12.01.2015 Views

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชน - สำนักวิทยบริการ :: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชน - สำนักวิทยบริการ :: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชน - สำนักวิทยบริการ :: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

<strong>คู่มือการท่องเที่ยวโดยชุมชน</strong> กรณีบ้านเชียงเหียน จังหวัดมหาสารคาม<br />

2<br />

บ้านเชียงเหียน ต าบลเขวา เป็นเมืองโบราณ มีลักษณะเป็นเนินสูงรูปไข่คือสูงตรงกลางมี<br />

คูน้ าคันดินล้อมรอบ ซึ่งเป็นลักษณะท าเลที่ตั้งที่ดีคือเมื่อฝนตกน้ าจะไหลลงสู่ คูน้ า และบึงที่อยู่รอบ<br />

หมู่บ้านทุกบึง และจากท าเลที่ตั้งของบ้านเชียงเหียนดังกล่าว จึงมีความสอดคล้องกับลักษณะของเมือง<br />

ในสมัยทวารวดีคือมักจะมีคูน้ าคันดินล้อมรอบเมือง<br />

บ้านเชียงเหียนในสมัยขอม<br />

ครั้งแรกดินแดนแห่งนี้ เคยเป็นดินแดนของประเทศลาว มาก่อน ในสมัยนั้นประเทศลาวมี<br />

อ านาจในการปกครองดินแดนอีสาน แต่ได้มีชนสองเชื้อชาติซึ่งมีความสัมพันธ์กันมาก คือ ขอม หรือ<br />

เขมร และลาว ซึ่งต่อมาชนชาติขอมก็ได้มีอ านาจ เหนือลาว<br />

จึงได้เข้ายึดครองแผ่นดิน เพราะฉะนั้น ดินแดนของภาค<br />

อีสานบางส่วนจึงตกเป็นของพวกขอม ซึ่งมีหลักฐานที่ส าคัญ<br />

ที่พวกขอมได้สร้างเอาไว้ มีให้เห็นอยู่บ้างในดินแดนของภาค<br />

อีสานในปัจจุบัน เช่น กู่บ้านเขวา ที่ขอมได้สร้างไว้ในอดีต<br />

ถ้าจะเปรียบเทียบกับศาสนาพุทธแล้ว ก็คงจะเป็น "วัด"<br />

เพราะสมัยนั้น ส่วนพวกลาวก็ได้อาศัยอยู่ในดินแดนส่วนนี้<br />

โดยอยู่ภายใต้การปกครองของขอมด้วย<br />

หลักฐานอีกชิ้นหนึ่งคือหลักฐาน จากนิยายปรัมปราของปรางค์กู่บ้านเขวาที่ได้เล่าสืบต่อกันมา<br />

ซึ่งได้รับความอนุเคราะห์ บอกเล่าจากพระ อริยานุวัตร เขมจารี เจ้าอาวาสวัดมหาชัยได้เล่าว่า<br />

ต านานหรือนิยายปรัมปราที่เกี่ยวกับการสร้างปรางค์กู่บ้าน เขวา เป็นเรื่องที่สัมพันธ์เกี่ยวกับ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!