20.01.2015 Views

Chapter 2 สมรรถนะ (Competency) - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

Chapter 2 สมรรถนะ (Competency) - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

Chapter 2 สมรรถนะ (Competency) - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>Chapter</strong> 2 สมรรถนะ (<strong>Competency</strong>)<br />

ผศ.ดร. พนม เพชรจตุพร<br />

ดร. ทวิกา ตั งประภา<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร<br />

1


กล่าวนํา<br />

ในหัวข้อทีผ่านมานั น อาจารย์ได้กล่าวถึง <strong>Competency</strong> ในแบบคร่าว ๆ พอให้เกิด<br />

แนวความคิดและความสัมพันธ์ระหว่าง CM (<strong>Competency</strong> Management), KM<br />

(Knowledge Management) และ LO (Learning Organization) เป็ นต้น<br />

คราวนี<br />

เราจะมาดู ภาพของ <strong>Competency</strong> จริง ๆ ทีใช้ในวงกว้าง และอาจมีการแบ่ง<br />

<strong>Competency</strong> ทีแปลกออกไป<br />

2


History of <strong>Competency</strong><br />

3


ทีมาของ <strong>Competency</strong><br />

จุดกําเนิดของ <strong>Competency</strong> เกิดขึ นในปี 1970 เมือบริษัท McBer ได้รับการติดต่อ<br />

จากหน่วยงานรัฐบาลสหรัฐให้ช่วยเหลือในการคัดเลือก Foreign Service<br />

Information Officer (FSIOs) หรือเจ้าหน้าทีทีทําหน้าทีเป็ นตัวแทนของประเทศ<br />

สหรัฐอเมริกาในประเทศต่าง ๆ ทั<br />

วโลก มีหน้าทีเผยแพร่วัฒนธรรมและและเรืองราว<br />

ของประเทศสหรัฐอเมริกาให้กับคนในประเทศเหล่านั น ซึ งในขณะนั นแทบจะ<br />

ทั งหมดของเจ้าหน้าทีเหล่านี "เป็ นคนผิวขาว“<br />

ก่อนหน้านั นหน่วยงานสหรัฐข้างต้นได้คัดเลือกเจ้าหน้าที FSIOs ด้วยการใช้<br />

แบบทดสอบทีเรียกว่า "Foreign Service Officer Exam" ซึ งเป็ นแบบทดสอบทีมุ่ง<br />

ทดสอบด้านทักษะ (Skill) ทีเจ้าหน้าทีระดับสูงของหน่วยงานนี คิดว่าจําเป็ นในการ<br />

ปฏิบัติงานในตําแหน่งนี แต่กลับพบว่าแบบทดสอบข้างต้นมีจุดอ่อน กล่าวคือ<br />

4


1) เป็ นการวัดผลเรืองวัฒนธรรมของชนชั นกลางและสูง และยังใช้เกณฑ์วัดทีสูงมาก<br />

ในการวัดผล ทําให้ชนกลุ่มน้อยในประเทศ (คนผิวสี) ไม่มีโอกาสทีจะสอบผ่าน ซึ ง<br />

สะท้อนให้เห็นว่า การคัดเลือกพนักงานของหน่วยงานนี มีลักษณะของการ "เลือก<br />

ปฏิบัติ"<br />

2) มีการค้นพบต่อมาในภายหลังว่า คะแนนสอบไม่สัมพันธ์กับผลการปฏิบัติงาน<br />

กล่าวคือ ผู้ทีทําคะแนนสอบได้ดี กลับไม่มีผลการปฏิบัติงานทีดีตามทีองค์กร<br />

คาดหวังเสมอไป<br />

5


หน่วยงานนี จึงได้ว่าจ้างบริษัท McBer ภายใต้การนําของ David McClelland ให้เข้า<br />

มาช่วยแก้ปัญหาดังกล่าว สิ งที David McClelland ได้รับมอบหมายให้ทําก็คือ การหา<br />

เครืองมือชนิดใหม่ทีดีกว่า และสามารถทํานายผลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที FSIOs<br />

ได้อย่างแม่นยําเพือใช้ทดแทนแบบทดสอบเก่า ดังนั น David McClelland จึงเริมต้น<br />

ด้วยกระบวนการดังนี<br />

1) ทําการเปรียบเทียบเจ้าหน้าที FSIOs ทีมีผลการปฏิบัติงานดี (Superior Performer)<br />

กับเจ้าหน้าทีทีมีผลการปฏิบัติงานตามเกณฑ์เฉลีย (Average Performer)<br />

2) สร้างเทคนิคการประเมินแบบใหม่ทีเรียกว่า Behavioral Event Interview (BEI) ซึ ง<br />

เป็ นเทคนิคทีให้ผู้ทําแบบทดสอบ ตอบคําถามเกียวกับความสําเร็จสูงสุด 3 เรือง และ<br />

ความล้มเหลวสูงสุด 3 เรือง เพือนําไปสู ่สิ งทีเขาต้องการค้นหา คือ ผู้ทีมีผลปฏิบัติงาน<br />

เป็ นเลิศนั น มีลักษณะพฤติกรรมอย่างไร<br />

6


3) วิเคราะห์คะแนนสอบทีได้จากการทําแบบทดสอบ BEI ของเจ้าหน้าทีทีมีผล<br />

ปฏิบัติงานดีและผู้ทีมีผลปฏิบัติงานตามเกณฑ์เฉลีย เพือค้นหาลักษณะของพฤติกรรมที<br />

แตกต่างกันของคน 2 กลุ่มนี ซึงลักษณะของพฤติกรรมทีก่อให้เกิดผลการปฏิบัติงาน<br />

ทีดีหรือ Superior Performer นี David McClelland เรียกว่า <strong>Competency</strong><br />

ต่อมา David McClellend ได้แสดงแนวความคิดของเขาในเรือง <strong>Competency</strong> เอาไว้ใน<br />

บทความ ชือ Testing for Competence Rather Than Intelligence ว่า "IQ ไม่ใช่<br />

ตัวชีวัดทีดีของผลงานและความสําเร็จโดยรวม แต่ <strong>Competency</strong> กลับเป็ นสิงที<br />

สามารถคาดหมายความสําเร็จในงานได้ดีกว่า" ซึ งสะท้อนให้เห็นว่า "ผู้ทีทํางานเก่ง"<br />

มิได้หมายถึง "ผู้ทีเรียนเก่ง" แต่ผู้ประสบผลสําเร็จในงานต้องเป็ นผู้ทีมีความสามารถ<br />

ในการประยุกต์ใช้หลักการหรือวิชาการทีมีอยู ่ในตัวนั น ก่อให้เกิดประโยชน์ในการที<br />

ตนทํา จึงจะกล่าวได้ว่า บุคคลผู้นั นมี <strong>Competency</strong><br />

7


่<br />

่<br />

จากจุดกําเนิดของ <strong>Competency</strong> ดังได้กล่าวมาแล้วนั น ทําให้นักการศึกษาและ<br />

นักวิชาการหลายสํานักได้นําวิธีการของ McClelland มาใช้เป็ นแนวทางในการศึกษา<br />

เรือง <strong>Competency</strong> ในเวลาต่อมา<br />

ปี 1982 Richard. Boyatzis ได้เขียนหนังสือ “The Competent Manager : A Model of<br />

Effective Performance” โดยได้ใช้คําว่า “Competencies” เป็ นคนแรกและปี 1996<br />

(ดนัย เทียนพุฒ 2546:58) เขาได้นิยามความสามารถในงานเป็ นคุณลักษณะทีอยู<br />

ภายในบุคคลซึ งนําไปสู ่หรือเป็ นสาเหตุให้ผลงานมีประสิทธิภาพและเน้นว่า<br />

“คุณลักษณะทีอยู ่ภายใน” เป็ นทักษะไม่ใช่พฤติกรรมเพราะเป็ นสิ งทีกําหนดอยู<br />

ภายในบุคคลนั น ทําให้เกิดคุณลักษณะทีแตกต่างอย่างสําคัญมากเนืองจากขึ นอยู ่กับ<br />

สภาพแวดล้อมต่าง ๆ จะเกิดขึ นก็เมือมีการกําหนดหรือเหตุผลจากสิ งทีอยู ่ภายใน<br />

8


ปี 1994 Gary Hamel และ C.K. Prahalad เขียนหนังสือ Competing for The<br />

Future” ได้นําเสนอสิงทีเรียกว่า “Core Competencies” ความสามารถหลักของ<br />

ธุรกิจ โดยระบุว่าสิ งนี เท่านั นทีจะทําให้ธุรกิจชนะในการแข่งขัน และเป็ นสิ งที<br />

คู<br />

่แข่งไม่อาจลอกเลียนแบบได้ ต่อมาได้มีการนําแนวความคิดนี<br />

ไปประยุกต์ใช้ใน<br />

งานบริหารบุคคลหน่วยงานราชการของสหรัฐอเมริกามากยิ<br />

งขึ<br />

น โดยการกําหนด<br />

ปัจจัยพื นฐานว่า ในตําแหน่งงานหนึ ง ๆ นั น จะต้องมีพื นฐานทักษะ ความรู้ และ<br />

ความสามารถหรือพฤตินิสัยใดบ้างและอยู ่ในระดับใด จึงจะทําให้บุคลากรนั นมี<br />

คุณลักษณะทีดีมีผลต่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพสูงและได้ผลการ<br />

ปฏิบัติงานตรงตามวัตถุประสงค์ขององค์การ<br />

อาจารย์จะพูดเรือง <strong>Competency</strong> ของ Gary Hamel และ C.K. Prahalad เป็ นหลัก<br />

9


หลังจากนั น แนวความคิด <strong>Competency</strong> ได้ขยายผลมายังภาคธุรกิจเอกชนของ<br />

สหรัฐอเมริกามากยิ งขึ น สามารถสร้างความสําเร็จให้แก่ธุรกิจอย่างเห็นผลได้<br />

ชัดเจน โดยในปี ค.ศ. 1998 นิตยสาร Fortune ฉบับเดือนกันยายนได้สํารวจความ<br />

คิดเห็นจากผู้บริหารระดับสูงกว่า 4,000 คน จาก 15 ประเทศ พบว่า องค์กรธุรกิจ<br />

ชั<br />

นนําได้นําแนวความคิดนี<br />

ไปใช้เป็ นเครืองมือในการบริหารมากถึงร้อยละ 67 %<br />

(เดชา เตชะวัฒนไพศาล 2545:11) และการสํารวจของบริษัททีปรึกษาด้านการ<br />

จัดการชือ Bain & Company จาก 708 บริษัททัวโลกพบว่า Core Competencies<br />

เป็ น 1 ใน 25 เครืองมือบริหารสมัยใหม่ทีบริษัทนิยมนํามาใช้ปรับปรุงการจัดการที<br />

ได้รับความพึงพอใจสูงสุดเป็ นอันดับ 3 รองจาก Corporate Code of Ethics และ<br />

Strategic Planning (พสุ เดชะรินทร์ 2546:13)<br />

10


สําหรับประเทศไทยได้มีการนําแนวความคิด <strong>Competency</strong> มาใช้ในองค์การทีเป็ น<br />

เครือข่ายบริษัทข้ามชาติชั นนําก่อนทีจะแพร่หลายเข้าไปสู ่บริษัทชั นนําของประเทศ<br />

เช่น เครือปูนซีเมนต์ไทย ชินคอร์เปอเรชั น ไทยธนาคาร ปตท. ฯลฯ เนืองจาก<br />

ภาคเอกชนทีได้นําแนวคิด <strong>Competency</strong> ไปใช้และเกิดผลสําเร็จอย่างเห็นได้ชัดเจน<br />

ดังเช่น กรณีของเครือปูนซีเมนต์ไทยมีผลให้เกิดการตืนตัวในวงราชการ โดยได้มีการ<br />

นําแนวคิดนี ไปทดลองใช้ในหน่วยราชการ โดยสํานักงานข้าราชการพลเรือนได้จ้าง<br />

บริษัท Hay Group เป็ นทีปรึกษา ในการนําแนวความคิดนี มาใช้ในการพัฒนา<br />

ข้าราชการพลเรือนโดยในระยะแรกได้ทดลองนําแนวคิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์<br />

โดยยึดหลักสมรรถนะ (<strong>Competency</strong> Based Human Resource Development) มาใช้<br />

ในระบบการสรรหาผู้บริหารระดับสูง (SES) ในระบบราชการไทยและกําหนด<br />

สมรรถนะของข้าราชการทีจะสรรหาในอนาคต<br />

11


Meaning of <strong>Competency</strong><br />

12


ความหมายของ <strong>Competency</strong><br />

David Mc Clelland (1993 อ้างใน สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ) : สมรรถนะ หรือ<br />

<strong>Competency</strong> คือ บุคลิกลักษณะทีซ่อนอยู ่ภายในปัจเจกบุคคลซึ งสามารถผลักดันให้<br />

ปัจเจกบุคคลนั นสร้างผลการปฏิบัติงานทีดีหรือตามเกณฑ์ทีกําหนดในงานทีตน<br />

รับผิดชอบ<br />

Scott Parry (1998 อ้างใน สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ) : สมรรถนะ คือ องค์ประกอบ<br />

(Cluster) ของความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) และทัศนคติ (Attitudes) ของ<br />

ปัจเจกบุคคลทีมีอิทธิพลอย่างมากต่อผลสัมฤทธิ ของการทํางานของบุคคลนั น ๆ เป็ น<br />

บทบาทหรือความรับผิดชอบซึ งสัมพันธ์กับผลงานและสามารถวัดค่าเปรียบเทียบกับ<br />

เกณฑ์มาตรฐานและสามารถพัฒนาได้โดยการฝึ กอบรม<br />

13


สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน สมรรถนะ คือ กลุ่มของความรู้<br />

ความสามารถทักษะตลอดจนทัศนคติทีจําเป็ นในการทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br />

และประสิทธิผล คุณลักษณะของบุคคลทีมีผลต่อพฤติกรรมและผลของการ<br />

ปฏิบัติงาน ซึ งคุณลักษณะเหล่านี ส่วนหนึ งประกอบขึ นจากทักษะความรู้<br />

ความสามารถ ทัศนคติ บุคลิกภาพ ค่านิยมของบุคคล หรือพฤติกรรมของผู้ทีมีผลการ<br />

ปฏิบัติงานยอดเยียมในงานหนึ ง ๆ<br />

Hay Group. สมรรถนะ คือ ชุดของแบบแผนพฤติกรรมความสามารถ (และ<br />

คุณลักษณะ) ทีผู้ปฏิบัติงานควรมีในการปฏิบัติหน้าทีให้ประสบผลสําเร็จ สําหรับ<br />

นํามาใช้ในการบริหารทรัพยากรบุคคล การบริหารงานและการพัฒนาองค์การ<br />

เพือให้สมาชิกขององค์กรได้พัฒนาตนเองเพือให้ปฏิบัติงานในปัจจุบันและอนาคต<br />

ได้อย่างมีประสิทธิภาพตามทีองค์กรต้องการ<br />

14


่<br />

Richard Boyatzis (1982 อ้างใน ดนัย เทียนพุฒ : 56-57) สมรรถนะ คือ กลุ่มของ<br />

ความสามารถทีมีอยู ่ในตัวบุคคลซึ งกําหนดพฤติกรรมของบุคคลเพือให้บรรลุถึงความ<br />

ต้องการของงานภายใต้ปัจจัยสภาพแวดล้อมขององค์กร และทําให้บุคคลมุ่งมั นไปสู<br />

ผลลัพธ์ทีต้องการ<br />

วัฒนา พัฒนพงศ์ (2546 : 33) สมรรถนะ คือ ระดับของความสามารถในการปรับใช้<br />

กระบวนทัศน์ (Paradigm) ทัศนคติ พฤติกรรม ความรู้ และทักษะเพือการปฏิบัติงาน<br />

ให้เกิดคุณภาพ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ในการปฏิบัติหน้าทีของบุคคล<br />

ในองค์กร<br />

15


ณรงค์วิทย์ แสงทอง (2546 : 27) สมรรถนะ คือ ความสามารถหรือสมรรถนะของ<br />

ผู้ดํารงตําแหน่งงานทีงานนั น ๆ ต้องการ คําว่า <strong>Competency</strong> นี ไม่ได้หมายถึงเฉพาะ<br />

พฤติกรรมแต่ละมองลึกไปถึงความเชือทัศนคติ อุปนิสัยส่วนลึกของตนด้วย<br />

ขจรศักดิ<br />

หาญณรงค์ (2544 อ้างในพงษ์ศักดิ<br />

พรณัฐวุฒิกุล) : สมรรถนะ คือ สิ<br />

งซึ<br />

ง<br />

แสดงคุณลักษณะและคุณสมบัติของบุคคลรวมถึงความรู้ทักษะและพฤติกรรมที<br />

แสดงออกมาซึ งทําให้บรรลุผลสําเร็จในการปฏิบัติงานทีมีคุณภาพและ<br />

ประสิทธิภาพสูงกว่ามาตรฐานทั วไป<br />

16


บริษัทปูนซีเมนต์ไทย ให้ความหมายของสมรรถนะ คือ คุณลักษณะความสามารถ<br />

ทีองค์กรต้องการให้พนักงานมี ซึ งความสามารถดังกล่าวทําให้พนักงานสามารถ<br />

ปฏิบัติงานในความรับผิดชอบได้สําเร็จลุล่วงด้วยดี ทั งเป็ นการสนับสนุนเป้ าหมาย<br />

โดยรวมขององค์กรอีกด้วย<br />

สุทัศน์ นําพูลสุขสันต์ ให้ความหมายสมรรถนะ คือ คุณลักษะทั งในด้านทักษะ<br />

ความรู้และพฤติกรรมของบุคคล ซึ งจําเป็ นต่อการปฏิบัติงานในตําแหน่งหนึ ง ๆ<br />

ให้ประสบความสําเร็จ<br />

ปวดหัวละซี…. มาเอาตามต้นฉบับหรือ Mc Celland ดีกว่า<br />

17


ความหมายของ <strong>Competency</strong> ตามนิยามของแมคคลีแลนด์<br />

ความหมายของ “<strong>Competency</strong>” คือ บุคลิกลักษณะทีซ่อนอยู ่ภายในปัจเจกบุคคลซึ ง<br />

สามารถผลักดันให้ปัจเจกบุคคลนั น สร้างผลปฏิบัติงานทีดีหรือตามเกณฑ์ที<br />

กําหนด ในงานทีตนรับผิดชอบ” องค์ประกอบของ <strong>Competency</strong> เป็ นดังนี<br />

Skill<br />

Self Concept<br />

Trait, Motive<br />

Attitudes, Values<br />

Knowledge<br />

มองเห็นชัดเจน<br />

ระดับนํา<br />

ซ่อนอยู ่ในแต่ละบุคคล<br />

Skill<br />

Knowledge<br />

Self-concept<br />

Trait<br />

Motive<br />

ภูเขานําแข็ง<br />

18


สิ งทีเรามองเห็นได้มีแค่ 20-30% เท่านั น<br />

19


ข้อมูลความรู<br />

้ทีบุคคลมีในสาขาต่างๆ<br />

ความเชียวชาญชํานาญพิเศษในด้านต่างๆ<br />

องค์ความรู้<br />

และ<br />

ทักษะต่างๆ<br />

บทบาททีบุคคลแสดงออกต่อผู<br />

้อืน<br />

ความเคยชินพฤติกรรมซําๆ<br />

ในรูปแบบใดรูปแบบหนึง<br />

บทบาททีแสดงออกต่อสังคม (social Role)<br />

ความรู<br />

้สึกนึกคิดเกียวกับเอกลักษณ์<br />

และคุณค่าของตน<br />

ภาพลักษณ์ภายใน(Self Image<br />

จินตนาการ แนวโน้มวิธีคิดวิธีปฏิบัติตน<br />

อุปนิสัย (Traits)<br />

อันเป็ นไปโดยธรรมชาติของบุคคล<br />

แรงผลักดันเบื<br />

องลึก<br />

องลึก ( Motive)<br />

โมเดลภูเขานําแข็ง (Iceberg Model


ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของบุคคล สมรรถนะ และผลงาน<br />

คุณลักษณะของบุคคล<br />

สมรรถนะ<br />

1<br />

องค์ความรู้<br />

และ<br />

ทักษะต่างๆ<br />

สมรรถนะ<br />

2<br />

บทบาททีแสดงออกต่อสังคม (social Role)<br />

พฤติกรรม<br />

สมรรถนะ<br />

3<br />

ผลงาน<br />

ภาพลักษณ์ภายใน(Self Image)<br />

สมรรถนะ<br />

4<br />

อุปนิสัย (Traits)<br />

แรงผลักดันเบื<br />

องลึก ( Motive)<br />

สมรรถนะ<br />

5<br />

21


หลักตามแนวคิดของแมคคลีแลนด์องค์ประกอบของ <strong>Competency</strong> มี 5<br />

ส่วนคือ<br />

1. ความรู้ (knowledge) คือ ความรู้เฉพาะในเรืองทีต้องรู้ เป็ นความรู้ทีเป็ นสาระสําคัญ<br />

เช่น ความรู้ด้านเครืองยนต์ เป็ นต้น<br />

2. ทักษะ (skill) คือ สิงทีต้องการให้ทําได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ทักษะทาง<br />

คอมพิวเตอร์ ทักษะทางการถ่ายทอดความรู้ เป็ นต้น ทักษะทีเกิดได้นั นมาจากพื นฐาน<br />

ทางความรู้ และสามารถปฏิบัติได้อย่างแคล่วคล่องว่องไว<br />

3. ความคิดเห็นเกียวกับตนเอง (self – concept) คือ เจตคติ ค่านิยม และความคิดเห็น<br />

เกียวกับภาพลักษณ์ของตน หรือสิ งทีบุคคลเชือว่าตนเองเป็ น เช่น ความมั นใจในตนเอง<br />

เป็ นต้น<br />

4. บุคลิกลักษณะประจําตัวของบุคคล (traits) เป็ นสิ งทีอธิบายถึงบุคคลนั น เช่น คนที<br />

น่าเชือถือและไว้วางใจได้ หรือมีลักษณะเป็ นผู้นํา เป็ นต้น<br />

5. แรงจูงใจ/เจตคติ (motives / attitude) เป็ นแรงจูงใจ หรือแรงขับภายใน ซึ งทําให้บุคคล<br />

แสดงพฤติกรรมทีมุ่งไปสู ่เป้ าหมาย หรือมุ่งสู ่ความสําเร็จ เป็ นต้น<br />

22


Hard Skill vs. Soft Skill<br />

จะเห็นว่า ส่วนทีเป็ นความรู้และทักษะนั น ถือว่าเป็ นส่วนทีแต่ละคนสามารถพัฒนาให้มี<br />

ขึ นได้ไม่ยากนัก โดยอาศัยการค้นคว้า (ทําให้เกิดความรู้ (Knowledge)) และการฝึ กฝน<br />

ปฏิบัติ (ทําให้เกิดทักษะ (Skill)) ทั งสองส่วนนี มีนักวิชาการบางท่านเรียกว่า “Hard<br />

Skills”<br />

ในส่วน Self-concept (อันเป็ นทัศนคติ ค่านิยมและความเห็นเกียวกับภาพลักษณ์ของ<br />

ตนเอง) Trait (บุคลิกลักษณะประจําตัวของแต่ละคน) และ Motive (แรงจูงใจ หรือ แรง<br />

ขับดันภายในของแต่ละบุคคล) สิ งเหล่านี จะพัฒนาได้ยากกว่า เพราะเป็ นสิ งทีซ่อนเร้น<br />

อยู ่ภายในตัวบุคคล ซึ งนักวิชาการเรียกว่า “Soft Skills” เช่น ภาวะผู้นํา ความอดทนต่อ<br />

แรงกดดัน เป็ นต้น<br />

23


แมคคลีแลนด์ พบว่า <strong>Competency</strong> แบ่งได้เป็ น 2 กลุ ่ม คือ<br />

1) <strong>Competency</strong> ขั นพื นฐาน (Threshold Competencies) หมายถึง ความรู้หรือทักษะ<br />

พื นฐานทีบุคคลจําเป็ นต้องมีในการทํางาน เช่น ความรู้ในงานทีตนทําอยู ่ประจํา เป็ น<br />

ต้น ซึ ง <strong>Competency</strong> พื นฐานเหล่านี ไม่ทําให้บุคคลคนนั นแตกต่างจากผู้อืน หรือ ไม่<br />

สามารถทําให้บุคคลคนนั นมีผลงานทีดีกว่าผู้อืน ดังนั น <strong>Competency</strong> กลุ่มนี จึงไม่ได้<br />

รับความสนใจจากนักวิชาการ บางคนถึงกับถือว่า ความรู้และทักษะพื<br />

นฐานเหล่านี<br />

ไม่ถือว่า เป็ น <strong>Competency</strong><br />

2) <strong>Competency</strong> ทีทําให้บุคคลแตกต่างจากผู้อืน (Differentiating Competencies)<br />

หมายถึง ปัจจัยทีทําให้บุคคลมีผลการทํางานสูงกว่ามาตรฐานหรือดีกว่าบุคคลทั วไป<br />

ซึ ง <strong>Competency</strong> ในกลุ่มนี จะมุ่งเน้นไปทีการใช้ความรู้ ทักษะและคุณลักษณะอืน ๆ<br />

เพือช่วยให้เกิดผลสําเร็จทีดีเลิศในงาน นักวิชาการจํานวนมากสนใจและให้<br />

ความสําคัญกับกลุ่มนี มาก<br />

24


Scott B. Parry ได้ รวมเอา Self-concept, Trait และ Motive เข้าไว้ด้วยกัน แล้วเรียกว่า<br />

“คุณลักษณะ หรือ Attributes” และให้นิยาม <strong>Competency</strong> ว่า คือ กลุ่มของความรู้<br />

(Knowledge) ทักษะ (Skills) และ คุณลักษณะ (Attributes) ทีเกียวข้องกัน ซึ งมี<br />

ผลกระทบต่องานหลักของตําแหน่งงานหนึ<br />

ง ๆ ซึ<br />

งกลุ่มความรู้ ทักษะและคุณลักษณะ<br />

ดังกล่าว สัมพันธ์กับผลงานของตําแหน่งงานนั<br />

น ๆ และสามารถวัดเปรียบเทียบกับ<br />

มาตรฐาน ทีเป็ นทียอมรับและเป็ นสิ งทีสามารถเสริมสร้างขึ นได้ โดยผ่านการฝึ กอบรม<br />

และพัฒนา<br />

25


Genesh Shermon กล่าวว่า <strong>Competency</strong> สามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ความหมาย คือ<br />

ความหมายที 1 <strong>Competency</strong> หมายถึง ความสามารถของแต่ละบุคคลทีจะสามารถ<br />

ทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพในขอบเขตงานทีตนรับผิดชอบ (ความหมายนี คือ ทํา<br />

ได้ตามมาตรฐาน)<br />

ความหมายที 2 <strong>Competency</strong> หมายถึง คุณสมบัติทีบุคคลจําเป็ นต้องมี เพือให้<br />

สามารถทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ความหมายนี ทําได้ดีกว่าคนอืน)<br />

Shermon ยึดถือตามความหมายที 2 ซึ งเชือมโยงกันดังนี <br />

บุคคลมี <strong>Competency</strong> (ทีจําเป็ นต่องาน) สิ งนี ก่อให้เกิด พฤติกรรมของคน ๆ นั น<br />

(การกระทําและความคิด) สิ งนี ก่อให้เกิด ผลงาน (สินค้าและบริการ) สิ งนี ก่อให้เกิด<br />

ผลลัพธ์ทีองค์กรต้องการ ลองดูในสไลด์หน้าถัดไป<br />

26


ประเภทของสมรรถนะ<br />

เมือพิจารณาทีมาและพัฒนาการของสมรรถนะ พบว่า องค์กรหนึ ง ๆ จะประกอบด้วย<br />

“สมรรถนะ” 2 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่<br />

1) สมรรถนะขององค์กร (Organizational <strong>Competency</strong>) (บางคนเรียก ความสามารถ<br />

ขององค์กร (Organizational Capability) คือ สิ<br />

งทีแสดงให้เห็นว่า องค์กรมีความสามารถ<br />

หลักในการดําเนินธุรกิจ หรือ กิจกรรมขององค์กรอย่างไร และ จะทําอะไร เช่น การ<br />

กําหนดวิสัยทัศน์และแผนกลยุทธ์ขององค์กร เป็ นต้น<br />

2) สมรรถนะของทรัพยากรมนุษย์ (Human <strong>Competency</strong> หรือ Employee <strong>Competency</strong>)<br />

คือ พฤติกรรม การแสดงออก การใช้องค์ความรู้ ทักษะในการปฏิบัติงาน และการรับรู้<br />

ในบทบาทหน้าทีทีรับผิดชอบในการปฏิบัติงานของบุคคลากรในองค์กร เพือสนับสนุน<br />

สมรรถนะขององค์กรให้ดําเนินธุรกิจ หรือ กิจกรรมขององค์กรประสบผลสําเร็จ<br />

28


ประเภทของสมรรถนะเมือมองภาพใหญ่<br />

พันธกิจ<br />

ค่านิยม<br />

กลยุทธ์ขององค์กร<br />

วิสัยทัศน์<br />

ผลการปฏิบัติงาน<br />

อันดีเลิศ<br />

1 สมรรถนะขององค์กร<br />

2<br />

สมรรถนะของทรัพยากรมนุษย์<br />

สมรรถนะ<br />

<strong>Competency</strong><br />

29


ขอสรุปตรงนี ก่อนนะ…….<br />

เพือไม่ให้สับสน ขอให้คุณจําไว้ก่อนว่า สมรรถนะทีมีอยู ่ในองค์กรหนึ ง ๆ เราจะ<br />

แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ<br />

1) สมรรถนะขององค์กร (Organizational <strong>Competency</strong>) หมายถึง องค์กรต้องมี<br />

สมรรถนะอะไรบ้างมันถึงจะเก่งกว่าองค์กรอืน ๆ<br />

2) สมรรถนะของพนักงาน (Employee <strong>Competency</strong>) หมายถึง พนักงานทีทํางาน<br />

ในองค์กรนั น ๆ ต้องมีสมรรถนะอะไรบ้าง<br />

ต้องแยกตรงนี และจําให้ได้ก่อนเดียวมันจะสับสนกันไปหมด<br />

30


ขอบเขตของสมรรถนะทีเกียวข้องกับภาพใหญ่<br />

เราสามารถแบ่งออกได้เป็ น 4 ขอบเขตด้วยกันคือ<br />

1) สมรรถนะหลัก (Core <strong>Competency</strong> หรือ Core Capability) เป็ นสิ งทีบ่งบอกว่า<br />

องค์กรจะมีสมรรถนะอะไรในการดําเนินงาน หรือ ปฏิบัติงานในเชิงทีเกียวข้องกับ<br />

เครืองมือ (Technical Knowledge and Skills) หรือ ตอบคําถามว่า องค์กรนี<br />

ดําเนิน<br />

ธุรกิจอะไร และใช้ความรู้ ความสามารถอย่างไร<br />

2) ค่านิยมและความเชือหลัก (Core Values and Belief) เป็ นสิ งทีบ่งบอกว่า องค์กร<br />

มีระบบการจัดการกับคนในองค์กรอย่างไร มีบรรยากาศ มีรูปแบบของวัฒนธรรม<br />

เป็ นอย่างไร<br />

สังเกตให้ดี สองข้อนี เกียวกับตัวองค์กรเอง<br />

31


ค่อย ๆ คิดดู …..<br />

เมือเราตั งบริษัทขึ นมาสักบริษัทหนึ ง เราคงต้องกําหนดขึ นมาก่อนแล้วว่า เราจะขาย<br />

อะไรให้กับลูกค้า ขอให้เราอย่าไปมองทีตัวสินค้า ขอให้มองว่า เราขาย “คุณค่า<br />

(Value)” อะไรให้กับลูกค้า เช่น ถ้าคุณตั งร้านกาแฟขึ นมาสักร้านหนึ ง ถ้าคุณมองแค่<br />

ว่า คุณขาย “กาแฟ” คุณก็ต้องเข้าใจต่อไปอีกว่า ผมจะซื อกาแฟกินทีไหนก็ได้ ไม่ต้อง<br />

มาซื<br />

อทีร้านคุณหรอก …. แต่ถ้าคุณตั<br />

งว่า คุณจะเซิร์ฟกาแฟทีสด ใหม่ ปรุงทีละแก้ว<br />

ตามสูตรเฉพาะของท่านด้วยความพิถีพิถัน ให้กับลูกค้าด้วยความใจ ด้วยรสชาติที<br />

กลมกล่อม มีกลิ นหอมชวนดืม …. มันคือคุณค่าหลักทีคุณขายให้กับลูกค้า เมือ<br />

พนักงานทําเหมือน ๆ กัน มันก็กลายเป็ นวัฒนธรรม ความเชือขององค์กร ขึ นมา<br />

กระบวนการผสมกาแฟ การชงกาแฟตามสูตรเฉพาะของท่าน มันก็จะกลายเป็ น<br />

สมรรถนะหลักขององค์กรของท่าน ซึ งมันแตกต่างไปจากคนอืน มันดีกว่าคนอืน มัน<br />

เป็ นสิ งทีทําให้คุณค่าหลักขององค์กรเดินต่อไปได้<br />

32


ในทางกลับกัน ถ้าคุณค่าหลักเปลียนไปจากเดิม เช่น ต่อมาคุณขายดีมากขึ น ๆ คุณหัน<br />

ไปเน้นเรืองชงให้เร็ว ขายให้มาก (คุณเน้นทีการทําเงิน) พนักงานของคุณทั งหลาย<br />

ย่อมรู้ว่าองค์กรต้องการขายให้ได้ปริมาณมาก ต้องการทําเงิน พวกเขาย่อมมุ่งไปทีชง<br />

ให้เร็ว ขายให้มาก ย่อมขาดความพิถีพิถัน เอาใจใส่ (เพราะเน้นไปทีต้องชงให้เร็ว จะ<br />

ได้ขายได้เยอะ ๆ จะเห็นว่า สมรรถนะหลักขององค์กรก็จะค่อย ๆ เปลียนไป) คุณ<br />

ค่าทีคุณให้กับลูกค้าก็จะเปลียนไป (รสชาติของกาแฟแย่ พนักงานไม่สนใจลูกค้า)<br />

ลูกค้าก็จะหายไปจากคุณ ในทีสุดกาแฟของคุณก็ไม่ต่างอะไรจากของคนอืน<br />

จากทีกล่าวมาจะเห็นได้ว่า ทั งสองส่วนนี มันสนับสนุน เกื อกูลกัน<br />

33


3) สมรรถนะด้านความรู้ และทักษะในการทํางาน (Technical Knowledge and Job<br />

Skills) เป็ นสิ งทีจะบ่งบอกว่า บุคคลากรในองค์กรจําเป็ นจะต้องมีสมรรถนะในเรือง<br />

เกียวกับความรู้ หรือ ทักษะทีต้องใช้ในการดําเนินงานกับเครืองมือ (Technical<br />

Knowledge and Job Skills) อุปกรณ์ (Tools) หรือ บริการ (Service) ขององค์กร<br />

อย่างไร และจะเป็ นไปทํานองเดียวกันกับสมรรถนะหลัก<br />

4) สมรรถนะด้านทักษะ และความสามารถในการแสดงออก (Performance Skill and<br />

Competencies) เป็ นสิ งทีจะบ่งบอกว่า องค์กรต้องการบุคคลทีมีลักษณะบุคลิกภาพ<br />

การมีปฏิสัมพันธ์อย่างไร จึงจะเป็ นไปในรูปแบบเดียวกับองค์กรทีต้องการ หรือ<br />

เป็ นไปตามวัฒนธรรม ค่านิยม หรือ ความเชือขององค์กร<br />

และสองข้อนี เกียวกับคนในองค์กร<br />

34


ค่อย ๆ คิดดู<br />

เมือองค์กรต้องการเซิร์ฟกาแฟทีสด ใหม่ ปรุงทีละแก้วตามสูตรเฉพาะของท่านด้วย<br />

ความพิถีพิถัน ให้กับลูกค้าด้วยความตั งใจ ด้วยรสชาติทีกลมกล่อม มีกลิ นหอมชวน<br />

ดืม ….<br />

มันก็เป็ นคําถามว่า แล้วพนักงานแต่ละคนต้องมีความรู้ มีทักษะอะไรบ้าง จึงจะ<br />

สามารถชงกาแฟได้ตามทีองค์กรต้องการ<br />

นอกจากนั น พนักงานจะต้องปฏิบัติตัว ต้อนรับ พูดคุยกับลูกค้าอย่างไรบ้าง ลูกค้าจึง<br />

จะประทับใจทั งการให้บริการของพนักงานและรสชาติของกาแฟ และสอดรับกับ<br />

วัฒนธรรมขององค์กร<br />

กาแฟอร่อย แต่คนขายหน้าตาบอกบุญไม่รับ ตวาดลูกค้าแว๊ด ๆ ลูกค้าก็คงไม่ซื อ<br />

หรอกกระมัง<br />

35


สรุป<br />

ลักษณะขององค์กร<br />

ความรู ้และทักษะ<br />

ในการทํางานกับคน<br />

สมรรถนะหลัก<br />

ความรู ้และทักษะ<br />

ในการทํางาน<br />

ค่านิยมและ<br />

ความเชือหลัก<br />

ทักษะและความ<br />

สามารถในด้าน<br />

การแสดงออก<br />

ความสามารถในการ<br />

ทํางานและทักษะ<br />

ในการติดต่อกับคน<br />

ลักษณะของบุคคล<br />

36


มาพูดกันในเรืองสมรรถนะของพนักงานกันก่อน<br />

ลักษณะของสมรรถนะ แสดงออกได้หลากหลายมุมมองหรือแนวความคิด เช่น<br />

มุมมองทางประเทศสหรัฐอเมริกามองว่า “สมรรถนะ” เป็ นปัจจัยนําเข้า (Input) ที<br />

พนักงานมี ทักษะ ความรู้ และความสามารถทีส่งผลต่อการปฏิบัติงานของ<br />

พนักงานผู้นั<br />

น (อะไรทีเราต้องใส่เข้าไปให้กับเขา จึงจะทําให้เขาทํางานเก่ง)<br />

มุมมองทางประเทศอังกฤษ มองว่า ขีดความสามารถ เป็ นปัจจัยส่งออก (Output) ที<br />

ได้จากการปฏิบัติงาน ทีเกิดจากการกําหนดเงือนไขในงานนั น (คนทีทํางานใน<br />

หน้าทีหนึ ง ๆ ได้สําเร็จนั น ควรมีพฤติกรรมอย่างไร)<br />

37


ความหมายของสมรรถนะทีมองต่างกัน<br />

ความหมายของคําว่า <strong>Competency</strong> หากจะแบ่งกันอย่างหยาบๆ สามารถแบ่งได้ 2<br />

กลุ่มคือ 1) British Approach และ 2) American Approach จะเห็นได้ว่าการทํา<br />

ความเข้าใจเรืองนี อย่างถ่องแท้ จึงเป็ นเรืองจําเป็ นอย่างยิ งสําหรับผู้ปฏิบัติงานที<br />

เกียวข้อง เนืองจาก <strong>Competency</strong> อาจหมายถึง <strong>Competency</strong> ของบุคลากรทีเป็ น<br />

มาตรฐาน หรือ <strong>Competency</strong> ของบุคลากรทีเก่งก็ได้ ทั<br />

งสองแนวคิดมีผลต่อการ<br />

นําไปปฏิบัติทีแตกต่างกัน<br />

38


แนวทางของอังกฤษ<br />

ในประเทศไทยเองมีการรับแนวคิด <strong>Competency</strong> มาตรฐานหรือ British Approach<br />

นีมาใช้ เช่น การกําหนด <strong>Competency</strong> ตามวิชาชีพต่างๆ ของกรมพัฒนาฝี มือแรงงาน<br />

และสภาอุตสาหกรรม ซึ งการกําหนด <strong>Competency</strong> เช่นนี มีวัตถุประสงค์หลาย<br />

ประการคือ<br />

1) เพือให้เกิดการรับรองความสามารถของบุคลากรในวิชาชีพนั นๆ ไม่ใช่ว่าจบ<br />

การศึกษาจากสถานศึกษาใดก็จะสรุปว่ามี <strong>Competency</strong> ตามตัว หรือใบปริญญานั นๆ<br />

คงไม่ได้ แต่การกําหนด <strong>Competency</strong> แล้วทําการทดสอบ <strong>Competency</strong> ของผู้จบ<br />

การศึกษาทําให้องค์การในภาคธุรกิจสามารถเลือกจ้างบุคลากรทีสามารถทํางานได้<br />

ตาม <strong>Competency</strong> ทีต้องการ มากกว่าได้บุคลากรทีมีคุณวุฒิสูง จบจากสถานศึกษามี<br />

ชือเสียง แต่อาจไม่สามารถทํางานตามทีต้องการได้<br />

39


2) ใช้กําหนดค่าตอบแทนให้กับบุคลากรตาม <strong>Competency</strong> อีกด้วย บุคลากรบาง<br />

คนทํางานตั งแต่จบประกาศนียบัตรวิชาชีพชั นต้น (ปวช.) วันนี มีประสบการณ์งาน<br />

10 ปี อาจมีความสามารถในการทํางานเทียบเท่าวิศวกร แต่ระบบการจ่าย<br />

ค่าตอบแทนแบบเดิมๆ คือ “จ่ายตามจบ” ไม่ได้จ่ายตามความสามารถ ทําให้วันนี<br />

องค์การอาจจ่ายค่าตอบแทนไม่สูงก็ตํ<br />

ากว่าทีควรจะเป็ นได้ การจ่ายตาม<br />

<strong>Competency</strong> จึงช่วยทําให้องค์การสามารถจูงใจบุคลากรทีดีมีความสามารถทํางาน<br />

กับองค์การได้นานๆ<br />

3) ใช้เพือการพัฒนาบุคลากรในวิชาชีพนั นๆ ตามระดับ <strong>Competency</strong> ตัวอย่างการ<br />

กําหนดให้ช่างกลึงต้องมีความสามารถทําอะไรได้บ้างใน <strong>Competency</strong> ระดับที 1<br />

ซึ งแน่นอนต้องมีความรู้ ทักษะ พฤติกรรมแตกต่างจาก <strong>Competency</strong> ของช่างกลึง<br />

ระดับที 2<br />

40


แนวทางของสหรัฐ<br />

<strong>Competency</strong> ในแนว American Approach มีการนําไปใช้ทีแตกต่างกัน เนืองจาก<br />

วัตถุประสงค์เพือการพัฒนาบุคลากรมากกว่าสิ งอืนใด ซึ งในทีนี การพัฒนาบุคลากร<br />

เป็ นไปในเชิงกลยุทธ์ คือพัฒนาตามแนวทางทีองค์การต้องการเป็ น ดังนั น<br />

<strong>Competency</strong> ในแนวทางนี<br />

จึงเป็ น <strong>Competency</strong> ทีไม่สามารถลอกเลียนกันได้ แต่ละ<br />

องค์การต้องการบุคลากรทีมีลักษณะแตกต่างกัน เนืองจากองค์การเองก็มี <strong>Competency</strong><br />

หรือมี Organization <strong>Competency</strong> ทีแตกต่างกัน<br />

คงเป็ นไปไม่ได้ทีวันนี เราจะสร้างหรือพัฒนาคนของมหานครให้เป็ นแบบคนของ<br />

ลาดกระบัง ทั งนี ก็เพราะว่า วัฒนธรรม การบริหารจัดการของสถานศึกษาทั งสองย่อม<br />

แตกต่างกัน แม้ว่าจะเป็ นองค์การทีให้บริการด้านเดียวกันคือการเรียนการสอน แต่<br />

คุณลักษณะขององค์กรทั งสองนั น มีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด ซึ งหมายถึงคน<br />

ในองค์กรทีต้องการความแตกต่างกันด้วย<br />

41


เปรียบเทียบระหว่างสองแนวทาง<br />

เมือเข้าใจความหมายของ <strong>Competency</strong> เช่นนี แล้ว จะทําให้ผู้ทีต้องการใช้<br />

<strong>Competency</strong>-based HRM หยุดคิดสักนิดก่อนลงมือพัฒนา <strong>Competency</strong> ขึ นมาใน<br />

องค์การ เพราะผู ้บริหารต้องตอบคําถามแรกคือ ต้องการหา <strong>Competency</strong> ไปเพือ<br />

อะไร เพือสร้างมาตรฐานคุณลักษณะงาน (อังกฤษ) หรือเพือสร้างคุณลักษณะที<br />

คาดหวังทีจะทําให้บุคลากรทํางานได้โดดเด่นในตําแหน่งทีดํารงอยู ่ (สหรัฐ)<br />

42


McLagan สรุปลักษณะสมรรถนะในมุมมองต่าง ๆ ดังนี <br />

1) สมรรถนะตามลักษณะงาน (<strong>Competency</strong> as Task) เป็ นการแสดงถึงว่า<br />

สมรรถนะต่าง ๆ สามารถแบ่งออกเป็ นงานย่อย ๆ และกําหนดขอบเขตของงานที<br />

จะทําได้ เช่น งานทําความสะอาดพื น งานย่อย คือ การเลือกไม้กวาด ซึ งงานย่อยลง<br />

ไปอีกก็จะมีความสามารถในการเลือกใช้ไม้กวาดว่า จะเลือกใช้ไม้กวาดอันใดใน<br />

การทํางานทีจะเกิดประโยชน์สูงสุด<br />

2) สมรรถนะตามลักษณะของผลการกระทํา (<strong>Competency</strong> as Results) เป็ นแบ่ง<br />

สมรรถนะออกเป็ นองค์ประกอบย่อย ซึ งจะรวมไปสู ่ผลลัพธ์ร่วม<br />

3) สมรรถนะตามลักษณะของผลกระทํา (<strong>Competency</strong> as Outputs) สมรรถนะ<br />

ลักษณะนี จําเป็ นทีจะต้องค้นคว้าความต้องการของลูกค้าทั งภายในและภายนอก<br />

องค์กร เพือให้ได้มาถึงความต้องการในการผลิตหรือบริการ จากนั นจึงแบ่งผลทีได้<br />

ออกมาเป็ นองค์ประกอบย่อย ๆ และกําหนดคุณภาพและมาตรฐานทีต้องการใน<br />

การตอบสนองความต้องการของลูกค้า<br />

43


ดังนั นผลทีได้ (Output) จะสามารถออกแบบผลผลิตได้ ผลทีได้ดังกล่าวจะเป็ น<br />

ตัวกําหนดพิมพ์เขียว ความต้องการของลูกค้าและแบบจําลองผลผลิตต่อไป<br />

4) สมรรถนะตามความรู้ ทักษะ และทัศนคติ (<strong>Competency</strong> as Knowledge, Skill and<br />

Attitude) คนทีฉลาดรอบรู้จะมีการแสดงออกทางพฤติกรรมหรือวิธีการต่าง ๆ ทีจะบ่ง<br />

บอกว่า คน ๆ นั<br />

นมีความสามารถในการปฏิบัติงานสูง โดยใช้สมรรถนะทีจะแสดงถึง<br />

ความรู้ ทักษะ ทัศนคติ ทีจะทําให้เกิดผลสําเร็จ รวมถึงพฤติกรรมทีแสดงออก เช่น การ<br />

กําหนดเป้ าหมาย การหาหนทางทีจะแก้ไขปัญหา เพือให้ไปให้ถึงเป้ าหมาย และการใช้<br />

เป้ าหมาย เป็ นตัวกําหนดความสําคัญในการทํางาน<br />

5) สมรรถนะตามลักษณะของแต่ละคนทีมีอยู ่ (<strong>Competency</strong> as Attribute Bundle) เป็ น<br />

การประยุกต์ใช้กระบวนการของขีดความสามารถเกียวกับความรู้ ทักษะ และทัศนคติ ซึ ง<br />

เป็ นเรืองยากมากทีจะเจาะจงว่าเป็ นความรู้ ทักษะ หรือ ทัศนคติ ตัวอย่างเช่น ภาวะผู้นํา<br />

จะต้องแสดงพฤติกรรมทีสามารถจูงใจให้บุคคลปฏิบัติตามได้ เป็ นต้น<br />

44


พอพูดถึงสมรรถนะ ปวดหัวจีด นักวิชาการแบ่งไม่เหมือนกัน<br />

เมือเรามองในแง่สมรรถนะของทรัพยากรมนุษย์แล้ว (คือมองในแง่ของคนที<br />

ทํางานให้กับองค์กร) ไม่มีหลักการทีตายตัวว่าจะแบ่งออกเป็ นกีประเภท ทั งนี ก็<br />

ขึ นอยู ่กับแต่ละองค์กรว่าจะแบ่งกันอย่างไร<br />

อาจารย์จะแบ่งออกเป็ นสองส่วนก่อนคือ<br />

<strong>Competency</strong><br />

พืนฐาน<br />

<strong>Competency</strong> ที<br />

เหมือนกันทุกคน<br />

(Common<br />

<strong>Competency</strong>)<br />

<strong>Competency</strong><br />

ตามฟังก์ชันงาน<br />

(Function<br />

<strong>Competency</strong>)<br />

<strong>Competency</strong><br />

ตามฟังก์ชันงาน<br />

45


จากนั นจะแบ่งเพิมอีกนิดหนึ งในแต่ละกลุ ่ม<br />

Common<br />

<strong>Competency</strong><br />

Function<br />

<strong>Competency</strong><br />

Managerial<br />

<strong>Competency</strong><br />

ระดับพนักงาน<br />

ระดับผู ้บริหาร<br />

46


ขยายเพิ มในแต่ละกลุ ่มอีกก็ได้<br />

Common/<br />

Personal/<br />

Individual<br />

<strong>Competency</strong><br />

Function/Job<br />

Technical<br />

<strong>Competency</strong><br />

Managerial/<br />

Professional<br />

<strong>Competency</strong><br />

ระดับพนักงาน<br />

ระดับผู ้บริหาร/<br />

มืออาชีพ<br />

47


1. Job/Function/Technical <strong>Competency</strong><br />

หมายถึง บุคลิกลักษณะของบุคลากรทีพึงประสงค์ ทีสะท้อนให้เห็นถึง ความรู้<br />

(Knowledge) ทักษะ (Skill) และ ทัศนคติ (Attitude) และคุณลักษณะเฉพาะของ<br />

งานต่าง ๆ (Job-based) ทีจะช่วยส่งเสริมให้คน ๆ นั<br />

น สามารถสร้างผลงานในการ<br />

ปฏิบัติงานนั น ๆ ได้ประสบความสําเร็จ<br />

มองทีตัวงานทีต้องทําให้กับหน่วยงานเป็ นหลักว่า คนจะต้องเป็ นอย่างไรจึงจะ<br />

ทํางานได้สําเร็จ (แค่สําเร็จนะครับ ทําได้ตามมาตรฐาน แต่ยังไม่โดดเด่น)<br />

บางคนแยก Function <strong>Competency</strong> ออกมาจาก Job/Technical <strong>Competency</strong><br />

48


2. Personal / Individual <strong>Competency</strong><br />

หมายถึง บุคลิกลักษณะของบุคลากรทีพึงประสงค์ ทีสะท้อนให้เห็นถึง ความรู้<br />

(Knowledge) ทักษะ (Skill) และ ทัศนคติ (Attitude) และคุณลักษณะเฉพาะของ<br />

บุคคล หรือ ความสามารถพิเศษส่วนบุคคล (Individual-based) ทีจะช่วยส่งเสริม<br />

ให้คน ๆ นั น สามารถปฏิบัติงานตามหน้าที/งานทีได้รับมอบหมายได้ประสบ<br />

ความสําเร็จ หรือ โดดเด่นกว่าบุคคลทั วไป<br />

มองทีตัวคนเป็ นหลักว่าเขามีอะไร จึงทําให้ทํางานได้โดดเด่นกว่าคนอืน (หรือ<br />

เหนือกว่ามาตรฐานนั นเอง)<br />

49


3. Managerial / Professional <strong>Competency</strong><br />

หมายถึง บุคลิกลักษณะของบุคลากรทีพึงประสงค์ ทีสะท้อนให้เห็นถึง ความรู้<br />

(Knowledge) ทักษะ (Skill) และ ทัศนคติ (Attitude) และคุณลักษณะเฉพาะของ<br />

บุคคลในด้านการบริหารจัดการ (Management-based) ทีจะช่วยส่งเสริมให้คน ๆ<br />

นั น สามารถบริหารงานตามบทบาทและหน้าทีทีรับผิดชอบได้ประสบความสําเร็จ<br />

มองในเชิงการบริหาร (หรือ ความเป็ นมืออาชีพ ด้านใด ด้านหนึ ง เรียกว่าระดับ<br />

เซียนในเรืองนั น ๆ ) คน ๆ นั นต้องเป็ นอย่างไรจึงจะบริหารงานได้สําเร็จ<br />

แบ่งอย่างนี จะง่ายกว่า จากทํางานได้ตามมาตรฐาน ไปเป็ นทํางานได้สูงกว่า<br />

มาตรฐาน แล้วพัฒนาต่อไปเป็ นผู้บริหาร (หรือ มืออาชีพ)<br />

50


ตัวอย่างเช่น ถ้าเราลองตั งปิ รามิดดู<br />

Managerial / Professional <strong>Competency</strong><br />

Job/Function/Technical <strong>Competency</strong><br />

Personal / Individual / Common <strong>Competency</strong><br />

51


Foundation Level<br />

Foundational Level จะเป็ น <strong>Competency</strong> อันเกิดจากสามกลุ่มย่อยได้แก่<br />

1) Personal Effectiveness <strong>Competency</strong> (เป็ น <strong>Competency</strong> ทีทําให้คน ๆ นั น<br />

ประสบความสําเร็จในการทํางาน ไม่ว่าจะในองค์กรใดก็ตาม)<br />

2) Academic <strong>Competency</strong> (หรือ Individual <strong>Competency</strong> เป็ น <strong>Competency</strong> ทีได้<br />

จากการศึกษาในสถานศึกษา)<br />

3) Workplace <strong>Competency</strong> (หรือ Common <strong>Competency</strong> เป็ น <strong>Competency</strong> ทีทุก<br />

ๆ คนในองค์กรหนึ ง ๆ จะต้องมีเหมือน ๆ กัน<br />

52


Industry Related Level จะเป็ น <strong>Competency</strong> อันเกิดจากสองกลุ่มย่อย คือ<br />

4) <strong>Competency</strong> ทีเกิดจากองค์กรนั น ๆ อยู ่ในกลุ่มอุตสาหกรรมใด (Industry-wide<br />

Technical <strong>Competency</strong>) เช่น มหานครเป็ นสถาบันการศึกษา ถ้าจะเป็ นอาจารย์ก็ต้อง<br />

สอนคนเป็ น<br />

5) <strong>Competency</strong> ทีเกิดจากองค์กรนั น ๆ อยู ่ในภาคส่วนใดของอุตสาหกรรมข้างต้น<br />

(Industry-Sector Technical <strong>Competency</strong>) เช่น เป็ นอาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์<br />

นอกจากต้องสอนเป็ นแล้ว ยังต้องสอนวิชาทีเกียวข้องกับคณะวิศวกรรมด้วย<br />

53


Occupation Related Level จะเป็ น <strong>Competency</strong> ทีประกอบไปด้วย 4 กลุ่มย่อย คือ<br />

6) เป็ น <strong>Competency</strong> ทีจําเป็ นต้องมีในสายอาชีพนั น ๆ (Occupation-Specific<br />

Knowledge Area) เช่น อาจารย์สอนคณะวิศวกรรมไฟฟ้ า ก็ต้องมีความรู้พื นฐาน<br />

ทางด้านไฟฟ้ า<br />

7) เป็ น <strong>Competency</strong> เชิงเทคนิคเฉพาะทีจําเป็ นต้องมีในตําแหน่งงานหนึ ง ๆ<br />

(Occupation-Specific Technical <strong>Competency</strong>) เช่น อาจารย์สอนวิชาเครืองมือวัดและ<br />

วิธีการวัด ก็ต้องมีความรู้ในวิชาทีสอน เป็ นต้น<br />

8) เป็ น <strong>Competency</strong> ทีเจาะจงสําหรับในตําแหน่งงานนั น ๆ (Occupation-Specific<br />

Requirement) เช่น วิชานี บังคับ กว. อาจารย์ก็ต้องมีใบรับรอง กว. เป็ นต้น<br />

9) เป็ น <strong>Competency</strong> ทางด้านการจัดการ (Management <strong>Competency</strong>)<br />

54


ความสําคัญของ <strong>Competency</strong><br />

ในโลกของการแข่งขันทางธุรกิจ (สุทัศน์ นําพูลสุขสันต์ 2546 : 2) มีการวิจัยพบว่า<br />

การพัฒนาคนคู ่แข่งจะสามารถตามทันต้องใช้เวลา 7 ปี ในขณะที เทคโนโลยีใช้เวลา<br />

เพียง 1 ปี ก็ตามทันเพราะซื อหาได้ ดังนั น สมรรถนะของ <strong>Competency</strong> จึงมี<br />

ความสําคัญต่อการปฏิบัติงานของพนักงานและองค์การดังนี<br />

1. ช่วยให้การคัดสรรบุคคลทีมีลักษณะดีทั งความรู้ทักษะและความสามารถตลอดจน<br />

พฤติกรรมทีเหมาะสมกับงานเพือปฏิบัติงานให้สําเร็จตามความต้องการขององค์กร<br />

อย่างแท้จริง<br />

2. ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานทราบถึงระดับความสามารถของตัวเองว่าอยู ่ในระดับใดและ<br />

จะต้องพัฒนาในเรืองใดช่วยให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ น<br />

55


3. ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาฝึ กอบรมแก่พนักงานในองค์กร<br />

4. ช่วยสนับสนุนให้ตัวชี วัดหลักของผลงาน (KPIs) บรรลุเป้ าหมาย เพราะ<br />

<strong>Competency</strong> จะเป็ นตัวบ่งบอกได้ว่า ถ้าต้องการให้บรรลุเป้ าหมายตาม KPIs แล้ว<br />

จะต้องใช้ <strong>Competency</strong> ตัวไหนบ้าง<br />

5. ป้ องกันไม่ให้ผลงานเกิดจากโชคชะตาเพียงอย่างเดียว เช่น ยอดขายของพนักงาน<br />

ขายเพิ มขึ นสูงกว่าเป้ าทีกําหนดทั ง ๆ ทีพนักงานขายคนนั นไม่ค่อยตั งใจทํางานมาก<br />

นัก แต่เนืองจากความต้องการของตลาดสูง จึงทําให้ยอดขายเพิ มขึ นเองโดยไม่ต้อง<br />

ลงแรงอะไรมาก แต่ถ้ามีการวัด <strong>Competency</strong> แล้ว จะทําให้สามารถตรวจสอบได้ว่า<br />

พนักงานคนนั นประสบความสําเร็จเพราะโชคช่วยหรือด้วยความสามารถของเขาเอง<br />

56


6. ช่วยให้เกิดการหล่อหลอมไปสู ่สมรรถนะขององค์กรทีดีขึ น เพราะถ้าทุกคน<br />

ปรับ <strong>Competency</strong> ของตัวเองให้เข้ากับผลงานทีองค์กรต้องการอยู ่ตลอดเวลาแล้ว<br />

ในระยะยาวก็จะส่งผลให้เกิดเป็ น <strong>Competency</strong> เฉพาะขององค์กรนั น ๆ เช่น เป็ น<br />

องค์การแห่งการคิดสร้างสรรค์เพราะทุกคนในองค์การมี <strong>Competency</strong> ในเรืองการ<br />

คิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)<br />

57


ขยายความ….<br />

Knowledge, Skill, Motive/Attitude,<br />

JD/JS = <strong>Competency</strong> !<br />

58


สับสน.. สับสน …<br />

1) ผมมีความรู้ดีเลิศ จะกล่าวได้ว่า ผมมี <strong>Competency</strong> ได้มัย<br />

2) ผมมีทักษะอันยอดเยียมจะกล่าวได้ว่า ผมมี <strong>Competency</strong> ได้มัย<br />

3) ผมมีแรงจูงใจ/ทัศนคติทีดี จะกล่าวได้ว่า ผมมี <strong>Competency</strong> ได้มัย<br />

4) JD JS และ <strong>Competency</strong> ต่างกันอย่างไร<br />

ลองมาดูคําตอบกันดีกว่าครับ<br />

59


<strong>Competency</strong> vs. Knowledge<br />

<strong>Competency</strong> จะหมายถึงพฤติกรรมทีก่อให้เกิดผลงานทีดีเลิศ (Excellent Performance)<br />

เท่านั น ดังนั น ตัวความรู้ (Knowledge) โดด ๆ จึงไม่ถือว่าเป็ น <strong>Competency</strong> เว้นแต่<br />

ความรู้ในเรืองนั น ๆ จะสามารถนํามาประยุกต์หรือนํามาใช้กับพฤติกรรมซึ งทําให้เกิด<br />

ความสําเร็จในงาน จึงถือว่าเป็ นส่วนหนึ<br />

งของ <strong>Competency</strong> เช่น<br />

ความรู้และความเข้าใจในความไม่แน่นอนของ “ราคา” ในตลาดถือว่า เป็ นความรู้<br />

แต่ความสามารถในการนําความรู้และความเข้าใจในความไม่แน่นอนของราคาใน<br />

ตลาดมาพัฒนารูปแบบการกําหนด “ราคา” ได้นั น จึงถือว่า เป็ น <strong>Competency</strong><br />

60


<strong>Competency</strong> vs. Skills<br />

<strong>Competency</strong> เกียวข้องกับทักษะอย่างแน่นอน แต่จะหมายถึงเฉพาะการใช้ทักษะที<br />

ก่อให้เกิดผลสําเร็จอย่างชัดเจน ดังนั น ทักษะเพียงอย่างเดียว ยังไม่ถือว่า เป็ น<br />

<strong>Competency</strong> เช่น<br />

ความสามารถในการนําเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ ถือเป็ น ทักษะ<br />

แต่ความสามารถในการจัดวางตําแหน่งผลิตภัณฑ์ใหม่ (Positioning) ในตลาดให้<br />

แตกต่างกว่าคู ่แข่ง ถือเป็ น <strong>Competency</strong><br />

61


<strong>Competency</strong> vs. Motive/Attitude<br />

<strong>Competency</strong> ไม่ใช่แรงจูงใจหรือทัศนคติ แต่เป็ นแรงขับดันภายในซึ งทําให้บุคคล<br />

แสดงพฤติกรรมทีตนมุ่งหวังไปสู ่สิ งทีเป็ นเป้ าหมายของเขา เช่น<br />

การต้องการความสําเร็จเป็ นแรงจูงใจทีก่อให้เกิดแนวคิดหรือทัศนคติทีต้องการสร้าง<br />

ผลงานทีดี<br />

แต่ความสามารถในการทํางานให้สําเร็จตรงตามเวลาทีกําหนด ถือเป็ น <strong>Competency</strong><br />

กล่าวโดยสรุป Schoonover Associates เชือว่า ความรู้ ทักษะ แรงจูงใจ/ทัศนคติโดด<br />

ๆ ไม่ใช่ <strong>Competency</strong> แต่เป็ นส่วนหนึ งทีก่อให้เกิด <strong>Competency</strong> (ตรงนี สําคัญมาก<br />

เพราะเราจะเห็นว่า การฝึ กอบรมธรรมดาก่อให้เกิด ความรู้ ทักษะ แรงจูงใจ โดด ๆ<br />

โดยไม่สานต่อให้เกิดความสําเร็จใด ๆ อันมุ่งสู ่ความเป็ นเลิศหรือดีกว่าผู้อืนแล้ว จะ<br />

ไม่เรียกว่า เป็ นการอบรมทีอยู ่บนพื นฐานของ <strong>Competency</strong>)<br />

62


Schoonover Associates เชือว่า ความรู้ ทักษะ แรงจูงใจ/ทัศนคติโดด ๆ<br />

ไม่ใช่ <strong>Competency</strong> แต่เป็ นส่วนหนึ งทีก่อให้เกิด <strong>Competency</strong><br />

63


ความแตกต่างระหว่าง JD, JS และ <strong>Competency</strong><br />

คําบรรยายลักษณะงาน (Job Description หรือ JD) คือ เอกสารแสดงหน้าทีความ<br />

รับผิดชอบ ขอบเขตงาน ของตําแหน่งงาน<br />

คุณลักษณะทีต้องการ (Job Specification หรือ JS) คือ คุณสมบัติทีจําเป็ นสําหรับผู้<br />

ดํารงตําแหน่งงานนั<br />

น เช่น วุฒิการศึกษา ประสบการณ์ การฝึ กอบรม<br />

สมรรถนะ (<strong>Competency</strong>) คือ ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skills) และคุณลักษณะ<br />

(Attributes) ทีจําเป็ นในการปฏิบัติงานใดงานหนึ ง (Job Roles) ให้ประสบ<br />

ความสําเร็จ<br />

จากคํานิยามข้างต้น จะเห็นได้ว่า สมรรถนะ (<strong>Competency</strong>) จะเป็ นส่วนเสริมให้<br />

ตําแหน่งงานหนึ งทีถูกกําหนดด้วย JD และ JS สมบูรณ์และมีประสิทธิภาพมากขึ น<br />

64


คราวนี เรามาดูสมรรถนะขององค์กรกันบ้าง<br />

สมรรถนะขององค์กรช่วยอะไร !<br />

65


สมรรถนะองค์กรอย่างยั งยืน<br />

สมรรถนะขององค์กรเป็ นการจัดการกับทรัพยากรต่าง ๆ เพือกําหนดความสามารถ<br />

ในการดําเนินกิจกรรมขององค์กรให้มีจุดเด่น มีความแตกต่าง เพือให้เกิดความ<br />

ได้เปรียบในการแข่งขัน หรือ ทําให้เกิดทุนทางสังคมผ่านกระบวนการรับรู้ทั งของ<br />

พนักงานและลูกค้าขององค์กร ส่งผลให้ทําให้องค์กรประสบความสําเร็จ เช่น<br />

ชือเสียงของบริษัท<br />

นวัตกรรมด้านสินค้า/บริการ<br />

ความสามารถด้านการบริการ<br />

คุณภาพของสินค้าและบริการ<br />

เทคโนโลยี<br />

ทรัพยากรทางการเงิน<br />

Core <strong>Competency</strong><br />

66


ปัจจัยพื นฐานการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันทียั งยืน<br />

อาศัยพื นฐานปัจจัย 3 ด้าน สรุปคือ<br />

1) องค์กรและกระบวนการจัดการ<br />

1.1) การประสานงานและการบูรณาการ<br />

ความร่วมมือระหว่างกลุ่มและแผนกต่าง ๆ ในองค์กรเป็ นกุญแจสําคัญใน<br />

ความสําเร็จขององค์กร รวมถึง การแบ่งปันและการบูรณาการทรัพยากรต่าง ๆ<br />

เพือให้เข้าถึงเป้ าหมายจะเป็ นพื นฐานในการสร้างคุณค่าขององค์กร<br />

67


1.2) การเรียนรู้<br />

การเรียนรู้ขององค์กรมีความสําคัญต่อความสําเร็จขององค์กร และเป็ นสิ งที<br />

กําหนดว่า องค์กรจะเก็บรวบรวม จัดสรร อธิบายและตอบรับต่อการเก็บรวบรวม<br />

และการเปลียนแปลงในสารสนเทศพื<br />

นฐานของตลาดในสภาพแวดล้อมอย่างไร<br />

การเปลียนแปลงในสภาพแวดล้อมอาจเกิดจากพื นฐานลูกค้าเปลียน การพัฒนา<br />

เทคโนโลยีต่าง ๆ และการบังคับใช้กฎหมาย ข้อบังคับ และรัฐบาล องค์กรมีความ<br />

จําเป็ นต้องพัฒนาความเข้มแข็งของสมรรถนะ การตืนตัว และการขยายตลาด<br />

68


1.3) การทบทวนองค์ประกอบ และการเปลียนแปลง<br />

การทบทวนองค์ประกอบ และการเปลียนแปลงของสภาพแวดล้อมเป็ นปัจจัยสําคัญ<br />

สําหรับการได้เปรียบเชิงแข่งขันอย่างยั งยืน เนืองจากกระบวนการเรียนรู้ขั นทีสอง<br />

และการเปลียนแปลงเป็ นกุญแจสําคัญในการผลิตสินค้าทีมีนวัตกรรม ซึ<br />

งสมรรถนะ<br />

ด้านนวัตกรรมขององค์กรจะเป็ นสิ งทีตัดสินใจว่า องค์กรจะมีปฏิกิริยา และเรียนรู้จาก<br />

สารสนเทศตลาดอย่างไร<br />

69


2) ตําแหน่งทางการตลาด เป็ นสินทรัพย์ขององค์กร ซึ งส่วนมากเป็ นสิ งสามารถ<br />

ค้นหาได้จากตัวองค์กรเอง เช่น<br />

2.1) สินทรัพย์ทางเทคโนโลยี<br />

2.2) สินทรัพย์ทางการเงิน<br />

2.3) สินทรัพย์ทางด้านชือเสียง<br />

2.4) สินทรัพย์ทางโครงสร้าง โครงสร้างขององค์กรสามารถเป็ นสิ งทีตัดสินใจได้<br />

ว่า องค์กรจะปฏิบัติงานอย่างไร สายการบังคับบัญชาขององค์กรจะเป็ นสิ งทีมี<br />

อิทธิพลต่อวัฒนธรรม กระบวนการทีทําในแต่ละวัน<br />

70


3) แนวทางการดําเนินกิจกรรม<br />

3.1) แนวทางเสริม<br />

การจัดตั งองค์กรในระยะเริ มแรกมักจะมาพร้อมกับการกําหนดทิศทางทีแน่นอน<br />

ซึ<br />

งความแน่นอนและความมีเหตุผลนั<br />

นจะทําให้องค์กรสามารถดํารงคงอยู<br />

่ได้ใน<br />

ระยะยาว และจะเป็ นสิ งทีทําให้องค์กรสามารถตัดสินใจพัฒนาสมรรถนะของ<br />

องค์กรได้<br />

3.2) โอกาสทางเทคโนโลยี<br />

การพัฒนาเทคโนโลยีให้ทันเวลา สามารถตัดสินใจได้ว่า องค์กรสามารถใช้โอกาส<br />

หารประโยชน์ หรือ ความสําเร็จจากความได้เปรียบเชิงการแข่งขันได้อย่างไร<br />

71


หลักเกณฑ์การสร้างความได้เปรียบเชิงการแข่งขันอย่างยั งยืน<br />

หลักเกณฑ์สําคัญในการสร้างความได้เปรียบเชิงการแข่งขันอย่างยั งยืน<br />

ประกอบด้วย 5 ประการ คือ<br />

1) มีความพิเศษเป็ นเอกลักษณ์ (Unique)<br />

2) ยากต่อการทําเลียนแบบ (Difficult to Replicate)<br />

3) เหนือชั นกว่าคู ่แข่ง (Superior to the Competition)<br />

4) มีความยั งยืน (Sustainable)<br />

5) สามารถนําไปใช้ได้อย่างเหมาะสมในหลายสถานการณ์ (Applicable to<br />

Multiple Situation)<br />

72


แหล่งกําเนิดความได้เปรียบในการแข่งขันอย่างยั งยืน<br />

1) ประสิทธิภาพ (Efficiency)<br />

2) คุณภาพ (Quality)<br />

3) นวัตกรรม (Innovation)<br />

4) การสนองตอบต่อลูกค้า (Customer Responsiveness)<br />

73


การสร้างคุณค่าของสมมรรถนะองค์กรเพือความได้เปรียบในการแข่งขัน<br />

การสร้างสมรรถนะองค์กรเพือความได้เปรียบในการแข่งขัน สามารถดําเนินการ<br />

ผ่านกระบวนการสร้างคุณค่าในหลายลักษณะ เช่น<br />

1) คุณค่าด้านผู้นําองค์กร<br />

2) คุณค่าด้านนวัตกรรม<br />

3) คุณค่าด้านหน้าทีขององค์กร/ธุรกิจ และระบบห่วงโซ่<br />

4) คุณค่าด้านลูกค้า<br />

เราจะคุยกันเกียวกับสมรรถนะขององค์กรในบทต่อไป<br />

74


จบหัวข้อ 2<br />

คําถาม ………..<br />

75

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!