์<br />

ที่รู้สึกประทับใจที่สามารถผ่านงานนี้มาได้<br />

แนวทางการทำงานของสตูดิโอจากวันแรก<br />

จนวันนี้เป็ นอย่างไร<br />

ชัยกล้า แดงบุญ: จากการตั้งชื่อสตูโอแผลงๆ<br />

ซึ่งเป็นที่มาของคำว่า simplicity ตรงนี้เราก็<br />

รู้สึกชอบคำนี้ด้วย เพราะรู้สึกว่างานที่เราท ำเรา<br />

ก็เน้นมองกลับมาที่ความเรียบง่าย โดยความ<br />

เรียบง่ายในที่นี่อาจสะท้อนอยู่ในเรื่องใดเรื่อง<br />

หนึ่ง เช่น รูปลักษณ์ที่ออกมาอาจไม่ได้ดูเรียบ<br />

ง่ายแต่ฟังก์ชั่นเรียบง่าย หรือฟังก์ชั่นครบครัน<br />

แต่ดีไซน์ที่ออกมาดูเรียบๆ คลีนๆ ตรงนี้ก็อยู่<br />

ที่โจทย์ ข้อจำกัด และการใช้งานของเจ้าของ<br />

ด้วย ผลงานของเราและงานที่เราทำมาก็เลย<br />

จะมีความหลากหลายอยู่พอสมควร เพราะ<br />

ช่วงแรกๆ เราก็รับงานหลายแนวเพื่อให้เรารู้<br />

แนวทางการทำงานของเรา ซึ่งทุกวันนี้เราก็<br />

เริ่มเข้าที่เข้าทางมากขึ้น มีความเป็นระบบและ<br />

เป็นบริษัทมากขึ้นกว่าเมื่อก่อน อันนี้ก็น่าจะเป็น<br />

เรื่องของประสบการณ์ตามระยะเวลา เพราะเรา<br />

ก็เปิดมากัน 10 ปีกว่าแล้ว ในอนาคตก็เชื่อว่า<br />

คงจะรักษาสิ่งที่มีอยู่และปรับแนวทางบางอย่าง<br />

ให้เหมาะสมกับพวกเรามากขึ้นไปเรื่อยๆ เพราะ<br />

ไม่ว่าจะดีไซน์หรือการทำงานมันก็ต้องมีการ<br />

ปรับตัวตามยุคสมัยอยู่แล้ว<br />

MAR.CNX<br />

TARYN TARA Cafe and Stay<br />

The Concrete Cave<br />

The Concrete Cave


138<br />

professional / studio<br />

S.O.S ARCHITECTS<br />

139<br />

TARYN TARA Cafe and Stay<br />

For example, the appearance may not look simple,<br />

but the function is simple. Or the functions are<br />

complicated, but the design that comes out looks simple<br />

and clean. Here it also depends on the briefs, limitations,<br />

and requirements, or functional needs, of the client.<br />

How did S.O.S Architects start?<br />

And where does the name S.O.S<br />

Architects come from?<br />

Chaikla Dangboon: After we graduated<br />

from CMU, we applied for regular jobs,<br />

just like everyone else. But it all started<br />

with looking for a side job, so we accepted<br />

part-time design work along with regular<br />

work. Every evening there will be me,<br />

Tawanshine Intarachit, and another friend<br />

who has now gone out to do something<br />

else. Then three of us agreed that after<br />

one had cleared his own duties, we would<br />

come together to work. We did this for a<br />

while until we had more work; sometimes<br />

we needed to meet the clients, sometimes<br />

to do the site visit. These things were<br />

getting more and more. So I decided to<br />

quit my full-time job to take care of each<br />

part of the job. Now it has been probably<br />

about <strong>12</strong> years already.<br />

As for the studio name SOS, it came accidentally<br />

from the art4d magazine. At that<br />

time, we couldn’t agree on the name of the<br />

studio. So I opened one page of art4d, and<br />

we just thought that if we found something<br />

interesting on that page, we would use that<br />

for the name of the studio (laughs); hopefully,<br />

we would get some nice words! But the<br />

page turned out to be a light bulb advertisement<br />

with the title Sense and Simplicity,<br />

which could be abbreviated as S.A.S. But<br />

we think it’s strange. So we just switched<br />

to S.O.S., which is Morse code for help. It<br />

is likened to anyone who wants to design<br />

or renovate, think of us first—something<br />

like that.<br />

What scale is most of the design<br />

work in Chiang Mai, and what<br />

kind of work is S.O.S Architects<br />

particularly interested in?<br />

Chaikla Dangboon: As everyone knows,<br />

in Chiang Mai, most of the jobs are in the<br />

categories of houses, hotels, restaurants,<br />

and coffee shops. Initially, our studio got<br />

quite a few of this type of work, but the<br />

scale was not very big, about 200–350<br />

square meters. Only later do we have<br />

larger projects, like big houses or hotels.<br />

If you ask, I would say we are interested<br />

in all types of buildings, either those we<br />

have done before or those we have never<br />

had any chance to do. Because I feel that<br />

each project will be different according<br />

to the brief, problem, and limitations, and<br />

naturally, designs and styles are also<br />

different, But in the past, most of our work<br />

was in hotels and coffee shops since the<br />

north, whether it’s Chiang Rai, Lampang,<br />

or Lamphun, is a tourist area, and there are<br />

a lot of these types of buildings. Anyway,<br />

after we started to promote our work on<br />

social media, we got wider followers and<br />

drew more people to see more of our work,<br />

and we got other types of work coming in,<br />

including work in other parts of the country<br />

or other provinces as well.<br />

Would you share with us a few<br />

examples of works that impressed<br />

you?<br />

Chaikla Dangboon: There is a<br />

house that I really like. The briefs and<br />

requirements from the client are quite<br />

interesting. The owner is quite introverted<br />

and doesn’t socialize much, so the<br />

exterior, or outer walls, of the house were<br />

designed to be rather solid and look quite<br />

enclosed from the outside. But the inside<br />

was designed to get good natural light.<br />

Plus, the owner likes to try new materials,<br />

so there is a lot for us to try out and<br />

experiment with design. It’s a fun project.<br />

And then there is another house in Mae<br />

Kampong, whose site is next to the edge<br />

of the cliff. So we had to think of a building<br />

structure in that particular setting, which<br />

also has many other limitations and many<br />

more challenges. These are a few projects<br />

that I am impressed with, and I am glad we<br />

have been able to get through them.<br />

How has the studio worked from<br />

day one until today?<br />

Chaikla Dangboon: I would say we<br />

always come back to the word “simplicity”<br />

from the prank name of the studio, which<br />

is the origin of the practice. Here, we also<br />

like this word in the sense that we always<br />

focus on simplicity in the work that we do.<br />

The simplicity here may be reflected in one<br />

subject. For example, the appearance may<br />

not look simple, but the function is simple.<br />

Or the functions are complicated, but the<br />

design that comes out looks simple and<br />

clean. Here it also depends on the briefs,<br />

limitations, and requirements, or functional<br />

needs, of the client. Our works and the<br />

work that we have done, therefore, are<br />

quite diverse because, in the beginning,<br />

we got many types of jobs so that we<br />

know the way of our work. Now everything<br />

seems to fall more into place, be more<br />

organized, and be more systematic than<br />

ever before. I think this should be a matter<br />

of experience over time since we have<br />

been open for more than ten years now.<br />

And in the future, I believe that we will<br />

maintain what we have and rearrange<br />

some guidelines to suit us more and more.<br />

That is because, whether it’s design or<br />

work, it has to be adapted to the times.<br />

facebook.com/sosarchitect


140<br />

chat<br />

PRAKAN CHUNHAPONG<br />

141<br />

แนวทางของกรรมาธิการสถาปนิกล้านนา แตกต่างจากภูมิภาคอื่นๆ ตรงที่ภาคเหนือ<br />

มีจังหวัดใหญ่ก็คือเชียงใหม่ ที่มีจํานวนสมาชิกอยู่มากที่สุด และด้วยความที่จังหวัดใน<br />

แถบภาคเหนือ มักมาเรียนด้วยกันอยู่ที่เชียงใหม่ ทําให้สมาชิกส่วนใหญ่รู้จักกัน มีความ<br />

กลมเกลียวหรือความสนิทสนมของสถาปนิกล้านนามากเป็ นพิเศษ ตอนนี้สมาชิกของ<br />

เรามีร่วมพันกว่าคน ทําให้มีการจัดตั้งศูนย์อีกหนึ ่งศูนย์ขึ ้น คือศูนย์พิษณุโลก ซึ ่งเป็ น<br />

เมืองใหญ่ของภาคเหนือตอนล่าง ได้ช่วยกระจายข่าวสารต่างๆ รวมถึงการเข้าไปสร้าง<br />

กิจกรรมให้เกิดการพบปะมากขึ ้น<br />

ปราการ ชุณหพงษ์<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกล้านนา<br />

อาษา: ช่วยเล่าย้อนกลับไปสั้นๆ ว่าคุณปราการ<br />

เข้ามาเป็ นส่วนหนึ ่งของกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ล้านนาได้อย่างไร<br />

ปราการ ชุณหพงษ์: ผมเป็นประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ล้านนาน่าจะคนที่ 18 โดยสถาปนิกล้านนาเราก่อตั้งขึ้นมา<br />

น่าจะร่วม 10 กว่าปีแล้ว โดยมีประธานท่านแรกคืออาจารย์<br />

องอาจ รัชเวทย์ ก่อนหน้านี้ก็มีโอกาสได้เข้ามาช่วยงานเป็น<br />

อนุกรรมการอยู่แล้ว ในฐานะสถาปนิกวิชาชีพคนหนึ่งแล้ว<br />

ก็เป็นลูกศิษย์ของอาจารย์องอาจด้วย ถ้าให้ย้อนกลับไปที่<br />

ผ่านมาก็จะมีพี่ๆ ดึงมาช่วยงานอยู่ตลอด พอเข้ามาช่วยงาน<br />

บ่อยๆ ก็ได้มีโอกาสเข้ามาเป็นประธานกิจกรรมพิเศษ จน<br />

ดำาเนินการมาถึงปัจจุบันก็ได้มาเป็นประธานกรรมาธิการ<br />

ส่วนภูมิภาคล้านนา โดยเข้ามาในวาระที่แล้ว ตอนนี้ก็เข้าสู่<br />

วาระที่ 2 สำาหรับตำาแหน่งตรงนี้<br />

อาษา: แนวทางและการทำางานในส่วนของ<br />

กรรมาธิการสถาปนิกล้านนามีการดำาเนินงาน<br />

อย่างไรบ้าง<br />

ปราการ ชุณหพงษ์: แนวทางของกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ล้านนา เราจะต่างจากภูมิภาคอื่นๆ ตรงที่ ภาคเหนือเราจะ<br />

มีจังหวัดใหญ่ก็คือเชียงใหม่ที่มีจำานวนสมาชิกอยู่มากที่สุด<br />

ก็เลยทำาให้ทุกคนกระจุกตัวอยู่ที่เชียงใหม่ และด้วยความที่<br />

เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน หรือทุกๆ จังหวัดในแถบภาค-<br />

เหนือ ตอนเรียนเค้าก็มักมาเรียนด้วยกันอยู่ที่เชียงใหม่ ก็<br />

เลยทำาให้ส่วนใหญ่เค้าจะรู้จักกัน ไม่ว่าจะอยู่จังหวัดไหนก็มัก<br />

จะมาเรียนอยู่เชียงใหม่มันเลยทำาให้ความกลมเกลียวหรือ<br />

ความสนิทสนมของฝั่งล้านนาจะมีมากเป็นพิเศษ​รวมถึง<br />

5 มหาวิทยาลัยในแถบภาคเหนือก็จะมีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่<br />

มหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มหา-<br />

วิทยาลัยนเรศวร และมหาวิทยาลัยพะเยา มักจะไปมาหาสู่<br />

กันที่เชียงใหม่ตลอดอยู่แล้ว เพราะเดินทางกันง่ายไม่ได้<br />

ไกลกันมาก เลยทำาให้การทำากิจกรรมต่างๆ ก็จะมารวม<br />

ศูนย์กลางกันที่เชียงใหม่เสมอ เลยเป็นที่มาด้วยว่าทำาไม<br />

ภูมิภาคล้านนาเราได้มีการก่อตั้งศูนย์กรรมาธิการสถาปนิก<br />

ล้านนามาร่วมสิบกว่าปีแล้ว<br />

อาษา: นอกจากการติดต่อกิจกรรมและ<br />

ข่าวสารผ่านความสนิทสนมหรือบอกต่อๆ กัน<br />

ไปแล้วในส่วนภูมิภาคล้านนา ทางกรรมาธิการ<br />

ยังมีการสื่ อสารผ่านช่องทางใดอีกไหมสำาหรับ<br />

สมาชิกกลุ่มอื่นๆ<br />

ปราการ ชุณหพงษ์: อย่างที่กล่าวไปข้างต้นว่าพวกเรา<br />

มักจะเรียนมาด้วยกันเป็นส่วนใหญ่ บางคนจบปริญญาตรี<br />

อีกที่หนึ่งแล้วก็ไปต่อปริญญาโทอีกที่หนึ่งในภูมิภาคเดียวกัน<br />

ก็เลยทำาให้เราจะยิ่งสนิทสนมขยายกันไปเป็นวงกว้าง เวลา<br />

มีกิจกรรมอะไรก็จะบอกต่อๆ กันไปหรือส่งข้อมูลให้กันเป็น<br />

ทอดๆ ส่วนตอนนี้ภาพรวมของสมาชิกเราที่มีร่วม 1,000<br />

กว่าคน ก็เลยทำาให้มีการจัดตั้งศูนย์อีก 1 ศูนย์ขึ้นก็คือศูนย์<br />

พิษณุโลก ซึ่งเป็นหัวเมืองใหญ่ของภาคเหนือตอนล่าง จะ<br />

ดูแลในส่วนของจังหวัดนครสวรรค์ สุโขทัย อุตรดิตถ์ แถบ<br />

ฝั่งโน้นได้ช่วยกระจายข่าวสารต่างๆ รวมถึงการเข้าไป<br />

สร้างกิจกรรมให้เกิดการพบปะมากขึ้น และเพิ่มการส่งเสริม<br />

กิจกรรมทางวิชาการและวิชาชีพให้กับศูนย์พิษณุโลก ได้<br />

คอยผลักดันเนื้อหาเหล่านี้ไปสู่สมาชิกในแถบฝั่งนั้น


142<br />

chat<br />

PRAKAN CHUNHAPONG<br />

143<br />

อาษา: ในวาระของคุณปราการที่ผ่านมา<br />

มีกิจกรรมใดบ้างที่ดำาเนินการไปแล้วและ<br />

ได้รับการตอบรับจากสมาชิกออย่างไร<br />

ปราการ ชุณหพงษ์: ถ้าเป็นเรื่องกิจกรรมต้องแยกแบบนี้<br />

คือสถาปนิกจะมีหลายคาแร็คเตอร์ บางคนก็ทำางานอย่าง<br />

เดียวไม่สนกิจกรรมอะไรเลย บางคนก็ชอบที่จะสนุกสนาน<br />

ถ้าเป็นงานวิชาการก็จะไม่ค่อยมาร่วม แต่ถ้าเป็นงานสังสรรค์<br />

ก็จะมาบ่อยหน่อย หรือฝั่งที่ชอบกิจกรรมวิชาการหรือทาง<br />

วิชาชีพก็จะมาแต่ถ้ากิจกรรมประเภทสันทนาการก็จะไม่มา<br />

พอมายุคเราในฐานะที่เคยทำาด้านกิจกรรมพิเศษมาก่อน<br />

เราก็เลยค่อนข้างเข้าใจสถาปนิกแต่ละกลุ่ม เราก็เลยมาปรับ<br />

ให้มีความวาไรตี้มากขึ้น มีการจัดงานวิชาการโดยเชิญ<br />

วิทยากรชั้นนำา หรือสถาปนิกที่เป็นระดับบุคคลตัวอย่าง<br />

ในวงการมาร่วมพูดคุยกัน แล้วก็มีการแจกของที่ระลึก<br />

เป็นหนังสือด้านสถาปัตยกรรมต่างๆ แล้วก็ส่วนท้ายของ<br />

กิจกรรมเราก็จะแทรกสันทนาการเข้าไป อาจไม่ใช่กิจกรรม<br />

เพื่อการบันเทิงเสมอไป แต่จะเป็นกิจกรรมสเก็ตช์มือบ้าง<br />

ทานอาหารพูดคุยกัน หรือกิจกรรมร่วมสนุกกันในรูปแบบ<br />

และมิติใหม่ๆ มันก็จะทำาให้คนรุ่นเก่าและรุ่นใหม่มาเชื่อม<br />

กันได้ เพราะช่วงวัยที่ต่างกันเหล่านี้มันจะเป็นโอกาสยาก<br />

แล้วที่เค้าจะได้เจอกัน แต่กิจกรรมของเราจะพยายามลด<br />

ช่องวางระหว่างวัยตรงนี้ ให้ได้มาพูดคุยทำาความรู้จักกัน<br />

ได้มองเห็นกันในมุมอื่นๆ นอกจากเรื่องงาน<br />

สําหรับงานสถาปนิกล้านนา แน่นอนว่าเป็ นงานใหญ่<br />

ที่ผ่านมาเราก็จะจัดอยู่ที่เชียงใหม่มาโดยตลอด<br />

แต่เมื่อสองวาระที่แล้วก็ได้มีการทดลองจัดกิจกรรม<br />

นี้เป็ นครั้งแรกที่จังหวัดลําพู น ซึ ่งอยู่ห่างจากเชียงใหม่<br />

แค่ 30 กิโลเมตร การไปจัดที่ลําพู น ก็เป็ นประโยชน์<br />

กับเมืองรอง ทําให้เกิดการกระตุ้นและเพิ่มมุมมอง<br />

จินตภาพด้านสถาปั ตยกรรมให้กับคนในพื้นที่ ในภาย<br />

หลังก็มีการหารือกันว่าเราอาจมีการวางแผนจัดงาน<br />

สลับพื้นที่ไปตามความเหมาะสม<br />

อาษา: เร็วๆ นี้มีกิจกรรมอะไรที่กำาลังวางแผน<br />

อยู่และกำาลังจะจัดขึ ้นบ้าง<br />

ปราการ ชุณหพงษ์: ที่ผ่านมาในช่วงหลายปีที่ทำางานอยู่<br />

ตรงนี้ เราก็จะเห็นว่ามีกิจกรรมสำาคัญๆ มากมายเลยที่ได้<br />

สืบเนื่องต่อกันมา โดยเฉพาะกิจกรรมมอบรางวัลให้กับ<br />

อาคารประเภทต่างๆ ซึ่งหลังจากที่ได้มอบรางวัลให้แก่<br />

อาคารนั้นๆ ไปแล้ว จะสังเกตว่าจะไม่ได้มีการเข้าไปมีส่วน<br />

ร่วมอะไรกับอาคารเหล่านั้นต่อ เราก็เลยพยายามที่จะสร้าง<br />

กิจกรรมเหล่านั้นให้เกิดการต่อเนื่อง เพื่อให้อาคารที่ได้<br />

รับรางวัลไป รู้สึกเป็นอาคารที่มีคุณค่าจริงๆ และยังได้รับ<br />

ความสนใจโดยทั่วไปอยู่ เช่น กิจกรรมที่ผ่านมาเร็วๆ นี้<br />

จะมีกิจกรรมออกแบบแสงให้กับสถาปัตยกรรมที่ถูกลืมไป<br />

หรือวัดที่มีคุณค่าด้านสถาปัตยกรรมต่างๆ ในแถบล้านนา<br />

ของเราให้กลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้ง<br />

ตัวอย่างก็จะมีเจดีย์ดอยหลวงที่เชียงใหม่ เราก็สร้าง<br />

จินตภาพให้กับสถาปัตยกรรมเจดีย์หลวงซึ่งเป็นวัดที่สำาคัญ<br />

ของเมืองเชียงใหม่และยังมีการพังทลายของเจดีย์องค์ใหญ่<br />

เราก็ใช้เทคนิคการออกแบบแสงเพื่อเติมยอดเจดีย์ เพื่อ<br />

สร้างจินตนาการให้กับผู้คนในชุมชนและนักท่องเที่ยวได้<br />

เห็นภาพโครงสร้างเต็มๆ ของเจดีย์ อีกทั้งตรงนี้เราก็นำ าข้อมูล<br />

ไปส่งต่อให้กับคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย<br />

เชียงใหม่ได้ไปดำาเนินงานต่อจนเกิดเป็นกิจกรรมต่อเนื่อง<br />

ขึ้นมา เพราะงบประมาณของสมาคมที่เรามีอยู่ในมือ<br />

ส่วนใหญ่มักจะจัดกิจกรรมได้เพียงช่วงสั้นๆ แต่พอเรามีภาคี<br />

เครือข่าย อย่าง ททท. องค์กรเอกชน และสถาบันการศึกษา<br />

มันก็สามารถทำาให้กิจกรรมสามารถจัดอย่างต่อเนื่องและ<br />

ขยายฐานการเข้าถึงกิจกรรมได้มากขึ้นในทุกๆ กลุ่ม<br />

อาษา: จากภาพรวมของกิจกรรมส่วนใหญ่<br />

ที่เห็นมักจะถูกจัดขึ ้นที่เชียงใหม่เป็ นหลัก<br />

ในอนาคตจะมีการกระจายกิจกรรมไปยัง<br />

จังหวัดใกล้เคียงอื่นๆ บ้างไหม<br />

ปราการ ชุณหพงษ์: อย่างที่กล่าวไปข้างต้น การที่<br />

กิจกรรมมักมากระจุกอยู่เชียงใหม่ เพราะสมาชิกส่วนใหญ่<br />

จะอยู่ที่นี่ รวมการไปมาหาสู่ของสมาชิกในจังหวัดอื่นๆ ก็<br />

มักจะแวะเวียนมาเชียงใหม่อยู่แล้ว การที่เรายกกิจกรรม<br />

ใหญ่ๆ ไปจัดที่จังหวัดอื่นและให้กลุ่มคนจำานวนมากเดินทาง<br />

ไปจังหวัดอื่นด้วยอาจเป็นเรื่องยาก เพราะภูมิประเทศ<br />

ของเราแถบภาคเหนือมักจะมีเส้นทางคดเคี้ยวอันตราย<br />

ตรงนี้เราก็เลยพยายามปักหมุดให้ที่เชียงใหม่เป็นพื้นที่จัด<br />

กิจกรรมหลัก ขณะที่ในส่วนของจังหวัดอื่นๆ เราก็ยกกลุ่ม<br />

คนของสมาคมเรา ซึ่งเป็นกลุ่มคนเล็กๆ เดินทางไปจัดงาน<br />

ให้เค้าเหมือนกัน เพื่อให้เค้าได้ซึมซับและเกิดการเผยแพร่<br />

ด้านวิชาชีพของเรา รวมถึงสนับสนุนสมาชิกที่กระจายตัวอยู่<br />

ในจังหวัดอื่นๆ ได้มีกิจกรรมในส่วนของจังหวัดตนเองด้วย<br />

สำาหรับงานสถาปนิกล้านนาแน่นอนว่าเป็นงานใหญ่ ที่<br />

ผ่านมาเราก็จะจัดอยู่ที่เชียงใหม่มาโดยตลอดตามเหตุผล<br />

ข้างต้นที่กล่าวไป แต่เมื่อ 2 วาระที่แล้วก็ได้มีการจัด<br />

กิจกรรมนี้เป็นครั้งแรกที่จังหวัดลำาพูนเหมือนกัน ซึ่งลำาพูน<br />

อยู่ห่างจากเชียงใหม่แค่ 30 กิโลเมตร พอไปจัดที่ลำาพูน<br />

ก็เป็นประโยชน์กับเมืองรอง ทำาให้ได้มีการกระตุ้นและ<br />

เพิ่มมุมมองจินตภาพด้านสถาปัตยกรรมให้กับคนในพื้นที่<br />

เหมือนกัน ในภายหลังก็เลยมีการหารือกันว่าเราอาจมี<br />

การวางแผนจัดงานสลับพื้นที่ไปตามความเหมาะสม<br />

อาษา: ความคาดหวังของกรรมาธิการ<br />

สถาปนิกล้านนาที่คาดหวังให้เกิดขึ ้นต่อสมาชิก<br />

รวมถึงภาคีเครือขายในส่วนภูมิภาคคืออะไร<br />

ปราการ ชุณหพงษ์: เวลาเราจัดกิจกรรมอะไรเราก็จะ<br />

แน่นอนเราก็จะสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับสมาคมของเรา<br />

อยู่แล้วไม่ว่าจะเป็นด้านวิชาการหรือการให้ความร่วมมือกับ<br />

องค์กรอื่นๆ เช่น การเข้าไปช่วยแนะนำาด้านการออกแบบ<br />

ผังเมืองหรือการปรับปรุงอนุรักษ์สถาปัตยกรรมต่างๆ แต่<br />

ขณะเดียวกันกิจกรรมสำาหรับสมาชิกที่มีหลายช่วงวัยเรา<br />

ก็ต้องมีการปรับให้เหมาะสมและดูไม่น่าเบื่อด้วย เช่น มี<br />

กิจกรรมถ่ายภาพ วาดภาพ หรือสัมมนาอะไรบางอย่าง<br />

ที่อาจไม่ได้วิชาการมาก เพื่อให้เกิดพื้นที่การแลกเปลี่ยน<br />

ความคิดและสานสัมพันธ์กันระหว่างสถาปนิกในส่วน<br />

ภูมิภาคของเรา สิ่งที่คาดหวังและมองเห็นจากสถานการณ์<br />

ในปัจจุบันก็คือ เราจะเห็นว่ามีผู้คนมากมายที่เรียนจบจาก<br />

คณะสถาปัตยกรรมและการออกแบบแล้วไม่ได้ทำางานเป็น<br />

สถาปนิกต่อ หรือทำางานเป็นสถาปนิกไปแล้วเริ่มหันเหไป<br />

เปลี่ยนสาย เช่น เป็นผู้จัดออแกไนซ์ เป็น creator เป็นต้น<br />

ซึ่งในการจัดกิจกรรมของสมาคมแต่ละครั้งแน่นอนเรา<br />

ไม่ได้ต้องการแค่สถาปนิกมาร่วมงาน หรือไอเดียแค่คนที่<br />

ประกอบวิชาชีพสถาปนิก แต่เรายังต้องการคนกลุ่มนี้เพื่อ<br />

มาผลักดันให้กิจกรรมสามารถลุล่วงไปด้วยดี ถ้าเรามีพี่-<br />

น้องที่เรียนสถาปัตย์มาแม้จะไปอยู่สายอื่น แต่ถ้าสามารถ<br />

มาร่วมกันจัดงาน หรือช่วยกันจัดงานตรงนี้ได้ ก็จะเป็น<br />

การช่วยกลับมาผลักดันให้กิจกรรมต่างๆ เกิดขึ้นได้อย่าง<br />

สมบูรณ์แบบมากขึ้น และเป็นการส่งเสริมให้กับวิชาชีพ<br />

สถาปนิกไม่ทางตรงก็ทางอ้อม


144<br />

the last page<br />

หลังจากได้รับหัวข้อ ‘On the Roof’<br />

ในหัวก็มีภาพ pop up เร็วๆ ขึ้นมาทันที<br />

โดยการพ้องเสียง ‘On the Louvre’<br />

ปิระมิดแก้วหรือหลังคากระจกใส<br />

ที่ออกแบบโดย I.M.Pei<br />

โดดเด่นเป็นสง่า ท่ามกลางกลุ่มอาคาร<br />

สถาปัตยกรรมคลาสสิก<br />

ความผิดที่ผิดทางในบางยุคบางสมัย<br />

กลับกลายมาเป็น iconic<br />

จนกลายมาเป็นหนึ่งในสัญลักษณ์ที่สำ าคัญ<br />

แห่งหนึ่งของกรุงปารีส<br />

Photo Courtesy of Peerapat Wimolrungkarat<br />

Upon receiving the title “On the Roof”,<br />

a quick image popped up in my head<br />

by rhyming ‘On the Louvre’.<br />

A glass pyramid, a clear glass roof,<br />

designed by I. M. Pei,<br />

that stands out elegantly among<br />

classical buildings<br />

seems to be idiosyncratic,<br />

but it has become iconic architecture<br />

that became one of the significant<br />

symbols of Paris.<br />

พีรพัฒน์ วิมลรังครัตน์<br />

จบการศึกษาจาก คณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

ภาควิชาสถาปั ตยกรรมหลัก<br />

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ<br />

เป็ นอดีตช่างภาพประจำาตัว<br />

คุณอภิสิทธิ ์ เวชชาชีวะ<br />

(นายกรัฐมนตรีคนที่ 27<br />

ของประเทศไทย), อดีต<br />

บรรณาธิการภาพถ่าย<br />

ของสำานักข่าวออนไลน์<br />

The Momentum.co,<br />

อดีตบรรณาธิการภาพถ่าย<br />

ของสำานักข่าวออนไลน์<br />

The Standard ปั จจุบัน<br />

เป็ น Leica Ambassador<br />

(Thailand), Member กลุ่ม<br />

สตรีทโฟโต้ ไทยแลนด์ และ<br />

ช่างภาพสถาปั ตยกรรม @<br />

somethingarchitecture<br />

Peerapat<br />

Wimolrungkarat<br />

aka ADDCANDID,<br />

Peerapat graduated<br />

from the Department of<br />

Architecture, School of<br />

Architecture, Assumption<br />

University. He is a<br />

former personal photographer<br />

of Mr. Abhisit<br />

Vejjajiva (the 27th Prime<br />

Minister of Thailand),<br />

a former photo editor<br />

of online news agency<br />

Momentum.co, and a<br />

former photo editor<br />

of online news agency<br />

The Standard. Currently,<br />

he is the Leica Ambassador<br />

(Thailand), and<br />

he is also a member of<br />

Street Photo Thailand<br />

and Architectural<br />

Photographers @<br />

somethingarchitecture.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!