12.07.2015 Views

Release2.2

Release2.2

Release2.2

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

คณิตศาสตร O-NET / A-NET620ฉบับเขมขน- สมบัติการถ่ายทอด ถ้า a b และ b c แล้ว a c- ผลรวมเชิงเส้น ถ้า a b และ a c แล้ว a (bx±cy)- เลขยกกําลังnถ้า a b แล้ว a b ... และถ้า an b แล้ว a b26. บทนิยามของการหารจํานวนเต็มใดๆ- สําหรับจํานวนเต็ม m, n โดยที่ n ≠ 0 จะได้ว่า m = nq + r และ ∈มีจํานวนเต็ม q, r ชุดเดียวเท่านั้น เรียก q ว่าผลหาร ... และเศษคือ r27. สัญลักษณ์ที่ใช้แทน ห.ร.ม. ของ a กับ b ที่เป็นบวก คือ (a, b)สัญลักษณ์ที่ใช้แทน ค.ร.น. ของ a กับ b ที่เป็นบวก คือ [a, b]- ห.ร.ม. คูณกับ ค.ร.น. (a, b) × [a, b] = a × b เสมอ- ห.ร.ม. ของผลหาร ถ้า (a, b) = d แล้ว (a/d,b/d) = 1- ถ้า (m, n) = 1 จะเรียก m และ n เป็นจํานวนเฉพาะสัมพัทธ์28. ขั้นตอนการหา ห.ร.ม. ของ a กับ b แบบยุคลิดq I , 0 < r < nเริ่มโดยเขียน a กับ b ในรูปการหาร แล้วนําเศษที่ได้ไปหารต่อๆ ไปคือ a = b q1 + r 1 ... b = rq 1 2 + r 2... r1 = r2q3 + r 3 ... r2 = r3q4 + r 4 ...ทําไปเรื่อยๆ จนกว่าจะหารลงตัว (เศษเป็น 0) จะได้ว่า ห.ร.ม. เท่ากับ เศษตัวสุดท้าย ( kr )ตรรกศาสตร์1. ประโยคทุกประโยคที่มีค่าความจริง เป็นจริงหรือเป็นเท็จอย่างใดอย่างหนึ่ง เรียกว่า ประพจน์- ประโยคบอกเล่า ประโยคปฏิเสธ เป็นประพจน์- ประโยคคําถาม คําสั่ง ขอร้อง แสดงความปรารถนา ประโยคอุทาน เหล่านี้ไม่ใช่ประพจน์2. สัญลักษณ์ที่ใช้แทนประพจน์ต่างๆ เป็นตัวอักษรเล็ก เช่น p, q, r- แต่ละประพจน์จะมีค่าความจริงที่เป็นไปได้ 2 แบบ คือเป็น จริง (T) หรือเป็น เท็จ (F)- เครื่องหมาย ~ เรียกว่านิเสธ ใช้เพื่อกลับค่าความจริงให้เป็นตรงกันข้ามpqp และ q( ∧ p q)p หรือ q( ∨ p q)ถ้า p แล้ว q( p → q)p ก็ต่อเมื่อ q( p ↔ q)ไม่ p( ~p)T T T T T T FT F F T F F FF T F T T F TF F F F T T T3. ตารางข้างบน เรียกว่า ตารางค่าความจริง ... เป็นตารางแสดงรูปแบบที่เป็นไปได้ทั้งหมดเช่น ถ้ามี 1 ประพจน์จะเป็นไปได้ 2 แบบ, ถ้ามี 2 ประพจน์ เป็นไปได้ 4 แบบ, หรือ 2 n นั่นเอง4. หากรูปแบบของประพจน์ใดให้ค่าเป็นจริงเสมอทุกๆ กรณี จะเรียกรูปแบบนั้นว่า สัจนิรันดร์- การตรวจสอบว่าเป็นสัจนิรันดร์หรือไม่ สามารถใช้ “วิธีพยายามทําให้เป็นเท็จ”คือหากพยายามทําให้รูปแบบนั้นเป็นเท็จไม่ได้เลย รูปแบบนั้นก็จะเป็นสัจนิรันดร์แต่ถ้าทําเป็นเท็จได้แม้เพียงกรณีเดียว รูปแบบนั้นย่อมไม่ใช่สัจนิรันดร์5. รูปแบบประพจน์ 2 รูปแบบใดๆ ที่ให้ค่าความจริงตรงกันทุกๆ กรณี จะกล่าวว่า สมมูลกัน(แปลว่า สามารถใช้แทนกันได้) ... สัญลักษณ์ที่ใช้แสดงการสมมูลกัน คือ ≡- ถ้า ≡ เป็นสัจนิรันดร์ และ ↔ ก็เป็นสัจนิรันดร์ แล้ว จะได้ว่า →Math E-Book Release 2.2 (คณิต มงคลพิทักษสุข)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!