16.07.2015 Views

Transfusion-Associated Graft-Versus-Host Disease

Transfusion-Associated Graft-Versus-Host Disease

Transfusion-Associated Graft-Versus-Host Disease

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

246 จิรายุ เอื้อวรากุลมีมาม โต และ มีตุม ขึ้น กระจาย ไป ทั่ว ตัว ตอมา Simonsenไดทํา การ ทดลอง ไดผล แบบ เดียว กัน เขา ไดตั้ง สมมุติฐานวา อาการ ดัง กลาว เปน ผล จาก การ ที่เซลลไกที่ใหเขา ไป ไปทํา ปฏิกิริยา ตอ ตาน ไกตัว ที่ไดรับ เซลล (graft-versus-hostdisease) 3 ใน ขณะ เดียว กัน Billingham และ Brent ไดพบ อาการ ที่คลาย คลึง กัน ใน หนูอายุนอยๆ ที่ไดรับ การ ฉีดมาม หรือ ไข กระดูก ของ หนู ตัว อื่น 4 โดย หนู จะ เกิด อาการทอง เสีย มีผื่น ขึ้น ทั่ว ตัว น้ําหนัก ลด ผอม ลง เรื่อย ๆ จน เสียชีวิต ใน ที่สุด เขา เรียก อาการ นี้วา“Runt disease” ตอมาMathe’ ใน ป 1960 ไดรายงาน อาการ เชน เดียว กัน ใน คนที่ ไดรับ การ ปลูก ถาย ไข กระดูก โดย เขา เรียก อาการ นี้ วา“Secondary syndrome” เนื่อง จาก ผูปวย เกิด อาการ หลังไดรับ การ ปลูก ถาย ไข กระดูก สําเร็จ แลว 5ใน ป 1955 Shimoda ได รายงาน ผูปวย ใน ประเทศญี่ปุน 12 ราย ที่เกิด มีผื่น รวม กับ มีไขสูง ภาย ใน 6-13 วันหลัง ผา ตัด 6 โดย ผูปวย ครึ่ง หนึ่ง เสีย ชีวิต และ ที่เหลือ รอดชีวิต จาก การ ใหสเตียรอยดและ ยา ปฏิชีวนะ ผูปวย ทุกรายไดเลือด ใหมๆ (fresh blood) กอน และ หลัง ผา ตัด เขาเรียก อาการ นี้ วา“Post-operative erythroderma(POE)” ใน ป 1965 ได มี รายงาน ผูปวย เด็ก ที่ เปน congenital immunodeficiency 2 ราย ที่ ไดรับ การ ฉีดวัคซีน ไขทรพิษ แลว เกิด severe progressive vaccinianecrosum โดย เด็ก 1 รายได fresh leucocyte-richplasma และ อีก รายได exchange transfusion โดยfresh whole blood จาก ผูที่เพิ่ง ไดรับ การ ฉีด วัคซีน เด็กทั้ง สอง ราย เสีย ชีวิต หลัง จาก มี skin rash, hepatomegaly และ pancytopenia จาก รายงาน ดัง กลาว ไดนํา ไปสู การ สรุป วา การ ไดรับ สวน ประกอบ ของ เลือด อาจ ทําใหเกิด GVHD ได โดย ใน ป 1984 Aoki ได สรุป วา POEเปน ภาวะ เดียว กัน กับ TA-GVHD7ระบาด วิทยา และ ปจจัย เสี่ยง 8-13การ บอก อุบัติ การณ ของ TA-GVHD ใน ประชากรเปน เรื่อง คอน ขาง ยาก เนื่อง จาก แพทยมัก ไมสงสัย ภาวะ นี้ทําให อาจ ไม ได อุบัติ การณ ที่ แท จริง การ ศึกษา สวน ใหญเปน retrospective study เฉพาะ ใน ประชากร บาง กลุมที่มีปจจัย เสี่ยง ตาราง ที่1 แสดง กลุม ผูปวย ที่ไดมีรายงานการ เกิด TA-GVHD ใน รอบ 50 ปที่ผาน มา ซึ่ง มีทั้ง กลุมที่ภูมิคุมกัน ปกติและ บกพรองปจจัย เสี่ยง ใน การ เกิดTA-GVHD ไดแก1. สวน ประกอบ ของ เลือด ไดแก cellular bloodproduct ทุก อยาง เชน red cells, platelet และgranulocyte concentrates อยางไร ก็ ตาม แม กระทั่งfresh plasma ก็มีผูรายงาน วา มี T-cells ปน อยูและ ทําใหเกิด TA-GVHD ได1วิธีการ เลือก ใช สวน กระ กอบ ของ เลือด อาจ มี ความสําคัญ ตอ การ เกิด TA-GVHD เชน กัน ใน ประเทศ ญี่ปุนศัลยแพทยผา ตัด หัวใจ นิยม ใหเลือด ใหม (freshblood)อายุ นอย กวา 24 ชั่วโมง และ ไม ได แช ตูเย็น โดย เฉพาะอยาง ยิ่ง จาก ญาติ (directed donation) แกผูปวย ที่ไดรับการ ตัด ตอ เสน เลือด หัวใจ 14 ใน ขณะ ที่ใน สหรัฐ อเมริกา พบวา มีการ ให directed donation นอย (< รอยละ 2) จากการ ศึกษา ใน ญี่ปุน พบ วา รอยละ 62 ของ TA-GVHDเกิดใน ผูปวย ที่ ไดรับ fresh blood ที่ อายุ นอย กวา 72ชั่วโมง ใน ขณะ เดียว กัน ก็มีรายงาน จาก สหรัฐ อเมริกา เชนกัน วา รอยละ 90 ของ TA-GVHD เกิด ใน ผูปวย ที่ไดรับเลือด ที่อายุนอย กวา4 วัน 15 ดังนั้น การ ใหเลือด ใหมๆ อาจเปน ปจจัย เสี่ยง ที่ สําคัญ ใน การ เกิด TA-GVHD มี ผู ตั้งสมมุติฐาน วา การ เก็บ เลือด ไวนานๆ อาจ มีผล ตอ เซลลเม็ดเลือด ขาว ที่ ปะ ปน อยู ใน ถุง เลือด ทําให เกิด TA-GVHDลดลง การ ศึกษา โดย Mincheff ใน ป 1998 พบ วา หลัง2สัปดาห เม็ด เลือด ขาว จะ เกิด การ ตาย โดย apoptosisและ ไม มี การ ตอบ สนอง ใน การ ทํา mixed leucocyteculture (MLC) 16 การ ศึกษา โดย Chang และ คณะ ใน ป2000 ก็ไดผล เชน กัน โดย พบ วา หลัง 3 วัน เซลลจะ ตอบสนอง ตอ การ ทํา MLC นอย ลง และ ภาย ใน 5 วัน จะ ไมตอบ สนอง ตอ การ กระตุน ทั้ง phytohaemagglutinin(PHA) และ MLC 17 อยางไร ก็ ตาม ก็ ยัง มี รายงานThai Journal of Hematology and <strong>Transfusion</strong> Medicine Vol. 12 No. 3 June-September 2002

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!