10.05.2018 Views

หลักเมือง พ.ค.61

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ปกิณกะกระทรวงกลาโหม<br />

ภา<strong>พ</strong>เก่าเล่าเรื ่องโรงทหารหน้า<br />

<strong>พ</strong>ลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์<br />

ท่<br />

านผู้อ่านที่เคยผ่านมาบริเวณ<br />

ถนนสนามไชยหน้าวัด<strong>พ</strong>ระแก้ว<br />

คงจะเคยสังเกตเห็นอาคารโบราณ<br />

ขนาดใหญ่ที่ตั้งตระหง่านเคียงคู่<strong>พ</strong>ระบรม<br />

มหาราชวัง อาคารนั้นก็คือ ศาลาว่าการ<br />

กลาโหมหรือโรงทหารหน้าในอดีต ซึ่งเป็น<br />

ที่ตั้งของกระทรวงกลาโหม หน่วยงาน<br />

ราชการที่เป็นกลไกหลักของการรักษา<br />

ความมั่นคงของชาตินั่นเอง<br />

ท่านทราบหรือไม่ว่าอาคารนี้ได้<br />

ก่อสร้างแล้วเสร็จและใช้งานทางการทหาร<br />

การป้องกันประเทศ และการรักษาความมั่นคง<br />

ของชาติ ตั้งแต่ปี <strong>พ</strong>.ศ.๒๔๒๗ เป็นต้นมา<br />

ตราบจนปัจจุบัน จึงนับเป็นอาคารที่มีความ<br />

สง่างามควบคู่ไปกับเกียรติภูมิที ่เป็นความ<br />

ภาคภูมิใจของประชาชนชาวไทยทุกคนที่<br />

ร่วมกันเป็นเจ้าของอาคารที่ถือเสมือนเป็น<br />

สัญลักษณ์ของการป้องกันประเทศแห่งนี้<br />

อาคารโรงทหารหน้า มีลักษณะเป็น<br />

อาคารที่เรียบง่าย <strong>พ</strong>ร้อมมูลไปด้วย<br />

ประโยชน์ใช้สอย แต่มีความงดงามตามคติ<br />

เรียบง่ายที่สูงศักดิ์ (Noble simplicity)<br />

ของแนวการออกแบบตามรูปแบบ<br />

สถาปัตยกรรมแบบคลาสสิก เชิงศิลปะแบบ<br />

<strong>พ</strong>าลลาเดียน (Palladianism) มีลักษณะ<br />

เป็นอาคารสูง ๓ ชั้น รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแคบ<br />

ยาว ๔ หลังต่อกันเป็นรูปสี่เหลี่ยมเกือบเป็น<br />

สี่เหลี่ยมจัตุรัสล้อมรอบสนามขนาดใหญ่ที่<br />

มีอยู่ภายใน โดยสีของอาคารเป็นสีไข่ไก่<br />

ขั้นด้วยขอบเสาที่มีสีขาวโดยเฉ<strong>พ</strong>าะอาคาร<br />

มีขนาดใหญ่ในภา<strong>พ</strong>รวมมีความกว้าง ๓ เส้น<br />

๑๐ วา และยาว ๕ เส้น โดยใช้<strong>พ</strong>ื้นที่บริเวณ<br />

หมู่วังเจ้านายและฉางหลวง บริเวณริมถนน<br />

หน้าจักรวรรดิ (ถนนสนามไชย ในปัจจุบัน)<br />

ทั้งนี้ จุดเด่นทางสถาปัตยกรรมอยู่ที่มุข<br />

กลางด้านหน้าอาคารที่มีหลังคาจั่วแบบ<br />

วิหารกรีก โดยบริเวณใต้หน้าจั่วจัดทาเป็น<br />

โครงสร้างคานโค้งครึ่งวงกลมต่อเนื่อง ๕<br />

ช่วง และชั้นล่างเป็นเสาลอยตัวหน้าตัดกลม<br />

ขนาดใหญ่สูง ๒ ชั้น ตั้งอยู่บนฐานเสาสูง ๖<br />

ต้น ในระบบดอริค (Doric) ก่อขึ้นมารับมุข<br />

โครงสร้างคานโค้งของชั้นที่สามที่ยื่นมาจาก<br />

แนวตึก<br />

บทความนี้ผู้เขียนอาจเอาเปรียบท่าน<br />

ผู้อ่านที่จะลงเนื้อหาน้อยไปบ้าง แต่จะขอ<br />

ชดเชยเนื้อหาด้วยภา<strong>พ</strong>ของโรงทหารหน้า<br />

ในยุคต่างๆ เท่าที่รวบรวมมาได้ในมุมมองที่<br />

ใกล้เคียงกันเ<strong>พ</strong>ื่อเป็นการเปรียบเทียบ<br />

<strong>พ</strong>ัฒนาการของอาคารแห่งนี้ให้ทุกท่านได้<br />

กรุณา<strong>พ</strong>ิจารณาและเ<strong>พ</strong>ิ่ม<strong>พ</strong>ูนประสบการณ์<br />

ในลักษณะของการเล่าเรื่องด้วยภา<strong>พ</strong><br />

ต่อไปนี้<br />

12<br />

<strong>พ</strong>ลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!