10.05.2018 Views

หลักเมือง พ.ค.61

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

จึงมอบหมายให้กระทรวงกลาโหม โดย<br />

<strong>พ</strong>ลโท จิระ วิชิตสงคราม เป็นรัฐมนตรี<br />

ไป<strong>พ</strong>ิจารณาหาทางช่วยเหลือ โดยมีการ<br />

จัดตั้งคณะกรรมการชื่อว่า “คณะกรรมการ<br />

<strong>พ</strong>ิจารณาหาทางช่วยเหลือทหารกองหนุน”<br />

ซึ่งมี <strong>พ</strong>ลตรี หลวงศรานุชิต เป็นประธาน<br />

กรรมการ ต่อมาได้มีการ<strong>พ</strong>ิจารณาว่าการ<br />

ดาเนินการให้ความช่วยเหลือโดยคณะ<br />

กรรมการไม่รัดกุมและเหมาะสมกับ<br />

สถานการณ์ จึงได้จัดตั้งองค์การสงเคราะห์<br />

ทหารผ่านศึกขึ้น โดยมีการออก<strong>พ</strong>ระราช<br />

บัญญัติองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก<br />

เมื่อ <strong>พ</strong>.ศ.๒๔๙๑ และประกาศในราชกิจจา<br />

นุเบกษา เมื่อ ๓ กุมภา<strong>พ</strong>ันธ์ ๒๔๙๑ จึงได้<br />

กาหนดให้วันที่ ๓ กุมภา<strong>พ</strong>ันธ์ของทุกปี<br />

เป็น วันทหารผ่านศึก มาถึงทุกวันนี้<br />

และองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกมีการ<br />

ก่อตั้งมาแล้ว ๗๐ ปี<br />

๔. กรณีสงครามเกาหลี หลัง<br />

สงครามโลกครั้งที่ ๒ ยุติลง คาบสมุทร<br />

เกาหลีถูกแบ่งออกเป็น ๒ ประเทศ คือ<br />

ตั้งแต่เส้นขนานที่ ๓๘ ขึ้นไปเป็น<br />

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี<br />

หรือเกาหลีเหนือ ภายใต้อิทธิ<strong>พ</strong>ลและการ<br />

สนับสนุนของโซเวียตรัสเซีย และจีน มีการ<br />

ปกครองแบบคอมมิวนิสต์ และตั้งแต่<br />

เส้นขนานที่ ๓๘ ลงมา เป็นสาธารณรัฐ<br />

เกาหลีหรือเกาหลีใต้ มีการปกครองแบบ<br />

ประชาธิปไตยภายใต้อิทธิ<strong>พ</strong>ลและการ<br />

สนับสนุนของสหรัฐอเมริกา เกาหลีเหนือ<br />

ได้ส่งกองทั<strong>พ</strong>เข้ายึดกรุงโซล เมืองหลวง<br />

ของเกาหลีใต้ได้ในปี <strong>พ</strong>.ศ.๒๔๙๓ องค์การ<br />

สหประชาชาติได้ขอร้องให้ประเทศสมาชิก<br />

ส่งกาลังเข้าไปช่วยเหลือประเทศเกาหลีใต้<br />

ประเทศไทยในส่วนของกองทั<strong>พ</strong>บก ได้ส่ง<br />

กรมผสมที่ ๒๑ กองทั<strong>พ</strong>เรือได้ส่งเรือหลวง<br />

ประเเส ท่าจีน บางปะกง และสีชัง กองทั<strong>พ</strong><br />

อากาศได้ส่งหน่วยบินลาเลียงและ<br />

สภากาชาดไทยได้จัดหน่วย<strong>พ</strong>ยาบาล<br />

เข้าร่วมรบในสมรภูมิเกาหลีด้วย ทหารไทย<br />

เสียชีวิต ๑๓๖ นาย และบาดเจ็บ<br />

จานวนมาก<br />

๕. กรณีสงครามเวียดนาม ภายหลัง<br />

สงครามมหาเอเชียบูร<strong>พ</strong>าได้ยุติลง โฮจิมินห์<br />

ผู้นาฝ่ายคอมมิวนิสต์เวียดนามไม่ยอมขึ้น<br />

กับประเทศฝรั่งเศส จึงได้นากาลังเข้าสู้กับ<br />

ฝรั่งเศส เป็นเวลาถึง ๙ ปี สุดท้ายได้มี<br />

การลงนามใน “อนุสัญญาเจนีวา” <strong>พ</strong>.ศ.<br />

๒๔๙๗ โดยแบ่งเวียดนามออกเป็น ๒ ส่วน<br />

ได้แก่ เวียดนามเหนือ มีการปกครองแบบ<br />

คอมมิวนิสต์ และเวียดนามใต้มีการ<br />

ปกครองแบบประชาธิปไตย ผู้นาของ<br />

เวียดนามเหนือได้<strong>พ</strong>ยายามที่จะรวม<br />

เวียดนามทั้งสองส่วนเข้าด้วยกัน จึงส่ง<br />

กาลังกองโจรเวียดกงก่อกวนแทรกซึม<br />

เข้าไปในเวียดนามใต้อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี<br />

<strong>พ</strong>.ศ.๒๔๘๘ เวียดนามใต้ได้ตระหนักดีว่า<br />

ไม่สามารถต่อสู้กับฝ่ายเวียดนามเหนือ<br />

ได้ตามลา<strong>พ</strong>ัง จึงขอความช่วยเหลือจาก<br />

ประเทศฝ่ายโลกเสรีโดยขอความช่วยเหลือ<br />

จากรัฐบาลไทย เมื่อ ๒๑ กรกฎาคม<br />

๒๕๐๗ และรัฐบาลไทยได้ส่งกองกาลัง<br />

โดยกองทั<strong>พ</strong>บกส่งหน่วยจงอางศึกและ<br />

กอง<strong>พ</strong>ลเสือดา กองทั<strong>พ</strong>เรือส่งหน่วยซีฮอร์ส<br />

กองทั<strong>พ</strong>อากาศส่งหน่วยบินวิคตอรี่<br />

มีทหารไทยสูญเสีย ๔๗๐ คน บาดเจ็บ<br />

๑,๑๑๔ คน แสดงให้เห็นถึงเจตจานงอัน<br />

แน่วแน่ในการต่อสู้กับฝ่ายคอมมิวนิสต์<br />

ตลอดจนเผยแ<strong>พ</strong>ร่ให้นานาประเทศได้<br />

ประจักษ์ในความกล้าหาญและความ<br />

สามารถของทหารไทยทั้ง ๓ เหล่าทั<strong>พ</strong><br />

๖. กรณีนักรบนิรนาม ๓๓๓ เป็นกอง<br />

กาลังทหารและ<strong>พ</strong>ลเรือนของไทยในนาม<br />

เสือ<strong>พ</strong>ราน ที่ออกปฏิบัติการรบใน<strong>พ</strong>ื้นที่<br />

ระวังป้องกันภายนอกประเทศ หรือเรียก<br />

“ยุทธศาสตร์การป้องกันในเขตหน้า” เป็น<br />

เขตติดต่อกับประเทศเ<strong>พ</strong>ื่อนบ้านฝั่งตะวันออก<br />

(ประเทศลาว) เ<strong>พ</strong>ื่อป้องกันการไหลบ่า<br />

34<br />

<strong>พ</strong>ลโท ทวี แจ่มจำรัส

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!