12.01.2015 Views

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชน - สำนักวิทยบริการ :: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชน - สำนักวิทยบริการ :: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชน - สำนักวิทยบริการ :: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

<strong>คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชน</strong> กรณีบ้านเชียงเหียน จังหวัดมหาสารคาม<br />

บุรุษสมัยนั้น ๆ ผู้เคยสร้างเมืองเชียงเหียนหรือผู้ที่เคยครองมาแล้วเข้ามามีอิทธิพลในการออกแบบ<br />

ศิลปะด้วย เพราะท้องถิ่นดังกล่าวที่ได้ตกทอดมาจากบรรพบุรุษในดินแดนแถบลุ่มน้ าชีหรือแถบอื่น ๆ<br />

เข้ามาครอบครองอยู่ก่อนประวัติศาสตร์ก็เป็นได้ และจากหลักฐานทางโบราณคดีที่กล่าวมาแล้วคงจะมี<br />

ความเกี่ยวข้องกับการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ในบริเวณเมืองโบราณเชียงเหียน ซึ่งจะกล่าวมาแล้วคงจะ<br />

มีความเกี่ยวข้องกับการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ในบริเวณเมืองโบราณเชียงเหียน ซึ่งจะกล่าวในตอน<br />

ต่อไป เพราะมีส่วนสัมพันธ์กับการตั้งถิ่นฐาน ณ เมืองเชียงเหียนมาก ส่วนหลักฐานทางในโบราณคดี<br />

เหล่านั้นอาจจะมีส่วนช่วยสนับสนุนยึดมั่นถึงความสัมพันธ์ของเมืองสองเมืองคือ เมืองเชียงเหียน กับ<br />

เมืองขอม ที่หนองหาน จังหวัดอุดรธานี ตามที่ปรากฏในวรรณกรรมพื้นบ้านเรื่องท้าวผาแดงนางไอ่<br />

ที่กล่าวมาไว้แล้ว<br />

11<br />

แหล่งโบราณคดีบ้านเชียงเหียน<br />

ตั้งอยู่ที่บริเวณบ้านเชียงเหียน ต.เขวา มีลักษณะเป็นเมืองโบราณขนาดใหญ่ ผังเมืองเป็นรูป<br />

กลมรี ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 กิโลเมตร มีคูน้ าคันดินล้อมรอบ ประกอบด้วย คันดิน 3<br />

ชั้น คูน้ า2 ชั้น คูเมืองด้านทิศตะวันออก และตะวันตก ถูกทางหลวงหมายเลข 23 (มหาสารคาม -<br />

ร้อยเอ็ด) ตัดผ่ากลางเมือง ทางด้านนอกตัวเมืองโบราณ มีเนินดินโบราณคดีอีก 5 แห่ง ได้แก่ ดอน<br />

ข้าวโอ ดอนปู่ตา ดอนย่าเฒ่าดอนญาคู และหอนาง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!