10.05.2018 Views

หลักเมือง พ.ค.61

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ศาสตราจารย์จอห์น เมียร์ไซเมอร์ นักวิขาการด้านความสัม<strong>พ</strong>ันธ์ระหว่างประเทศ (IR) สายความจริงนิยม (Realist)<br />

(What is) มากกว่าสิ่งที่ควรจะเป็น<br />

(What ought to be) และ “รัฐชาติ”<br />

(Nation-state) จะต้องรับบทบาทใน<br />

ฐานะผู้แสดงหลักบนเวทีโลก (Actor)<br />

โดยการดาเนินการทั้งหลายจะมองไปที่<br />

การปกป้อง “ผลประโยชน์ของชาติ” เป็น<br />

สิ่งสาคัญที่สุด (ดร.จุลชี<strong>พ</strong> ชินวรรโณ :<br />

๒๐๑๔) หรือแม้หากจะมองในโลกแห่ง<br />

ความเป็นจริงแม้กระทั่งบริษัทหรือองค์กร<br />

เอกชนย่อมมีหน้าที่ที่จะต้องรักษาผล<br />

ประโยชน์ของผู้ถือหุ้นเป็นสาคัญเช่นกัน<br />

อีกทั้งองค์กรเอกชนในยุคโลกาภิวัตน์ได้มี<br />

อานาจทางการเงินที่สูงและสามารถใช้ใน<br />

การต่อรองกับฝ่ายการเมือง<br />

ส่วนที่ ๑ การป้องกันและต่อต้านการ<br />

ก่อการร้าย (ด้านการเงิน) ระดับสากล<br />

ในการแก้ไขปัญหาเรื่องการสกัดกั้น<br />

เงินทุนของกลุ่มก่อการร้าย คณะมนตรี<br />

ความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (United<br />

Nations Security Council: UNSC) ได้<br />

<strong>หลักเมือง</strong> <strong>พ</strong>ฤษภาคม ๒๕๖๑<br />

Financial Intelligence (FININT)<br />

ออกมติ ธรรมเนียมปฏิบัติสากลว่าด้วย<br />

การกดดันด้านการเงิน (International<br />

Convention for the Suppression of<br />

the Financing of Terrorism (1999))<br />

และมติ ๑๓๗๒ (๒๐๐๑) โดยเนื้อหา<strong>พ</strong>อจะ<br />

สรุปได้โดยย่อว่า “ขอให้สมาชิกฯ ร่วมมือ<br />

ในการกดดันไม่ให้มีการดาเนินกิจกรรม<br />

ทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับการก่อการร้าย<br />

โดยให้จัดระบบกลไกการควบคุมตรวจ<br />

สอบและให้อานาจในการระงับการโอน<br />

เงิน (freeze) หรือยึดทรั<strong>พ</strong>ย์สินที่เกี่ยวข้อง<br />

(Byman 2015, p.188; <strong>พ</strong>ิศาล ๒๐๑๖)<br />

ต่อมาในปี ๒๐๑๔ UNSC ได้ออกมติ<br />

๒๑๗๘ ที่เ<strong>พ</strong>ิ่มเติมให้สมาชิกฯ ร่วมมือ<br />

ป้องกันและสกัดกั้นการโอนเงินที่เป็นส่วน<br />

ช่วยให้เหล่านักรบต่างชาติ (Foreign Terrorist<br />

Fighters FTFs) เดินทางไปร่วมรบ<br />

หรือเป็นค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง (United<br />

Nation Security Council) ในการต่อสู้<br />

และป้องกันปัญหาเรื่องเงินสนับสนุนการ<br />

ก่อการร้าย UN ได้สถาปนาหน่วยงานเรียก<br />

ว่า “คณะทางานเฉ<strong>พ</strong>าะกิจเ<strong>พ</strong>ื่อดาเนิน<br />

มาตรการทางการเงิน (Financial Action<br />

Task Forces : FATF)” ที่เป็นองค์การ<br />

ที่เป็นความร่วมมือระหว่างรัฐฯ (Inter-<br />

Governmental organization) ก่อตั้งขึ้น<br />

เมื่อปี ค.ศ.๑๙๘๙ (<strong>พ</strong>.ศ.๒๕๓๒) FATF<br />

ทาหน้าที่ในการกาหนดมาตรฐานด้านการ<br />

ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและ<br />

การต่อต้านการสนับสนุนทางการเงินแก่<br />

การก่อการร้าย (Anti – Money Laundering/<br />

Counter Financing of Terrorism)<br />

เ<strong>พ</strong>ื่อให้ประเทศต่างๆ จะต้องมีการปฏิบัติ<br />

ทั้งด้านกฎหมายและกระบวนการตรวจ<br />

สอบในการป้องกันการฟอกเงินเ<strong>พ</strong>ื่อ<br />

ก่อการร้ายในระดับนานาชาติ รวมถึง<br />

ส่งเสริมให้ประเทศต่างๆ มีมาตรการด้านการ<br />

ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและ<br />

การต่อต้านการสนับสนุนทางการเงิน<br />

แก่การก่อการร้าย (FATF 2008; 2016)<br />

การข่าวด้านการเงินการลงทุน<br />

Financial Intelligence: FININT ใครคือ<br />

ผู้ปฏิบัติหน้าที่การต่อต้านการก่อการร้าย<br />

(ด้านการเงิน) <strong>พ</strong>บว่าในระดับสากลมีสิ่งที่<br />

เป็นนวัตกรรมคือ การจัดตั้งหน่วยงาน<br />

เฉ<strong>พ</strong>าะกิจทางการเงินที่เรียกในภา<strong>พ</strong>รวมว่า<br />

“หน่วยข่าวกรองทางการเงิน : Financial<br />

Intelligence” ที่มีตัวอย่าง เช่น สานักงาน<br />

ต่อต้านการเงินที่เกี่ยวกับการก่อการร้าย<br />

(Office of Terrorism and Financial<br />

Intelligence (TFI)) ของสหรัฐฯ ที่<br />

สถาปนาเมื่อปี ๒๐๐๔ โดยมีการปฏิบัติ<br />

ภารกิจและหาข่าวกรองทางการเงินโดย<br />

จะทาการแลกเปลี่ยนข้อมูลในลักษณะ ๒<br />

ทางร่วมกับหน่วยงานข่าวกรอง CIA และ<br />

FBI และจะสร้างฐาน (Database) ร่วมกัน<br />

โดยการดาเนินการจะอยู่ภายใต้การกากับ<br />

ดูแลของกระทรวงการคลังที่มีขอบเขตงาน<br />

19

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!