16.07.2015 Views

Treatment of pulmonary hypertension in congenital heart disease

Treatment of pulmonary hypertension in congenital heart disease

Treatment of pulmonary hypertension in congenital heart disease

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

Acute management <strong>of</strong> <strong>pulmonary</strong> <strong>hypertension</strong>23การศึกษา postmarket<strong>in</strong>g surveillance database (Tracleer PMS ในผูปวยเด็ก อายุ Pediatric 2-11 ปจํานวน 146 รายโดยครึ่งหนึ่งเปน <strong>congenital</strong> <strong>heart</strong> <strong>disease</strong> จากผูปวยที่ใช bosentan จํานวน 4994ราย พบวามีการเพิ่มของ am<strong>in</strong>otransferases ใน 2.7% ของผูปวยเด็กเมื่อเทียบกับ 7.8% ในผูใหญ และมี(34)discont<strong>in</strong>uation rate 14.4% เมื่อเทียบกับ 28.1% ในผูใหญNew management for prevention <strong>of</strong> PAH for patients undergo<strong>in</strong>g cardio<strong>pulmonary</strong> bypass for<strong>congenital</strong> <strong>heart</strong> surgeryงานวิจัยที่ผานมาที่ศึกษาถึงปจจัยทางพันธุกรรมที่กอใหเกิดความเสียงตอภาวะ PAH เพิ่มสูงขึ้น เราพบวารูปแบบของยีนกําหนดลักษณะ (genotype) ถึงความแตกตางทางพันธุกรรม(polymorphism) ในเอนไซม(36,37)ของยูเรียไซเคิลตัวสําคัญชื่อ carbamyl phosphate synthetase 1 (CPSI T1405N) สงผลตอผูปวยวัยทารกและเด็กที่เขารับการผาตัดหัวใจเพื่อแกไขความผิดปกติหัวใจแตกําเนิด เสี่ยงตอภาวะ PVT สูงและเพิ่มความเสี่ยงของเด็กแรกเกิดตอภาวะความดันหลอดเลือดในปอดสูงภายหลังการผาตัดได(postoperative <strong>pulmonary</strong> <strong>hypertension</strong>; PPHN) นอกจากนั้นไมวาผูปวยจะมีความแตกตางทางพันธุกรรมหรือไมก็ตาม เรายังสังเกตพบวาสารตัวกลางในยูเรียไซเคิลอยางซิทรูลีนและอารจินีนในพลาสมาลดลงอยางมากดวยเชนกัน ผลความสัมพันธดังกลาวจึงเปนที่มาของการวิจัยโดยใหซิทรูลีนเสริมกับผูปวยในระยะผาตัด เราเริ่มทดลองใหผูปวยรับประทานซิทรูลีนเสริมขนาด 1.9 กรัม/ก.ก./ครั้ง กอนเขารับการผาตัดหัวใจโดยใชเครื่องหัวใจและปอดเทียม (cardio<strong>pulmonary</strong> bypass-CPB) และใหทันทีหลังการผาตัด และตามดวยทุกๆ 12 ชั่วโมงตอเนื่องนาน 48 ชั่วโมงหลังการผาตัด ผลการใหซิทรูลีนโดยการรับประทานนี้ ผูปวยมีความทนตอยาไดเปนอยางดีและไมกอใหเกิดเหตุการณไมพึงประสงค เชน ภาวะความดันโลหิตต่ํา (Systemic hypotension) นอกจากนั้นเรายังพบวาผูปวยที่มี ซิทรูลีนในพลาสมามากกวา 37 umol/L (ระดับที่สูงของเกณฑปกติ) ณ 12 ชั่วโมงหลังการผาตัด ไมมีภาวะ PAH สูง แตผูปวยไมครบทุกคนที่ไดรับซิทรูลีนโดยการรับประทานแลวมีระดับซิทรูลีนเพิ่มถึงระดับดังกลาว การคนพบนี้ชวยในการออกแบบวิธีการวิจัยโดยใหซิทรูลีนทางหลอดเลือดดําในเวลาตอมา การศึกษาการเพิ่มขนาดยาแบบขั้นบันได (dose escalation) มีเปาหมายที่จะชวยรักษาระดับซิทรูลีนในพลาสมาอยูที่ 100 umol/L เราพบวาการใหซิทรูลีนทางหลอดเลือดดํานั้นมีคาครึ่งชีวิต (half life) คอนขางสั้นฉะนั้นจึงตองใชโปรโตคอลโดยใหยาแบบฉีดครั้งเดียว (bolus does) และตามดวยใหแบบหยดอยางตอเนื่อง (cont<strong>in</strong>uous <strong>in</strong>fusion)ทายที่สุดเราไดวิธีการวิจัย (protocol) ที่ใหยาแบบฉีดครั้งเดียวขนาด 150 mg/kg ตอนเริ่มการผาตัด และภายหลังการผาตัด 4 ชั่วโมงใหแบบหยดอยางตอเนื่องขนาด 9 mg/kg/hr (38) ซึ่งชวยรักษาระดับซิทรูลีนในพลาสมาใหเพิ่มขึ้นและคงที่ที่ระดับประมาณ 100 umol/L โดยไมเกิดผลขางเคียง ในปจจุบันจึงมีการการวิจัยระยะที่ 2/3 แบบควบคุมดวยยาหลอก โดยการสุม และปกปดการรักษาทั้งสองฝาย เพื่อประเมิน ความ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!