12.01.2015 Views

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชน - สำนักวิทยบริการ :: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชน - สำนักวิทยบริการ :: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชน - สำนักวิทยบริการ :: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชน</strong> กรณีบ้านเชียงเหียน จังหวัดมหาสารคาม<br />

การเลือกที่ตั้งบ้านเรือนของเจ้าเชียงเหียน ก็อยู่ในลักษณะเดียวกัน ดังนี้<br />

เจ้าเชียงเหียน เลือกตั้งบ้านเรือนที่ “ดงสาวน้อย” เพราะลักษณะทางภูมิศาสตร์ดีมาก ดังนี้<br />

15<br />

เจ้าเชียงเหียน<br />

จากหนังตะลุงบ้านเชียงเหียน<br />

1. ทางทิศตะวันตกของดงสาวน้อยเดินไปประมาณเหนื่อยหนึ่ง (ระยะทางเดินจนเหนื่อยต้องหยุด<br />

พัก) ก็ถึงกุด(ต้น)ยางใหญ่ (ปัจจุบันเป็น กุดนางใย)<br />

2. ไปทางตะวันออกประมาณเท่ากันก็ถึงหนองกระทุ่ม (หนองกระทุ่ม บ้านเขวาปัจจุบัน)<br />

3. ไปทางทิศเหนือประมาณเท่ากันก็ถึงล าน้ าใหญ่ที่มีน้ าไหลจากตะวันตกไปทางตะวันออก คือ “ห้วย<br />

คะคาง”<br />

4. ไปทางทิศใต้ติดกับป่าดงดิบ (แล้ง) มีต้นยางอยู่จ านวนมาก แต่มีอยู่ ต้นหนึ่ง ใหญ่ที่สุด สูงเสียด<br />

ฟ้า ล าต้นใหญ่ประมาณ 5-6คนโอบ ตะวันตกดินประมาณ 2-3 ชั่วโมงข้างล่างมืดสนิท แต่<br />

ปลายต้นยางใหญ่ยังมีแสงแดดอยู่ ชาวบ้านเรียก “ลิงตากผ้าอ้อม” ตอนเช้าประมาณตี 4-5 จะ<br />

มองเห็นแดดที่ปลายต้นยางนี้ชาวบ้านเรียก “ต้นอีแดด” นอกจากนั้นยังมีต้นไม้นานาพันธุ์ เช่น<br />

ตะเคียนทอง ตะเคียนหนู ตะแบก เต็ง ชิงชันอุดมสมบูรณ์มาก (ซากต้นไม้สมัยโบราณมีอยู่ที่วัด<br />

บ้านเชียงเหียนเป็นเรือโบราณและผลิตภัณฑ์อื่นๆ) นอกจากนั้นยังเต็มไปด้วยสัตว์ป่านานาชนิด<br />

ตั้งแต่สัตว์ใหญ่ เช่น ช้าง ไปจนถึงสัตว์เล็ก เช่น มด ปลวก เจ้าเชียงเหียนจึงตัดสินใจสร้างเมืองที่นี่

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!