10.05.2018 Views

หลักเมือง พ.ค.61

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ระฆังมิงกุล (Mingun Bell) น้าหนัก ๙๐,๗๑๙ กิโลกรัม (ภา<strong>พ</strong>ถ่ายเมื่อปี <strong>พ</strong>.ศ.๒๔๑๖ หรือเมื่อ ๑๔๕ ปีที่แล้ว)<br />

ลังกา <strong>พ</strong>ร้อมทั้งโปรดให้สร้างวัดที่สาคัญขึ้น<br />

หลายวัด ทรงสร้างระฆังมิงกุลเมื่อต้นปี<br />

<strong>พ</strong>.ศ.๒๓๕๑ น้าหนัก ๙๐,๗๑๘ กิโลกรัม<br />

เส้นผ่าศูนย์กลางขอบระฆัง ๔.๙๕ เมตร<br />

เส้นรอบวง ๑๕.๔๖ เมตร และความสูง<br />

๖.๓๑ เมตร สร้างเสร็จในปี <strong>พ</strong>.ศ.๒๓๕๓<br />

ที่ตั้งห่างจากเมืองมัณฑะเลย์ไปทางทิศเหนือ<br />

ประมาณ ๑๑ กิโลเมตร ริมชายฝั่งด้าน<br />

ตะวันตกของแม่น้าอิรวดี (ปัจจุบันอยู่ที่<br />

ภูมิภาคสะกาย) เป็นระฆังใหญ่ระดับชั้นน า<br />

ของโลก (ระฆังมีขนาดใหญ่ของโลกคือ<br />

ระฆังเครมลิน น้าหนัก ๒๐๑,๙๐๔ กิโลกรัม<br />

สร้างขึ้นในปี <strong>พ</strong>.ศ.๒๒๗๘ หรือสร้างมาก่อน<br />

๑๓๕ ปี ปัจจุบันอยู่ที่ประเทศรัสเซียแต่<br />

แตกร้าวจึงไม่สามารถใช้งานได้) ก่อนนั้น<br />

<strong>พ</strong>ระองค์ทรงสร้างมหาเจดีย์มิงกุล (Mingun)<br />

ระฆังมิงกุล (Mingun Bell) ด้านหลังคือมหาเจดีย์มิงกุล (ภา<strong>พ</strong>นี้ถ่าย<br />

ปี <strong>พ</strong>.ศ.๒๔๓๙) ที่เมืองมัณฑะเลย์ริมชายฝั่งแม่น้าอิรวดีด้านตะวันตก<br />

ปี <strong>พ</strong>.ศ.๒๓๓๓ มีขนาดใหญ่ที่สุดของ<br />

อาณาจักร<strong>พ</strong>ม่าแห่งลุ่มแม่น้าอิรวดี มหา<br />

เจดีย์มิงกุลมีความสูง ๑๕๐ เมตร (หรือ<br />

๔๙๐ ฟุต) ก่อสร้างไปได้มีความสูง ๕๐<br />

เมตร แต่ก่อสร้างไม่เสร็จ สิ่งก่อสร้างขนาด<br />

ใหญ่นี้ตั้งอยู่บริเวณเดียวกัน (เป็นหลักฐาน<br />

แสดงถึงความยิ่งใหญ่ในสมัยของ<strong>พ</strong>ระเจ้า<br />

โบดอว์<strong>พ</strong>ญาที่ยังคงอยู่จนถึงปัจจุบัน ถึง<br />

แม้ว่า<strong>พ</strong>ระองค์ได้สวรรคตมานานถึง ๑๙๙<br />

ปี) นอกจากนี้<strong>พ</strong>ระองค์ทรงสร้างเมือง<br />

อมรปุระให้เป็นราชธานีแห่งใหม่ <strong>พ</strong>ระเจ้า<br />

โบดอว์<strong>พ</strong>ญาทรงสวรรคตเมื่อวันที่ ๕<br />

มิถุนายน <strong>พ</strong>.ศ.๒๓๖๒ มี<strong>พ</strong>ระชนมายุ ๗๔<br />

<strong>พ</strong>รรษา (กับอีก ๘๖ วัน) อยู่ในราชสมบัติ<br />

นาน ๓๗ ปี มี<strong>พ</strong>ระมเหสีชื่อ<strong>พ</strong>ระนางมิน ลุน เม<br />

(Min Lun Me) มี<strong>พ</strong>ระราชโอรส ๖๒<br />

<strong>พ</strong>ระองค์และ<strong>พ</strong>ระราช<br />

ธิดา ๕๘ <strong>พ</strong>ระองค์<br />

<strong>พ</strong>ระองค์ยังทรงเป็น<br />

กษัตริย์จากราชวงศ์<br />

อลอง<strong>พ</strong>ญาที่มี<strong>พ</strong>ระ<br />

ชนมายุยืนและทรง<br />

ครองราชย์นานกว่า<br />

กษัตริย์จากราชวงศ์<br />

เดียวกันจากในอดีต<br />

ระฆังมิงกุล (Mingun Bell) <strong>พ</strong>ร้อมด้วยคาจารึก<br />

ของประวัติและข้อมูลทั่วไป (สภา<strong>พ</strong>ของระฆังใน<br />

ปัจจุบัน)<br />

๓. บทสรุป<br />

ราชวงศ์อลอง<strong>พ</strong>ญาเข้าโจมตีอาณาจักร<br />

สยามถึงสามอาณาจักรคือ อยุธยาตอน<br />

ปลาย อาณาจักรกรุงธนบุรี และอาณาจักร<br />

กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ตั้งแต่ปี <strong>พ</strong>.ศ.<br />

๒๓๐๓ – ๒๓๓๐ นาน ๒๗ ปี เป็นห้วง<br />

ประวัติศาสตร์ที่สาคัญยิ่งของอาณาจักร<br />

สยามที่ต้องสูญเสียอาณาจักรและนามาสู่<br />

การกู้กรุงศรีอยุธยา เป็นการก้าวขึ้นสู่<br />

ความเจริญรุ่งโรจน์อีกครั้งหนึ ่งของ<br />

อาณาจักรสยามแห่งกรุงรัตนโกสินทร์<br />

ตอนต้น หลังจากสมัยของ<strong>พ</strong>ระเจ้าโบดอว์<strong>พ</strong>ญา<br />

การรบของทั้งสองอาณาจักรค่อยลดลง<br />

เป็นลาดับ<strong>พ</strong>ร้อมทั้งนาความสงบสุขมาสู่<br />

อาณาจักรกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น<br />

บรรณานุกรม<br />

๑. en.wikipedia.org/wiki/Tsar_Bell<br />

๒. en.wikipedia.org/wiki/Bodawpaya<br />

๓. en.wikipedia.org/wiki/Mandalay<br />

๔. en.wikipedia.org/wiki/Singu_Min<br />

๕. en.wikipedia.org/wiki/Sagaing_Region<br />

๖. en.wikipedia.org/wiki/Kongbaung_Dynasty<br />

๗. en.wikipedia.org/wiki/Alaungpaya<br />

๘. en.wikipedia.org/wiki/Mingun_Bell<br />

<strong>หลักเมือง</strong> <strong>พ</strong>ฤษภาคม ๒๕๖๑<br />

53

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!