25.08.2021 Views

ASA JOURNAL 02/2021

More Than Skin

More Than Skin

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

More Than<br />

Skin<br />

2<strong>02</strong>1.Jul-Aug<br />

The Architectural Journal of the Association of Siamese Architects under Royal Patronage


ผนังเมทัลชีท<br />

ที่กล้ารับประกันสี ไม่ซีดจาง 10 ปี<br />

Ocean Blue<br />

Text: Pratchayapol Lertwicha<br />

Photo: bluescope<br />

Interior<br />

เหล็กเคลือบสีคัลเลอร์บอนด์<br />

สำหรับงำนภำยใน<br />

SYSTEMLAYER<br />

Exterior<br />

เหล็กเคลือบสีคัลเลอร์บอนด์<br />

สำหรับงำนภำยนอก<br />

Insulation<br />

ฉนวนกันควำมร้อน<br />

สำหรับกำรเลือกแผ่นเมทัลชีทมำใช้เป็นผนังอำคำร บำงครั้ง<br />

กำรใช้แผ่นเมทัลชีท อย่ำงเดียวอำจไม่ตอบโจทย์กับกำรใช้งำนที่<br />

ต้องกำรกันควำมร้อนหรือเสียงรบกวนเพิ่มเติม ดังนั้น นวัตกรรม<br />

ระบบผนังที่มีชื่อว่ำ ‘แซนวิชพำแนล’ นั่นคือ กำรนำแผ่นเมทัลชีท<br />

สองแผ่นมำประกบตัวฉนวนเช่น PU หรือ PIR ด้ำนใน จึงเกิดขึ้น<br />

ในฐำนะผู้นำระดับโลกด้ำนผลิตภัณฑ์เมทัลชีท BlueScope<br />

จึงตอบรับนวัตกรรมระบบผนังใหม่ด้วยกำรคิดค้นผลิตภัณฑ์<br />

‘Colorbond for Panel’ แผ่นเมทัลชีทคุณภำพสำหรับกำรใช้งำน<br />

ทั้งภำยนอกและภำยในอำคำรที่มำพร้อมสีสันงดงำม พร้อมรับ<br />

ประกันว่ำสีจะไม่ซีดจำงยำวนำนถึง 10 ปี นอกจำกนี้ ยังดีไซน์รูป<br />

ลอนได้มำกมำย และมีสีสันให้เลือกหลำกหลำยเพื่อตอบทุกโจทย์<br />

ในกำรดีไซน์


สี สั นสวยงำม มีอำยุ<br />

กำรใช้งำนยำวนำน<br />

Easy clean<br />

รับประกันสู งสุ ด 30 ปี<br />

Waranty 30 years<br />

advertorial<br />

วำงใจได้เลยว่ำผลิตภัณฑ์จะมีควำมทนทำน เพรำะ BlueScope<br />

เลือกใช้เหล็กเคลือบอลูมิเนียม 55% ผสมสังกะสี ซึ่งมีอำยุกำร<br />

ใช้งำนมำกกว่ำเหล็กเคลือบสังกะสีทั่วไปถึง 4 เท่ำ พร้อมกำรันตี<br />

ด้วยกำรรับประกันยำวนำนถึง 30 ปีว่ำแผ่นเมทัลชีทจะไม่เป็นรูพรุน<br />

จำกกำรกัดกร่อน และไม่ต้องกังวลว่ำฉนวนที่ติดตั้งจะหลุดร่อน<br />

ไปง่ำยๆ เพรำะ Colorbond for Panel มำพร้อมกับเทคโนโลยี<br />

ชั้นเคลือบสีด้ำนหลังสูตรพิเศษ ที่เพิ่มประสิทธิภำพกำรยึดเกำะ<br />

ระหว่ำงแผ่นและฉนวนให้เต็มเปี ่ยม<br />

BlueScope ยังคงนวัตกรรมอันโดดเด่นจำกเมทัลชีทรุ ่น Colorbond มำ<br />

ไว้ใน Colorbond for Panel อย่ำงครบถ้วน ทั้ง Thermatech® Technology<br />

ช่วยสะท้อนควำมร้อนจำกภำยนอกอำคำร และ Clean Technology<br />

ที่ช่วยลดกำรยึดเกำะของครำบฝุ ่น ทำให้สีสันของบ้ำนหรือโครงกำร<br />

ดูสดใสเหมือนใหม่อยู ่เสมออีกด้วย<br />

Jade Green<br />

03<br />

เพิ่มประสิทธิภำพกำร<br />

ยึดเกำะระหว่ำงแผ่น<br />

กับฉนวนกันควำมร้อน<br />

Increase<br />

adhesion between<br />

metal sheet<br />

and insulation<br />

90.0 ํ 25.0 ํ<br />

ไม่เพียงเท่ำนั้น กำรใช้ระบบผนังเมทัลชีท<br />

แซนวิชพำแนลโดย Colorbond for Panel<br />

ก็ยังช่วยควบคุมเวลำและงบประมำณใน<br />

กำรก่อสร้ำงได้ดีขึ้น เพรำะ Colobond for Panel สำมำรถติดตั้ง<br />

ได้อย่ำงง่ำยดำย แถมช่วยลดกำรปล่อยสำรเคมีประเภท<br />

VOCs เพรำะแผ่น Colorbond for Panel มำพร้อมกับกำร<br />

เคลือบสีตั้งแต่ต้น ทำให้ไม่ต้องใช้สีทำอำคำรที่มักมีสำร<br />

VOCs เรียกได้ว่ำเป็นมิตรกับทั้งคนสร้ำงและ ผู้อยู่อำศัย<br />

อย่ำงแท้จริง<br />

Earth Brown<br />

สามารถ<br />

ติดตาม<br />

รายละเอียด<br />

ของผลิตภัณฑ์<br />

เพิ่มเติมได้ที่


MASONRY<br />

INNOVATION<br />

COMPETITION<br />

Designers have the power to help create resilient, healthy, just, and equitable communities. But solving global<br />

challenges to improve our world demands innovation. We want to see your bold new concepts that show how<br />

masonry can better our built environment. We also want to see new ideas that have the potential to change<br />

the way we design and build with masonry and create growth opportunities for our industry.<br />

Whether you have a great idea that addresses how infrastructure like schools and healthcare facilities will<br />

change in a post-pandemic world, thoughts on how to address the climate crisis, insights on improving equity,<br />

or another innovative plan, we want to hear from you. Solutions can also explore innovations in materials,<br />

the construction process, new business models, or simply show a unique aesthetic and functional use of masonry.<br />

Whatever direction you decide to take, your innovative solution should add value,<br />

usefulness, appreciation, and relevance to masonry design and construction. It can be<br />

either an improvement of an existing system or a groundbreaking proposal.<br />

SUBMISSION<br />

DEADLINE<br />

DEC 15, 2<strong>02</strong>1<br />

IMIWEB.ORG/JBCAWARD<br />

Entry Categories<br />

Students: Undergraduate or graduate students enrolled in<br />

an accredited design, architecture, or engineering school.<br />

Young Architects/Engineers: Any architects or engineers<br />

under the age of 40.<br />

A/E Firms, Individual Architects/Engineers, & Cross-Category:<br />

Architecture/engineering firms, architects and engineers<br />

age 40 and over, and cross-category teams.<br />

Prizes<br />

Monetary awards will be provided to 1st place winners in<br />

each of the 3 entry categories. In addition to monetary prizes,<br />

winners will receive special publicity opportunities, including<br />

the opportunity to present their designs on IMI’s popular<br />

webinar series. Winners will also be highlighted in digital<br />

publications and honored during an awards ceremony.


Neri & Hu Design<br />

and Research Office<br />

Thresholds: Space, Time<br />

and Practice<br />

Pre-order<br />

NOW!<br />

Today-25 August<br />

NERI & HU DESIGN AND RESEARCH OFFICE<br />

THRESHOLDS: SPACE, TIME AND PRACTICE<br />

PUBLISHED BY THAMES & HUDSON<br />

HARDCOVER, 352 PAGES, 8.5 X 10.5 INCHES<br />

WITH 404 ILLUSTRATIONS<br />

ISBN: 9780500343609<br />

Neri & Hu ก่อตั้งโดย Lyndon Neri กับ<br />

Rossana Hu ในปี 200 ปั จจุบันสํ านักงาน<br />

ของพวกเขาที่เซี่ยงไฮ้มีงานออกแบบ<br />

มากมายทั้งสถาปั ตยกรรม อินทีเรีย<br />

งานวางผังไปจนถึงเฟอร์นิเจอร์และ<br />

โปรดักส์ดีไซน์งานของพวกเขากระจาย<br />

ไปทั่วโลก จากการทํางานของทีม ซึ ่ง<br />

ประกอบไปด้วยนักออกแบบมากมายหลาย<br />

เชื้อชาติ เป็ นการตอกยํ ้าแนวทางของ<br />

ออฟฟิ ศที่มีการผสมผสานทักษะของงาน<br />

สร้างสรรค์จากสาขาวิชาการและพื้นหลัง<br />

ที่แตกต่างกันเพื่อสร้างกระบวนทัศน์ ใหม่<br />

ในงานออกแบบสถาปั ตยกรรมและ<br />

อินทีเรีย หนังสื อรวบรวมผลงานของ<br />

Neri & Hu Design and Research<br />

Office เล่มใหม่ล่าสุดโดย Thames &<br />

Hudson นี้ รวบรวมผลงานสเกลต่างๆ<br />

มากกว่า 30 โครงการ ซึ ่งจะเป็ นโมโนกราฟ<br />

ที่สมบูรณ์ที่สุดของNeri & Hu หลังจาก<br />

ที่เคยมีหนังสื อรวมงานครั้งแรกมาแล้ว<br />

ในปี 2014<br />

Founded in 2004 by Lyndon Neri<br />

and Rossana Hu, Neri& Hu is an<br />

inter-disciplinary architectural design<br />

practice based in Shanghai, China.<br />

Neri&Hu works internationally<br />

providing architecture, interior, master<br />

planning, graphic, and product design<br />

services. Currently working on projects<br />

in many countries, Neri & Hu is<br />

composed of multi-cultural staff and<br />

the diversity of the team reinforces a<br />

core vision for the practice: to respond<br />

to a global worldview incorporating<br />

overlapping design disciplines for a<br />

new paradigm in architecture. This<br />

new book published by Thames &<br />

Hudson is the most comprehensive<br />

monograph of the studio's work,<br />

featuring around thirty projects at all<br />

scales.<br />

Info & Order : booksmith@smithproject.co.th


2<strong>02</strong>1<br />

JUL -AUG<br />

MORE THAN<br />

SKIN<br />

The Association<br />

of Siamese Architects<br />

under Royal Patronage<br />

248/1 Soi Soonvijai 4 (Soi 17)<br />

Rama IX Rd., Bangkapi,<br />

Huaykwang, Bangkok 10310<br />

T : +66 2319 6555<br />

F : +66 2319 6419<br />

W : asa.or.th<br />

E : asaisaoffice@gmail.com<br />

Subscribe to <strong>ASA</strong> Journal<br />

T : +662 319 6555<br />

<strong>ASA</strong> <strong>JOURNAL</strong><br />

COMMITTEE<br />

2<strong>02</strong>0-2<strong>02</strong>2<br />

Advisor<br />

Chana Sumpalung<br />

Chairperson of Committee<br />

Assoc.Prof. M.L. Piyalada<br />

Thaveeprungsriporn, Ph.D.<br />

Committee<br />

Asst. Prof. Saithiwa<br />

Ramasoot, Ph.D.<br />

Vorapoj Tachaumnueysuk<br />

Padirmkiat Sukkan<br />

Prachya Sukkaew<br />

Namtip Yamali, Ph.D.<br />

Kulthida Songkittipakdee<br />

Jenchieh Hung<br />

Secretary<br />

Theerarat Kaeojaikla<br />

Editor-in-Chief<br />

Mongkon Ponganutree<br />

Editor<br />

Supreeya Wungpatcharapon<br />

Managing Editor<br />

Kamolthip Kimaree<br />

Assistant Editor<br />

Pichapohn Singnimittrakul<br />

Contributors<br />

Jaksin Noyraiphoom<br />

Kullaphut Seneevong<br />

Na Ayudhaya<br />

Nathanich Chaidee<br />

Nopadon Thungsakul<br />

Patikorn Na Songkhla<br />

Phornnipa Wongprawmas<br />

Pornpas Siricururatana<br />

Warut Duangkaewkart<br />

Xaroj Phrawong<br />

Kukkong Thirathomrongkiat<br />

English Translators<br />

Tanakanya Changchaitum<br />

Pawit Wongnimmarn<br />

English Editors<br />

Daniel Cunningham<br />

Sheena Sophasawatsakul<br />

Graphic Designers<br />

Wasawat Dechapirom<br />

Pitipat Tubtim<br />

Jitsomanus Kongsang<br />

Photographer<br />

Ketsiree Wongwan<br />

Account Director<br />

Rungladda Chakputra<br />

Advertising Executives<br />

Napharat Petchnoi<br />

Chatchakwan Fagon<br />

Thanapong Lertpiyaboon<br />

Special Thanks<br />

DECA<br />

Dhamarchitects<br />

EAST Architects<br />

EKAR<br />

Fotomomo<br />

G8A Architecture & Urban Planning<br />

IDIN Architects<br />

Kukkong Thirathomrongkiat /<br />

Wideopen studio<br />

Nives Vaseenon<br />

pbm<br />

rollimarchini architekten<br />

Yamastudio<br />

Print<br />

SUPERPIXEL<br />

Publisher<br />

The Association of<br />

Siamese Architects<br />

Under Royal Patronage<br />

Copyright 2<strong>02</strong>1<br />

No responsibility can be<br />

accepted for unsolicited<br />

manuscripts or photographs.<br />

Contact<br />

asajournal@asa.or.th<br />

บทความหรือภาพที่ลงใน<br />

วารสารอาษาหรือสื่ อออนไลน์<br />

สมาคมฯ ขอสงวนลิขสิทธิ ์ตาม<br />

กฎหมาย การนำาบทความ<br />

หรือภาพจากวารสารอาษา<br />

ไปตีพิมพ์ อ้างอิงหรือประโยชน์<br />

ใดในสิ ่งพิมพ์หรือสื่ อออนไลน์<br />

อื่น ต้องได้รับอนุญาตจาก<br />

สมาคมฯ ผู้เป็ นเจ้าของลิขสิทธิ์<br />

ตามกฎหมายเท่านั้น<br />

Production Manager<br />

Areewan Suwanmanee<br />

Photo: Kukkong Thirathomrongkiat


09


์<br />

10<br />

message from the president<br />

รายนามคณะกรรมการ<br />

บริหาร สมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

ประจาปี 2563-2565<br />

นายกสมาคม<br />

ชนะ สัมพลัง<br />

อุปนายก<br />

นิ เวศน์ วะสี นนท์<br />

ศ.ดร.ต้นข้าว ปาณินท์<br />

จู น เซคิ โน<br />

ชุตยาเวศ สินธุพันธุ์<br />

ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อั งกสิ ทธิ<br />

รุ่งโรจน์ อ่ วมแก้ ว<br />

เลขาธิการ<br />

พิพัฒน์ รุจิราโสภณ<br />

สารจากนายกสมาคม<br />

สำหรับวรสรอษนี้ ต่อเนื่องจกเล่มแรก “Comfort Zone” ได้เล่เรื่อง<br />

วัสดุ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของสุขภวะและควมสุขสบยของอคร<br />

ต่งๆ ที่น่จะทำให้ทุกคนได้ประโยชน์และสมรถนำไปใช้ ได้ ในชีวิตประจำวันได้<br />

รวมไปจนถึงกรนำเสนองนออกแบบที่น่สนใจของสถปนิกไทยแล้วนั้น มถึง<br />

เล่มที่สองใน “More Than Skin” นี้ก็ยังคงมีบทควมทั้งเชิงวิชกรและข้อมูล<br />

ที่น่สนใจมให้กับสมชิกได้นำไปพัฒนต่อยอดได้อีกในอนคตนะครับ ซึ ่งก็หวัง<br />

เป็ นอย่งยิ ่งว่ในวรสรอษเล่มถัดไป น่จะต่อยอดจนครบทุกประเด็นมุมมอง<br />

ของกรออกแบบที่จะทำให้สมชิกได้รับประโยชน์ ในขณะเดียวกัน ด้วยสภพ<br />

ของบริบทของประเทศไทยตอนนี้ที่มีสถนกรณ์ค่อนข้งน่กังวลหลยเรื่องนั้น<br />

เนื้อหในเล่มนี้ก็ยังได้นำเสนอวัสดุหรือเทคโนโลยีที่เรใช้เพื่อปกป้ องอคร<br />

ว่จะช่วยปกป้ องคุณภพชีวิตของเรได้อย่งไรบ้งในหลยแง่มุม<br />

นอกจกนี้ ผมอยกจะขอประชสัมพันธ์งนของสมคมที่เป็ นกิจกรรมใหม่<br />

งนหนึ ่งของเรในชื่อ <strong>ASA</strong> WOW : Wonder of Well-Being City 2<strong>02</strong>1<br />

ซึ ่งเดิมวงแผนจะจัดภยในปี นี้แต่คงต้องเลื่อนเวลออกไปก่อน โดยจะปรับเป็ น<br />

กิจกรรมที่จะจัดขึ ้นระหว่งปี เพื่อนำเสนอเรื่องรวอันเป็ นจุดประสงค์ของงน<br />

<strong>ASA</strong> WOW ปูทงให้สมชิกได้ติดตมอย่งต่อเนื่องและนำมรวบรวมเป็ นงน<br />

ใหญ่ที่จะเกิดขึ ้นในเวลที่เหมะสม ซึ ่งเป็ นงนที่เรจะชวนบุคคลจกภคส่วน<br />

ต่งๆ มพู ดถึงเรื่องของเมืองกับสิ ่งแวดล้อมกันครับ ไม่ว่จะเป็ นนักพัฒน<br />

อสังหริมทรัพย์ นักออกแบบ ผู้ว่รชกรจังหวัด หรือแม้แต่องค์กรภครัฐ<br />

และเอกชน ที่เกี่ยวข้องกับกรสร้งเมือง ได้มี โอกสมรวมตัวกันในลักษณะ<br />

ของ Symposium ซึ ่งเป็ นกรให้ทั้งควมรู้และแลกเปลี่ยนควมเห็นกันเกี่ยวกับ<br />

กรปรับตัวเข้สู่เมืองในยุคใหม่ ที่ไม่ใช่กรพู ดแค่เรื่องมิติกรออกแบบอย่ง<br />

เดียว แต่รวมถึงเทคโนโลยีทุกอย่งที่เอื้อให้ทุกคนมีชีวิตที่ดีขึ ้น ไม่ว่จะเป็ นเรื่อง<br />

บล็อกเชน หรือแม้แต่เทคโนโลยีด้นสธรณสุขที่อจจะต้องมีส่วนเกี่ยวพันกับ<br />

ในแวดวงอชีพของเรและควมเป็ นอยู่ของมนุษย์ โดยจะเป็ นวงที่เรจะไม่ได้<br />

พู ดถึงแต่สถปนิกเพียงด้นเดียว แต่เรจะเป็ นเหมือนโต๊ะกลงให้ทุกคนจก<br />

หลยภคส่วนมีพื้นที่แสดงควมคิดเพื่อพัฒนให้เมืองน่อยู่ร่วมกัน ซึ ่งเป็ น<br />

กิจกรรมใหม่ที่สมคมฯตั้งใจจะให้เกิดขึ ้นและต่อเนื่องในทุกปี<br />

นายทะเบียน<br />

คมสัน สกุลอานวยพงศา<br />

เหรัญญิก<br />

ไมเคิลปริพล ตั้งตรงจิตร<br />

ปฏิคม<br />

เฉลิมพล สมบัติยานุชิต<br />

ประชาสัมพันธ์<br />

รศ.ดร.ม.ล.ปิ ยลดา ทวีปรังษีพร<br />

กรรมการกลาง<br />

ดร.วสุ โปษยะนันทน์<br />

เฉลิมพงษ์ เนตรพฤษรัตน์<br />

อดุลย์ แก้วดี<br />

ผศ.ณธทัย จั นเสน<br />

กศินธ์ ศรศรี<br />

ณั ฎฐวุ ฒิพิริยประกอบ<br />

ประธานกรรมาธิการ<br />

สถปนิกล้นน<br />

ปราการ ชุณหพงษ์<br />

ประธานกรรมาธิการ<br />

สถปนิกอีสน<br />

วีรพล จงเจริญใจ<br />

ประธานกรรมาธิการ<br />

สถปนิกทักษิณ<br />

นิพนธ์ หัสดีวิจิตร


12<br />

message from the president<br />

<strong>ASA</strong> COMMITTEE<br />

2<strong>02</strong>0-2<strong>02</strong>2<br />

President<br />

Chana Sumpalung<br />

Vice President<br />

Nives Vaseenon<br />

Prof. Tonkao Panin, Ph.D.<br />

Jun Sekino<br />

Chutayaves Sinthuphan<br />

Asst. Prof. Rattapong Angkasith, Arch.D.<br />

Rungroth Aumkaew<br />

Secretary General<br />

Pipat Rujirasopon<br />

Honorary Registrar<br />

Khomsan Sakulamnuaypongsa<br />

The first issue of <strong>ASA</strong> Journal,’ Comfort Zone,’ tells many stories<br />

of materials and technologies related to architecture and their<br />

contributions to human wellbeing and comfort, many of which<br />

we consider beneficial and applicable to architectural design<br />

and everyday life. In the ‘More Than Skin’ issue that follows, <strong>ASA</strong><br />

Journal continues to put together articles with insightful takes<br />

and academic points of view and analyses in the hope of keeping<br />

fellow members informed and up-to-date for their future works.<br />

We intend to cover all the aspects of architectural design that will<br />

be advantageous to the members in the succeeding issues. With<br />

the current pandemic crisis in Thailand, our ‘More Than Skin’ issue<br />

brings you new details and updates on materials and technologies<br />

in facade design, examining the importance of these building skins<br />

in many aspects related to our wellbeing and quality of life.<br />

In addition, I would like to take this opportunity to promote<br />

one of the Association’s new activities, <strong>ASA</strong> WOW: Wonder of<br />

Well-Being City 2<strong>02</strong>1, which was initially planned to take place<br />

this year but has to be postponed for the time being. Instead, the<br />

activity will occur throughout the year as a prelude to <strong>ASA</strong> WOW’s<br />

main storyline. The activities will begin with an introduction<br />

and gradually wind down to the big event, which will transpire<br />

when the right time comes. We will invite professionals and<br />

experts from real-estate developers, designers, governors, the<br />

government sector, and private agencies whose roles involve<br />

urban development and expansion to talk about cities and the<br />

environment. It will be a symposium where everyone shares<br />

and exchanges knowledge, insights and visions about humans’<br />

adaptation to modern-day cities. The subjects will encompass<br />

design and technologies that enable everyone to attain a better<br />

quality of life, from blockchain to technologies related to public<br />

healthcare, the architectural profession, and human wellbeing as<br />

a whole. The symposium will be the stage, not just for architects,<br />

but for professionals from various sectors and industries to propose<br />

ideas and brainstorm a wide range of different possibilities,<br />

creating a collective effort to contribute to the development of<br />

livable cities. The Association intends for this new activity to take<br />

place as an annual event in the future.<br />

Honorary Treasurer<br />

Michael Paripol Tangtrongchit<br />

Social Event Director<br />

Chalermpon Sombutyanuchit<br />

Public Relations Director<br />

Assoc. Prof. M.L. Piyalada<br />

Thaveeprungsriporn, Ph.D.<br />

Executive Committee<br />

Vasu Poshyanandana, Ph.D.<br />

Chalermphong Netplusarat<br />

Adul Kaewdee<br />

Asst. Prof. Nathatai Chansen<br />

Kasin Sornsri<br />

Nutthawut Piriyaprakob<br />

Chairman of<br />

Northern Region (Lanna)<br />

Prakan Chunhapong<br />

Chairman of<br />

Northeastern Region (Esan)<br />

Werapol Chongjaroenjai<br />

Chairman of<br />

Southern Region (Taksin)<br />

Nipon Hatsadeevijit


<strong>02</strong><br />

ADVERTORIAL<br />

28 CHIDLOM, SC ASSET<br />

1


ระบบระแนงอลูมิเนียม<br />

(Façade) อัลเน็กซ์<br />

สร้างความรู้สึกบางและเพิ่มเอกลักษณ์ให้ตัวอาคารด้วย<br />

ฟาซาดอลูมิเนียมรุ่น Z20 ติดตั ้งโดยระบบคลิปล็อค<br />

อย่างประณีต พิถีพิถัน ทาให้ตัวอาคารโดดเด่น ออกแบบ<br />

พิเศษให้เข้ากับราวกันตกอลูมิเนียมดีไซน์สลิม เน้นความ<br />

คมและบางของรูปด้านอาคาร ระบบสีฝุ่นสาหรับภายนอก<br />

ที่ออกแบบเฉดสีพิเศษ เรียบเนียน รับประกันสูงสุด 25 ปี<br />

เพื่อให้อาคารดูใหม่อยู่เสมอ<br />

205 Moo2, Praksa Rd., Taibanmai,<br />

Muang, Samuthprakarn 1<strong>02</strong>80<br />

Tel: <strong>02</strong>-136-8899 Facebook: ALNEXALU<br />

Website: www.alnexthailand.com


16<br />

At Vive Ekamai-Ramindra,<br />

the aluminum façade by<br />

ALNEX is elegantly more than<br />

an ordinary screen.<br />

เวลาดีไซน์ facade อาคารแต่ละครั้ง นอกจากจะต้องคำานึงเรื่อง<br />

ความสวยงามและรูปร่างหน้าตาแล้ว อีกสิ่งที่สำาคัญไม่แพ้กันเลย<br />

ก็คือวัสดุที่เลือกใช้ เพราะวัสดุเองมีผลต่อหน้าตาอาคารที่ออกมา<br />

และยังมีผลกับเรื่องการใช้งานและดูแลรักษาอาคารในระยะยาว<br />

อีกด้วย<br />

Vive เอกมัย-รามอินทรา โครงการบ้านที่โดดเด่นด้วยดีไซน์ร่วม<br />

สมัยในแบบมินิมอล เลือกใช้วัสดุอลูมิเนียมคุณภาพจาก ALNEX<br />

มาติดตั้งเป็น facade กันแดดสีขาวที่มีดีไซน์อันเรียบง่าย<br />

Beautiful physical appearance is not the only quality<br />

designers, and architects consider when it comes to facade<br />

design. Equally important are the materials of choice, for<br />

they directly affect how a building looks, as well as its<br />

long-term usability and maintenance.<br />

Known for its contemporary and minimal design, Vive<br />

Ekamai-Ramindra uses premium aluminum from ALNEX for<br />

its facade’s simplistic appearance, perfectly embodying the


advertorial<br />

17<br />

ตอบรับกับแนวคิดของโครงการได้เป็นอย่างดี ไม่เพียงเท่านั้น<br />

ตัวอลูมิเนียมเองยังมาพร้อมนวัตกรรมวัสดุที่แข็งแรงทนทาน<br />

เทียบเท่ากับอลูมิเนียมในอุตสาหกรรมยานยนต์ ประกอบ-ติดตั้ง<br />

ด้วยระบบเข้าล็อคลิ้นอย่างประณีต ไร้รอยเชื่อม และเก็บงาน<br />

ทุกรายละเอียดเพื่อความเรียบร้อยสวยงาม อีกทั้งยังปลอดสนิม<br />

ตลอดอายุการใช้งาน อลูมิเนียม ALNEX มีสีเรียบเนียน ติดคงทน<br />

ด้วยเทคโนโลยีการพ่นสีฝุ่น PowderTech TM ที่ช่วยให้ facade<br />

หน้าบ้านสวยเหมือนใหม่อยู่เสมอ และ ALNEX ยังพิถีพิถันในเรื่อง<br />

ของวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกับผลิตภัณฑ์ เช่น การใช้น็อตทั้งหมด<br />

ด้วยสเตนเลสคุณภาพสูง เพื่อการยึดติดที่คงทนแข็งแรง<br />

วัสดุ facade ของ ALNEX ในโครงการ Vive เอกมัย-รามอินทรา<br />

ยังเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและปลอดภัยต่อสุขภาพของลูกบ้าน<br />

ด้วยคุณสมบัติการปลอดสารก่อมะเร็ง (non-carcinogenic)<br />

และเป็นผลิตภัณฑ์ที่รับรองว่ามีคุณภาพมาตรฐาน ด้วยเทคนิค<br />

การประกอบวัสดุที่พิถีพิถันและได้รับการควบคุมในการผลิต<br />

อย่างเคร่งครัด<br />

นอกเหนือไปจากคุณภาพของตัววัสดุ อีกเหตุผลที่โครงการเลือก<br />

ALNEX ก็คือบริการหลังการขาย และทีมช่างผู้เชี่ยวชาญที่ให้การ<br />

สนับสนุนจนได้ facade ที่มีดีไซน์สวยงามอย่างจินตนาการ<br />

project’s concept. The aluminum offers innovative qualities<br />

and strength equivalent to that used in the automotive<br />

industry. The meticulously designed joinery and installation<br />

system deliver impeccable, seamless details that keep the<br />

overall appearance immaculately beautiful. The material<br />

guarantees a life-long rust-proof ability. ALNEX’s aluminum’s<br />

superlative textural quality includes smooth, durable surface<br />

thanks to the PowderTech TM technology that enables facade<br />

structures to stay good as new through time. ALNEX is<br />

particularly attentive about the quality of fitting equipment<br />

with all the parts and screws made of high-quality stainless<br />

steel, ensuring solid and secured installation.<br />

The material under the ALNEX brand used with the facade of<br />

Vive Ekamai-Ramindra is friendly to both the environment<br />

and users with non-carcinogenic substance and physical<br />

quality with certified standard thanks to the strictly controlled<br />

manufacturing and assembly techniques.<br />

Apart from the qualities of its product, ALNEX is chosen for<br />

its outstanding after-sale services and highly experienced<br />

support team of skilled technicians, making the visualized<br />

design a perfect reality.


18<br />

foreword<br />

Photo: Ketsiree Wongwan<br />

ผิว หรือเปลือก ของอาคาร เป็นองค์ประกอบส่วนแรกที่สายตาของเรารับรู ้<br />

จากภายนอกและจะจดจำาสถาปัตยกรรมนั้นๆ เปลือกอาคารไม่เพียงแต่<br />

เกี่ยวข้องกับความรับรู้ถึงความงาม ภาษาหรือแนวคิดของผู้ออกแบบ แต่มี<br />

ความสัมพันธ์กับกาล เวลา สถานที่ สภาพแวดล้อมและที่ตั้งของอาคารใน<br />

ทางภูมิศาสตร์และภูมิอากาศ ตลอดจนแสดงถึงช่วงเวลาที่สถาปัตยกรรม<br />

แต่ละโครงการถูกสร้างขึ้นผ่านเทคโนโลยีและวัสดุที่เลือกใช้ ที่สำ าคัญยัง<br />

สะท้อนถึง ‘คน’ ที่เกี่ยวข้องกับการเกิดขึ้นของสถาปัตยกรรมนั้นด้วย ไม่ว่า<br />

จะเป็นเจ้าของโครงการ สถาปนิกผู้ออกแบบ หรือกลุ่มเป้าหมายและผู้ใช้งาน<br />

More Than Skin ในวารสารอาษาฉบับเดือนกรกฎาคม - สิงหาคม 2564<br />

นี้ นำาเสนอเรื่องราว ที่มา ตลอดจนแนวคิดการออกแบบของสถาปัตยกรรม<br />

หลายโครงการ ที่มีความแตกต่างกันทั้งสถานที่และประโยชน์ใช้สอย<br />

ที่สื่อสารผ่านวัสดุและการออกแบบเปลือกอาคารที่หลากหลาย นอกจากนี้<br />

ยังมีบทความที่เกี่ยวกับวัสดุเปลือกอาคารที่น่าสนใจ เพื่อเป็นประโยชน์กับ<br />

สมาชิกในการศึกษาและเลือกใช้สำาหรับการออกแบบต่อไป<br />

ในบทความหลัก More Than Skin หรือคอลัมน์ Revisit สถาปัตยกรรม<br />

สมัยใหม่ในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ในอาษาฉบับนี้ ต่างสะท้อนให้เห็นว่า<br />

ผลงานของสถาปนิกในอดีตเปรียบเสมือนการบันทึกและถ่ายทอดเรื่องราว<br />

ประวัติศาสตร์ในขณะนั้น ผ่านเปลือกอาคารที่น่าสนใจ ผ่านยุคสมัยและ<br />

กาลเวลามาแล้ว สำาหรับสถาปนิกในปัจจุบันจึงมีประเด็นที่ท้าทายพวกเรา<br />

ว่า ในช่วงเวลาที่สถานการณ์โลกกำาลังเปลี่ยนแปลงไปท่ามกลางวิกฤตด้าน<br />

สุขภาวะ สิ ่งแวดล้อม ตลอดจนความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วของโลกดิจิตอล<br />

และการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในอนาคต ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้จะส่งผลต่อการ<br />

ออกแบบสถาปัตยกรรมในยุคสมัยของเราหรือไม่ อย่างไร และชวนให้คิด<br />

กันต่อไปอีกว่าสถาปนิกไทยในยุค 2<strong>02</strong>0s นี้ จะสื่อสารกับเมือง โลกและ<br />

ผู้คนในยุคสมัยหน้าอย่างไร ผ่านผิวผนังหรือเปลือกอาคารที่เราออกแบบ<br />

A building’s skin is the first element one encounters when they<br />

come across and remember a piece of architecture. It involves<br />

one’s perception of the beauty and appreciation in a design accent<br />

and concept and forms a close connection to space and time,<br />

including the surrounding environment, geographical as well as<br />

climatic conditions in which the building is situated.<br />

Themed’ More Than Skin’, the July-August 2<strong>02</strong>1 issue of <strong>ASA</strong><br />

Journal, features stories, origins, and design concepts of many<br />

intriguing works of architecture. Despite their varied locations<br />

and functionalities, these works communicate their architectural<br />

narratives through the different materials and designs of their skins.<br />

The issue also includes articles on some material innovations for<br />

facade design, which we hope will be beneficial and inspirational to<br />

fellow members for future study and implementation in your work.<br />

In this issue, the featured article, More Than Skin, as well as the<br />

Revisit column, which takes a closer look at modern architecture<br />

at Khon Kaen University, all reflect how the works of architects<br />

of the past are, in and of themselves, a documentation of stories;<br />

moments in history, through building skins whose conceptions<br />

are materialized and defined by continually evolving epochs. For<br />

present-day architects, a dire challenge lies in the time and context<br />

of the world, disrupted and reshaped by the ongoing health crisis,<br />

environmental issues, economic dynamism, and digital progress. In<br />

the future, how will these factors influence the architectural design<br />

of our time? How will the Thai architects of 2<strong>02</strong>0 communicate<br />

through urban spaces, cities, localities, the world, and people in the<br />

future that lies ahead through the skins of buildings they design?<br />

All of these are thought-provoking questions worth contemplating.


19<br />

Project: PNK Building<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

205 Moo 2, Praksa Rd., Taibanmai,<br />

Muang, Samuthprakarn 1<strong>02</strong>80<br />

Tel: <strong>02</strong>-136-8899 Facebook: ALNEXALU<br />

Website: www.alnexthailand.com<br />

205 Moo 2, Praksa Rd., Taibanmai,<br />

Muang, Samuthprakarn 1<strong>02</strong>80<br />

Tel: <strong>02</strong>-136-8899 Facebook: ALNEXALU<br />

Website: www.alnexthailand.com


2<strong>02</strong>1<br />

JUL -AUG<br />

MORE THAN<br />

SKIN<br />

around<br />

2<strong>02</strong>0 National<br />

Artist in Visual<br />

Arts 24<br />

Silpathorn<br />

Award Winner<br />

2<strong>02</strong>1 25<br />

The results of<br />

the <strong>ASA</strong> Cloud<br />

Center Songkhla<br />

Competition 26<br />

Serpentine<br />

Pavilion 2<strong>02</strong>1<br />

Designed by<br />

Counterspace 28<br />

Radical<br />

Architecture of<br />

the Future 32<br />

speacial section<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural<br />

Design Awards<br />

35<br />

theme<br />

More Than Skin<br />

In architecture, the skin<br />

or shell serves not only to<br />

protect what’s inside but<br />

as an interface that allows<br />

a building to communicate<br />

with the outside world. It<br />

acts as a sensory receptor<br />

that perceives and conveys<br />

information, transfers heat,<br />

humidity, energy and at<br />

times even contributes as a<br />

supporting composition.<br />

58<br />

theme / review<br />

Breathing In<br />

Breathing Out<br />

In this Buddhist meditation<br />

retreat, DECA Atelier has not<br />

only masterfully introduced<br />

natural ventilation to the<br />

building but also created a<br />

visually distinctive design with<br />

openings and enclosures of<br />

varying sizes and patterns.<br />

They have skilfully achieved<br />

this by using ventilation blocks<br />

specifically designed and<br />

manufactured for the project.<br />

70<br />

Photo: Beer Singnoi, Fotomomo<br />

Photo: Ketsiree Wongwan<br />

theme / review<br />

Even a Brick<br />

Wants To Be<br />

Something<br />

In this project, a modest<br />

material like bricks are<br />

presented in a universal design<br />

language, meticulously uttered<br />

to express AUAA’s cultural<br />

legacy, connections, and<br />

sentiments it has formed with<br />

Thai people over the years.<br />

82<br />

Photo: Wideopen Studio<br />

theme / review<br />

Perfectly<br />

Im-perfect<br />

At the new Boccia National<br />

Field Training Center, the design<br />

team of pbm has interpreted<br />

the concept of simplicity and<br />

imperfection into the façade by<br />

applying the shape of a scalene<br />

triangle.<br />

94<br />

theme / review<br />

One Screen,<br />

Many Views<br />

IDIN Architects has designed<br />

a mixed-use building with an<br />

eye-catching façade, using<br />

glass and aluminum panels<br />

to conceal different functional<br />

spaces and to create more<br />

diversified perspectives.<br />

104<br />

Photo: Yamastudio<br />

Photo: Ketsiree Wongwan


theme / review<br />

Writing a<br />

Modern History<br />

EKAR Architects has<br />

refurbished the 43-year old<br />

Pilot pen headquarters on<br />

Silom Road by reflecting the<br />

new brand image through a<br />

visually distinctive Façade.<br />

114<br />

Photo: Ketsiree Wongwan<br />

theme / review<br />

It’s a Living<br />

Thing<br />

Having taken inspiration<br />

from the traditional tropical<br />

architecture of the region, the<br />

design of this factory in Ho Chi<br />

Minh City was developed with<br />

a porous façade devised to act<br />

as a lush green “skin”.<br />

126<br />

Photo courtesy of G8A Architecture & Urban Planning<br />

Photo: www.vector-foiltec.com<br />

Photo: www.architectkidd.com<br />

material<br />

Functionality,<br />

Sensuality And<br />

Aesthetics<br />

Some ideas on recent<br />

materials for architecture<br />

and building skin.<br />

136<br />

Trespa<br />

Meteon 146<br />

ETFE 147<br />

Kriskadecor 149<br />

SCG DECOR<br />

Modeena Series<br />

150<br />

professional<br />

Dhamarchitects<br />

152<br />

revisit<br />

MOre MOdern<br />

Architecture in<br />

More-Kor<br />

The exhibition “MOre MOdern<br />

Architecture in More-Kor” at<br />

TCDC Khon Kaen took us to<br />

look back at the Modernist<br />

ideas of architectural design<br />

and construction emphasizing<br />

the importance of preserving<br />

the cultural heritage related to<br />

this movement.<br />

156<br />

chat<br />

Nives<br />

Vaseenon<br />

<strong>ASA</strong> spoke with Nives Vaseenon,<br />

the Vice President of the Association<br />

of Siamese Architects<br />

under Royal Patronage on the<br />

actions taken by the <strong>ASA</strong> and the<br />

possible future of architectural<br />

practice after COVID-19.<br />

164<br />

the last page<br />

168


24<br />

around<br />

2<strong>02</strong>0<br />

National Artist<br />

in Visual Arts<br />

(Contemporary Architecture)<br />

คุณประภากร วทานยกุล อดีตนายกสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ประจำาปี 2545-2547 และกรรมการผู้จัดการ บริษัท<br />

สถาปนิก 49 จำากัด ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติ เป็นศิลปิน<br />

แห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรมร่วมสมัย) ประจำา<br />

ปีพุทธศักราช 2563 โดยมีการประกาศผลไปเมื่อวันศิลปิน<br />

แห่งชาติ ปี 2564 ที่ผ่านมา คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่ง<br />

ชาติได้เผยแพร่คำาประกาศเกียรติคุณไว้ว่า<br />

“นายประภากร วทานยกุล เป็ นสถาปนิกผู้สร้างสรรค์<br />

และมีความรักในอาชีพสถาปนิก โดยมีหลักคิดในการ<br />

ทำางานออกแบบที่เข้าถึงในรายละเอียดของทุกๆ ส่วน<br />

ของงาน มีแนวคิดว่างานสถาปั ตยกรรมที่สมบูรณ์<br />

จะต้องเป็ นการออกแบบร่วมกันของงานทุกศาสตร์<br />

ไม่แตกต่างด้วยขนาด ประเภทของงาน และต้องคำานึง<br />

ถึงสภาพแวดล้อม มีความกระตือรือร้นในงานออกแบบ<br />

ที่ได้ทำาทุกโครงการ มีพลังที่จะสร้างสรรค์และมีความ<br />

ตั้งใจที่จะถ่ายทอดความรู้ ไปสู่ผู้ที่จะก้าวเข้ามาในเส้น<br />

ทางของการเป็ น “ช่าง” เป็ น “สถาปนิก””<br />

จากการทำางานที่ผ่านมา คุณประภากรได้สร้างสรรค์<br />

สถาปัตยกรรมร่วมสมัยที่โดดเด่นและเป็นที่จดจำาไว้หลาย<br />

ผลงาน ทั้งในและต่างประเทศ เช่น บ้านสวนสงบ อาคาร<br />

บียู ไดมอนด์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ หรือ อาคารมหิดล<br />

สิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล นอกจากได้รับรางวัล<br />

สถาปัตยกรรมดีเด่นจากหลายสถาบัน คุณประภากรยัง<br />

เคยได้รับยกย่องให้เป็นสถาปนิกดีเด่นด้านวิชาชีพจาก<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ และเป็น<br />

นิสิตเก่าดีเด่นจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัยอีกด้วย<br />

Mr. Prabhakorn Vadanyakul, the former<br />

President of the Association of Siamese Architects<br />

(20<strong>02</strong>-2004) and current Managing Director of<br />

A49 Company Limited has been given the honor as<br />

2<strong>02</strong>0’s National Artist in Visual Arts (Contemporary<br />

Architecture). The announcement was made by the<br />

Board of National Culture on the National Artist Day<br />

2<strong>02</strong>1 and includes the following details.<br />

“Mr. Prabhakorn Vadanyakul is an architect<br />

with incredible creativity and passion. His<br />

work and design philosophy dives deep<br />

into every detail of architectural creation.<br />

By upholding the belief that a perfect<br />

work of architecture is a design that can<br />

integrate any possible discipline, regardless<br />

of scales or typologies, while also being<br />

environmentally conscious. He is the type of<br />

architect who is always eager to work on all<br />

types of projects, with the creative drive and<br />

determination to pass on his knowledge and<br />

experiences to whoever chooses the path of<br />

a ‘builder’ or an ‘architect’.”<br />

Throughout his career, he has created a number of<br />

distinctive works of contemporary architecture, both<br />

in and outside of Thailand, from Baan Suan Sa-nghob<br />

to Bangkok University’s Diamond project, and Prince<br />

Mahidol Hall at Mahidol University. Besides his long<br />

list of accolades and achievements, Mr. Prabhakorn<br />

Vadanyakul has been chosen as an Architect with<br />

Distinctive Professional Achievements by the Association<br />

of Siamese Architects under Royal Patronage<br />

and Best Alumni Award by the Faculty of Architecture,<br />

Chulalongkorn University.


้<br />

2<strong>02</strong>0 NATIONAL ARTIST IN VISUAL ARTS / SILPATHORN AWARD WINNER 2<strong>02</strong>1<br />

25<br />

Silpathorn Award<br />

Winner 2<strong>02</strong>1<br />

รางวัล “ศิลปาธร” ตามคำานิยามคือ ผู้ทรงหรือผู้รักษา<br />

ไว้ซึ่งศิลปะ เป็นรางวัลที่อยู่ภายใต้โครงการคัดเลือกศิลปิน<br />

ร่วมสมัยดีเด่นในความรับผิดชอบของสำานักงานศิลป<br />

วัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริม<br />

สนับสนุน ยกย่องศิลปินรุ่นกลางที่ทุ่มเทจิตใจในการสร้าง<br />

สรรค์งานศิลปะที่มีคุณภาพออกสู่สังคมอย่างต่อเนื่อง โดยมี<br />

การกำาหนดเพิ่มสาขาสถาปัตยกรรม เป็นอีกหนึ่งรางวัล<br />

ตั้งแต่ปี 2553 เป็นต้นมา และสถาปนิกผู้ได้รับรางวัล<br />

ศิลปาธร ประจำาปี พ.ศ. 2564 นี้ คือ ศาสตราจารย์<br />

ดร.ต้นข้าว ปาณินท์ จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งในปัจจุบันยังปฏิบัติหน้าที่เป็น<br />

อุปนายกสมาคมสถาปนิกสยามฯ ประจำาปี 2563-2565<br />

อีกด้วย จากผลงานวิชาการผ่านบทความและหนังสือหลาย<br />

เล่ม ตลอดจนการถ่ายทอดความเรียบง่ายแต่ละเอียดอ่อน<br />

ผ่านงานออกแบบสถาปัตยกรรมหลายชิ้นภายในนามของ<br />

Research Studio Panin ไม่ว่าจะเป็นงานที่พักอาศัย<br />

หลายหลัง หรืออาคารสาธารณะอย่าง ศูนย์การเรียนรู<br />

เมืองฉะเชิงเทรา (Knowledge Center of Chachoengsao)<br />

โรงแรม PRY1 เขาใหญ่แกรนด์วิว หรือโรงพยาบาล<br />

กาฬสินธุ์-ธนบุรี (Kalasin Thonburi Hospital) ที่ต่าง<br />

สะท้อนความเป็นธรรมชาติของการอยู่อย่างไทย ซึ่งนับได้<br />

ว่าเป็นผลงานของครูผู้จุดประกายแก่สถาปนิกรุ่นใหม่ และ<br />

มีคุณูปการกับวงการสถาปัตยกรรมร่วมสมัยอย่างยิ่ง<br />

A receiver of Silpathron Award is defined as an<br />

individual who preserves and sustains their artistic<br />

contributions. The award is held as a part of the<br />

contemporary artist selection project hosted by the<br />

Office of Contemporary Art and Culture, Ministry of<br />

Culture. In order to support, encourage and celebrate<br />

the mid-career artists with continuous dedication and<br />

valuable contribution. Architecture has been added<br />

as a category of Silpathorn award since 2010.<br />

Professor Tonkao Panin, Ph.D. has been given<br />

the honor as being one of the winners of 2<strong>02</strong>1’s<br />

Silpathorn Awards (Architecture). In addition to her<br />

role and responsibility as a professional architect<br />

and professor at the Faculty of Architecture,<br />

Silpakorn University, Professor Tonkao is currently<br />

the Vice President of the Association of Siamese<br />

Architects under Royal Patronage (2<strong>02</strong>0-2<strong>02</strong>2). Her<br />

contributions range from academic publications to<br />

the simplicity and delicateness of her architecture<br />

created under the name Research Studio Panin.<br />

Ranging from residential projects to public buildings<br />

such as Knowledge Center of Chachoengsao,<br />

PRY1 Hotel Khao Yai Grand View Hotel, and Kalasin<br />

Thonburi Hospital. Her works and their reflection<br />

of the intrinsic natures of the Thai way of life have<br />

become a valuable lesson for younger generation<br />

architects, proving her with the status of a true<br />

benefactor of Thailand’s contemporary architecture.


26<br />

around<br />

Results of the <strong>ASA</strong><br />

Cloud Center Songkhla<br />

Competition<br />

สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ต้องการ<br />

พัฒนาศูนย์อาษาคลาวด์เมืองสงขลา เพื่อใช้เป็นศูนย์รวม<br />

ของผู้ประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมรวมทั้งเป็นแหล่งเผย<br />

แพร่ความรู้ทางสถาปัตยกรรมแก่ผู้ที่สนใจในเมืองได้เข้า<br />

มาใช้งาน ด้วยการปรับปรุงอาคารเก่าสามคูหาในย่านถนน<br />

นครนอก ซึ่งเป็นอาคารในเขตเมืองเก่าสงขลาที่มีลักษณะ<br />

เป็นอาคารเรือนแถวรูปแบบเรียบง่ายโครงสร้างปูนและไม้<br />

ความสูงหนึ่งชั้น จึงจัดเป็นโครงการประกวดแนวความคิด<br />

ในการออกแบบปรับปรุงอาคารขึ้นเพื่อนำาเสนอเป็นอาคาร<br />

ตัวอย่างที่ส่งเสริมการอนุรักษ์คุณค่าของเมืองเก่าสงขลา<br />

สู่เมืองมรดกโลก และได้มีการประกาศผลการตัดสินรอบ<br />

สุดท้ายไปเมื่อช่วงเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา<br />

ผลงานที่ชนะเลิศอันดับ 1 เป็นผลงานของ คุณปกรณ์<br />

เนมิตรมานสุข ในชื่อผลงานว่า “<strong>ASA</strong> CLOUD- THE<br />

EXISTING VALUE” ด้วยการออกแบบที่ขับเน้นเสน่ห์ของ<br />

บ้านจีนสามห้องที่มีจังหวะของช่องประตูหน้าต่างโบราณ<br />

ที่งดงาม แสดงให้เห็นถึงการใช้อาคารที่เคยแยกเป็นสามเจ้า<br />

ของในอดีต ผู้ออกแบบเลือกใช้วัสดุที่สื่อถึงความสัมพันธ์<br />

ของอาคารกับบริบทเมืองเก่าทางประวัติศาสตร์ และการ<br />

จัดวางพื้นที่เก่า-ใหม่ที่ปรับเปลี่ยนประโยชน์ใช้สอยได้<br />

ทั้งภายในและภายนอกให้เกิดพื้นที่สาธารณะของย่านที่<br />

ต้อนรับผู้คนให้หลั่งไหลเข้ามาชมและเข้าใจในวิชาชีพ<br />

สถาปนิกมากขึ้น<br />

ผลงานรองชนะเลิศอันดับที่ 1 เป็นผลงานออกแบบของ<br />

คุณบัณฑิตทัศน์ ทสยันไชย ในชื่อผลงานว่า “<strong>ASA</strong> CLOUD<br />

O–NEGATIVE - SPACE” โดยใช้ประโยชน์ของ Open space<br />

ที่เกิดจาก Negative space ของอาคารเก่าโดยรอบ เปิดให้<br />

เป็นลานสนามหญ้าที่เรียบง่าย แต่สร้างคุณค่าและความ<br />

สง่างามด้วยมุมมองต่างๆ ให้กับอาคารโดยรอบ และได้<br />

ซ่อนความซับซ้อนของประโยชน์การใช้สอยใหม่ งานโครง-<br />

สร้าง งานระบบ รวมถึงการซ่อนกระบวนการปรับเปลี่ยน<br />

การใช้งานที่หลากหลายด้วยการใช้ผ้าใบในลักษณะต่างๆ<br />

เกิดความหมายของพื้นที่เปรียบเสมือนการแต่งตัวตาม<br />

บริบทพหุวัฒนธรรมที่หลากหลายในพื้นที่<br />

An initiative of the Association of Siamese Architects<br />

under Royal Patronage is The <strong>ASA</strong> Cloud Center<br />

Songkhla Competition with an aim to develop an<br />

information center in Songkhla. In order to serve as<br />

a center for local professional architects as well as<br />

a resource of knowledge for the general public.<br />

The brief given was to renovate the three-block old<br />

building on Nakorn Nok Road which is a simple<br />

single storey building, built with brick and wood, in<br />

the old city area of Songkhla. The idea behind the<br />

project also aims to promote and conserve the<br />

value of the city. The result was recently announced<br />

in May.<br />

Pakorn Nemitmansuk’s design submission won the<br />

first prize, with the title of “<strong>ASA</strong> CLOUD- THE EX-<br />

ISTING VALUE”. The scheme emphasizes the charm<br />

of a three-room Chinese house with a composition<br />

created by the rhythmical use of beautiful ancient<br />

doors and windows. These architectural elements<br />

also represent the building’s past and former use<br />

that was previously occupied by three owners. The<br />

materials proposed in this winning scheme conveys<br />

the relationship of the building and the context of<br />

the historical old town. The old and new spaces,<br />

both from the perspective of the exterior and interior<br />

can be flexibly used to create an attractive public<br />

space in the neighborhood, a new welcoming space<br />

for the public to learn more about architects, and<br />

architectural practice.<br />

Bunthitat Tasayanchai is the first runner up who<br />

created a design proposal entitled “<strong>ASA</strong> CLOUD<br />

O-NEGATIVE - SPACE” . The designer employed<br />

the beneficial aspect of the of open space formed<br />

by the negative space of the old buildings around<br />

and turned it into a simple courtyard while creating<br />

value and elegance in different perspectives and<br />

angles from the surrounding buildings. The scheme<br />

also sophisticatedly creates the complexity of new<br />

usability, in its structural and system work, as well as


RESULTS OF THE <strong>ASA</strong> CLOUD CENTER SONGKHLA COMPETITION<br />

27<br />

1<br />

2<br />

3<br />

01<br />

ผลงานที่ชนะเลิศอันดับ 1<br />

เป็นผลงานของ คุณปกรณ์<br />

เนมิตรมานสุข ในชื่อผลงาน<br />

ว่า “<strong>ASA</strong> CLOUD - THE<br />

EXISTING VALUE”<br />

<strong>02</strong><br />

ผลงานรองชนะเลิศอันดับ<br />

ที่ 1 เป็นผลงานออกแบบ<br />

ของ คุณบัณฑิตทัศน์<br />

ทสยันไชย ในชื่อผลงาน<br />

ว่า “<strong>ASA</strong> CLOUD O–<br />

NEGATIVE - SPACE”<br />

03<br />

ผลงานรองชนะเลิศ<br />

อันดับที่ 2 เป็นผลงาน<br />

ออกแบบของ คุณธนวัฒน์<br />

สร้อยนิติรัตน์ และคุณ<br />

สุทธิพร ทีปะปาล โดย<br />

ใช้ชื่อผลงาน ว่า “<strong>ASA</strong><br />

CLOUD- อนุรักษ์ ศึกษา<br />

ต่อยอด”<br />

ผลงานรองชนะเลิศอันดับที่ 2 เป็นผลงานออกแบบของ<br />

คุณธนวัฒน์ สร้อยนิติรัตน์ และคุณสุทธิพร ทีปะปาล โดย<br />

ใช้ชื่อผลงานว่า “<strong>ASA</strong> CLOUD- อนุรักษ์ ศึกษา ต่อยอด”<br />

ที่พยายามเก็บรักษาทั้งรายละเอียดรูปแบบต่างๆ ของ<br />

อาคารและวัสดุไว้เพื่อการศึกษาแนวความคิดและภูมิปัญญา<br />

ของสถาปัตยกรรมยุคเก่า โดยนำาความรู้เหล่านี้ผนวกเข้า<br />

กับการอนุรักษ์เพื่อจัดแสดงให้บุคคลทั่วไป สามารถเข้าชม<br />

ได้ในส่วนนิทรรศการ เพื่อนำาไปสู่การต่อยอดให้เป็นอาคาร<br />

ตัวอย่างในการต่อเติมและซ่อมแซมอาคารในเขตชุมชน<br />

เมืองเก่าสงขลาเพื่อการอนุรักษ์ต่อไป<br />

hiding the process of modifying various applications<br />

by using the canvas in various creative ways. In turn,<br />

it helps create to create a meaning of the place,<br />

similar to dressing traditionally according to the<br />

multicultural context of the area.<br />

The second runner-up is “<strong>ASA</strong> CLOUD- Preserve,<br />

Study, Develop” - a design proposal by Thanawat<br />

Soinitirat and Suthiporn Teepapal - with an idea<br />

to preserve all the parts, details, and materials of<br />

the existing building. They chose to preserve these<br />

elements as a valuable resource to learn and appreciate<br />

the wisdom of traditional architecture. In that<br />

sense, the building will be an exhibition space and<br />

the architecture-on-display itself for the local people<br />

and visitors, further from the exhibition inside. This<br />

idea leads to possible future developments as a<br />

model for the addition and restoration of other<br />

buildings in the old town of Songkhla.


28<br />

1<br />

Serpentine Pavilion 2<strong>02</strong>1 designed by Counterspace, Exterior View © Counterspace Photo: Iwan Baan


Serpentine<br />

Pavilion 2<strong>02</strong>1<br />

Designed by<br />

Counterspace<br />

around<br />

29<br />

Sumayya Vally of Counterspace. Photographed by Justice<br />

Mukheli in Johannesburg, 2<strong>02</strong>0. © Counterspace<br />

เป็นครั้งแรกในการทำางานของ Serpentine Gallery ที ่เปิดตัว<br />

Serpentine Pavilion มากกว่าหนึ่งแห่งนอกเหนือจากอาคาร<br />

หลักในสวน Kensington Gardens และเป็นครั้งแรกเช่นกัน<br />

ที่มีกลุ่มสถาปนิกหญิงอายุน้อยที่สุดเป็นผู้ออกแบบ ผู้ก่อตั้ง<br />

สตูดิโอ Counter space จากเมืองโจฮันเนสเบิร์กในแอฟริกาใต้<br />

Sumayya Vally เองยังเป็นสถาปนิกเพียงคนเดียวในรายชื ่อ<br />

Time100 Next ที่ได้รับการยกย่องให้เป็นผู้นำาแห่งการ<br />

เปลี่ยนแปลงในอนาคตของปี 2<strong>02</strong>1<br />

ผลงานการออกแบบ Serpentine Pavilion ของ Counter<br />

Space นี้อาจเรียกได้ว่าสะท้อนแนวคิดจากมุมมองพหุนิยม<br />

(Pluralism) และให้ความสำาคัญกับ “ความเป็นอื่น” โดย<br />

นำาเสนอแนวคิดการออกแบบ Serpentine Pavilion ในฐานะ<br />

พื้นที่เพื่อการพบปะของทุกคนที่นอกเหนือจากคนในแวดวง<br />

วิชาชีพ แต่พยายามสื่อถึงการมีตัวตนอยู่ของชุมชนคน<br />

พลัดถิ่น (Diaspora Communities) จากเมืองอาณานิคม<br />

ของอังกฤษเอง หรือผู ้อพยพโยกย้ายเข้ามาตั ้งถิ ่นฐานในเมือง<br />

ไปพร้อมๆกับสถานะของผู้เป็นส่วนหนึ่งในการร่วมสร้าง<br />

ประวัติศาสตร์สังคมพหุวัฒนธรรมในลอนดอน ซึ่งนอกจาก<br />

อาคารหลักในสวนแล้ว ความพิเศษของการออกแบบใน<br />

ปีนี้คือสถาปนิกและผู้จัดงานยังริเริ่มการกระจายวางงาน<br />

ออกแบบชิ้นย่อยอีก 4 ชิ้น ไปติดตั้งในพื้นที่พบปะสำ าคัญของ<br />

ย่านชุมชนชายขอบในลอนดอนและองค์กรภาคีเครือข่าย<br />

โดยที่ชิ้นส่วนผลงานทั้งหมดสามารถนำามาประกอบร่าง<br />

รวมกันได้ในภายหลัง<br />

For the first time since the Serpentine Gallery began<br />

its operations, the Serpentine Pavilion Initiative that<br />

the commission has extended to the other areas of<br />

the city outside the Kensington Gardens. Another<br />

first to be celebrated is that the Pavilion was designed<br />

by the youngest female architect Sumayya<br />

Vally who leads the Johannesburg practice- Counterspace.<br />

Vally is the only architect who has been<br />

selected in TIME100 Next List honoree of the<br />

leaders who are shaping the future in 2<strong>02</strong>1.<br />

Counterspace’s Serpentine Pavilion design could<br />

be described as a reflection of “Pluralism” with a<br />

focus on “Otherness” by designing the Pavilion as<br />

a “gathering space” for all apart from the professionals.<br />

It is also importantly trying to convey the<br />

existence of the diaspora communities from the<br />

colony itself or immigrants migrating to settle in the<br />

city along with the status of the participants who<br />

are co-creating a history of a multicultural society<br />

in London. Besides the main pavilion building in the<br />

garden, what is special this year is that the commission<br />

extends to the other areas of the city, as<br />

four fragments of the Pavilion are installed in key<br />

gathering spaces in marginalized London neighborhoods<br />

and partner organizations, all of which can<br />

be assembled together later.


30<br />

around<br />

ส่วนของอาคารหลักสื่อถึงการประกอบร่างจากชิ้นส่วนอาคาร<br />

ที่พิมพ์แบบมาจากส่วนต่างๆ ของพื้นที่พบปะของชุมชน<br />

ในรูปแบบต่างๆทั่วลอนดอน ทั้งสุเหร่า Fazl Mosque และ<br />

East London Mosque ร้านหนังสือชุมชน Centerprise ใน<br />

Hackney ร้านอาหาร The Mangrove และ Notting Hill<br />

Carnival หรือ The Four Aces Club ที่ Dalston Lane การ<br />

รวมตัวจากองค์ประกอบหลายชิ้นส่วนทำาให้เกิดมุมและพื้นที่<br />

นั่งในรูปแบบต่างๆ หลากหลายที่เชื่อมต่อกันเกิดเป็นพื้นผิวที่<br />

ต่อเนื่องไปตลอดทั้งหลังของอาคาร ในขณะที่แต่ละชิ้นส่วนมี<br />

ความโดดเด่นของตัวเองด้วยความแตกต่างของเรื ่องราวที ่มา<br />

องค์ประกอบ สี หรือวัสดุ จากทั้งเหล็กและแผ่นคอร์กที่นำา<br />

กลับมาใช้ใหม่ หรือก้อนอิฐจากวัสดุธรรมชาติ แต่เมื่อมาอยู่<br />

ร่วมกันนั้นกลับเป็นส่วนเสริมของกันและกันภายในขอบเขต<br />

พื้นที่วงกลมใต้ระนาบหลังคาผืนเดียวกัน<br />

The main Pavilion represents the construction of<br />

abstract elements and details moulded from various<br />

parts of the community gathering spaces across<br />

London. This includes the Fazl Mosque and the<br />

East London Mosque, the Centerprise Community<br />

Bookstore in Hackney, The Mangrove Restaurant<br />

and Notting Hill Carnival as well as The Four Aces<br />

Club at Dalston Lane. The combination of various<br />

elements creates a variety of different angles and<br />

seating areas that connect to form a continuous<br />

surface throughout the building. While each piece<br />

is distinct with its origin story, composition, color, or<br />

material from both reclaimed steel and cork sheets<br />

or eco-bricks from natural materials, when they<br />

come together they are complementary to each<br />

other within the circular space under one roof.<br />

Serpentine Pavilion 2<strong>02</strong>1 designed by Counterspace, Interior View © Counterspace Photo: Iwan Baan


้<br />

SERPENTINE PAVILION 2<strong>02</strong>1 DESIGNED BY COUNTERSPACE<br />

31<br />

Fragment of Serpentine Pavilion 2<strong>02</strong>1 designed by Counterspace for The Tabernacle, Notting<br />

Hill © Counterspace Photo: George Darrell<br />

จากการทำางานในช่วงที่โควิด-19 ระบาดอย่างหนักใน<br />

ลอนดอนนั้น ส่งผลให้ต้องเลื่อนเวลาการเปิดให้เข้าชมอย่าง<br />

เป็นทางการมาเป็นช่วงมิถุนายนถึงตุลาคมของปี 2<strong>02</strong>1 นี<br />

ในช่วงที่ผ่านมาจึงเป็นโอกาสที่สถาปนิกได้ทำ างานศึกษาวิจัย<br />

ในลอนดอนตามสถานที่ต่างๆ รวมทั้งร่วมกิจกรรมกับกลุ่ม<br />

ชุมชน และการค้นพบสถานที่ที่ถูกลืมเลือน สำ าหรับ Sumayya<br />

Vally นั้นแม้จะแทบไม่มีผลงานการสร้างจริง แต่สตูดิโอค่อน<br />

ข้างเน้นการทำางานวิจัยออกแบบร่วมกับศิลปิน กลุ ่มนักแสดง<br />

จัดกิจกรรมสร้างสรรค์ที่บอกเล่าเรื่องราวทางประวัติศาสตร์<br />

ในมุมที่ไม่เคยถูกถ่ายทอดมาก่อน โดยเฉพาะเรื่องราว<br />

น่าสะเทือนใจของกลุ ่มแรงงานเหมืองผิดกฎหมายหรือกลุ ่ม<br />

คนงานที่ต้องหลบซ่อนตัวในช่วงยุคการแบ่งแยกเชื้อชาติ<br />

ของแอฟริกาใต้ (Apartheid era) ที่ถูกนำามาเล่าเพียงผิวเผิน<br />

และไม่เคยมีการเยียวยาอย่างจริงจัง การศึกษาค้นคว้าทาง<br />

ประวัติศาสตร์และโบราณคดี ผ่านงานสถาปัตยกรรมไม่ว่า<br />

จะในเมืองโจฮันเนสเบิร์กหรือลอนดอนเอง แล้วถ่ายทอดออก<br />

มาในมุมอื ่นๆนอกเหนือจากประวัติศาสตร์กระแสหลักของ<br />

Counter Space จึงมีความน่าสนใจในรูปแบบของ “การสร้าง<br />

ที่แตกต่าง” อย่างที่ผู้ออกแบบตั้งใจ<br />

A delay of the official opening to June- October this<br />

year is due to the fact that COVID-19 hit London<br />

heavily during the working process. But it was a<br />

good opportunity for Vally to conduct research in<br />

London at various locations as well as participating<br />

in activities with community groups and discovering<br />

forgotten places. As for Sumayya Vally, she is the<br />

founder who directs Counterspace, the studio with<br />

hardly any built work. Much of their work emerges<br />

from research and interdisciplinary art-based creatives,<br />

undertaking predominantly creative projects<br />

that unfold historical stories in a never-before-seen<br />

angle. One of these are the heartbreaking tales<br />

of illegal miners, and workers hiding themselves<br />

during South Africa’s Apartheid era, the story which<br />

was superficially told and has never been seriously<br />

addressed. What is truly interesting about Counterspace<br />

is that the studio has conducted historical<br />

and archeological studies through architecture,<br />

whether in Johannesburg or London, and then represented<br />

it in different perspectives other than what is<br />

found in mainstream history. It is a form of “to build<br />

differently” as the architect intended.<br />

serpentinegalleries.org


32<br />

around<br />

Radical<br />

Architecture<br />

of the Future<br />

by Beatrice Galilee<br />

เมื่อภัณฑารักษ์และนักวิจารณ์ทางสถาปัตยกรรมร่วมสมัย<br />

อย่าง Beatrice Galilee ตั้งคำาถามถึงบทบาทของสถาปัตย-<br />

กรรมในอนาคต ความเป็นไปได้ของทิศทางงานออกแบบที่<br />

เราอาจคาดไม่ถึง และความสุดโต่งระดับไหนที่เรายอมรับ<br />

ได้ไว้ในหนังสือเล่มล่าสุด Radical Architecture of the<br />

Future โดยสำานักพิมพ์ Phaidon ในฐานะผู้เขียน Beatrice<br />

จึงชวนสำารวจความเคลื่อนไหวจากผลงานกว่า 79 ชิ้น ใน<br />

ช่วงรอบสองทศวรรษที่ผ่านมาที่อาจเรียกได้ว่าส่วนใหญ่<br />

อยู่นอกเหนือจากสถาปัตยกรรมกระแสหลัก ปรากฏอยู่<br />

ทั้งการสร้างจริงหรือผลงานเชิงความคิดและการทดลอง<br />

ที่อาจไม่ได้สร้างจากหลากหลายแหล่ง และก้าวข้ามไป<br />

ถึงผลงานศิลปะ การออกแบบแอปพลิเคชัน เกม และ<br />

แอนิเมชัน ภาพยนตร์ งานเขียนเชิงวิชาการ รวมไปถึง<br />

การทดลองด้านอวกาศ<br />

In her latest book, Radical Architecture of the<br />

Future, curator and architecture critic Beatrice<br />

Galilee, questions the role of future architecture,<br />

possibilities of new design applications beyond<br />

current imagination and the most radical take<br />

we could accept. As author, Beatrice explores<br />

architectural movements from more than seventynine<br />

architectural works from the past twenty<br />

years, the majority of which could be considered<br />

as non-mainstream. It consists of a range of works<br />

that exist in the real world as well as conceptual<br />

or experimentalones. Works come from various<br />

sources including applications in art, video games,<br />

animation design, films, academic works and even<br />

space experimentation.


RADICAL ARCHITECTURE OF THE FUTURE BY BEATRICE GALILEE<br />

33<br />

Galilee จัดหมวดหมู่การนำาเสนอในหนังสือออกเป็น 5 บท<br />

ประกอบด้วย Visionaries นำาเสนอตัวอย่างผลงานเมื่อ<br />

กระบวนการทำางานของนักออกแบบร่วมกับหลายสาขา<br />

วิชาชีพหรือจากมุมมองอื่นจะทำาให้เห็นถึงบทบาทของ<br />

สถาปัตยกรรมที่สร้างผลกระทบต่อสังคมได้มากขึ้นเช่น<br />

ผลงานของ Rotor DC ในเบลเยี่ยมหรืองาน Design Earth<br />

ของ El Hadi Jazalry และ Rania Ghosn ส่วนในบท<br />

Insiders เป็นการนำาเสนอผลงานของสถาปนิกที่มีชื่อเสียง<br />

อย่าง Heatherwick Studio, Elemental หรือ Amateur<br />

Architecture Studio และ Studio Gang ที่รูปธรรมของ<br />

งานสถาปัตยกรรมพยายามสร้างความหมายนอกเหนือ<br />

ไปจากลายเซ็นของผู้ออกแบบ แต่ส่งผลต่อคนและสภาพ<br />

แวดล้อมในบริบทพื้นที่ที่ผลงานนั้นๆ ตั้งอยู่ บท Radicals<br />

ชวนมองย้อนกลับมายังสถาปัตยกรรมและปฏิบัติการเชิง<br />

พื้นที่ผ่านสายตาของศาสตร์แขนงอื่นๆเช่นผลงานของ<br />

ศิลปินอย่าง Cao Fei, Mishka Henner หรือฉากทัศน์เมือง<br />

Wakanda ในภาพยนตร์ Black Pantherโดย Hannah<br />

Beachler ในขณะที่ Breakthroughs เน้นกระบวนการ<br />

ทำางานของสถาปนิกรุ่นใหม่ที่ค้นคว้าทดลองกับวัสดุต่างๆ<br />

ร่วมกับบริบททั ้งในเมืองและชนบทอย่าง SO-IL, Assemble,<br />

Anna Heringer, Frida Escobedo หรือ Ensamble Studio<br />

เพื่อค้นหาหนทางในการสร้างแบบใหม่ๆ ที่น่าสนใจ พร้อม<br />

ตอบคำาถามทางสิ่งแวดล้อมหรือเศรษฐกิจไปพร้อมกันก่อน<br />

จะปิดท้ายด้วยผลงานของนักคิดทฤษฎีและนักทดลองจาก<br />

สาขาวิชาชีพอื่นๆอย่าง Donna Haraway, David OReilly<br />

หรือ Space Enabled ไว้ในบทสุดท้าย Masterminds<br />

ความหลากหลายของผลงานที่รวบรวมไว้ในหนังสือ<br />

เล่มนี้จึงน่าสนใจสำาหรับการสร้างบทสนทนาปลายเปิด<br />

และตั้งคำาถามถึงความน่าจะเป็นของสถาปัตยกรรมและ<br />

ปฏิบัติการเชิงพื้นที่ในอนาคตโดยที่ไม่จำากัดอยู่เฉพาะ<br />

แวดวงสถาปนิกเท่านั้นแต่รวมถึงผู้คนในสาขาอาชีพ<br />

อื่นๆ ที่เป็นทั้งผู้ร่วมสร้างและใช้ประโยชน์จากสิ่งแวด-<br />

ล้อมสรรค์สร้างรอบตัวเรา<br />

The book is divided into five chapters, each one<br />

delving into and discussing different categories<br />

of works. The first, ‘Visionaries’, defines design<br />

processes and the collaboration between designers<br />

and experts from various disciplines offering<br />

differing perspectives that provides for a broader<br />

range of view on the impact that architecture has<br />

on society. Works shown in this section include<br />

Rotor DC’s work in Belgium and Design Earth by<br />

El Hadi Jazalry and Rania Ghosn.Chapter two,<br />

‘Insiders’, includes works of famous architects and<br />

studios such as Heatherwick Studio, Elemental,<br />

Amateur Architecture Studio, and Studio Gang.<br />

The application of architectural abstract form here<br />

attempts to not only creates meaning representing<br />

the designers’ signature but extends further into the<br />

realms that affect individuals and their environments<br />

in the context in which they operate. Chapter<br />

three ‘Radicals’, invites the reader to look back at<br />

architecture and spatial design practices through<br />

the lenses of other disciplines. Works here include<br />

those produced by artists Cao Fei and Mishka<br />

Henner, as well as the urban scenerio of ‘Wakanda’<br />

from the film ‘Black Panther’ produced by Hannah<br />

Beachler. The fourth - Breakthroughs’ - emphasize<br />

the working process of a new generation of<br />

architects and design studios such as SO-IL,<br />

Assemble, Anna Heringer, Frida Escobedo and<br />

Ensemble studio. Here they clearly experiment<br />

with the use and application of different materials<br />

in both urban and rural contexts seeking new<br />

and interesting methods of construction while<br />

simultaneously answering questions regarding<br />

the built environment and impact on the economy.<br />

‘Masterminds’, is the final chapter and deals with<br />

works of theorists and experimenters such as<br />

Donna Haraway, David OReilly, and Space Enabled<br />

involving themselves in other related subject<br />

matters.<br />

The diversity collected in this book opens the mind<br />

to interesting open-ended discussion that questions<br />

the validity of architecture and spatial design<br />

practices today and the perceived possibilities of<br />

design applications and their role in the future. This<br />

is not only significant for architects and designers,<br />

but also for those in other subject areas who are<br />

both co-creators and co-benefactors of our built<br />

environment.<br />

Phaidon Press (January 6, 2<strong>02</strong>1)<br />

Hardback, 240 pages 270 x 205 mm<br />

ISBN: 9781838661236<br />

phaidon.com


34<br />

ORDER<br />

NOW!


2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural<br />

Design Awards<br />

35<br />

Objectives<br />

To promote and encourage the creation of excellent architecture<br />

that is valuable and beneficial to people, the environment,<br />

and society.<br />

To honor and recognize any architecture firm, any freelance<br />

architect, anyone who is not a registered architect but<br />

allowed to do the work by the regulation, all the substantial<br />

architects who worked on the project, and all other design<br />

consultants involving in creating the project. (An architecture<br />

derives from an architect’s creative idea and the participation<br />

of anyone who assisted her/him, so these people should<br />

get credits for the success.)<br />

To publicize the creation of excellent architecture to enhance<br />

the public knowledge, understanding, and appreciation of<br />

the value and benefit of that creation which impacts the<br />

quality of life.<br />

Project Eligibility<br />

- The project must be designed and submitted by any registered<br />

architect or registered architectural firm in Thailand<br />

or anyone who is not a registered architect but allowed to do<br />

the work by the regulation.<br />

- The project can be in Thailand or abroad.<br />

- The built project must be according to the building regulations.<br />

(As an organization under Royal Patronage, the <strong>ASA</strong><br />

must support only the lawful deeds and matters.)<br />

- The project must complete before the date on which the<br />

award selection process starts.<br />

- The project must have never been submitted for the <strong>ASA</strong><br />

Architectural Design Awards. (As an organization under<br />

Royal Patronage, the <strong>ASA</strong> must respect the invited Jury<br />

Panel’s decision and strict to it permanently, the Architects<br />

or anyone who joins its activities must also follow this ethic.)<br />

- The project must have the owner’s permission to be<br />

submitted.<br />

- The project must credit every substantial contributor:<br />

the architecture firm or the freelance architect, substantial<br />

architects in the team (if any), and other design consultants.<br />

(An architecture derives from an architect’s creative idea and<br />

the collaboration of anyone in the team, so all these people<br />

should get credits for the success.)<br />

Jury Panel:<br />

Associate Professor Dr. Tanit Charoenpong<br />

Pisit Rojanavanich<br />

Suthit Wangrungarun<br />

Associate Professor Dr. M.L. Piyalada Thaveeprungsriporn<br />

Associate Professor Dr. Atch Sreshthaputra DGNB, TREES-F<br />

Jury Panel Main Judging Criteria<br />

- Creativity and originality in design.<br />

- Quality of form, space, and convenience of uses.<br />

- Response to the climate and the spirit of the place<br />

and its people.<br />

- Environmental sustainability.<br />

- Inspiration to the public and the design profession.<br />

Awards<br />

Awards Category<br />

- <strong>ASA</strong> Architectural Design Gold Award<br />

- <strong>ASA</strong> Architectural Design Silver Award<br />

- <strong>ASA</strong> Architectural Design Bronze Award<br />

- <strong>ASA</strong> Architectural Design Commended Award<br />

for The Project with Appealing Aspects<br />

Awards Organizing Committee<br />

Chairperson<br />

Metee Rasameevijitpisal<br />

Committee<br />

Dr. Attayanan Jitrojanaruk<br />

Natjaporn Kosalanun<br />

Contact Person<br />

Nawamin Trabutr<br />

www.asa.or.th/asa-awards/<br />

2<strong>02</strong>0-asa-architectural-design-awards/


36<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong> Architectural Design Awards<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural Design<br />

Gold Award<br />

Office<br />

Inter Crop Group Building<br />

Bangkok, Thailand<br />

Architect:<br />

Stu D/O Architects<br />

Design Architects:<br />

Chanasit Cholasuek<br />

Apichart Srirojanapinyo<br />

Supachart Boontang<br />

Patompong Songpracha<br />

Jury Comment<br />

โดยทฤษฎีแล้วที่ตั้งอาคารแต่ละแห่งมีคุณลักษณะเฉพาะตัวในแง่ของบริบท<br />

ของเมืองและบริบทเชิงสถาปัตยกรรม รวมทั้งสภาพภูมิอากาศ แสง เงา<br />

เสียง และทิศทางลม เมื่อพิจารณาสิ่งเหล่านี้สถาปนิกก็มักจะพบแบบแผนบาง<br />

ประการที่จะนำาไปสู่รูปทรงอาคารต่อไป<br />

อาจกล่าวได้ว่าอาคารสำานักงาน Inter Crop เป็นผลงานที่สะท้อนแนวคิดดัง<br />

กล่าวอย่างลงตัว เนื่องจากธุรกิจหลักของบริษัทคือผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร<br />

สถาปนิกจึงได้นำารูปแบบของนาขั้นบันไดมาใช้เทียบแทนในการสร้างรูปทรง<br />

ทางสถาปัตยกรรม กล่าวคือแทนที่อาคารจะเป็นก้อนขนาดใหญ่ที่มีผิวผนัง<br />

ต่อเนื่องเป็นระนาบขนาดใหญ่อย่างอาคารสำานักงานที่พบได้ทั่วไป สถาปนิก<br />

ใช้แนวคิดนาขั้นบันไดมาแตกมวลอาคารเป็นชั้นๆ ยักเยื้องกัน การดึงมวล<br />

อาคารแต่ละชั้นให้เยื้องเหลื่อมกันนี้เองนอกจากจะสะท้อนความต้องการพื้นที่<br />

ใช้สอยที่แตกต่างกันไปในแต่ละชั้นแล้ว ยังทำาให้เกิดพื้นที่ภายนอกในรูปของ<br />

ชาน ระเบียง และสวน ซึ่งช่วยเสริมบรรยากาศและสุขภาวะของการทำางาน<br />

และยังเกิดเป็นส่วนยื่นที่ช่วยบังแดดให้กับอาคารบางส่วนได้อีกด้วย นอกจาก<br />

นี้ การสร้างมวลอาคารที่แยกย่อยยักเยื้องกันนี้ยังทำาให้ผสานเข้ากันได้อย่างดี<br />

กับบริบทของชุมชนพักอาศัยโดยรอบ เป็นการออกแบบที่แสดงการคำานึงถึง<br />

ความเชื่อมต่อกับบริบทเมือง แต่ก็ยังเป็นรูปทรงที่เป็นเอกลักษณ์ชัดเจนเพียง<br />

พอจนสามารถรับรู้ได้เมื่อสัญจรผ่านด้วยความเร็วบนทางด่วนศรีรัชที่ไม่ไกล<br />

จากโครงการ<br />

ในแง่ของการจัดวางที่ว่างภายในอาคาร การเปิดช่องโล่งสูงสี่ชั้นบริเวณ<br />

โถงบันไดด้านหน้าของอาคารทำาให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างชั้นทั้งในด้าน<br />

กายภาพและความรู้สึก ทำาให้รู้สึกถึงความโล่งสูงและกว้าง ส่งให้องค์ประกอบ<br />

ของระบบที่ว่างโดยรวมมีชีวิตชีวาขึ้น พื้นที่สวนที่ชานภายนอกอาคารที่เกิด<br />

จากการเหลื่อมของมวลอาคาร ทำาให้เกิดกิจกรรมภายนอกและเป็นพื้นที่ผ่อน<br />

คลายของพนักงานและส่งผลดีต่อการลดหรือควบคุมสภาวะเกาะความร้อนที่<br />

เป็นกำาลังปัญหาใหญ่ในเมืองใหญ่ของเรา นอกจากนี้ การใช้แผงกันแดดทาง<br />

ตั้งที่ออกแบบรายละเอียดโดยคำานึงถึงมุมมองจากภายในเป็นองค์ประกอบ<br />

หลักของผิวอาคาร ก็ช่วยลดทอนแสงสะท้อนจากผนังกระจกออกไปยังพื้นที่<br />

โดยรอบได้เป็นอย่างดี และยังเป็นภาพจำาที่เป็นเอกลักษณ์ของอาคารอีกด้วย<br />

Contextually, each site contains its own specific qualities of<br />

urban context, architectural context, of sun and shade, and of<br />

sound and local breeze. Seek these out, the architect will discover<br />

promises of formal order that leads to the genesis of form.<br />

Given architectural brief of an agriculture related company HQ,<br />

the architect has devised the metaphor of stepped terraces<br />

of Paddy fields. The skillful interpretation gives rise to proper<br />

scale and proportion of form. The stacking of floor plates allows<br />

different departments to occupy varying sizes of floor spaces<br />

per their specific requirements. On the outside, the building<br />

fragmented itself to blend in with the immediate context of<br />

residential precinct. The glaring effect is also greatly reduced<br />

compared to a shining curtain wall building. Looking from afar<br />

at urban scale, the amalgamation of form also manifests itself<br />

at the right scale when perceived from the moving vehicles on<br />

Sirat Expressway.<br />

In terms of space planning, 4 level atrium space tying all floors<br />

together is a big plus, space wise and livability, to the whole<br />

composition. The greening of terraces allows for outdoor activities<br />

and visual relief for office workers and contributes positively<br />

to the reduction of heat island for our metropolis.


Gold Award<br />

37


38<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong> Architectural Design Awards<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural Design<br />

Gold Award<br />

Office<br />

Rabindhorn: Arsomsilp<br />

Community and<br />

Environment Architect<br />

Office, Bangkok, Thailand<br />

Architect:<br />

Arsomsilp Community<br />

and Environment Architect<br />

Design Architects:<br />

Theeraphon Niyom<br />

Nuntapong Yindeekhun<br />

Nathapachr Pinaksilp<br />

Jury Comment<br />

อาคารรพินทรเป็นอาคารสำานักงานซึ่งเกิดขึ้นจากการปรับการใช้สอย<br />

(adaptive reuse) อาคารยิมเนเซียมเก่าของโรงเรียนรุ่งอรุณซึ่งอยู่ในบริเวณ<br />

เดียวกัน การออกแบบอาคารนี้ กล่าวได้ว่าเป็นตัวอย่างอันโดดเด่นในการ<br />

ให้กำาเนิดชีวิตใหม่แก่โครงอาคารเก่าที่คล้ายจะหมดประโยชน์ใช้สอย<br />

ตามวัตถุประสงค์ดั้งเดิม<br />

ในการนี้ สถาปนิกเลือกวิธีการคงโครงสร้างหลังคาเดิม แล้วสอดแทรกพื้นที่<br />

ใช้สอยใหม่คือสำานักงานเข้าไปในที่ว่างโล่งสูงของอาคารเดิม โดยปรับความ<br />

สูงของโครงสร้างตามความต้องการของโปรแกรม เกิดผลลัพธ์ที่น่าสนใจยิ่ง<br />

คือทั้งที่เป็นอาคารที่มีมวลขนาดใหญ่ แต่ก็ยังสามารถรักษาความโล่งโปร่ง<br />

ของที่ว่างไว้ด้วยช่องแสงขนาดใหญ่ตลอดแนวอาคาร นอกจากนี้ การจัดพื้นที่<br />

ทำางานที่มีผนังโปร่งมองทะลุถึงกันเชื่อมต่อกันด้วยระบบระเบียงเปิดคล้าย<br />

สะพานเชื่อม ก็ทำาให้พื้นที่ภายในอาคารมีลักษณะเชื่อมต่อกันได้โดยการมอง<br />

เห็นซึ่งกันและกัน ให้ความรู้สึกคล้ายเป็น co-working space สร้างเสริม<br />

การทำางานร่วมกันระหว่างทีมต่างๆ ซึ่งตอบสนองธรรมชาติการทำางานของ<br />

อาศรมศิลป์เองเป็นอย่างดี<br />

สิ่งที่น่าสนใจประการหนึ่งของที่ว่างภายในอาคารรพินทรก็คือการสร้างสมดุล<br />

ที่ลงตัวระหว่างความเรียบง่ายของภาษาสถาปัตยกรรมกับความซับซ้อนของ<br />

ที่ว่าง ระหว่างความโปร่งโล่งสง่างามในภาพรวมกับพื้นที่มุมเล็กมุมน้อยที่ให้<br />

ความรู้สึกเป็นกันเองและเป็นส่วนตัว ระหว่างบรรยากาศการทำางานที่ทันสมัย<br />

และมีประสิทธิภาพกับร่องรอยของภาษาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นซึ่งสะท้อนทั้ง<br />

ปรัชญาการทำางานของสถาปนิกเองและบริบทที่ตั้งของอาคาร นอกจากนี้การ<br />

ใช้แสงธรรมชาติและการระบายอากาศธรรมชาติในพื้นที่ส่วนกลางทั้งหมด<br />

ก็ยังทำาให้เกิดบรรยากาศการทำางานที่มีสุนทรียภาพแบบเขตร้อนชื้นได้<br />

อย่างดียิ่ง<br />

A modern office which was emerging from the old school gymnasium<br />

a la adaptive reuse. This project stands out as a good<br />

example of turning a new leaf for a tired and worn out shell. In<br />

addition, language of vernacular architecture was also inserted<br />

to resonate its suburban setting.<br />

Architect‘s solution is to retain an original roof structure and<br />

insert a loose-knitted working units within the volume beneath.<br />

The result is an attractive system of connecting spaces via<br />

walking corridor and bridges, lending itself to an inspiring<br />

incidental co-working space that is so conducive to collaborative<br />

spirit of all working there.<br />

This creative arrangement reflects a balance between a rather<br />

simple architectural language and a complex interlocking<br />

spaces of different shapes and sizes. Also a balance between<br />

voluminous spaces and small corners with friendly and private<br />

atmosphere, a balance between efficient modern working space<br />

and a vernacular type of architecture which is an architect<br />

approach and which blends neatly with the site. The use of<br />

vast opening leads to sufficient natural light and ventilation<br />

— leading to a romantic feeling of working in the tropical<br />

ambience.


Gold Award<br />

39


40<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong> Architectural Design Awards<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural Design<br />

Silver Award<br />

Hospital<br />

Ratchaphruek Hospital,<br />

Khon Kaen, Thailand<br />

Architect:<br />

Arsomsilp Community<br />

and Environmental Architect<br />

Design Architects:<br />

Theerapon Niyom<br />

Nuntapong Lertmaneetaweesap<br />

Jirasak Puimoontree<br />

Jury Comment<br />

โดยรวมอาคารที่น่าชื่นชมหลังนี้เป็นโรงพยาบาลร่วมสมัยที่เข้ากันสนิทกับ<br />

ความเป็นท้องถิ่นและให้ความสำาคัญกับความเป็นภูมิภาค สิ่งที่เห็นได้ชัดคือ<br />

ความพยายามที่จะสร้างความสมดุลระหว่างลักษณะการใช้สอยที่ง่ายและเป็น<br />

กันเองของคนไข้หรือผู้ใช้อาคารและความต้องการทางด้านเทคนิคอันสลับ<br />

ซับซ้อนของโรงพยาบาลสมัยใหม่ ซึ่งต้องป้องกันการติดเชื้ออันเป็นความ<br />

สำาคัญสูงสุด ในเชิงการออกแบบ งานนี้เป็นการหาสมดุลระหว่างพื้นที่เปิด<br />

โล่งและพื้นที่ควบคุมและปรับอากาศและยังต้องแสดงออกซึ่งความเป็น<br />

สถาปัตยกรรมภูมิภาคด้วย ในภาวะของการระบาดของโรคโควิด-19<br />

โรงพยาบาลนี้น่าจะสามารถเป็นต้นแบบของความพยายามตอบสนองต่อ<br />

ปัญหาดังกล่าวด้วยผังพื้นที่ค่อนข้างหลวมและมีพื้นที่เปิดโล่งระบายอากาศ<br />

ได้มากพอสมควร โดยคงพื้นที่ปิดเพื่อปรับอากาศเท่าที่จำาเป็น<br />

ในแง่ของรูปทรง การออกแบบมวลขนาดใหญ่ของอาคารโรงพยาบาลนี้ให้มี<br />

ลักษณะของบ้านพักอาศัยทำาให้เกิดก้อนหลังคาจั่วขนาดใหญ่มากวางทับอยู่<br />

บนยอดอาคาร เกิดความรู้สึกหนักอึ้งแทนที่จะเบาแบบอาคารบ้านพักอาศัย<br />

อีกทั้งรายละเอียดทางสถาปัตยกรรมของงานส่วนนี้ก็อยู่ไกลตาจนไม่สามารถ<br />

ที่จะมองเห็นรับรู้ได้ง่ายจากผู้ที่สัญจรผ่านไปมา<br />

All in all, a laudable project of contemporary hospital dovetailed<br />

with topicality and critical regionalism. Apparent in the design<br />

is the attempt to strike a balance between user friendliness and<br />

technical requirements of a modern hospital whereby infectious<br />

control is of prime importance, between a/c spaces and non a/c<br />

areas, and between modern efficiency and critical regionalism.<br />

Given the outbreak of COVID-19, this hospital, with loose fitted<br />

plan and pervasive non a/c areas, seems to be a prototypical<br />

response to his serious threat (luckily the threat was kept under<br />

control, Khon Kaen was pretty safe).<br />

Formally, the attempt to domesticate the building with huge<br />

gable roof is too heavy handed since a lot of fine details are<br />

too far to be perceived meaningfully from where most people<br />

move about.


Silver Award<br />

41


42<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong> Architectural Design Awards<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural Design<br />

Silver Award<br />

Hotel<br />

Raya Heritage Hotel,<br />

Chiang Mai, Thailand<br />

Architect:<br />

Boon Design<br />

Design Architects:<br />

Boonlert Hemvijitraphan<br />

Jury Comment<br />

โครงการนี้เป็นความสำาเร็จของแนวคิดการกลับมาใช้ที่ดินริมแม่น้ำาปิงเพื่อ<br />

อยู่อาศัยของเมืองเชียงใหม่แต่เดิม การออกแบบโดยรวมมีความเรียบง่ายแต่<br />

งดงามด้วยภาษาสถาปัตยกรรมร่วมสมัยที่แฝงความเป็นพื้นถิ่นด้วยการใช้<br />

วัสดุอย่างมีจังหวะจะโคนและลงตัว ช่วยสร้างคุณค่าให้กับโครงการได้โดย<br />

ไม่ฟุ่มเฟือย มีความเชื่อมต่ออย่างเหมาะสมระหว่างพื้นที่ภายนอกและภายใน<br />

และความสมดุลอย่างเหมาะเจาะของมวลอาคารและภูมิทัศน์ การออกแบบ<br />

โถงต้อนรับมีขนาดและสัดส่วนของที่ว่างที่สร้างความประทับใจได้มาก เมื่อ<br />

คนเดินเข้ามาเกิดความรู้สึกถูกย่อให้เล็กลงเมื่อเทียบสัดส่วนกับความใหญ่โต<br />

ของธรรมชาติอันบริสุทธิ์สะอาดที่แวดล้อมอยู่นั้น เมื่ออยู่ในสภาวะนั้นจังหวะ<br />

ชีวิตจักเดินช้าลงโดยอัตโนมัติ การแทรกพื้นที่กึ่งนอกกึ่งในอย่างระเบียง<br />

ชาน และทางเดินสู่ห้องพักชั้นสองเกิดระบบและจังหวะของที่ว่างที่มีเสน่ห์ของ<br />

ความเป็นพื้นถิ่นและตั้งคำาถามกับแบบแผนของที่ว่างในอาคารแบบรีสอร์ท<br />

ได้น่าสนใจ การออกแบบและก่อสร้างการตกแต่งภายในทำาได้ดีมีความรู้สึก<br />

หรูแต่เรียบและมีบรรยากาศของล้านนาอยู่โดยทั่วไป ในแง่การออกแบบที่<br />

ประสานกับบริบทโดยรอบและชุมชนอาจยังต้องปรับปรุงต่อไป<br />

The project is a successful revisit of the notion of settlement<br />

along the Ping River of old Chiang Mai. Overall design is simple<br />

with proper flow between inside and outside and a healthy<br />

balance between built form and landscape. The lobby is<br />

extremely impressive thru clever manipulation of scale and<br />

proportion. As one enters, he/she cannot help feeling smaller<br />

scale-wise and as such overwhelmed by serene natural<br />

surroundings, the pace of life is automatically downshifting.<br />

Interior architecture/design was well executed, elegant,<br />

and serene, with unmistakably Lanna ambience. Landscape<br />

design is generous and unpretentious giving rural touch.<br />

Context-wise, the attempt to connect with local community<br />

and settlement remains to be seen.


Silver Award<br />

43


44<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong> Architectural Design Awards<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural Design<br />

Bronze Award<br />

Education Building<br />

Faculty of Learning<br />

Sciences and Education,<br />

Thammasat University<br />

Architect:<br />

Arsomsilp Community<br />

and Environment Architect<br />

Design Architects:<br />

Theeraphon Niyom<br />

Sakchai Komolroj<br />

Orapim Tanpipat<br />

Jury Comment<br />

ความน่าสนใจของอาคารหลังนี้ อาจยังไม่ปรากฏชัดเจนนักเมื่อมองจาก<br />

รูปทรงภายนอก หากแต่เมื่อได้เข้าไปสัมผัสอาคารจริง จึงพบว่ามีการ<br />

สร้างสรรค์ที่ว่างที่ไม่ธรรมดาและไม่ค่อยปรากฏในอาคารเรียนทั่วไป<br />

ความโดดเด่นของอาคารหลังนี้คือการเปิดพื้นที่ว่างกลางอาคารให้เป็นโถงโล่ง<br />

ที่ลื่นไหลเชื่อมต่อกันอย่างเป็นระบบ ที่ว่างเปิดโล่งเหล่านี้ถูกออกแบบให้มี<br />

บรรยากาศหลากหลาย โดยการใช้รูปสัณฐานผสมกันระหว่างเส้นตรง เส้นโค้ง<br />

หรือวงกลม หรือรูปทรงอิสระในบางจุด เมื่อประกอบกับการใช้องค์ประกอบ<br />

ธรรมชาติ เช่น บ่อเลี้ยงปลาที่ชั้นพื้นดิน และแผงไม้เลื้อย ทำาให้เกิดพื้นที่ว่าง<br />

ที่ส่งเสริมให้เกิดการพบปะสัมพันธ์กันระหว่างผู้ใช้อาคาร และยังเป็นพื้นที่ที่<br />

เอื้อต่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย เสมือนห้องเรียนที่อยู่นอกห้องเรียน เป็นพื้นที่<br />

ที่ให้บรรยากาศเป็นกันเอง ผ่อนคลาย และมีชีวิตชีวา ถือเป็นการตอบโจทย์<br />

ของอาคารได้อย่างเหมาะสม และยังสร้างสภาวะน่าสบายภายใต้เงื่อนไขของ<br />

สภาพภูมิอากาศเขตร้อนชื้นได้เป็นอย่างดี<br />

The project is a good inspiration to both professions, architecture<br />

as well as education, in the sense that architectural design<br />

program was pushed beyond functional requirements. Desirable<br />

core values such as communality, creativity, spontaneity, shared<br />

identity were taken into considerations. As such, the building<br />

incorporates social stairs, embedded pool seatings, wide corridors<br />

and grey spaces, all of which lend themselves very well<br />

to learning experiences outside lecture rooms, auditorium, and<br />

library. Tropical design could be dovetailed into loose planning<br />

setup with further incorporation of indoor landscape elements.<br />

Apart from the Atrium design which somehow falls short, the<br />

project is a commendable one.<br />

แม้ว่าการออกแบบอาคารนี้จะมีจุดไม่ลงตัวหลายจุด โดยเฉพาะรูปแบบของ<br />

ห้องเรียนบางห้องที่เป็นรูปวงกลม แม้กระทั่งการพบว่ามีเสาบางต้นวางไว้<br />

กลางทางเดินซึ่งทำาให้เดินผ่านช่องทางนั้นไม่ได้ แต่โดยรวมอาคารหลังนี้เป็น<br />

ตัวอย่างของความสำานึกและความพยายามที่จะจัดการกับสภาพแวดล้อมของ<br />

ภูมิอากาศเขตร้อนอย่างยั่งยืน และที่น่าชื่นชมคือการแสดงออกซึ่งอุดมการณ์<br />

ของสถาปนิกและผู้บริหารสถาบันแห่งนี้ที่มองเห็นความสำาคัญของคุณค่า<br />

ทางจิตใจและคุณภาพชีวิตของผู้ใช้อาคาร มากกว่าที่จะจำากัดขอบเขตการ<br />

ออกแบบอาคารอยู่แค่การใช้งานเพียงอย่างเดียว


Bronze Award<br />

45


46<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong> Architectural Design Awards<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural Design<br />

Bronze Award<br />

Hotel<br />

Little Shelter Hotel,<br />

Chiang Mai, Thailand<br />

Architect:<br />

Department of Architecture<br />

Design Architects:<br />

Amata Luphaiboon<br />

Twitee Vajrabhaya Teparkum<br />

Adhithep Leewananthawet<br />

Jury Comment<br />

ความท้าทายของโครงการนี้เกิดจากขนาดพื้นที่ดินที่มีขนาดเล็กมาก แต่เป็น<br />

พื้นที่ที่สวยงามริมแม่น้ำาปิง สถาปนิกสามารถนำาข้อจำากัดของรูปร่างและขนาด<br />

ของที่ตั้งมาจัดวางอย่างชำานิชำานาญจนได้ผลดีและได้ประโยชน์เต็มที่จาก<br />

ศักยภาพของแม่น้ำาปิงในบริเวณนั้น การเล่นกับแสงสว่างผ่านเปลือกอาคารที่<br />

โปร่งแสง การจัดให้มีช่องโล่งแคบๆ แต่สูงตลอดความสูงของอาคารด้านหน้า<br />

รวมทั้งการตกแต่งผนังของห้องพักโดยการใช้ภาพกราฟิกและกระจกเงา ช่วย<br />

ให้เกิดความสดใสและภาพลวงตาของความกว้างขึ้น การออกแบบรูปลักษณ์<br />

ภายนอกของโครงการยังสามารถสร้างภาพจำาอันช่วยดึงดูดความสนใจผู้คน<br />

เพื่อมาที่โครงการได้ดี ตอบโจทย์ของธุรกิจรูปแบบนี้ในภาวการณ์ปัจจุบัน<br />

อย่างไรก็ตามการออกแบบหลายส่วนรวมทั้งวัสดุภายนอกอาคารอาจจะบำารุง<br />

รักษาค่อนข้างยากในระยะยาว<br />

Given the dimension of land plot, the major challenge for the<br />

designer is to overcome the stuffiness of the land. Capitalizing<br />

on the strategic location vis-a-vis Ping River and specific land<br />

alignment, the limitation could be overcome by artful site planning<br />

and skillful manipulation of daylight and its reflections thru time<br />

via the design of building exterior envelop and interior walls<br />

of guest rooms.<br />

On architectural level, planning on main floor could be further<br />

refined. For interior design, the confinement of small and<br />

narrow guest rooms is well compensated by tricks of the eye,<br />

thru the visual dematerialization of internal walls. Lastly, the jury<br />

committee was concerned with long term maintenance which<br />

could be quite handful.


Bronze Award<br />

47


48<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong> Architectural Design Awards<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural Design<br />

Bronze Award<br />

Residence<br />

V House,<br />

Bangkok, Thailand<br />

Architect:<br />

M.L. Varudh Varavarn<br />

Design Architects:<br />

M.L. Varudh Varavarn<br />

Jury Comment<br />

บ้านหลังนี้เป็นตัวอย่างที่ดียิ่งของการออกแบบอาคารพักอาศัยในบริบท<br />

อันหนาแน่นใจกลางเมืองอย่างซอยต้นสน ผู้ออกแบบประสบความสำาเร็จใน<br />

การสร้าง “ความอยู่สบายในเมืองใหญ่” ตั้งแต่การวางตัวอาคารล้อมสนาม<br />

หญ้า สร้างความต่อเนื่องจากพื้นที่สีเขียวเข้ามาสู่ชานและห้องนั่งเล่นที่<br />

เปรียบเสมือนหัวใจของการใช้ชีวิตของครอบครัวขนาดเล็กได้อย่างเหมาะเจาะ<br />

ตัวอาคารมีความเรียบง่าย จัดวางพื้นที่ใช้สอยอย่างเป็นระบบ ขนาดของ<br />

พื้นที่แต่ละส่วนสะท้อนการให้ความสำาคัญกับบริเวณที่ครอบครัวได้ใช้ร่วมกัน<br />

มากกว่าพื้นที่ส่วนตัว ซึ่งละม้ายกับแบบแผนการใช้พื้นที่อย่างไทยๆ การใช้<br />

แผงเลื่อนระแนงไม้ช่วยป้องกันแดดจ้าและลดอุณหภูมิภายในอาคาร ความ<br />

ประณีตของรายละเอียดการใช้วัสดุอย่างไม้และเหล็กที่ให้ผิวสัมผัสเฉพาะตัว<br />

ยังเสริมให้บ้านมีความน่าอยู่และร่วมสมัย ผสานความเป็นตะวันออกเข้ากับ<br />

ชีวิตเมืองได้อย่างลงตัว<br />

An exemplary development for a residential building in a<br />

dense urban area of Soi Ton Son. The project is successful<br />

in establishing “comfort in Metropolis”. Notwithstanding limit<br />

plot size, enclosed patio is well placed as the heart of the land.<br />

The building is simple with operable wood screen to amplify<br />

harsh sunlight. The use of materials, timber and steel, is quite<br />

successful in maximizing tactile qualities befitting a livable<br />

residential building.


Bronze Award<br />

49


50<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong> Architectural Design Awards<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural Design<br />

Commended Award<br />

Residence<br />

Asha Farmstay,<br />

Chiang Rai, Thailand<br />

Architect:<br />

Creative Crews Ltd.<br />

Design Architects:<br />

Puiphai Khunawat<br />

Ekkachan Eiamananwattana<br />

Jury Comment<br />

โครงการนี้เป็นการปรับใช้ภาษาและรูปแบบการจัดวางของเรือนพื้นถิ่น ซึ่ง<br />

โดยรวมแล้วกล่าวได้ว่าออกแบบไว้อย่างชาญฉลาดและน่าชื่นชมทีเดียว การ<br />

จัดวางกรอบที่ว่างของลานกลางหมู่อาคารยังพัฒนาให้ลงตัวและสละสลวย<br />

ได้มากกว่านี้ สำาหรับส่วนห้องพักแขกนั้น ห้องชั้นบนของเรือนทำาได้ดีพอ<br />

สมควร ด้วยจังหวะที่ว่างที่ลงตัวและตอบสนองสภาพภูมิอากาศ แต่ห้องพัก<br />

ชั้นล่างอาจยังไม่ดีเท่า การเลือกใช้วัสดุทำาได้เหมาะสมมีผิวสัมผัสที่เข้ากับ<br />

ธรรมชาติและบรรยากาศโดยรวมของโครงการ อย่างไรก็ดี ท้ายที่สุดแล้ว<br />

โครงการนี้ก็ยังถือเป็นก้าวสำาคัญในการตีความและถ่ายทอดรูปทรงพื้นถิ่นมา<br />

สู่บริบทสมัยใหม่<br />

The overall adaptation of local house forms and clustering is<br />

quite skillful and commendable. The outdoor space definition<br />

of main courtyard should be further consolidated. For guest<br />

room blocks, the upper floor plan is well resolved, with efficient<br />

planning and climate sensitivity, while the lower floor plan is<br />

less so. The use of materials is very tactile befitting the nature<br />

of the project. Lastly, the project is a true benchmark of how to<br />

interpret vernacular forms in a modern context.


Commended Award<br />

51


52<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong> Architectural Design Awards<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural Design<br />

Commended Award<br />

Residence<br />

JB House,<br />

Nakhon Phathom,<br />

Thailand<br />

Architect:<br />

IDIN Architects<br />

Design Architects:<br />

Jeravej Hongsakul<br />

Supachai Piromrach<br />

Sakorn Thongduang<br />

Jury Comment<br />

ทัศนะของกรรมการต่อการออกแบบบ้านหลังนี้มีความหลากหลายในแง่หนึ่ง<br />

บ้านหลังนี้แสดงความพยายามตอบสนองความต้องการและวิถีชีวิตของ<br />

เจ้าของบ้านสามีภรรยา คือความรู้สึกเชื่อมต่อถึงกันในขณะที่แต่ละคนทำา<br />

กิจกรรมของตน ภายใต้เงื่อนไขของขนาดที่ดินที่จำากัด การสร้างที่ว่าง<br />

ต่างระดับเพื่อตอบโจทย์นี้ โดยพื้นที่ใช้สอยแต่ละระดับถูกจัดวางให้เกิดการ<br />

ไหลเชื่อมเข้าด้วยกันอย่างนิ่มนวลในพื้นที่จำ ากัด ช่องว่างระหว่างพื้นแต่ละระดับ<br />

นั้นนอกจากจะทำาหน้าที่สร้างความเชื่อมโยงทางสายตาให้กับผู้อยู่อาศัยแล้ว<br />

ยังทำาให้นึกถึงองค์ประกอบในเรือนไทยอย่างช่องแมวลอดอีกด้วย ถึงแม้ว่า<br />

การสัญจรเชื่อมพื้นที่หลายระดับเช่นนี้จะใช้งานลำาบากขึ้นบ้างก็ตาม<br />

ในแง่ของบริบทที่ตั้งและภูมิอากาศ รูปทรงเรียบเป็นกล่องนั้น ออกจะแปลก<br />

แยกไปจากบรรยากาศของบริเวณนั้น ซึ่งเป็นท้องถิ่นชนบทดั้งเดิมที่กำาลัง<br />

ปรับตัวเข้าสู่ความเป็นชายขอบของเมือง และยังไม่สามารถตอบสนองต่อ<br />

ภูมิอากาศเมืองร้อนอย่างได้ผลนัก รูปทรงกล่องของบ้านทำาให้เกิดหลังคา<br />

แบนและไม่มีชายคา การแก้ปัญหาโดยการทำาบานเปิดขนาดใหญ่เพื่อ<br />

เปิดออกเป็นแผงบังแดดให้กับผนังกระจกผืนใหญ่ของบ้านได้นั้น ยังอาจจะ<br />

เป็นปัญหาในการใช้งานและไม่น่าจะมีประสิทธิผลที่ดีนักต่อการจัดการกับ<br />

ปัญหาสภาวะภูมิอากาศเขตร้อนชื้นในแนวทางที่ยั่งยืน<br />

The originality of the design lies in the lively interplay of levels<br />

within such a small footprint. Benign staggering of spaces<br />

was well crafted for complex visual connections of different<br />

house domains per the specific requirement of the clients.<br />

The inside-out design approach is clearly evident which causes<br />

a certain drawback in terms of contextual harmony given its<br />

non-negotiable box-like form. Moreover, flat slab roof and large<br />

glazed opening are not sympathy with the micro-climate and<br />

require additional elements i.e., trellis and operable building<br />

enclosure for climate amplification and privacy.<br />

แม้ว่าการออกแบบบ้านหลังนี้จะมีข้อจำากัดบางประการดังกล่าวแล้ว<br />

คณะกรรมการยังพิจารณาและเห็นว่าผลงานออกแบบคงมีความน่าสนใจ<br />

ในความพยายามที่จะสร้างสรรค์ที่ว่างที่ตอบรับกับวิถีชีวิตและโลกทัศน์<br />

ของคนรุ่นใหม่


Commended Award<br />

53


54<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong> Architectural Design Awards<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural Design<br />

Commended Award<br />

Hostel<br />

Pa Prank Hostel,<br />

Bangkok, Thailand<br />

Architect:<br />

IDIN Architects<br />

Design Architects:<br />

Jeravej Hongsakul<br />

Eakgaluk Sirijariyawat<br />

Wichan Kongnok<br />

Jury Comment<br />

โครงการนี้เป็นการปรับการใช้สอย (adaptive reuse) โดยใช้โครงสร้างของ<br />

ตึกแถวสองหน่วยที่แพร่งสรรพศาสตร์มาออกแบบเป็นโรงแรมแบบ hostel<br />

ความน่าสนใจของโครงการนี้อยู่ที่การปรับเปลี่ยนรูปแบบผังพื้นและที่ว่างของ<br />

ตึกแถวโดยทั่วไป โดยยอมเสียพื้นที่ใช้สอยอาคารหนึ่งคูหาเพื่อเปิดเป็นคอร์ท<br />

ขนาดเล็ก นำาแสงเข้ามาทำาให้เกิดความสว่างตลอดความลึกของอาคาร และ<br />

ทำาให้เกิดความรู้สึกที่โปร่งสบายซึ่งช่วยให้พื้นที่ใช้สอยรวมต่างๆ ในอาคาร<br />

มีชีวิตชีวามากขึ้น ประเด็นที่โครงการนี้น่าจะยังพัฒนาได้ส่วนหนึ่งคงจะเป็น<br />

เรื่องการระบายอากาศทั้งในห้องพักรวมและพื้นที่ส่วนกลาง ซึ่งยังไม่ได้ใช้<br />

ประโยชน์จากคอร์ทในการสร้างสภาวะน่าสบายได้อย่างเต็มที่ และการใช้<br />

พื้นที่ทางสัญจรไม่เต็มศักยภาพ (พื้นที่ระเบียงทางเดินไม่สามารถใช้สอย<br />

อย่างอื่น เช่น การนั่งพักหรือทำางานเพื่อใช้ประโยชน์จากแสงสว่างและความ<br />

เปิดโล่งเพื่อชดเชยความมืดทึบของห้องนอน เป็นต้น)<br />

Adaptive reuse transformation of two units of typical shophouses<br />

within the historical area, Phraeng Sanphasat. The reorganization<br />

of typical cellular plan is a commendable one. Half a<br />

unit was sacrificed to create an atrium space bringing light and<br />

openness into the deep corner, thus injecting new vibrancy into<br />

the common spaces, i.e., circulation route, social spaces, exhibition<br />

areas etc. The over-reliance of HVAC system for the guest<br />

rooms seems to be the weak point of the project. In some rooms,<br />

guests sleep in the room devoid of daylight. Circulation routes<br />

could have been exploited as grey space. Living experience<br />

could be improved drastically if guests could relax on the corridors<br />

with seatings for relaxation and casual meeting in daylight.<br />

รูปลักษณ์ด้านหน้าของอาคารนั้น มีการดึงองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม<br />

ของย่าน คือบานหน้าต่างเกล็ดมาใช้ โดยเปลี่ยนเป็นวัสดุเหล็กสีดำาที่แตกต่าง<br />

ออกไปจากลักษณะของตึกก่ออิฐถือปูนในย่านนั้น เป็นการสร้างอัตลักษณ์จาก<br />

การเปรียบต่าง สร้างบทสนทนาทางสถาปัตยกรรมได้อย่างน่าสนใจ


Commended Award<br />

55


56<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong> Architectural Design Awards<br />

2<strong>02</strong>0 <strong>ASA</strong><br />

Architectural Design<br />

Commended Award<br />

Mixed-Use Building<br />

Samyan Mitrtown,<br />

Bangkok, Thailand<br />

Architect:<br />

Plan Associates<br />

and Urban Architects<br />

Design Architects:<br />

Boonrit Kordilokrat<br />

Achariya Rojanapirom<br />

Suporn Hoharitanon<br />

Prasit Pitchayapadungkit<br />

Jury Comment<br />

จุดแข็งของโครงการนี้อยู่ที่โปรแกรมการออกแบบ ซึ่งเป็นการผสมผสานกัน<br />

ระหว่างส่วนพาณิชยกรรม ส่วนพักอาศัย โรงแรม และส่วนนันทนาการ รวมทั้ง<br />

ส่วนกิจกรรมการศึกษาเข้าด้วยกันอย่างลงตัว ตอบสนองต่อธรรมชาติของ<br />

สามย่านได้อย่างชัดเจน การผสมผสานดังกล่าวนี้ช่วยสร้างความมีชีวิตชีวา<br />

ที่สัมผัสได้ทันทีเมื่อก้าวเข้าไปสู่บริเวณโครงการ นอกจากนี้ พื้นที่โครงการ<br />

ยังเอื้อให้เกิดการดึงเอาร้านอาหารและร้านขายของเล็กๆ ในรูปแบบตึกแถว<br />

ริมถนนแต่เดิมในบริเวณนี้กลับเข้ามาอยู่ร่วมกันกับการใช้สอยในรูปแบบ<br />

ใหม่ๆ ได้อย่างลงตัว<br />

เรื่องที่อาจเป็นจุดด้อยของโครงการคือ รูปลักษณ์ที่ไม่เข้ากันนักของอาคาร<br />

แต่ละส่วนในโครงการ อาจจะเพราะความแตกต่างของประเภทการใช้สอยและ<br />

การใช้สถาปนิกหลายทีมรวมกันออกแบบก็เป็นได้ อย่างไรก็ตามโครงการ<br />

นี้ก็ยังเป็นตัวอย่างที่ดีของความตั้งใจที่จะประหยัดพลังงานโดยการใช้วัสดุ<br />

และระบบอาคารที่ทันสมัย และการสร้างพื้นที่พาณิชยกรรมที่เปิดโล่งไม่ปรับ<br />

อากาศเท่าที่จะเป็นไปได้<br />

Strength of the project lies within its brilliant design program<br />

which is a well thought-out blend of commercial, residential<br />

condominium, hotel, entertainment, and education related<br />

activities. As such, the vibrancy of the development can be<br />

easily felt once one pays a visit to the premise. Displaced old<br />

activities such as small shops and roadside eateries could also<br />

make a comeback in a new setting besides new compatible<br />

activities. Coherence of architectural forms may suffer quite<br />

a bit due to discrepancies of functions as well as different designers.<br />

The project, however, demonstrates a commitment<br />

to save energy thru the selection of up to date building systems<br />

as well as maximization of non a/c areas where appropriate.


Commended Award<br />

57


58<br />

theme<br />

More Than<br />

Skin<br />

‘Skin’ or ‘Shell’ are often associated with superficiality<br />

or shallowness. Expressions that illustrate this point<br />

include, skin-deep knowledge or an empty shell of a<br />

human being. But in reality, the skin or shell, whether of<br />

humans or fruits, have significant roles, ones that cannot<br />

be disconnected from their existences. Imagine a durian<br />

without its spiky husk, or a banana or an apple without<br />

any skin. The thickness, rigidity, textural characteristics<br />

or even chemical compounds, colors, forms and structures<br />

all function collectively and indivisibly with the content<br />

and essence. Architecture is similar in that sense. The shell<br />

serves, not only to protect what’s inside, but as an interface<br />

that allows a building to communicate with the outside<br />

world. It acts as a sensory receptor that perceives and<br />

conveys information, transfers heat, humidity, energy and<br />

at times even contributes as a supporting composition.<br />

Text: Pornpas Siricururatana


MORE THAN SKIN<br />

59<br />

Beer Singnoi, Fotomomo


60<br />

theme<br />

คำว่ผิว หรือเปลือก มักถูกใช้ในทำนองว่ไม่มีแก่นสร<br />

ไม่ลึกซึ้ง ไม่ว่จะเป็น รู้แบบผิวๆ คบแบบผิวๆ มีแต่เปลือก<br />

หรืออื่นๆ อีกมกมย แต่ถ้ลองมคิดดู ไม่ว่ผิวคน หรือ<br />

เปลือกผลไม้ ต่งก็มีหน้ที่อันยิ่งใหญ่ ที่ไม่สมรถตัดขด<br />

จกตัวของมันเองได้ ถ้ทุเรียน กล้วย หรือแอปเปิ้ลไม่มี<br />

เปลือก คุณคิดว่มันจะกลยเป็นอย่งไร ควมหน ควม<br />

แข็ง ลักษณะของผิวสัมผัส หรือแม้แต่องค์ประกอบทง<br />

เคมี สี รูปทรงโครงสร้งของมันล้วนทำงนร่วมกับเนื้อ<br />

หรือแก่น อย่งยกที่จะแยกออกจกกันได้ สถปัตยกรรม<br />

ก็เช่นเดียวกัน ผิวไม่เพียงทำหน้ที่ห่อหุ้ม ปกป้อง สิ่งที่<br />

อยู่ข้งใน แต่ยังทำหน้ที่เป็น interface สื่อสรกับโลก<br />

ภยนอก เป็นต่อมรับรู้ และถ่ยทอด ข้อมูล ควมร้อน<br />

ควมชื้น พลังงน หรือแม้แต่เป็นโครงสร้งรองรับตัวมัน<br />

เองด้วย<br />

นักประวัติศสตร์สถปัตยกรรม Reyner Banham กล่วไว้<br />

ประมณว่ เทคโนโลยีอย่งระบบปรับอกศ หลอดไฟ<br />

ฟลูออเรสเซ้น และวิวัฒนกรทงโครงสร้ง ทำให้สถ-<br />

ปัตยกรรมยุค 1950s ของอเมริก “หย่” กับท้องถิ่น<br />

และดินฟ้อกศ แต่เมื่อมองกลับมที่ประเทศไทยหรือ<br />

ประเทศในเขตร้อนแบบเรๆ แล้ว กลับกลยเป็นว่ ใน<br />

ขณะที่ curtain wall และระบบปรับอกศกำลังรุ่งเรือง<br />

ในสหรัฐอเมริก รูปแบบอครลักษณะหนึ่งได้ถูกพัฒน<br />

แผ่ขยย และสร้งซ้ำอย่งรวดเร็ว โดยสถปนิกและ<br />

วิศวกรที่ทำงนในประเทศที่กำลังก้วเข้สังคมหลังอณ-<br />

นิคมเหล่นี้ โจทย์ของอครในประเทศเหล่นี้ ไม่ใช่กร<br />

เปิดรับแสงอทิตย์เพื่อแสงสว่งและควมอบอุ่น แต่เป็น<br />

กรต่อสู้กับแสงอทิตย์ที่แผดเผ พร้อมๆ กับกรรับมือ<br />

กับฝนฟ้และพยุโซนร้อน ในประเทศที่สธรณูปโภค<br />

พื้นฐน เทคโนโลยี หรือเงินทุน ยังไม่เพียงพอที่จะผลิต<br />

คิดค้นระบบปรับอกศเองได้ และกระจกคุณภพสูง<br />

ก็ยังเป็นสินค้นำเข้ที่มีรคแพง ระบบแผงบังแดดที่มี<br />

ลักษณะเป็นเลเยอร์ หรืออจเรียกได้ว่เป็นผิวที่มีควมลึก<br />

จึงกลยเป็นทงออกที่น่สนใจ เพระนอกจกจะช่วยรับมือ<br />

กับแสงแดด และปล่อยให้ลมพัดผ่นแล้ว ยังช่วยลด<br />

ควมเป๊ะของกรก่อสร้ง ที่เป็น a must ในระบบ Single<br />

Glazing หรือพวกหน้ต่งโล้นๆ ที่พึ่งพควมสมรถ<br />

ทุกๆ อย่ง ไปที่กระจกและรอยต่อที่เประบง<br />

แน่นอนว่กรแก้ปัญหของผิวที่เประบง ไม่ใช่โจทย์<br />

ใหม่เอี่ยมแกะกล่อง วิธีกรจัดกรกับปัญหเก่แก่นี้ จริงๆ<br />

แล้วก็ทำได้อย่งที่เรรู้กันดีจกอครพื้นถิ่นในภูมิภค<br />

ไม่ว่จะเป็นกรใช้หลังคหรือชยค เข้มปกป้องผิว<br />

เหล่นี้ หรือกรทำงนร่วมกับพื้นที่ภยนอก จัดวงพื้นที่<br />

แบบ in between สอดแทรกเข้ไป เพื่อรับมือกับแดด ลม<br />

ฝน และสิ่งแวดล้อมอื่นๆ แต่เมื่อหลังคแบบพื้นถิ่น หรือ<br />

Architectural historian, Reyner Banham, made an<br />

argument about how modern technologies such as<br />

air conditioning systems, fluorescent bulbs and the<br />

structural evolution as a whole had caused American<br />

architecture from the 1950s to ‘divorce’ itself from<br />

the locality and regional climate. However, looking<br />

back at Thailand or other tropical counties, it turns<br />

out that while curtain wall and air conditioning<br />

systems were seeing their heyday in the United States,<br />

another building typology was being developed, and<br />

reproduced at such a fast pace by architects and<br />

engineers practicing in these countries. What these<br />

buildings were required to deliver wasn’t increasing<br />

an exposure to sunlight and warm weather, but<br />

instead, to battle the glaring natural light with burning<br />

temperatures alongside heavy rain and tropical<br />

storms. In the counties where basic infrastructure or<br />

financial capabilities were still too insufficient to invent<br />

and manufacture air conditioning systems, the sun<br />

protection panel system with layered skins became an<br />

interesting option. Not only was it a potential solution<br />

that could help buildings handle excessive sunlight<br />

and maximize natural ventilation, it lessened the<br />

need for the precision of the construction. This was<br />

considered a must in the single glazing system or the<br />

frame-less windows and openings that applied all the<br />

weight on glass or relatively fragile joints.<br />

Certainly, the attempt to solve these regional problems<br />

was far from novel. Several methods have been<br />

invented in hopes to find the right solution for this<br />

long-standing dilemma. Some can be found in the<br />

region’s vernacular architecture, such as the use of a<br />

roof structure or canopy to help protect the building’s<br />

skin or an integrative approach where outdoor spaces<br />

are incorporated as an in-between element that<br />

helps a building cope with these climatic conditions.<br />

However, especially during the independence movement,<br />

vernacular or traditional roof structures became<br />

associated with some unwanted social implications.<br />

The rise of urban space’s density also made the<br />

integrative approach become somewhat luxurious.<br />

In these contexts, the mechanism of the sun protection<br />

panel system AKA Brise Soleil, has become an alternative<br />

adopted in almost every part of the world.<br />

Especially in Global South countries during the postcolonial<br />

era, by both the locals and outsiders.<br />

Post World War II Thailand saw a great number of<br />

newly built structures, from government, educational to<br />

hospital buildings or even shophouses that employed<br />

the use of building skins of such depth. Building skins<br />

became an even more prominent during the 1960s and<br />

1970s, either because of influences from the global


MORE THAN SKIN<br />

61<br />

L’Architecture d’Aujourd’hui No.13-14 Septembre 1947<br />

1<br />

หลังครูปแบบต่งๆ ถูกโยงกับควมหมยทงสังคมที่<br />

ไม่เป็นที่ต้องกร และควมหนแน่นของพื้นที่ก็เริ่มสูงเกิน<br />

กว่ที่จะตอบโจทย์ในแบบหลังได้อีก กลไกของระบบแผง<br />

กันแดด หรือที่เรียกกันว่ Brise Soleil นี้ จึงกลยเป็น<br />

ทงเลือกที่เห็นได้ในทุกๆ มุมโลก โดยเฉพะอย่งยิ่งใน<br />

ประเทศกลุ่ม Global South ในยุคหลังอณนิคม ไม่ว่จะ<br />

โดยคนในประเทศ หรือนอกประเทศ<br />

ในประเทศไทยเอง โดยเฉพะอย่งยิ่งหลังสงครมโลก<br />

ครั้งที่สอง อครสร้งใหม่จำนวนมกก็ทำงนกับผิวที่มี<br />

ควมลึกพวกนี้ ทั้งอครที่ทำกรรชกร สถนศึกษ<br />

โรงพยบล หรืออครตึกแถว ซึ่งกรทำงนกับผิวที่ว่<br />

ก็ทวีควมชัดเจนขึ้นไปอีก ในยุค 60-70 ไม่ว่จะเพระ<br />

อิทธิพลจกวงกรสถปัตยกรรมของโลก หรือจะเพระ<br />

บริบทเมืองที่อครค่อยๆ สูงมกขึ้นก็ดี แม้ว่ไม่กี่ปีที่<br />

ผ่นม อครจำนวนมกในยุคนี้จะถูกทุบทิ้งลงอย่ง<br />

น่เสียดย เรน่จะเคยผ่นตกับอครเหล่นี้บ้ง<br />

ไม่ว่จะในชีวิตจริง หรือผ่นสื่ออย่ง fotomomo และ<br />

กระแสอนุรักษ์อครต่งๆ<br />

architectural trend or the growing tendency of vertical<br />

urban expansion that had caused buildings to become<br />

higher. Although many buildings from this particular<br />

time period have, unfortunately, been demolished in<br />

the past recent years, we have all witnessed their<br />

existences first-hand and through medias such as<br />

fotomomo, including the rising awareness in architectural<br />

conservation.<br />

Buildings such as the Suan Mali branch of Krungthai<br />

Bank (the former Thai Pattana Bank’s building) designed<br />

by Amorn Sriwong and Rachot Kanchanawanich<br />

still looks extremely modern despite the fact<br />

that over five decades have passed. The complexlooking<br />

facade is made up of only one type of precast<br />

concrete part, which works in tandem with the suspension<br />

structure. Sri Fueng Foong Building (the old<br />

Cathay Trust Building) uses over 3000 pieces of<br />

miniature HP shell precasts (by installing them around<br />

the architectural structure) to help filer the sunlight. It<br />

also simultaneously protects the glass panels between<br />

column spans. Similar to the old Thai Pattana building,<br />

what’s particularly interesting about Cathay Trust’s<br />

01<br />

Gustavo Capanema<br />

Palace หรือ Ministry<br />

of Education and<br />

Health, Rio de Janeiro<br />

(1936-1945)<br />

อครที่ใช้ระบบ Brise<br />

Soleil ที่เรรู้จักกัน<br />

อครแรกๆ ผลงน<br />

ออกแบบร่วมระหว่ง<br />

Le Corbusier กับทีม<br />

สถปนิกบรซิล ที่รวม<br />

ถึง Lucio Costa, Oscar<br />

Niemeyer, Alfred Reidy


62<br />

theme<br />

Not only was it a potential<br />

solution that could help<br />

buildings handle excessive<br />

sunlight and maximize natural<br />

ventilation, it lessened the<br />

need for the precision of the<br />

construction.<br />

Beer Singnoi, Fotomomo<br />

2<br />

<strong>02</strong><br />

อคร Cathey Trust เก่<br />

หรือ อครศรีเฟื่องฟุ้ง<br />

ในปัจจุบัน<br />

03-04<br />

อครไทยพัฒน<br />

Beer Singnoi, Fotomomo<br />

3


63<br />

Beer Singnoi, Fotomomo<br />

4


64<br />

theme<br />

The two superimposed square masses, twisted to 45<br />

degrees, help lessen the circulation space for maximum<br />

rentable spaces. It is an attempt to calculate and work<br />

with sunlight and the surrounding environment.<br />

A+E+C, 1976 (from Professsor Ruekdee Phowanakul’s archive)<br />

5<br />

05<br />

Sketch กระบวนกร<br />

ออกแบบ อคร Cathey<br />

Trust ของสถปนิก<br />

Intaren<br />

อครอย่ง ธนครกรุงไทย สขสวนมะลิ (อคร<br />

ธนครไทยพัฒนเก่) ผลงนของคุณอมร ศรีวงศ์ ร่วมกับ<br />

คุณรชฎ กญจนะวณิชย์ ยังคงดูทันสมัยแม้เวลผ่นม<br />

กว่ห้สิบปีแล้ว façade ที่ดูซับซ้อน จริงๆ แล้วมจก<br />

ชิ้นส่วน precast concrete เพียงหนึ่งชนิด ที่ทำหน้ที่<br />

ร่วมกับโครงสร้งแบบแขวน ได้อย่งผสมผสน หรือ<br />

อครศรีเฟื่องฟุ้ง (อครคเธ่ย์ทรัสต์เก่) ที่ใช้ HP<br />

shell precast ขนดจิ๋ว มกกว่สมพันอัน ติดตั้งโดย<br />

รอบ เพื่อเป็นตัวกรองแสงแดด และปกป้องผนังกระจก<br />

โล้นๆ ที่ติดตั้งระหว่งเส เช่นเดียวกับอครไทยพัฒน<br />

เก่ สิ่งที่น่สนใจของอครคเธ่ย์ทรัสต์ คือกลไกเบื้อง<br />

หลังของ “ผิว”เหล่นี้ ไม่ว่จะเป็นขนดของ mini shell<br />

ที่ทำงนสอดคล้องกับระยะช่วงเสที่ถูกดันออกมที่ขอบ<br />

อคร ด้วยระบบโครงสร้งแบบ Diagrid Slab ซึ่งว่กันว่<br />

ก่อสร้งยกมก และผังอคร ที่เป็นสี่เหลี่ยมจตุรัสหมุน<br />

45 องศ ซ้อนกันสองชิ้น ซึ่งช่วยลดพื้นที่ circulation ใน<br />

กรให้เช่ได้มก ภพร่งของผู้ออกแบบจกสำนักงน<br />

สถปนิกอินทเรน ทำให้เรเห็นร่องรอยของควมคิดและ<br />

ควมพยยมในกรคำนวณ กรทำงนกับแสงอทิตย์<br />

และพื้นที่โดยรอบ<br />

architecture is the mechanism behind the shells. One<br />

of the examples is the size of the mini shells and how<br />

they work in accordance to the column spans. These<br />

shells are pushed toward the building’s edges using a<br />

structural system called Diagrid Slab, which is known<br />

to be highly difficult to construct. The building’s layout<br />

is made up of two superimposed square masses,<br />

twisted to 45 degrees to help lessen the circulation<br />

space for maximum rentable spaces. The sketches<br />

created by the architect from the Intaren Architecture<br />

Office allows us to see traces of ideas as well as<br />

attempts to calculate and work with sunlight and the<br />

surrounding environment.<br />

Inevitably, time passed as requirements and demands<br />

altered. Over time, local manufacturers learned to<br />

produce high-quality glass, which used to be a pricy<br />

imported product. The air conditioning system became<br />

more affordable, and at the same time, land price in<br />

the city areas continued to rise. Urban density and<br />

pollution, as well as people’s constantly changing<br />

values made passive design somewhat insufficient.<br />

Surfaces that required a relatively larger portion of<br />

spaces were being called into question. In many fire


MORE THAN SKIN<br />

65<br />

แน่นอนว่ เมื่อเวลผ่นไป โจทย์ก็เริ่มปรับเปลี่ยน กระจก<br />

คุณภพสูงที่เคยเป็นสินค้นำเข้รคแพง เริ่มผลิตเองใน<br />

ประเทศได้ ระบบปรับอกศ ก็เริ่มมีรคถูกลง ในขณะที่<br />

ที่ดินในเขตเมืองกลับมีรคสูงขึ้นเรื่อยๆ ควมหนแน่น<br />

ของเมืองและมลภวะต่งๆ ประกอบกับค่นิยมที่เปลี่ยน<br />

ทำให้กรออกแบบในลักษณะของ passive เริ่มไม่เพียงพอ<br />

ผิวที่ต้องใช้พื้นที่มกเหล่นี้ จึงเริ่มถูกตั้งคำถม เหตุกรณ์<br />

ไฟไหม้หลยๆครั้งที่ระบบแผงกันแดดเหล่นี้ กลยเป็น<br />

อุปสรรคในกรดับเพลิงและหนีภัยยิ่งทำให้ควมนิยมต่อ<br />

รูปแบบอครลักษณะนี้ลดลงอย่งรวดเร็ว กรผลิตซ้ำ<br />

แบบควมเร็วสูง เพื่อตอบรับควมต้องกรทงเศรษฐกิจ<br />

ยิ่งทำให้ระบบแผงกันแดด ที่เคยทำหน้ที่ร่วมกับพื้นที่<br />

ภยในอย่งใกล้ชิด ถูกลดทอนกลยเป็นเพียงผิวที่แยกตัว<br />

ออกจกเนื้อในมกขึ้นเรื่อยๆ<br />

อจกล่วได้ว่ ยุค ’80s เป็นยุค ที่กรเงินและกรลงทุน<br />

เริ่มก้วมนำหน้เหนือสิ่งอื่นๆอย่งชัดเจน ควมต้องกร<br />

ที่จะขยหน้ต ภพลักษณ์ ดึง form ออกมจก force<br />

(โครงสร้ง) และ flow (พลังงนและสิ่งแวดล้อม) ที่เคย<br />

ถูกพยยมให้ทำงนร่วมกัน ควมต้องกรในกรควบคุม<br />

สภวะแวดล้อมในอคร จกมลภวะภยนอก ผลักให้<br />

งนระบบพัฒนขึ้น และรคถูกลงอย่งรวดเร็ว ในขณะ<br />

ที่กระแส postmodern ก็เป็นแรงถีบให้ควมหมยเชิง<br />

สัญลักษณ์ เขยิบลำดับควมสำคัญขึ้นมเป็นอันดันต้นๆ<br />

สเกลของอครที่มีขนดใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ ก็เป็นแรงดันอีก<br />

ส่วน ที่ทำให้เกิดกรแตกกลุ่มย่อยของควมเชี่ยวชญ<br />

กรทำงนร่วมกันแบบผสมผสนระหว่งสถปนิก วิศวกร<br />

และทีมก่อสร้งที่เห็นได้ในยุคก่อนหน้ เริ่มเห็นได้ยกขึ้น<br />

ควมหมยเริ่มถูกตัดขดจกถิ่นที่และระบบกรก่อสร้ง<br />

กดปุ่ม fast forward เร็วๆ กลับมที่โลกสถปัตยกรรม<br />

ช่วง 10-20 ปีมนี้ ถิ่นที่และท้องฟ้อกศ วัฒนธรรม<br />

และบริบท โครงสร้งและระบบกรก่อสร้ง ถูกนำมปัด<br />

ฝุ่น และพัฒนอย่งก้วกระโดด ภยใต้แรงสนับสนุน<br />

และผลักดันจกกระแส computerization และ digitization<br />

ที่กลับมเชื่อมกรทำงนระหว่งกลุ่มควมเชี่ยวชญ<br />

พร้อมๆ กับทำให้ควมสมรถในกรคำนวนทงโครง-<br />

สร้ง กรพัฒนของวัสดุ และกระบวนกรก่อสร้งใหม่ๆ<br />

ก้วไปในอีกระดับ Pluralism ของ postmodern ที่ยังติด<br />

กับดักภพลักษณ์ที่ตยตัว ถูกคลี่คลยและพัฒนพร้อมๆ<br />

กับ tectonic ornamentation ที่ถูกพัฒนอย่งก้วกระโดด<br />

อคร Flagship store จำนวนมก ในย่นกรค้ Aoyama<br />

Ginza หรือ Omotesando เป็นเหมือนโชว์เคสของอคร<br />

more than skin เหล่นี้ มตั้งแต่ช่วงปี 2000s ไม่ว่จะเป็น<br />

Prada ของ Herzog de Mouron ที่บูรณกรโครงสร้ง<br />

พื้นที่ และ façade เข้ด้วยกันอย่งแยกออกไม่ได้ Tube<br />

incidents, these sun protection panel systems became<br />

an obstacle for fire control, evacuation measures and<br />

protocols, causing the popularity of this architectural<br />

element to drop dramatically. Mass production occurred<br />

at a fast pace to supply the growing demands,<br />

but it gradually lessened the role of the sun protection<br />

panel system, which was once intertwined with the<br />

interior spaces. Where it has turned into a separate<br />

layer of skin that has been gradually disconnected<br />

from the ‘inside’ of the architecture.<br />

In the 1980s when the financial and investment sector<br />

saw a significant boom, a desire to market appearance<br />

and image, took form out of force (structure) and flow<br />

(energy and environment). The demand to control<br />

and protect the interior environment from the outside<br />

pollution propelled building systems to speedily<br />

develop and become cheaper. Meanwhile, the postmodern<br />

movement was an influential driving force<br />

that glorified the symbolic values of architectural<br />

works. Buildings were becoming larger in scale, and<br />

the shift led to the ramification of more specialized<br />

expertise. The interdisciplinary and collaborative<br />

approaches between architects, engineers and the<br />

construction team became somewhat of a rarity, while<br />

meanings were disconnected from local identity and<br />

construction system.<br />

Fast forward to the architecture world in the past<br />

10-20 years, factors such as locality, climate, culture<br />

and context, structure and construction system, have<br />

been revived with some big progresses and developments<br />

driven by the global computerization and digitization<br />

phenomena. These trends have been facilitating<br />

collaborations between different groups of<br />

experts. In doing so it has enabled humans’ ability in<br />

structural calculations, material developments as well<br />

as new construction methodologies to reach a new<br />

level. Postmodern Pluralism, which was once trapped<br />

in its own stagnant image, has been reconciled and<br />

developed alongside the progressive advancement<br />

of tectonic ornamentation.<br />

Several flagship store buildings in Tokyo’s commercial<br />

districts such as Aoyama, Ginza or Omotesando have<br />

existed as a spectacular showcase of the ‘more than<br />

skin’ architecture since the 2000s. The Prada flagship<br />

store designed by Herzog de Mouron integrates<br />

different elements of structure, building system and<br />

façade into an inseparable union. Part of the façade<br />

was extruded horizontally, piercing through the<br />

building which serves as both the façade’s structure<br />

and the tube containing commercial space. Although<br />

the façade of the Dior flagship in Omotesando by


66<br />

theme<br />

แนวนอนที่พุ่งทะลุอคร ทำหน้ที่เป็นทั้งโครงสร้ง façade<br />

และ “ห้อง” ไปพร้อมๆกัน หรือ Dior ของ SANAA ที่ Omotesando<br />

ที่แม้ว่จะไม่ได้ทำงนกับโครงสร้งเป็นพิเศษ<br />

แต่ก็เป็น façade ที่ทำงนกับกระบวนกรสร้งและbrand<br />

ของ Dior อย่งละเอียดอ่อน façade โปร่งแสง สีขว<br />

คล้ยม่น ดูพริ้วและนุ่ม ทั้งๆที่ทำจกอะคริลิกที่ติดตยตัว<br />

มันคือควมพริ้วที่เกิดจกกรทำงนระหว่งควมโค้งของ<br />

แผ่นอะคริลิก และแพทเทิร์นของ ceramic print โปร่งแสง<br />

สีขวที่ถูกปริ้นท์บนอะคริลิกก่อนทำให้โค้ง ควมโค้งและ<br />

ควมโปร่งแสงหลยระดับนี้ทำงนร่วมกับแสงจนเกิด<br />

ปรกฏกรณ์ที่ไดนมิค ที่ทั้งนุ่มและพลิ้วอย่งที่เรเห็น<br />

อคร Louis Vuitton หลยๆ สขโดย Jun Aoki ก็เป็น<br />

ชุดอครที่ให้ควมสำคัญกับผิวที่ทำงนกับสภวะแวดล้อมที่<br />

Dynamic เหล่นี้เช่นเดียวกัน สขล่สุดที่ Ginza ในชื่อ<br />

ออฟฟิศใหม่ AS น่จะเป็นตัวอย่งที่ดีที่โปรเจคทีม สมรถ<br />

นำพัฒนกรของวัสดุทั้งเทคนิคกร Coating กรผลิต<br />

กระจกโค้งสมมิติ รวมถึงกระบวนกรผลิตชิ้นส่วนอลูมิ-<br />

เนียมซัพพอร์ต มทำงนร่วมกัน เพื่อตอบโจทย์ที่ซับซ้อน<br />

ได้ (หนึ่งในนั้น คือควมเป็นเสจกน้ ำทะเล ระลึกถึง Ginza<br />

ในสมัยเอโดะ ที่ยังเป็นแหลมยื่นไปในทะเล!)<br />

สิ่งหนึ่งที่เชื่อมอครเหล่นี้เข้ด้วยกัน นอกจกควม<br />

พยยมทำงนกับกระบวนกรสร้ง และวัสดุที่ละเอียด<br />

อ่อนและพิถีพิถันของทั้งโปรเจกทีม ไม่ว่จะเป็นสถปนิก<br />

วิศวกร และทุกๆคนในกระบวนกรสร้งแล้ว แน่นอนว่<br />

สิ่งที่ขดไม่ได้เลย คือควมเป็น Flagship store ของ brand<br />

high-end ที่มีเงินทุนหน และเทคโนโลยีกรคำนวนและ<br />

กรก่อสร้งขั้นสูง ก็เป็นปัจจัยสำคัญที่เปิดโอกสให้อคร<br />

ที่มีควมซับซ้อนสูงมกๆ เหล่นี้ เกิดขึ้นได้ แม้ว่หลัง<br />

Hamburger Crisis อครลักษณะนี้อจจะมีให้เรเห็นน้อย<br />

ลงไปบ้ง แต่ก็ไม่ได้หยไปเลย กรทำงนร่วมกับวัสดุ<br />

และกระบวนกรสร้ง หรือกรทำงนของวัสดุ กับสภวะ<br />

แวดล้อม ยังคงเป็น theme อมตะ ของสถปนิกและวิศวกร<br />

ในบริบทที่หลกหลย<br />

SANAA, has no specific functional contribution to<br />

the structure, it works relatively close and in such<br />

a delicate manner to amplify the fashion house’s<br />

branding process. The white, translucent façade looks<br />

like curtains, wavy and soft despite being made of<br />

fixated acrylic mass. The undulating and weightless<br />

appearance is made possible by the interaction<br />

between the acrylic sheets’ curvy features and the<br />

white, translucent ceramic print pattern on the acrylic<br />

surface, which was imprinted before the material<br />

was bent into the desired form. These multiple layers<br />

of curves and translucent surface work together in<br />

creating a dynamic phenomenon that makes the<br />

façade appear soft and wavy.<br />

The Louis Vuitton shops that Jun Aoki has designed are<br />

a series of buildings that highlight how building skins<br />

work and interact with their dynamic surroundings.<br />

The latest branch of the brand, which the architect<br />

designed under the new office name, AS, is a great<br />

example of how the team was able to incorporate new<br />

material developments and coating techniques to build<br />

the three-dimensional glass facade that delivers such<br />

as a mesmerizing effect. The endeavor included the<br />

manufacturing process of the aluminum supporting<br />

parts, which were used to help complete the physical<br />

and functional details of the complex compositions.<br />

One element that connects these buildings together,<br />

in addition to the attempt to deal with the construction<br />

process, and the meticulousness of the entire project<br />

team from the architects, engineers to everyone<br />

involved in the process, is the status of these projects<br />

as flagship stores of high-end brands, which came<br />

with a hefty budget. All of these aspects coupled<br />

with highly advanced building configureration and<br />

construction technologies, allowed for the birth of<br />

such highly complex buildings to be possible. Although<br />

we have seen fewer numbers of buildings of this nature<br />

after the Hamburger crisis was over, they have not<br />

disappeared entirely. An integrative and collaborative<br />

effort between materials and the construction<br />

process, or interactions between materials and<br />

their surrounding environments, are still timeless<br />

themes that architects and engineers go after when<br />

Figureuring out ways to work with various contexts<br />

of their projects.


MORE THAN SKIN<br />

67<br />

These buildings attempt to deal with the construction process<br />

and the meticulousness of the entire project team from the<br />

architects, engineers to everyone involved in the process.<br />

Shinkenchiku 2003.09<br />

6 7 8<br />

Shinkenchiku 2004.01<br />

Architects: AS Co., Peter Marino Architect / Photo:<br />

Daici Ano<br />

06<br />

Prada Aoyama<br />

– Herzog de Mouron<br />

07<br />

Dior Omotesando<br />

– SANAA<br />

08<br />

Louis Vuitton<br />

Ginza Namiki<br />

– Jun Aoki<br />

and Peter Marino<br />

ในประเทศไทยเอง ผลงานหลายๆ ชิ้น ของ studiomake<br />

หรือ โปรเจคอย่าง MAIIAM ของ all(zone) น่าจะเป็น<br />

ตัวอย่างที่ทำาให้เห็นการทำางานในลักษณะดังกล่าวในบริบท<br />

ที่แตกต่างอย่างเมืองไทยได้เป็นอย่างดี ในสภาวะที่ระบบ<br />

นิเวศของการก่อสร้าง ไม่ว่าจะเป็นวัสดุ ทักษะ ไปจนถึง<br />

เงินทุนมีความแตกต่างไปมาก โจทย์ทางวัสดุถูกขยาย<br />

ออกไปถึงที่มาที่ไปและกระบวนการได้มาซึ่งวัสดุนั้นๆ การ<br />

ตอบโจทย์สิ่งแวดล้อมก็ถูกพัฒนาไปมากเช่นกัน เทคโนโลยี<br />

simulation ต่างๆ ทำาให้เราก้าวเข้าสู่การคำานวณแบบ nonlinear<br />

ที่ไดนามิค พร้อมๆ กับที่คำาอย่าง sustainability<br />

หรือ resilience ที่ก้าวขึ้นมาเป็นคีย์เวิร์ดหลักของสังคม<br />

อาคารสำานักงานขนาดย่อม อย่าง Coop Kyozai Plaza<br />

โดย Nikken Sekkei เป็นอีกตัวอย่างของความพยายามนี้<br />

โครงสร้างคานแบบกลับหัวที่ใช้ในโครงการ นอกจากจะทำา<br />

ให้พื้นที่อาคารภายใน ไม่ต้องมีฝ้าแล้ว เพราะจากเหตุการณ์<br />

แผ่นดินไหวหลายๆ ครั้ง ทำาให้เรารู ้ว่า ฝ้า และ sub-structure<br />

เป็นสาเหตุหลักอย่างหนึ ่งของอุบัติเหตุที ่เกิดขึ ้นระหว่างภัย<br />

จากแผ่นดินไหว ยังเป็นพื้นที่เก็บอุปกรณ์ต่างๆ สำาหรับการ<br />

ป้องกันภัยพิบัติ และทำาให้พื้น slab ภายนอกอาคารที่เต็ม<br />

ไปด้วยต้นไม้คงความบางไว้ได้ ระบบ Bioskin หรือ การ<br />

ปล่อยน้ำาผ่านท่อเซรามิคภายนอกอาคาร เพื่อให้การระเหย<br />

In Thailand, many works by studiomake or MAIIAM<br />

Museum by all(zone) are interesting examples of this<br />

particular approach. In the scenario and context where<br />

the elements in the ecosystem of construction, be<br />

there materials, skills and budget are starkly different,<br />

issues and discussions concerning materials have<br />

been extended to the origins and processes from<br />

which each material has been obtained.<br />

Environmentally conscious design has also been<br />

diligently developed. Simulation technologies have<br />

enabled us to utilize more dynamic, non-linear<br />

calculation since words such as sustainability or<br />

resilience are being more recognized as the society’s<br />

keywords. Moderate sized office building, Coop Kyosai<br />

Plaza, designed by Nikken Sekkei, is another example<br />

of such an endeavor The reversed beam structure<br />

employed to the design of the project eliminates the<br />

need for a ceiling in the interior space. The attempt<br />

the get rid of the ceiling actually originated from the<br />

previous earthquake incidents in the past, which over<br />

time, become a lesson that displayed how ceilings and<br />

sub-structures are one of the main causes of accidents<br />

during earthquakes. The structure also contains a<br />

space that stores disaster prevention equipment


68<br />

theme<br />

Harunori Noda *Gankohsha<br />

08-09<br />

Coop Kyozai Plaza<br />

โดย Nikken Sekkei<br />

10-11<br />

ระบบกรทำงนกับผิว<br />

อครเก่ ในโครงกร<br />

ปรับปรุงอครที่พักอศัย<br />

รวมในยุค’60 กว่500<br />

อคร<br />

8<br />

Harunori Noda *Gankohsha<br />

9<br />

11<br />

Philip Ruault<br />

Philip Ruault<br />

10


MORE THAN SKIN<br />

69<br />

The challenge lies in the search for new possibilities for the<br />

‘skin’ to be a part of networks and mechanisms that will work<br />

and interact with spaces and society on larger scales, from<br />

neighborhoods to urban landscapes and even on an earth level.<br />

ของน้ำช่วยลดอุณหภูมิรอบๆ ถูกนำมทำให้ เรียบ-ง่ย<br />

โดยกรติดตั้งโซ่ช่วยระบยน้ำฝนรอบอครและกรเลือก<br />

ต้นไม้ที่พิถีพิถัน Bioskin แบบโลเทคนี้ ทำงนร่วมกับ<br />

พฤติกรรมของต้นไม้ต่งๆ ซึ่งไม่เพียงช่วยปรับสภวะ<br />

แวดล้อมของพื้นที่อครด้นในของตัวมันเอง แต่ยังมีส่วน<br />

ช่วยลดอุณหภูมิของพื้นที่ในระดับย่น และบรรเทปัญห<br />

เกะควมร้อนของเมืองอีกด้วย โดยล่สุด Nikken Sekkei<br />

นำหลักกรของ Bioskin มทำงนกับอิฐดินเผบ้นเร<br />

ภยใต้ชื่องน ศลคอย(ล์) เย็น และจัดแสดงในงน<br />

Bangkok Design Week ที่ผ่นม<br />

กระแสสำคัญอีกอย่งที่มพร้อมๆกับโจทย์สิ่งแวดล้อม<br />

คงหนีไม่พ้นกรเข้ไปทำงนกับผิวอครเก่ เพื่อเพิ่ม<br />

ประสิทธิภพและฟื้นฟูพื้นที่ของอครเก่ วิธีกรทำงน<br />

กับผิวอครเก่ของ Lacaton & Vassal โดยเฉพะอย่งยิ ่ง<br />

ชุดโครงกร Transform อครพักอศัยเก่ในยุค 60s<br />

จำนวนกว่ 500 อคร โดยกร insert ผิว หรืออจจะ<br />

ควรเรียกว่ balcony unit เข้ไปบนผิวเดิม นั้นเป็นจุด<br />

เปลี่ยนแปลงที่สำคัญของวทกรรม ผิว-แก่น ที่ถูกถกม<br />

ยวนน ผิวที่เคยถูกดูแคลน (เป็นระยะๆ) ในโลกของกร<br />

สร้งอครใหม่ ถูกพลิกกลับในโลกของกรทำงนกับ<br />

อครเก่ ที่กรจำกัดพื้นที่กรทำงนมีควมสำคัญยิ่ง<br />

ในโลกที่ควมหมยไม่ใช่สิ่งที่ตยตัวอีกต่อไป ผิวที่ถูก<br />

ถมหคงไม่ใช่ผิวที่เป็นสื่อในกรถ่ยทอดภพลักษณ์และ<br />

ควมหมยเชิงสัญลักษณ์อีกต่อไป แต่เป็นผิวที่มีควม<br />

ยืดหยุ่น ทำงนกับสภวะแวดล้อมที่เป็นพลวัตและปรับ-<br />

เปลี่ยนได้ตมสถนกรณ์ โจทย์ของเรตอนนี้คงไม่หยุด<br />

แค่ ผิวที่เป็นมกกว่ผิว ของตัวสถปัตยกรรมเอง แต่อจ<br />

เป็นโจทย์ที่ถมห ผิว ที่เป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ยและ<br />

กลไกที่ทำงนกับพื้นที่และสังคมภยนอกในระดับ ย่น<br />

เมือง หรือแม้แต่โลก ก็เป็นได้<br />

while keeping the exterior slabs where the plants are<br />

growing physically thin. The building adopted the<br />

mechanism of Bioskin system-- a skin of water-filled<br />

ceramic pipes which allows the evaporated water to<br />

reduce the temperature around the building. Here,<br />

the system is simplified by using the rainwater chain<br />

instead of ceramic pipes together with a meticulous<br />

selection of plants. This somewhat, low-tech Bioskin<br />

works together with the plants’ varying behaviors,<br />

and collectively helps adjust, not only the interior<br />

environment of the building but also the outside<br />

temperature of the area as well as the city’s heatisland<br />

phenomenon. Nikken Sekkei have recently used<br />

the Bioskin principles with Thailand’s locally made red<br />

bricks for the Stay Cool Pavilion created and exhibited<br />

as a part of the 2<strong>02</strong>1’s Bangkok Design Week.<br />

An equally popular and important trend in line<br />

with environmentally friendly design is architects’<br />

attempt to bring life to old buildings by dealing with<br />

the existing skins. This process can be witnessed<br />

through Lacaton & Vassal’s approach to old building<br />

refurbishments, particularly with their Transform series.<br />

The refurbishment of over 500-year-old residential<br />

structures from the 1960s have been made by adding<br />

balcony units to the buildings’ original exterior<br />

surfaces. It has become a monumental turning point<br />

for the long-standing discussions surrounding the<br />

shell/core discourse. The shell, as an element that<br />

has been looked down upon (from time to time) in the<br />

world of newly constructed buildings, gets turned<br />

upside down with old buildings where the limitation<br />

of usable spaces is a highly crucial factor.<br />

In a world where definitions keep changing, the kind<br />

of skin people look for is perhaps not an element with<br />

fixed visuals and symbolic implications, but rather,<br />

as a flexible aspect with the ability to simultaneously<br />

work and interact with the surrounding environment.<br />

At the moment, perhaps the challenge lies not just in<br />

the physical development of individual architectural<br />

skin, but in the search for new possibilities for the 'skin'<br />

to be a part of networks and mechanisms that will<br />

work and interact with spaces and a society on larger<br />

scales, from neighborhoods to urban landscapes and<br />

even on an earth level.<br />

ภรพัสุ ศิริคุรุรัตน์<br />

อาจารย์ประจำาคณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

และ สถาปนิกร่วมก่อตั้ง<br />

สำานั กงาน bsides ปั จจุ บัน<br />

สนใจเกี่ยวกับกระบวนการ<br />

“ผลิต” ของสถาปั ตยกรรม<br />

และความสัมพันธ์กับสังคม-<br />

ทรัพยากรแวดล้อม<br />

Pornpas Siricururatana<br />

is a lecturer at the<br />

Faculty of Architecture,<br />

Kasetsart University<br />

and co-founder of bsides.<br />

Currently, her interests<br />

lay particularly in the<br />

process of architectural<br />

production and its<br />

mechanism concerning<br />

the societal condition<br />

and its surrounding<br />

resources.


70<br />

theme / review<br />

Breathing<br />

In<br />

Breathing<br />

Out<br />

In this Buddhist meditation retreat, DECA Atelier has not only masterfully<br />

introduced natural ventilation to the building but also created a<br />

visually distinctive design with openings and enclosures of varying<br />

sizes and patterns.They have skilfully achieved this by using ventilation<br />

blocks specifically designed and manufactured for the project.<br />

Text: Phornnipa Wongprawmas<br />

Photo: Ketsiree Wongwan except as noted


71<br />

1<br />

01<br />

ผนังภายนอกที่เป็น<br />

เปลือกห่อหุ้มอาคาร


้<br />

่<br />

72<br />

theme / review<br />

“คงจะเป็นเรื่องยากที่จะเข้าใจ ความเป็นไปของ<br />

สถาปัตยกรรมทั้งหมด หากมองแค่รูปแบบ<br />

และรูปทรงของผนังภายนอกที่เป็นเปลือก โดย<br />

ละเลยหรือเพิกเฉยต่อเรื่องราวที่หลากหลาย<br />

ของทุกชีวิตที่เคลื่อนไหวอยู่ภายใต้หรือด้านใน<br />

ของเปลือกที่ห่อหุ้มนี้” เมื่อ คุณสมชาย จงแสง<br />

สถาปนิกจากสตูดิโอ DECA ATELIER เริ่มกล่าว<br />

ถึงงานออกแบบ อาคารธรรมาศรม ที่เสถียร-<br />

ธรรมสถาน ซึ่งมีจุดเริ่มต้นจากเจตนารมย์ที่<br />

ต้องการจะสร้างอาคารแห่งนี้เพื่อเป็นสถานที่<br />

สำาหรับฟื้นฟูและเยียวยาสำาหรับบุคคลทั่วไป<br />

ที่มีความรู้สึกป่วยทางจิตใจ และเป็นที่พักอาศัย<br />

สำาหรับผู้มาทำากิจกรรมในโครงการ มีวัตถุ-<br />

ประสงค์ในการใช้ “ธรรมชาติบำาบัด” เพื่อบำาบัด<br />

จิตใจสำาหรับทุกช่วงวัย เริ่มตั้งแต่ผู้ที่ยังอยู่ใน<br />

ครรภ์ของมารดา ปฐมวัย มัชฌิมวัย และปัจฉิม<br />

วัย โดยมีกิจกรรมที่หลากหลายเพื่อสร้างเป็น<br />

ชุมชนแห่งการเรียนรู้<br />

แนวความคิดหลักในการออกแบบอาคาร คือ<br />

“สุขง่าย ใช้น้อย” เป็นการออกแบบสถาปัตย-<br />

กรรมเพื่อสร้างพื้นที่สำ าหรับบุคคลหลากหลาย<br />

วัยได้อยู่อาศัยร่วมกัน โดยมุ่งเน้นให้เป็นอาคาร<br />

ที่ประหยัดและไม่ฟุ่มเฟือยพลังงาน และการ<br />

อยู่อาศัยอย่างเคารพธรรมชาติ แนวความคิด<br />

เหล่านี้ได้ถูกถ่ายทอดด้วยการสร้างสรรค์การ<br />

จัดวางพื้นที่ภายใน และการสื่อสารผ่านภาษา<br />

และวัสดุของผิวเปลือกอาคารภายนอก (Façade)<br />

ที่เป็นจุดเด่นและสร้างอัตลักษณ์ให้กับสถา-<br />

ปัตยกรรมแห่งนี้<br />

“ผนังภายนอก คือ เปลือกที่ห่อหุ้มอาคารเพื่อ<br />

ป้องกันแสงแดดและความร้อนไม่ให้เข้าถึงพื้นที่<br />

ภายใน แต่ในเวลาเดียวกันทำาหน้าที่ทั้งถ่ายเท<br />

อากาศและระบายความร้อนเพื่อความสบายให้<br />

ผู้อยู่อาศัยภายในอาคาร ด้วยงานออกแบบที่มี<br />

ลักษณะโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ การออกแบบ<br />

ให้เปลือกของอาคารมีทั ้งส่วนปิดทึบและเปิดโล่ง<br />

มีความหลากหลายทั้งขนาดและลวดลายของ<br />

ซีเมนต์บล็อกช่องลมที่ออกแบบและผลิตมา<br />

เป็นการเฉพาะให้กับอาคาร ธรรมาศรม”<br />

ผิวเปลือกอาคารจากซีเมนต์บล็อกช่องลมที่สั่ง<br />

ทำาเฉพาะ ได้รับความร่วมมือจากศิลปินรับเชิญ<br />

อีก 7 ท่าน อย่าง จรูญ อังศวานนท์ ปฐมา<br />

หรุ ่นรักษ์วิทย์ วศินบุรี สุพานิชวรภาชน์ ไพโรจน์<br />

ธีระประภา กรกต อารมณ์ดี ศรัณญ อยู ่คงดี<br />

และศรุตา เกียรติภาคภูมิ ที่มาร่วมออกแบบ<br />

แต่ละลวดลายให้แตกต่างกันตามแต่การตีความ<br />

และเจตนาในการสื่อสารของศิลปินท่านนั้นๆ นำา<br />

เข้าสู่กระบวนการเทคนิคขึ้นรูปใหม่จากบล็อก<br />

เหล็กไปสู่การผลิตออกมาเป็นชิ้นงาน และความ<br />

จงใจปลดปล่อยให้วัสดุเป็นอิสระเพื่อแสดงสีสัน<br />

ที่เป็นสัจจะของตัววัสดุเอง โดยมวลรวมทั้งหมด<br />

ของผิวเปลือกอาคารได้ถูกจัดสรรด้วยรูปทรง<br />

เรขาคณิตเพื่อสร้างการรับรู้และสัมผัสทาง<br />

ความคิดด้วยหลักคณิตศาสตร์ ที่ก่อเรียงตัว<br />

กันสำาหรับเป็นผนังรับน้ำาหนักและยึดโยงกับ<br />

โครงสร้างของอาคาร รวมถึงอีกหน้าที่สำาคัญ<br />

ของผนังซีเมนต์บล็อกช่องลมที ่มีต่ออาคารแห่งนี<br />

คือ ช่วยในการพรางสายตาจากสภาพแวดล้อม<br />

ภายนอกเพื่อสร้างความเป็นส่วนตัวให้กับผู้ใช้<br />

พื้นที่ภายใน<br />

การจัดวางพื้นที่ภายในอาคารได้ถูกจัดสรร<br />

สำาหรับกิจกรรมและการใช้ประโยชน์ที่หลาก-<br />

หลาย โดยพื้นที่ชั้น 1 ถูกใช้เป็นพื้นที่ทำาสปา<br />

เกลือ นวดแผนไทย และที่รับประทานอาหาร<br />

ของนักปฏิบัติ พื้นที่ชั้น 2-4 เป็นส่วนที่พัก<br />

สำาหรับผู้มาเยือน ชั้น 5 ถูกใช้เป็นพื้นที่ฝึกหัด<br />

ภาวนา พื้นที่จัดนิทรรศการ และพื้นที่จัดกิจ-<br />

กรรมอาสา ส่วนสุดท้ายคือพื ้นที ่ดาดฟ้าถูกใช้<br />

สำาหรับทำาโซล่าร์ฟาร์ม และมีพื้นที่บางส่วนที่<br />

เคยเตรียมไว้สำาหรับสวนสมุนไพรและพืชผัก<br />

สวนครัวที่กำาลังอยู่ในช่วงวางแผนพัฒนาการ<br />

ใช้ประโยชน์พื้นที่สำาหรับกิจกรรมอื่นๆ<br />

ส่วนของห้องพักภายในอาคารสำาหรับผู้มา<br />

ปฏิบัติธรรมหรือผู้มาทำากิจกรรมในโครงการ<br />

สถาปนิกได้ใช้แนวความคิดการออกแบบตาม<br />

ลักษณะช่วงวัยของผู้ใช้พื้นที่ จึงมีการจัดวางผัง<br />

และการตกแต่งภายในห้องพักที่สะท้อนต่อ<br />

รูปลักษณะของผู ้ใช้พื ้นที ่ตั ้งแต่ปฐมวัย มัชฌิมวัย<br />

และปัจฉิมวัย และมุ่งเน้นประโยชน์ใช้สอย<br />

ขั้นพื้นฐานที่จำาเป็นต่อการใช้ชีวิตประจำาวัน<br />

โดยได้รับความร่วมมือจากนักออกแบบอีก 3<br />

ท่าน คือ บริษัท ไตรโหมด ดีไซน์ จำากัด โดย<br />

คุณชินภานุ อธิชาธนบดี ออกแบบตกแต่งห้อง<br />

พักปฐมวัย อีฟ-อิท-อิส โดยคุณนุดี กีรติยะ<br />

อังกูร และคุณรัตนนันท์ กิติวัฒน์ ออกแบบ<br />

ตกแต่งห้องพักมัชฌิมวัย และคุณไชยรัตน์<br />

ณ บางช้าง ออกแบบตกแต่งห้องพักปัจฉิมวัย<br />

เนื่องจากการจัดวางผังภายในอาคารเป็นแบบ<br />

โถงทางเดินด้านเดียว จึงทำาให้ทุกห้องพักมี<br />

การเปิดผนังเป็นช่องแสงหน้าต่างตั้งแต่พื้นจรด<br />

ฝ้าเพดานจำานวนหนึ่งด้านเพื่อเชื่อมออกไปสู่<br />

ไปพื้นที่ระเบียงที่ถูกปกคลุมด้วยซีเมนต์บล็อก<br />

ช่องลมอีกหนึ่งชั้น ทำาให้ผู้ใช้พื้นที่ภายในได้ใช้<br />

ประโยชน์จากผนังซีเมนต์บล็อกช่องลมในทุก<br />

ช่วงเวลาของกิจวัตรประจำาวัน เช่น การเปิด<br />

รับทิศทางลมเพื่อช่วยหมุนเวียนสภาพอากาศ<br />

ภายในห้องพัก การเปิดรับแสงแดดที่ลอดผ่าน<br />

ผนังซีเมนต์บล็อกช่องลม อีกทั้งยังช่วยกรอง<br />

อุณหภูมิร้อนจากภายนอกอาคาร รวมถึงการ<br />

ช่วยพรางกิจกรรมบางอย่างของผู้อยู่อาศัยจาก<br />

สายตาภายนอก เช่น การซักผ้า การตากผ้า<br />

ทำาให้ผู้ใช้พื้นที่ภายในเกิดความรู้สึกสงบและมี<br />

ความเป็นส่วนตัว อยู่อาศัยได้ไม่ต้องใช้เครื่อง<br />

ปรับอากาศ และใช้แสงสว่างจากไฟฟ้าในช่วง<br />

เวลาที่จำาเป็น สิ่งเหล่านี้เป็นการตอบสนองต่อ<br />

เจตนารมย์ที่เป็นแนวความคิดหลักของโครงการ<br />

เนื่องจากตัวอาคารมีขนาดใหญ่และแผ่ออกทาง<br />

ด้านยาว สถาปนิกได้เลือกใช้ ปริมาตรของที่<br />

ว่าง ในการกำาหนดทิศทางและการจัดการต่อ<br />

สภาพแวดล้อมภายในอาคาร โดยการเปิด<br />

ช่องว่างภายในอาคารทั้งในแนวตั้งและแนว<br />

นอน ซึ่งมีนัยยะทั้งการเป็นช่องแสงเพื่อให้แสง<br />

สว่างสามารถส่องเข้าถึงพื้นที่ภายใน และนัยยะ<br />

ของการเป็นช่องลมเพื่อการไหลเวียนอากาศ<br />

ภายในอาคาร รวมถึงการใช้เส้นสายลายโค้ง<br />

บนผิวเปลือกอาคารเพื่อเปิดช่องว่างและสร้าง<br />

ความกลมกลืนกับพืชพรรณที ่มีอยู ่เดิมในพื ้นที<br />

ทำาให้พื้นที่ภายในอาคารมีสภาวะที่อยู่สบาย<br />

โดยพึ่งพาพลังงานไฟฟ้าเท่าที่จำ าเป็น เป็นการ<br />

เชื่อมโยงและอยู่ร่วมกันระหว่างสภาพแวดล้อม<br />

ภายในกับภายนอกอาคาร ซึ่งเป็นการสอดรับ<br />

กับแนวความคิดในการประหยัดและไม่ฟุ่มเฟือย<br />

พลังงาน และการอยู่อาศัยอย่างเคารพธรรมชาติ<br />

ด้วยเจตนาของสถาปนิกที่หยิบยกและเลือกใช้<br />

ซีเมนต์บล็อกช่องลมอันเป็นวัสดุที่ดูคุ้นชินมานำ า<br />

เสนอในมิติของขนบประเพณีแบบใหม่ เป็นการ<br />

สร้างสรรค์วิธีการใช้ประโยชน์เพื่อปกปิดที่ไม่<br />

มากเกินจนเป็นการบดบัง และการใช้ประโยชน์<br />

จากที่ว่างเพื่อเปิดเผยอย่างไม่โจ่งแจ้ง รูปทรง<br />

ภายนอกที่ถูกแทนค่าและความหมายจากชีวิต<br />

ที ่อยู ่ภายในและการเคลื ่อนไหวตามสิ ่งที ่ห่อหุ ้ม<br />

กลายเป็นภาษาที่ตัวสถาปัตยกรรมนำาไปใช้ใน<br />

การสนทนากับสภาพแวดล้อม ทำาให้อาคาร<br />

ธรรมาศรมได้ทำาหน้าที่มากกว่าการเป็นที่อยู่<br />

อาศัย และผิวเปลือกอาคารได้ทำ าหน้าที่มากกว่า<br />

การห่อหุ ้มเพียงเพื ่อสร้างสุนทรีย์และความงาม


BREATHING IN BREATHING OUT<br />

73<br />

2<br />

3<br />

The design materializes these ideas into the allocated interior<br />

spaces, including the facade, which brings meaningful visuals and<br />

identity to the building through its humble architectural language<br />

and simplistic materiality.<br />

<strong>02</strong><br />

ภาพร่างรูปตัดของ<br />

ผิวเปลือกอาคาร<br />

03-04<br />

ผิวเปลือกอาคารที่ถูก<br />

จัดสรรด้วยรูปทรง<br />

เรขาคณิต<br />

4


5<br />

74<br />

review


BREATHING IN BREATHING OUT<br />

75<br />

05<br />

ช่องแสงจากผิวเปลือก<br />

อาคารที่กระทบจนเกิด<br />

แสง-เงาบนผืนผนังภายใน<br />

06<br />

ภาพร่างแบบแนวความ<br />

คิดการใช้ที่ว่างเพื่อจัดการ<br />

สภาพแวดล้อมภายใน<br />

อาคาร<br />

6<br />

“You can’t understand the whole design process<br />

and the making of architecture merely by looking<br />

at its style or its appearances, without understanding<br />

all those diverse stories and lives existing<br />

underneath those shells.’’ Somchai Jongsaeng,<br />

the principal architect and founder of DECA<br />

ATELIER, starts off our conversation about the<br />

design of the Dharmasharam Building at Sathira<br />

Dhammasathan Meditation Center. The project<br />

originated from an intention to create a facility<br />

that can provide rehabilitation and treatments<br />

for individuals who are mentally ill. The building<br />

also accommodates visitors who partake in the<br />

activities organized by the center. The program’s<br />

purpose includes the use of natural therapy,<br />

serving the role as a key to the rehabilitation for<br />

people from all age groups. Starting from those<br />

who are still in their mother’s womb, to children,<br />

adults, and senior individuals with a variety of<br />

programs developed to help nurture and create<br />

a community of knowledge.<br />

The concept ‘simple happiness, minimized demands’<br />

is translated into the architectural design<br />

that creates a space for people of all ages to share.<br />

The architect aimed to design an economical and<br />

energy-saving building with the highest respect<br />

for nature. The design materializes these ideas<br />

into the allocated interior spaces, including the<br />

facade, which brings meaningful visuals and<br />

identity to the building through its humble architectural<br />

language and simplistic materiality.<br />

“The façade is the shell that envelops the building<br />

to prevent excessive sun rays and heat from<br />

coming into the interior spaces. At the same time,<br />

it helps ventilate natural air and heat, creating<br />

thermal comfort for building users. The building’s<br />

enclosures are also designed to be both enclosed<br />

and open. By using perforated cement blocks<br />

specifically designed and manufactured for the<br />

Dharmasharam building, we have been able to<br />

create a visually distinctive design, which consists<br />

of openings and enclosures of varying sizes and<br />

patterns.”


7<br />

76


77<br />

07<br />

การเปิดช่องว่าง<br />

ที่ผิวเปลือกอาคารเพื่อ<br />

สอดรับกับพืชพรรณเดิม<br />

ที่มีอยู่ในพื้นที่


78<br />

theme / review<br />

8


BREATHING IN BREATHING OUT<br />

79<br />

The cement block façade is the result of a collective<br />

contribution of seven artists and architects<br />

(Charun Angsawanon, Patama Roonrakwit,<br />

Wasinburee Supanichvoraparch, Pairoj Teeraprapa,<br />

Korakot Aromdee, Sarran Youkongdee, and Saruta<br />

Kiatparkpoom), who each designed a pattern from<br />

their interpretation and artistic intent. Using steel<br />

molds to produce concrete blocks in the designed<br />

patterns, the architect created the facade with<br />

unique masonry details where the material reveals<br />

its true physical nature. The overall mass of the<br />

façade is made up of geometric forms, rendering<br />

a sensory perception that is more mathematical<br />

and systematic. The blocks are arranged and<br />

constructed with the additional functionality of<br />

a weight-bearing wall, joined together to support<br />

the building’s main structure. The cement blocks<br />

also obstruct the interior functional space from<br />

outside visual access, providing users with greater<br />

privacy.<br />

The interior spaces are purposefully allocated<br />

to accommodate different activities and uses.<br />

The first-floor area houses a salt spa and Thai<br />

massage facilities as well as a dining area for<br />

visitors participating in the center’s programs and<br />

activities. The accommodation units for overnight<br />

visitors occupy the space on the 2 nd -4 th floor<br />

while the meditation area; exhibition room and the<br />

space for hosting volunteering activities take over<br />

the 5 th floor. The last part of the program is the<br />

outdoor rooftop, with parts of the area preserved<br />

for herbal and kitchen gardening with an ongoing<br />

consideration for future uses.<br />

08<br />

ผังพื้นชั้น 1-5<br />

และชั้นดาดฟ้า<br />

09<br />

อีกบรรยากาศ<br />

รูปแบบห้องพัก โดย<br />

คุณสมชาย จงแสง<br />

Photo courtesy of Deca Atelier<br />

9


80<br />

theme / review<br />

10<br />

10<br />

บรรยากาศโถงทางเดิน<br />

ภายในอาคารที่เกิดจาก<br />

การเชื่อมโยงกับผิวเปลือก<br />

อาคาร<br />

11<br />

การเปิดช่องว่างที่ผิว<br />

เปลือกอาคาร เพื่อเชื่อม<br />

โยงพื้นที่ภายในกับ<br />

ภายนอกอาคาร<br />

11


BREATHING IN BREATHING OUT<br />

81<br />

The exterior form and the meaning of the lives<br />

moving inside its protective shell represent an<br />

architectural language that converses beautifully<br />

with the surroundings.<br />

Since the building users are from different age<br />

groups with varying physical features and activities<br />

which includes those who come to practice dharma,<br />

the accommodation units are designed to have all<br />

the fundamental functions needed for a person’s<br />

everyday life. Four designers from three design<br />

studios, Shinpanu Athichathanabodi (Trimode<br />

Studio), Nudee Kiratiya-angul, and Rattananan<br />

Kitiwat (IfItIs), and Chairat Na Bangchang, were<br />

asked to design the interior program of the Early<br />

Childhood Room, Middle-Aged Room, and Senior<br />

Room, respectively. Organized around the singleload<br />

corridor, each room has a wall with a floorto-ceiling<br />

opening that partitions the interior space<br />

from the balcony. In the meantime, each terrace<br />

has a screen wall providing natural airflow,<br />

keeping the interior space ventilated while simultaneously<br />

filtering the high outdoor air temperature.<br />

This particular screen wall also prevents<br />

outsiders from visually accessing users’ daily<br />

activities such as washing and hanging clothes,<br />

making the interior space more private and undisturbed.<br />

Exposure to natural ventilation and<br />

sunlight means that each unit needs to use the<br />

air conditioning system and electricity only when<br />

necessary. Everything is designed and constructed<br />

to follow the building’s main objective and core<br />

concept.<br />

The architect utilizes the volume of negative spaces<br />

when determining the direction and management<br />

of the interior environment since the building is<br />

relatively large and wide. The vertical and horizontal<br />

voids serve as openings that bring sunlight<br />

into the interior space while enhancing natural<br />

airflow and internal ventilation. The curvy lines<br />

on the building’s exterior surface create visual<br />

access to existing trees and plants growing in<br />

the area. All these elements contribute to the<br />

building’s thermal comfort, while air conditioning<br />

systems and artificial lights are needed to be<br />

used sparingly. The connection and coexistence<br />

between the interior and exterior environment<br />

correspond with the project’s design concept,<br />

highlighting the importance of energy-saving<br />

methods and respecting nature.<br />

The architect’s intention was to use a material<br />

as standard as cement blocks in a more modern<br />

architectural tradition. The design, as a result,<br />

makes the best use of the material to not create<br />

a complete enclosure and obstruction, but instead<br />

provides a subtle openness, which is made possible<br />

by a masterful manipulation of spaces. The<br />

exterior form and the meaning of the lives moving<br />

inside its protective shell represent an architectural<br />

language that converses beautifully with<br />

the surroundings. It makes the Dharmasharam<br />

Building more than just an accommodation and its<br />

façade is so much more than just an aesthetically<br />

pleasing exterior shell.<br />

facebook.com/DECA-ATELIER-CoLtd-<br />

239603569520172/<br />

พรนิภา วงศ์พราวมาศ<br />

จบการศึกษาจากคณะ<br />

มัณฑนศิ ลป์ สาขาออกแบบ<br />

ตกแต่งภายใน มหาวิทยาลัย<br />

ศิ ลปากร และคณะสถาปั ตย-<br />

กรรมศาสตร์ สาขาสถาปั ตย-<br />

กรรมพื้นถิ ่น มหาวิทยาลัย<br />

ศิ ลปากร ปั จจุ บันประกอบ<br />

อาชีพมัณฑนากรที่บริษัท Madi<br />

Collaborative และมีความ<br />

สนใจในด้านสถาปั ตยกรรม<br />

ชุมชน<br />

Phornnipa Wongprawmas<br />

earned her bachelor’s<br />

degree in interior design,<br />

and master’s degree in<br />

vernacular architecture<br />

from Silpakorn University.<br />

She is currently an interior<br />

designer at Madi Collaborative<br />

and has an interest in<br />

community architecture.<br />

Project: Dharmasharam Client: Sathira Dhammasathan Location: Vacharaphol Road, Bangkok Building Area: 4,800 sq.m. Completion: 2017<br />

Architect: Deca Atelier Lead Designer: Somchai Jongsaeng Structural Engineer: R.K.V. / Darin Nopnirapath System Engineer: Degree System /<br />

Petch Panyangam Landscape Architect: Shma / Prapan Napawongdee Guest Designers for ventilation blocks: Charun Angsawanon, Somchai Jongsaeng,<br />

Patama Roonrakwit, Wasinburee Supanichvoraparch, Pairoj Teeraprapa, Korakot Aromdee, Sarran Youkongdee, Saruta Kiatparkpoom Guest Designers<br />

for guestrooms: Chairat Na Bangchang, Deca Atelier / Somchai Jongsaeng, Trimode Studio / Shinpanu Athichathanabodi IfItIs / Nudee Kiratiya-angul &<br />

Rattananan Kitiwat Materials / Suppliers: Exterior & interior paint - See Jorakay


82<br />

theme / review<br />

Even<br />

a<br />

Brick<br />

Wants<br />

To Be<br />

Something<br />

In this project, a modest<br />

material like a bricks are<br />

presented as a universal<br />

design language, meticulously<br />

uttered to express AUAA’s<br />

cultural legacy, connections,<br />

and sentiments it has<br />

formed with Thai people<br />

over the years.<br />

Text: Kullaphut Seneevong Na Ayudhaya<br />

Photo: Wideopen Studio 1


83<br />

2<br />

01<br />

ซุ้งโค้งทางเข้าอาคาร<br />

<strong>02</strong><br />

มุมมองภายนอกด้านหน้า<br />

อาคาร


84<br />

theme / review<br />

3<br />

เมื่อไม่นานมานี้ อาคารสมาคมนักเรียนเก่า<br />

ไทย-สหรัฐอเมริกา ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้<br />

ถูกก่อสร้างขึ้นริมถนนราชดำาริ ด้วยความโดด<br />

เด่นทางสถาปัตยกรรม การเลือกใช้วัสดุและ<br />

รูปทรงเรขาคณิตที่น่าสนใจ ส่งผลให้อาคาร<br />

หลังนี้กลายเป็นอาคารกึ่งสาธารณะหลังสำาคัญ<br />

กลางพื้นที่ทำาเลทองของย่านพาณิชยกรรม<br />

ซึ่งแวดล้อมไปด้วยคอนโดมิเนียม ตึกสูงระฟ้า<br />

สนามม้า และสวนสาธารณะขนาดใหญ่ โจทย์<br />

ใหญ่ที่สำาคัญนี้ เป็นความท้าทายที่สำาคัญยิ่ง<br />

ซึ่งทีมผู้ออกแบบจาก EAST Architects ต้อง<br />

พัฒนาโครงการภายใต้ข้อจำากัดนานัปการ<br />

เพื่อให้ได้สถาปัตยกรรมที่รองรับตามความ<br />

ต้องการของสมาคม ในการเป็นอาคารสำาหรับ<br />

รองรับกิจกรรมต่างๆของโรงเรียนสอนภาษา<br />

ที่เปิดดำาเนินการมากว่า 69 ปี สถาปัตยกรรม<br />

แห่งใหม่นี้จึงต้องบรรจุเอาความทรงจำา ความ<br />

ผูกพันที่มีต่อสถาบันแห่งนี้เข้าไว้ด้วยกัน<br />

โครงการนี้ผ่านระยะเวลาการพัฒนา ออกแบบ<br />

และก่อสร้างมาร่วม 10 ปี เป็นสิบปีที่ทีม<br />

ผู้ออกแบบได้เสนอแนวทางการออกแบบ<br />

ต่อตัวสถาปัตยกรรมหลายทางเลือก ไม่ว่าจะ<br />

ในรูปแบบของคอนกรีตเสริมเหล็ก กระจก ฯลฯ<br />

จนคณะกรรมการตัดสินใจใช้อิฐเป็นวัสดุ<br />

ก่อสร้างหลักของตัวอาคารในที่สุด ซึ่งอิฐเป็น<br />

วัสดุที่มีความสำาคัญทั้งในเชิงการออกแบบและ<br />

มีนัยยะทางวัฒนธรรม เนื่องจากอิฐถูกใช้ใน<br />

การก่อสร้างสถาปัตยกรรมพื้นฐานซึ่งปรากฏ<br />

ผ่านงานสถาปัตยกรรมไทยประเพณี และ<br />

งานสถาปัตยกรรมร่วมสมัยในบริบทสากล<br />

เป็นวัสดุที่เชื่อมโยงความเป็นตะวันออกและ<br />

ความเป็นตะวันตกเข้าด้วยกัน ในมิตินี้อิฐจึง<br />

ทำาหน้าที่เป็นภาษาสื่อกลางที่ผู้ออกแบบ<br />

เลือกนำามาใช้เชื่อมโยงมรดกทางวัฒนธรรม<br />

ประสานความรู้สึกของผู้ใช้สถาปัตยกรรม<br />

ภายใต้ร่มสำาคัญคืออาคารของสมาคม<br />

“เราออกแบบตั้งแต่การวางผังแม่บท (Master<br />

Plan) ไปจนถึงการออกแบบสถาปัตยกรรม<br />

และการตกแต่งภายใน ซึ่งเป็นเรื่องที่ยากและ<br />

ท้าทายมากในการสร้างความสมดุลระหว่าง<br />

ความเป็นอาคารกึ่งสาธารณะกับความเป็น<br />

ส่วนตัว (Privacy) ที่ต้องรักษาเอาไว้ภายใน<br />

โครงการ ดังนั้นในมิตินี้อิฐจึงถูกนำามาใช้<br />

เพราะการใช้อิฐก่อสามารถสร้างรูปแบบของ<br />

ช่องเปิดในส่วนที่เราต้องการ ในขณะเดียวกัน<br />

ช่วยสร้างการปิดล้อมในส่วนที่เราต้องการ<br />

สร้างพื้นที่ปิดล้อม (Courtyard) ในพื้นที่<br />

ภายใน” ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พิรัส พัชรเศวต<br />

และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สยาณี วิโรจน์รัตน์<br />

สถาปนิกจาก EAST Architects ผู้ออกแบบ<br />

สำาคัญในทีมได้ให้ความเห็นต่อลักษณะสำาคัญ<br />

ของสมดุลระหว่าง ความเป็นสาธารณะและ<br />

ความเป็นส่วนซึ่งเป็นนัยยะที่สำาคัญของงาน<br />

ออกแบบโครงการนี้


EVEN A BRICK WANTS TO BE SOMETHING<br />

85<br />

สิ่งที่สำาคัญของอาคารคือลำาดับของการเข้าถึง<br />

พื้นที่ (Sequence) ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงการ<br />

เข้าถึงตั้งแต่ในส่วนแรกของการเข้าถึงอาคาร<br />

ผ่านรูปแบบของซุ้มโค้งขนาดใหญ่ (Arch)<br />

ที่ทำาหน้าที่เชื้อเชิญระหว่างพื้นที่ภายนอกจาก<br />

ทางเข้าติดถนนราชดำาริ เข้ามาสู่พื้นที่ภายใน<br />

อาคาร ในส่วนนี้ทีมออกแบบได้พัฒนารูปแบบ<br />

จนสรุปได้ว่าเป็นการใช้ซุ้มโค้ง ซึ่งเป็นองค์<br />

ประกอบอาคารที่สร้างความโดดเด่น ไปพร้อม<br />

กับการสร้างความดึงดูดให้กับตัวอาคารไป<br />

พร้อมกัน ถัดมาจากซุ้มโค้งของตัวอาคารคือ<br />

บันไดกว้างที่นำาเข้าไปสู่ส่วนโถงขนาดใหญ่ที่<br />

มีการระบายความร้อนแบบ Passive ในจุดนี้<br />

เองทีมผู้ออกแบบได้ใช้เทคนิคของการถ่ายเท<br />

ความร้อนภายในอาคาร ‘Natural Ventilation’<br />

เพื่อสร้างสภาวะน่าสบายให้เกิดขึ้นในอาคาร<br />

ทุกส่วน เนื่องจากตามเป้าประสงค์ของการเป็น<br />

อาคารกึ่งสาธารณะจำาเป็นต้องคิดในเชิงการ<br />

ดูแลรักษาอาคาร ซึ่งไม่สามารถติดเครื่องปรับ<br />

อากาศทั้งอาคารได้ การออกแบบที่อาศัยการ<br />

ระบายความร้อนโดยธรรมชาติจึงเป็นหัวใจ<br />

สำาคัญของการออกแบบ ตัวอาคารมีทั้งหมด<br />

7 ชั้น มีส่วนจอดรถใต้ดินแบบ Smart Parking<br />

2 ชั้น และพื้นที่ดาดฟ้า มีพื้นที่ของโรงเรียน<br />

สอนภาษา พื้นที่สำานักงาน พื้นที่ของสมาคม<br />

ศิษย์เก่า AUA พื้นที่ให้เช่า และส่วนหอประชุม<br />

ขนาด 220 ที่นั่ง<br />

“นอกจากนี้การเลือกใช้อิฐยังตอบสนองต่อ<br />

ข้อจำากัดในเรื่องของงบประมาณ และระยะ<br />

เวลาในการก่อสร้างอีกด้วย ซึ่งเราได้พัฒนา<br />

เป็นงานวิจัยในรูปแบบของการก่อสร้าง”<br />

ทีมผู้ออกแบบได้อธิบายถึงการเรียนรู้ ระหว่าง<br />

การพัฒนาโครงการ ด้วยความที่ทั้งสองท่าน<br />

เป็นอาจารย์ภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย จึงได้ใช้โครงการนี้เป็นเครื่องมือ<br />

ในการเรียนรู้ การทดลองวัสดุและโครงสร้าง<br />

ทางสถาปัตยกรรม ซึ่งในตัวโครงการได้สร้าง<br />

รูปแบบของการก่ออิฐทั้งภายนอกและภายใน<br />

ทั้งหมด 16 รูปแบบ (จาก 50 รูปแบบที่ทีม<br />

ผู้ออกแบบเลือกมา) ซึ่งรูปแบบเหล่านี้นำามา<br />

ซึ่งการสร้างการระบายอากาศในแต่ละส่วน<br />

ไปพร้อมกับการสร้างเอกลักษณ์ของช่องเปิด<br />

และรูปแบบของรูปด้านอาคาร ซึ่งมีความแตก<br />

ต่างกันทั้ง 4 ด้านของอาคาร<br />

อย่างไรก็ตามในการออกแบบ ผู้ออกแบบได้<br />

พัฒนาถึงรูปแบบของการก่อสร้างด้วยเพื่อ<br />

ให้ทันกับกรอบระยะเวลาของการก่อสร้าง<br />

ภายใน 2 ปี จึงใช้การออกแบบด้วยระบบ<br />

ประสานทางพิกัด (Modular Coordination)<br />

และแทนที่จะต้องเรียงก่ออิฐทีละก้อน<br />

เปลี่ยนมาพัฒนารูปแบบการก่อสร้างแบบ<br />

กึ่ง Pre cast แบบเดียวกับหลักการก่อสร้าง<br />

Curtain Wall ประกับส่วนอิฐเอาไว้เป็นชุดๆ<br />

ภายใต้ระบบกริตเสา 6 เมตร แนวอิฐทั้งหมด<br />

จะลงตัวที่ 60 เซนติเมตร โดยโครงสร้างของ<br />

อาคารจริงคือคอนกรีตเสริมเหล็กที่ยึดเข้ากับ<br />

คานเหล็ก และใช้เหล็กฉาก 3 นิ้วยึดแนวอิฐ<br />

ด้วยตัวประสานที่เพิ่มความแข็งแรงด้วยปูน<br />

มอร์ตาร์ชนิดพิเศษ ความพิเศษของการผสม<br />

ผสานรูปแบบการก่อสร้างนี้ส่งผลให้โครงการ<br />

สามารถเรียงอิฐ 1.7 ล้านก้อนได้ทันเวลา<br />

เป็นระเบียบได้มาตรฐาน ตอบสนองความ<br />

ต้องการของทีมผู้ออกแบบในการแสดงให้เห็น<br />

ถึงสัจจะของวัสดุไม่ว่าจะเป็นอิฐ เหล็ก หรือ<br />

คอนกรีตเสริมเหล็ก<br />

การให้ความสำาคัญต่อการสร้างการรับรู้<br />

ระหว่างพื้นที่ กับเวลา เป็นสิ่งที่ผู้ใช้อาคาร<br />

สามารถสัมผัสได้ผ่านการเข้าใช้งานภายใน<br />

พื้นที่อาคาร ด้วยการออกแบบที่เน้นการ<br />

ระบายอากาศด้วยวิธีธรรมชาติ ตามแนวทาง<br />

ของสถาปัตยกรรมเขตร้อน ตัวอาคารจึงเน้น<br />

สร้างให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างพื้นที่ต่อพื้นที่<br />

โดยเฉพาะส่วนบันไดขนาดใหญ่สีดำาที่กำาหนด<br />

ให้เป็นพื้นที่เชื่อมต่อระหว่างชั้น ด้วยลูกนอน<br />

ที่กว้างของสะพานที่ทอดยาวชิดติดกับผนังอิฐ<br />

ซึ่งผ่านการเว้นร่องตามรูปแบบที่ได้กล่าวไป<br />

ส่งผลให้พื้นที่บันไดเป็นหนึ่งในพื้นที่เชื่อมต่อที่<br />

สร้างการรับรู้ของเวลา ที่เปลี่ยนแปลงตามช่วง<br />

ระยะเวลา เราจะพบความโดดเด่นที่สำาคัญของ<br />

สภาวะนี้ในอีกส่วนที่เป็นช่องเปิดรูปทรงกลม<br />

ขนาดใหญ่ของพื้นที่ด้านหน้าชั้น 5 จุดเดียว<br />

กับที่มองมาจากภายนอกจะเห็นเป็นวงกลม<br />

ด้านบนของตัวอาคาร พื้นที่ส่วนนี้กลายเป็น<br />

เอกลักษณ์ที่สำาคัญของการสร้างการรับรู้ให้<br />

กับพื้นที่ระหว่างช่วงเวลาที่ทีมผู้ออกแบบตั้งใจ<br />

ให้แสงแดดจากภายนอกล้วงเข้ามาสัมผัสกับ<br />

พื้นที่ภายใน<br />

“เมื่อคุณได้เริ่มสนทนากับวัสดุก่อสร้างของ<br />

คุณ คุณถามอิฐว่าคุณต้องการอะไร อิฐบอก<br />

กับคุณว่า “ฉันชอบซุ้มโค้ง” หลุยส์ ไอ คาห์น<br />

สถาปนิกอเมริกัน เคยกล่าวบทสนทนานี้กับ<br />

ลูกศิษย์ของตน เพื่อเน้นย้ำาว่าแม้แต่วัสดุ<br />

ก่อสร้างก็มีความต้องการของตน และอย่าได้<br />

ละเลยถึงความรู้สึกที่วัสดุมีต่อสถาปัตยกรรม<br />

เอง ในเชิงปรัชญา มนุษย์ต้องการความมั่นคง<br />

ปลอดภัยสูง เมื่อมนุษย์ได้สร้างสิ่งก่อสร้าง<br />

ของเขา ความประทับใจแรกที่มนุษย์ต้องการ<br />

คือความปลอดภัย มนุษย์เข้าไปอยู่ในถ้ำา<br />

เพื่อความปลอดภัย ดังนั้นแม้ว่าจะเป็นอาคาร<br />

กึ่งสาธารณะแต่สิ่งที่จำาเป็นต้องคำานึงถึงคือการ<br />

สร้างประสิทธิภาพของการปกป้องไปพร้อม<br />

กับการออกแบบท่วงทำานองของการเชื้อเชิญ<br />

สภาพแวดล้อมภายนอกเข้ามา อันเป็น<br />

คุณสมบัติที่สถาปัตยกรรมพึงมี ซึ่งทีมผู้<br />

ออกแบบได้แสดงให้เห็นถึงความสำาคัญของ<br />

การสร้างสภาวะกึ่งไร้กาลเวลาฉายสะท้อน<br />

ผ่านวัสดุเชิงสัจจะนิยมอย่างอิฐ ปรากฏบน<br />

สถาปัตยกรรมกลางย่านราชดำาริ<br />

03<br />

ทัศนียภาพภายนอกจาก<br />

มุมมองฝั่งถนนราชดำาริ


86<br />

04<br />

ผนังอาคารภายใน มี<br />

รายละเอียดของรูปแบบ<br />

การเรียงอิฐ และช่องเปิด<br />

ที่หลากหลาย


87<br />

4


88<br />

theme / review<br />

5<br />

05<br />

ภาพ isometric รูปแบบ<br />

การเรียงอิฐและช่องเปิด<br />

ในแต่ละส่วนของผนังอาคาร<br />

Recently, the American University Alumni Association<br />

under the Royal Patronage finally completed the<br />

construction of its new home. Sited on Ratchadamri<br />

Road, the new AUAA Building reveals its distinctive<br />

architectural attributes and intriguing details of materials<br />

and geometric form. The semi-public building<br />

stands in its full glory in Bangkok’s most upscale<br />

district, surrounded by expensive condominium<br />

projects, high-rise office buildings, and large-scale<br />

public parks. These qualities and factors become<br />

both the homework and challenge for the design<br />

team of EAST Architects. The design development<br />

needs to tackle a handful of limitations to deliver<br />

the architectural design that fulfills AUAA’s requirements,<br />

including the program that accommodates<br />

different activities of the language school and its 69<br />

years of continual operations. The new building is<br />

a chronicle of memories and connections between<br />

AUAA and everyone.<br />

The project’s development, design, and construction<br />

take over a decade to complete. The design team<br />

proposed several ideas for the architectural design<br />

throughout those ten years, from reinforced concrete<br />

to glass, before the board decided on using<br />

bricks as the principal material. Bricks hold significance<br />

in both the aspect of design and cultural<br />

implications as rudimentary material in traditional<br />

Thai architecture and contemporary architecture<br />

worldwide. It is one of those materials that interconnect<br />

the western and eastern worlds. With this<br />

project, bricks are presented as a universal design<br />

language, meticulously uttered to express AUAA’s<br />

cultural legacy, including the connections and<br />

sentiments the association has formed with people<br />

over the years.<br />

“We handle the master plan, the architectural<br />

design, and interior decoration. It was a complex<br />

and highly challenging task to balance the building’s<br />

semi-public program and the requirements while<br />

still preserving a sense of privacy. Bricks were chosen<br />

because they enabled us to locate the openings<br />

and enclosures in different parts of the program,<br />

such as the interior courtyard. Assistant Professor<br />

Pirast Pacharaswate and Assistant Professor<br />

Sayanee Virochrut, the two architects leading the<br />

design team of EAST Architects, share their views<br />

on facilitating the balance between private and<br />

public- the project’s key concept and starting point<br />

of the design.


EVEN A BRICK WANTS TO BE SOMETHING<br />

89<br />

6<br />

06<br />

พื้นที่โถงชั้นล่าง<br />

07<br />

รูปด้านหน้าและด้านข้าง<br />

The design team selects 16 different<br />

brick patterns, from 50 options, for<br />

exterior and interior compositions.<br />

The varied patterns help to bring<br />

unique characteristics to the building’s<br />

four different-looking elevations.<br />

7


6<br />

90<br />

theme / review<br />

The integrated method is intriguing, for they manage to<br />

successfully construct the building from 1.7 million bricks<br />

in time and at such a high level of organization and<br />

standard.<br />

8<br />

08<br />

ผังพื้นชั้นต่างๆ<br />

09<br />

ช่องเปิดวงกลมขนาด<br />

ใหญ่ส่วนพื้นที่ด้านหน้า<br />

ของชั้น 5<br />

Another essential characteristic of the building<br />

is the spatial sequence. Essentially, it involves<br />

facilitating how the building is accessed. The idea<br />

gets translated into a large-scale arcade that leads<br />

visitors from the Ratchadamri Road entrance into<br />

the building. The arcade’s design was developed to<br />

function as an architectural element that brings both<br />

distinctiveness and visual appeal to the building.<br />

Next to the arcade is the stairway leading to the<br />

large foyer. In this area, passive ventilation is devised<br />

using natural ventilation techniques to bring thermal<br />

comfort to different parts of the program. With the<br />

project being a semi-public building, maintenance is<br />

one of the issues the design prioritizes. The design<br />

employs natural ventilation as the critical element to<br />

avoid the excessive use of air conditioning systems.<br />

The program includes the Smart Parking space<br />

occupying two underground floors, the rooftop area,<br />

the language school, an office space, the space<br />

reserved for the AUA alumni, rental spaces, and the<br />

220-seat auditorium.<br />

“Bricks are chosen, in parts, because they match the<br />

project’s limited budget and construction period.<br />

We developed this project and the entire construction<br />

process as a research project,” explained the<br />

design team about the lessons they learned along<br />

the entirety of the development. With both architects<br />

being professors at the Faculty of Architecture,<br />

Chulalongkorn University, the project became a<br />

learning opportunity to experiment with architectural<br />

structures and materials. The design team selects 16<br />

different brick patterns (from 50 options) for exterior<br />

and interior compositions. The varied patterns help<br />

facilitate natural ventilation in each section, bringing<br />

unique characteristics to the building’s four different-looking<br />

elevations with diverse patterns and<br />

configurations of the openings.


EVEN A BRICK WANTS TO BE SOMETHING<br />

91<br />

9


92<br />

theme / review<br />

10<br />

บรรยากาศภายในอาคาร 10


93<br />

11<br />

ช่องเปิดในส่วนดาดฟ้า<br />

อาคาร เผยให้เห็นมุมมอง<br />

ทัศนียภาพของเมืองที่อยู่<br />

ภายนอก 11<br />

The design team developed a method to fit in the<br />

two-year time frame scheduled for the construction<br />

period. Instead of brick by brick construction, the<br />

design utilizes a modular coordination system. The<br />

semi-precast technique (similar to constructing a<br />

curtain wall) calculates the material into 60-centimeter<br />

modules to fit the grid-based layout system<br />

with a 6-meter span between the columns. The<br />

principal structure of the building was constructed<br />

using reinforced concrete and steel beams. 3” angle<br />

steel bars hold the brick modules with the help of a<br />

particular type of mortar concrete for extra strength.<br />

The integrated method is intriguing, for they manage<br />

to successfully construct the building from 1.7 million<br />

bricks in time and at such a high level of organization<br />

and standard. The effort fulfills the design team’s<br />

intention to showcase the materials’ true natures,<br />

whether bricks, steel, or reinforced concrete.<br />

Users can experience the curated perception of time<br />

and space when interacting with the architectural<br />

and interior program. The design’s emphasis on<br />

Tropical Architecture’s natural ventilation pays extra<br />

attention to the facilitated connection between spaces,<br />

particularly the large stairway linking each floor<br />

together. The placement of the stairs’ extra-wide<br />

landings with no risers next to the brick wall causes<br />

the composition to become one of the transitioning<br />

spaces, introducing users to the dynamic perception<br />

of time throughout the day. A similar experience can<br />

be found at the front-facing wall on the fifth floor,<br />

where a massive circular-shaped opening is present<br />

as a part of the building’s exterior mass and interior<br />

program. This particular portion of the space becomes<br />

one of the building’s physical characteristics,<br />

allowing users to experience the space, especially<br />

when the outside natural light makes its way into the<br />

interior space.<br />

“You say to brick, “What do you want, brick?” Brick<br />

says to you, “I like an arch.” Louis I. Kahn said during<br />

a conversation with his students. The statement<br />

emphasizes that even a construction material has its<br />

own needs, and architects should not neglect the<br />

material’s inherent sentiments for architecture it is<br />

a part of. On a philosophical level, humans instinctively<br />

demand a sense of safety and security. When<br />

humans build their own spaces, the first impression<br />

they look for is safety. Humans lived in caves for the<br />

safety they provided. Even with its functionality as a<br />

semi-public building, AUAA’s architecture’s priority<br />

is delivering efficient protection while welcoming<br />

the presence of an outside environment. Such<br />

qualities are what architecture should pursue and<br />

attain. What the design team of EAST Architects has<br />

demonstrated is the significance of the state where<br />

the absence of time is materialized through this<br />

primary yet wonderous material -- a known realist in<br />

the world of architecture. Delivered is a mesmerizing<br />

work of architecture sited in one of Bangkok’s most<br />

commercially valuable neighborhoods.<br />

eastarchitects.com<br />

กุลพัชร์ เสนีวงศ์<br />

ณ อยุธยา<br />

เป็ นผู้จัดการสถาบัน<br />

ปรีดี พนมยงค์ และ<br />

นักศึกษาปริญญาเอก<br />

สาขาสถาปั ตยกรรม<br />

พื้นถิ ่น คณะสถาปั ตย-<br />

กรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย<br />

ศิ ลปากร สนใจศึ กษามรดก<br />

ทางวัฒนธรรมและ<br />

ขณะนี้กำาลังทำาวิจัยเกี่ยว<br />

กับสภาพแวดล้อมสรรค์<br />

สร้างในพื้นที่ภูมิทัศน์<br />

วัฒนธรรมมลายู<br />

Kullaphut Seneevong<br />

Na Ayudhaya<br />

is the general manager<br />

at Pridi Banomyong<br />

Institute and a Ph.D.<br />

candidate on the<br />

vernacular architecture<br />

program at the faculty<br />

of architecture, Silpakorn<br />

University. He is<br />

interested in cultural<br />

heritage and currently<br />

conducting research on<br />

the built environment<br />

of the Malay cultural<br />

landscape.<br />

Project: AUAA Building Client: American University Alumni Association - AUAA Location: Rajdamri Road, Bangkok Architect: EAST<br />

Architects Project Team: Pirast Pacharaswate, Sayanee Virochrut, Lanna Trakantalerngsak, Jakkaphan Tasniyom, Chitipat Sornsukolrat,<br />

Chitathon Kupwiwat, Sakan Udompanich, Patara Warathanasin, Vilin Pipatnadda, Nicha Kachamas, Chalath Nettayawichit Interior Designer:<br />

EAST Architect Structural Engineer: Site 83 Mechanical Engineer: Site 83 Contractor: McTRIC PCL Land Area: 9,000 sq.m. Building Area:<br />

7,000 sq.m. Completion: 2<strong>02</strong>1 Materials / Suppliers: Brick - APK Dawkoo, Elevator - Schindler, Air conditioning system - Daikin, Sanitary<br />

wares - Cotto, Tiles - Sinpongstorn / Thai Soung, Acoustic board - SCG / Trendar ( auditorium), Lighting - L&E


94<br />

theme / review<br />

Perfectly<br />

Im-<br />

Perfect<br />

At the new Boccia National Field Training Center, the design team<br />

of pbm has interpreted the concept of simplicity and imperfection<br />

into the façade by applying the shape of a scalene triangle.<br />

Text: Nathanich Chaidee<br />

Photo: Yamastudio


95<br />

01<br />

ผิวผนังภายนอกอาคารทำา<br />

จากแผ่นอะลูมิเนียมเจาะรู<br />

1


96<br />

theme / review<br />

Boccia (บอคเซีย) คือหนึ่งในกีฬาความหวัง<br />

ที่ตัวแทนนักกีฬาคนพิการชาวไทยซึ่งเข้าร่วม<br />

การแข่งขันในระดับโลกอย่างพาราลิมปิกเกมส์<br />

และคว้าเหรียญรางวัลติดมือกลับมาฝากแฟน<br />

กีฬาชาวไทยอย่างสม่ำาเสมอ ศูนย์ฝึกกีฬา<br />

บอคเซียแห่งชาติ สมาคมกีฬาคนพิการทาง<br />

สมองแห่งประเทศไทย จึงถูกออกแบบและ<br />

ก่อสร้างเพื่อรองรับการฝึกซ้อมและอำานวย<br />

ความสะดวกสำาหรับนักกีฬาคนพิการโดย<br />

เฉพาะ เพื่อเตรียมพร้อมสำาหรับการแข่งขัน<br />

ไปจนถึงการเป็นพื้นที่เรียนรู้และเผยแพร่<br />

เทคนิคกีฬาบอคเชียให้กับนักกีฬาคนพิการ<br />

ทั้งในประเทศและเพื่อนบ้านภูมิภาคอาเซียน<br />

โครงการครั้งนี้เกิดขึ้นจากความร่วมมือของ<br />

การกีฬาแห่งประเทศไทย หัวหมาก โดยมีสิงห์<br />

เอสเตทเป็นเจ้าภาพในการให้การสนับสนุน<br />

จึงได้ชักชวน pbm ซึ่งเคยร่วมงานกันในฐานะ<br />

ผู้ออกแบบสำานักงานใหญ่บริษัท บุญรอด<br />

บริวเวอรี่ ณ ตึกสิงห์ คอมเพล็กซ์ มาเป็น<br />

สถาปนิกผู้ออกแบบอาคารศูนย์กีฬาบอคเซีย<br />

แห่งชาติในครั้งนี้<br />

“โครงการนี้เป็นเหมือนกับการกุศล วัสดุต่างๆ<br />

ส่วนหนึ่งก็ได้รับจากการร่วมบริจาคจากหลาย<br />

หน่วยงาน จึงเกิดเป็นข้อจำากัดบางอย่างที่<br />

ทำาให้เราต้องออกแบบเพื่อให้รองรับกับวัสดุ<br />

นั้นๆ ด้วย รวมไปถึงกรอบอาคารหรือความ<br />

ต้องการใช้งานพื้นที่ต่างๆ มันเลยไม่ได้เริ่มต้น<br />

จากศูนย์ไปเสียทีเดียว”<br />

โจทย์ที่ทาง pbm ได้รับมา คือการออกแบบ<br />

อาคารให้กับนักกีฬาบอคเซีย โดยชั้นล่างเป็น<br />

สนามซ้อมจำานวน 4 สนาม และชั้นบนเป็น<br />

พื้นที่พักนักกีฬา แนวคิดหลักจึงเน้นการเข้าถึง<br />

ของผู้ใช้ผ่านพฤติกรรมการใช้งานรถเข็น<br />

งานสำาคัญสำาหรับทีมออกแบบจึงเป็นเรื่องการ<br />

ออกแบบทางลาดขนาดใหญ่ในโถงอาคารซึ่ง<br />

เป็นตัวเชื่อมต่อเส้นทางสัญจรภายในอาคาร<br />

ในแนวดิ่งให้ใช้งานได้อย่างสะดวกสบาย และ<br />

เป็นเส้นสายที่สร้างลักษณะเด่นที่ แสดงออก<br />

ถึงความภาคภูมิใจทั้งกับกีฬาบอคเซียและ<br />

ตัวนักกีฬาเอง<br />

ข้อกำาหนดสำาคัญในส่วนการออกแบบสนาม<br />

กีฬา นั่นคือพื้นที่ใช้สอยภายในสนามซ้อมที่<br />

ควรหลีกเลี่ยงไม่ให้มีเสาซึ่งจะกีดขวางภายใน<br />

บริเวณทั้งหมด การออกแบบและจัดการ<br />

โครงสร้างอาคารจึงเลือกใช้โครงสร้างเหล็ก<br />

พาดช่วงยาวสำาหรับรับน้ำาหนักของชั้นบนซึ่ง<br />

เป็นพื้นที่พักนักกีฬา ไปพร้อมกับการออกแบบ<br />

บริเวณภายในพื้นที่พักให้โปร่งโล่ง มีการ<br />

ระบายอากาศที่ดี และให้ผู้ใช้งานได้สัมผัส<br />

กับธรรมชาติระหว่างการพักผ่อนหลังจาก<br />

การฝึกซ้อม<br />

ด้วยรูปทรงของอาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า<br />

สัดส่วนแปลกตาที่มีปัจจัยบังคับจากขนาดของ<br />

สนามซ้อมภายใน และเส้นสายของอาคารที่<br />

สะท้อนให้เห็นความเป็นเส้นนอนและเส้นเฉียง<br />

ของทางลาด ทีมออกแบบจึงมีแนวคิดที่จะใช้<br />

façade สำาหรับปกคลุมรูปด้านของอาคารเพื่อ<br />

ให้ตัวอาคารดูมีมิติและน่าสนใจมากยิ่งขึ้น<br />

ด้วยแนวความคิด “ความงามของความไม่<br />

สมบูรณ์” ที่ดึงเอาความเคลื่อนไหวในแบบ<br />

มั่นคงและเรียบง่ายอย่างเช่นอากัปกิริยาของ<br />

นักกีฬาบนรถเข็น<br />

“เริ่มจากผู้มาเยือนอาคารจะต้องเห็นความ<br />

มั่นคง เริ่มต้นจากรูปร่างและรูปทรงของตัว<br />

อาคารที่เป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า เส้นนอนที่มั่นคง<br />

ด้วยตัวของเส้นสายเอง เราก็เอาความมั่นคงนี้<br />

มาตีความต่อถึงวัสดุประกอบอาคาร เพื่อให้<br />

ผสมผสานอย่างดีกับความเรียบง่าย”<br />

ความเรียบง่ายจึงถูกแปลความผ่าน façade<br />

ออกมาเป็นรูปร่างสามเหลี่ยมด้านไม่เท่า เมื่อ<br />

ผสานกับแนวคิดเรื่องความไม่สมบูรณ์แบบ<br />

ของรูปทรง ความงามตามธรรมชาติจึงเกิดขึ้น<br />

จากแต่ละเหลี่ยมมุมที่ไม่เท่ากันของ façade<br />

พร้อมกับความเคลื่อนไหวของพื้นผิวภายนอก<br />

อาคารเมื่อกระทบกับแสงอาทิตย์ตลอดวัน<br />

ลำาดับต่อมาจึงเป็นเรื่องการเลือกวัสดุสำาหรับ<br />

façade โดยเลือกจากวัสดุที่สามารถหาได้ง่าย<br />

จากท้องตลาด สถาปนิกจึงเลือกใช้งานแผ่น<br />

อะลูมิเนียมเจาะรู (Perforated Aluminium)<br />

โดยดึงเอาอัตลักษณ์รูปวงล้อของโลโก้องค์กร<br />

บอคเซียที่สื่อให้เห็นถึงการเคลื่อนไหวของ<br />

นักกีฬาบนรถเข็นมาเป็นแพทเทิร์นของการ<br />

เจาะ “เราไปเห็นโลโก้ขององค์กรที่เห็นความ<br />

เฉพาะของกีฬา และเราก็เห็นว่าถ้าดึงโลโก้<br />

ตัวนี้มาเป็นแพทเทิร์น ก็จะยิ่งช่วยสนับสนุนให้<br />

นักกีฬามีความมั่นใจมากขึ้นในการทำากิจกรรม<br />

บนรถเข็นหรือวงล้อตัวนี้ และคนที่ใช้งาน<br />

อาคารก็จะเห็นภาพจำาลองเหมือนเราได้อยู่ใน<br />

พื้นที่ของนักกีฬาผ่านวงล้อนับพันที่อยู่ภายใน<br />

พื้นที่”<br />

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้งานอาคารกับพื้นที่<br />

ภายในเกิดขึ้นผ่าน façade ที่เป็นเหมือนม่าน<br />

กรองแสงขั้นแรกก่อนเข้าสู่ตัวอาคาร แสง<br />

ธรรมชาติที่ลอดผ่าน façade ซึ่งแตกต่าง<br />

ตลอดวันสร้างความเคลื่อนไหวส่งต่อตก<br />

กระทบลงบนพื้นผิวในระนาบต่างๆ สร้าง<br />

ให้อาคารกลับมามีชีวิตชีวาภายใต้โครงสร้าง<br />

ของเส้นสายที่มั่นคง<br />

ประโยชน์ใช้สอยอีกประการของแผ่น façade<br />

อะลูมิเนียมเจาะรูเป็นเรื่องของการประหยัด<br />

พลังงาน ซึ่งทำาหน้าที่เชื่อมต่อระหว่างธรรมชาติ<br />

ของบริบทที่รายล้อมตัวอาคารเข้ามาสู่ภายใน<br />

อาคาร จึงสามารถถ่ายเทอุณหภูมิ ลมที่พัด<br />

กระทบผิวหนัง และการระบายอากาศภายใน<br />

พื้นที่ได้ดี เพิ่มความรู้สึกที่เป็นธรรมชาติของ<br />

การใช้งานพื้นที่ภายในอาคารได้ดียิ่งขึ้น<br />

ความท้าทายสำาหรับสถาปนิกในงานออกแบบ<br />

façade อาคารในครั้งนี้เป็นเรื่องของฟอร์ม<br />

อาคารที่ความยาวและขนาดใหญ่เป็นพิเศษ<br />

จึงจำาเป็นต้องออกแบบอาคารเพื่อสร้างสรรค์<br />

สัดส่วนอาคารให้ดูกระชับและสวยงามมาก<br />

ยิ่งขึ้น และสร้างความสม่ำาเสมอให้กับทั้ง<br />

อาคารกลายเป็นเรื่องราวเดียวกัน<br />

façade ของอาคารศูนย์ฝึกกีฬาบอคเซียแห่งนี้<br />

นอกเหนือจากการสร้างสรรค์ลีลาจากความ<br />

เคลื่อนไหวของแสงธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงไป<br />

ตลอดทั้งวันผ่านเปลือกอาคาร คุณค่าจากงาน<br />

ออกแบบยังส่งผลทางจิตวิทยาสำาหรับผู้ใช้งาน<br />

หลักอย่างนักกีฬาคนพิการ ให้ความรู้สึกมั่นใจ<br />

ในการฝึกซ้อม ลงแข่งขัน หรือการทำากิจกรรม<br />

ต่างๆ ภายในอาคาร พร้อมกันกับคุณค่าของ<br />

การทำางานที่ส่งกลับคืนให้กับสถาปนิกที่ว่า<br />

มุมมองและทักษะในเรื่องการออกแบบและแก้<br />

ปัญหารูปทรงของอาคารครั้งนี้ เป็นทั้งเรื่อง<br />

การส่งเสริมภาพลักษณ์ให้กับองค์กร ไปพร้อม<br />

กับการสร้างคุณภาพชีวิตให้กับผู้ใช้งานให้<br />

เกิดขึ้นได้จริงผ่านงานออกแบบสถาปัตยกรรม


PERFECTLY IM-PERFECT<br />

97<br />

2<br />

<strong>02</strong><br />

แบบขยายต่างๆ ของ<br />

งานออกแบบบริเวณผนัง<br />

ภายนอก<br />

4<br />

3<br />

03<br />

ทัศนียภาพภายนอก<br />

04<br />

รายละเอียดส่วนผนังกับ<br />

หลังคาบริเวณช่องทางเข้า<br />

อาคาร


98<br />

5


99<br />

05<br />

ผิวผนังภายนอกอาคาร<br />

ที่สะท้อนถึงแนวคิดเรื่อง<br />

ความไม่สมบูรณ์แบบ<br />

ด้วยการใช้เหลี่ยมมุมของ<br />

ผนังโลหะที่ไม่เท่ากัน


100<br />

theme / review<br />

Boccia is one of the sports where Thai athletes<br />

have always won medals at the Paralympic Games.<br />

Operated under the Cerebral Palsy Sports Association<br />

of Thailand, the new Boccia National Field<br />

Training Center is specifically designed and constructed<br />

to accommodate the training programs<br />

and facilities for athletes with disabilities. The<br />

training center prepares the athletes for competition<br />

and functions as a space that educates<br />

and promotes Boccia for broader national and<br />

regional recognition.<br />

The project is a collaborative effort between the<br />

Sports Authority of Thailand (Huamark) and Singha<br />

Estate. Having worked with pbm for its headquarters<br />

at Singha Complex, Boon Rawd Brewery then<br />

asked the firm to be the project’s architect. “This<br />

is a charity project, and the construction materials<br />

are donations from many different agencies. That<br />

becomes somewhat a limitation that forces us<br />

to develop the design according to the materials<br />

we have, including the plan and the requirements<br />

for spatial usages, so we didn’t exactly start from<br />

zero.” Says the architect.<br />

The brief is to design a building for Boccia athletes.<br />

The first floor hosts four training fields while the<br />

accommodation for athlete accommodation occupies<br />

the space on the upper floor. The design concept<br />

of accessibility for wheelchair users who are<br />

also primary users of the building comes with a<br />

challenge. The pbm team has to design a series<br />

of large indoor ramps that link the entire vertical<br />

circulation together, making the building’s access<br />

as convenient as possible. The ramps become<br />

an integral element of the building’s physical<br />

character, expressing its pride in the sports and<br />

the athletes.<br />

06<br />

การใช้ทางลาดเป็น<br />

ประโยชน์ใช้สอยซึ่งเป็น<br />

จุดเด่นของอาคาร<br />

6


PERFECTLY IM-PERFECT<br />

101<br />

07<br />

บรรยากาศภายในบริเวณ<br />

โถงสัญจร เห็นเส้นสายที่<br />

น่าสนใจของทางลาด<br />

The façade of the<br />

Boccia Training<br />

Center designed by<br />

pbm enlivens the<br />

constant movements<br />

of natural light with<br />

its meticulously<br />

designed structure<br />

and surface.<br />

7<br />

1. ENTRANCE HALL<br />

2. RAMP HALL<br />

3. LIFT HALL<br />

4. MALE W.C.<br />

5. FEMALE W.C.<br />

6 BOCCIA INDOOR FIELD<br />

1ST FLOOR PLAN<br />

2M


1<strong>02</strong><br />

theme / review<br />

8<br />

08<br />

มุมมองจากภายในออกสู่<br />

ภายนอก ผ่านผิวผนังที่ทำา<br />

จากแผ่นอะลูมิเนียมเจาะรู


PERFECTLY IM-PERFECT<br />

103<br />

One of the vital requirements of sports field architecture<br />

and design is the absence of columns in<br />

the training areas. The design and management of<br />

the building’s structure rely on the long-span steel<br />

structure, which can bear the weight of the upper<br />

floor where the athlete accommodation is located.<br />

The design grants the living units and common<br />

areas efficient natural ventilation, allowing users<br />

to relax from the surrounding natural elements<br />

during their breaks from training. The rectangular<br />

form with unusual proportions is defined by the<br />

functionally derived sizes of the training fields<br />

and the ramps’ horizontal and inclined lines. With<br />

the intention for the façade to bring more exciting<br />

dimensions to the building’s outer appearance,<br />

the design team interprets the ‘beauty of imperfection’<br />

concept into the solid and straightforward<br />

movements of how athletes operate their wheelchairs.<br />

“Visitors will see and sense the solidity of the<br />

building, from the rectangular form and shape to<br />

the stable horizontal lines. We further interpret<br />

this stability into construction materials, which<br />

also convey and blend well with the notion of<br />

simplicity.” Here the concept of simplicity and<br />

imperfection gets translated into the façade with<br />

the shape of a scalene triangle. The structure’s<br />

design renders a natural beauty of the geometric<br />

form’s unequal sides, complemented with the dynamic<br />

movements of the surface when interacted<br />

with sunlight at different times of the day.<br />

The façade’s materials are all locally available,<br />

including perforated aluminum. Inspired by the<br />

Boccia Association’s logo, which conveys athletes’<br />

movements on wheelchairs, the design team<br />

creates a pattern on the aluminum’s perforated<br />

surface. “We saw the logo and how it represented<br />

the particular characteristics of the sports and<br />

thought that if we used that with the pattern, it<br />

could give a sense of assurance for the athletes<br />

when they’re using their wheelchairs when they<br />

engage in different kinds of activities. Through<br />

this wheel-inspired perforated pattern, building’s<br />

users can experience the feeling of being a part<br />

of the training fields.”<br />

The interactions between users and interior space<br />

occur through the façade, which serves as the first<br />

layer of sun filtration for the building. Natural light<br />

coming through the architectural element alters<br />

throughout the day, bringing dynamic effects to<br />

different planes and surfaces, adding life to the<br />

architecture with gradually moving visible lines.<br />

Another function of the perforated aluminum<br />

façade is its energy-saving ability. It also serves<br />

as an interface that brings in the surrounding<br />

natural elements to the interior program. The<br />

circulated air means the balanced transfer of<br />

temperature, airflow, and internal ventilation. It<br />

enhances the presence of nature in the interior<br />

functional spaces. One of the most significant<br />

challenges of this façade design is the extra<br />

length and large size, which requires the architectural<br />

design to have an even more concise<br />

and visually appealing form while keeping the<br />

building and the enveloping composition into<br />

one unanimous narrative.<br />

The façade of the Boccia Training Center enlivens<br />

the constant movements of natural light with<br />

its meticulously designed structure and surface.<br />

At the same time, the design’s psychological<br />

impacts on the athletes reassure the confidence<br />

in the training, competition, and participation in<br />

other activities. In return, for the architect, these<br />

values are rewarding for they are testaments of<br />

their visions, skills, and the power of architecture.<br />

The work they create has provided solutions that<br />

resolve all the limitations and restrictions, promoted<br />

the organization’s identity and image while<br />

successfully and meaningfully improved users’<br />

quality of life at the same time.<br />

pbm.co.th<br />

ณัฐนิช ชัยดี<br />

จบการศึกษา<br />

ด้านออกแบบตกแต่ง<br />

ภายใน ปั จจุบันเป็ น<br />

คอลัมนิสต์อิสระ<br />

ด้านสถาปั ตยกรรม<br />

งานออกแบบ และ<br />

วัฒนธรรม<br />

Nathanich Chaidee<br />

is a graduate<br />

of interior design<br />

and currently<br />

working as a<br />

freelance journalist<br />

in architecture,<br />

design and culture.<br />

Project: Boccia Field Training Center Client: Cerebral Palsy Sports Association of Thailand<br />

Architect: pbm Project Team: Matetaporn Visitpongpun Suvijak Yatinuntsakul Shaloemsak Kuakul<br />

Project Management: Singha Estate PCL. Construction Management: I.M. Project Management<br />

Building Contractor: 1. NMC Conland (Structure, Architecture, M&E, Facade) 2. Chamnan Construction<br />

(Piling Work) 3. C N Electric (Main Electrical High Voltage) 4. Jardine Schindler (Thai) CO.,Ltd. (Passenger<br />

Elevator) Building Area: 2,200 sq.m. Completion: 2<strong>02</strong>1 Material /Supplier: Aluminum Composite - BFM


104<br />

theme / review<br />

One<br />

Screen,<br />

Many<br />

Views<br />

IDIN Architects has designed a mixed-use building with an eye-catching<br />

façade, using glass and aluminum panels to conceal different functional<br />

spaces and to create more diversified perspectives.<br />

Text: Warut Duangkaewkart<br />

Photo: Ketsiree Wongwan except as noted


105<br />

1<br />

01<br />

ภาพภายนอกของตัว<br />

อาคาร ที่เส้นสายของผิว<br />

อาคารหยอกล้อไปกับ<br />

เสามังกรของศาลเจ้า


106<br />

theme / review<br />

The architect intends for<br />

the building to exist as<br />

a community backdrop<br />

with a vertical garden<br />

bringing green space to<br />

the surrounding area.<br />

With such an idea in<br />

mind, the team started<br />

the design development<br />

process with the<br />

building’s façade.<br />

2<br />

<strong>02</strong><br />

มุมอาคารที่ถูกปิดทึบด้วย<br />

Facade ภายนอก<br />

03<br />

มุมมองจากศาลเจ้าที่เห็น<br />

ถึงจังหวะ และ รูปแบบการ<br />

ปิด-เปิดผิวอาคาร<br />

3


ONE SCREEN, MANY VIEWS<br />

107<br />

ในแง่มุมของงานสถาปัตยกรรม หลายครั้งเรา<br />

แบ่งแยกอาคารต่างๆ ด้วยรูปลักษณ์ภายนอก<br />

ของอาคารที่แตกต่างออกไปตามยุคสมัย ตาม<br />

ความนิยม และการใช้งานของแต่ละช่วงเวลา<br />

นอกจากนั้นสถาปัตยกรรมยังบ่งบอกถึงแนว<br />

ความคิดที่เป็นตัวขับเคลื่อนความเป็นอยู่ในยุค<br />

นั้นๆ จนถึงปัจจุบันที่หลากหลายแนวความ<br />

คิดถูกนำา มาประยุกต์ใช้ร่วมกันเพื่อแสดงออก<br />

ถึงเอกลักษณ์ของงานสถาปัตยกรรม ในขณะ<br />

เดียวกันด้วยองค์ความรู้ที่หลากหลายมากขึ้น<br />

การออกแบบยังต้องช่วยตอบโจทย์ในแง่มุม<br />

ที่ต่างออกไป ทั้งในเรื่องของการใช้งาน<br />

บริบทของพื้นที่ตั้ง ความเชื่อส่วนบุคคล หรือ<br />

การแสดงออกในเชิงธุรกิจ ที่เป็นปัจจัยเข้ามา<br />

ทำาให้แต่ละอาคารมีความแตกต่างกันออกไป<br />

Suan Phlu 9 Office เป็นงานออกแบบโดย<br />

IDIN Architects ตั้งอยู่ในชุมชนซอยสวนพลู 9<br />

ซึ่งเป็นหนึ่งในเขตที่อยู่อาศัยสำาคัญใจกลาง<br />

กรุงเทพมหานคร ทิศตะวันตกเฉียงใต้ของที่ดิน<br />

ติดกับศาลเจ้า ที่เป็นเสมือนพื้นที่เปิดโล่งสำาหรับ<br />

ชุมชนละแวกนี้ นำามาสู่โจทย์สำาคัญที่ทำาให้ IDIN<br />

คำานึงถึงบริบทของพื้นที่ในช่วง เริ่มต้นของ<br />

การออกแบบ ด้วยความตั้งใจที่อยากให้อาคาร<br />

ทำาหน้าที่เป็นฉากผืนใหญ่ ผนวกกับการเพิ่ม<br />

พื้นที่สีเขียวให้กับพื้นที่โดยรอบในลักษณะ<br />

Vertical Garden เปลือกของอาคารหรือ Façade<br />

จึงเป็นสิ่งแรกที่ถูกคำานึงถึงในการออกแบบของ<br />

โครงการนี้<br />

จากโจทย์ที่ได้รับให้ออกแบบอาคารสำานักงาน<br />

และที่อยู่อาศัยสำาหรับครอบครัวใหญ่ ด้วย<br />

ฟังก์ชั่นทั้งหมด อาคารถูกออกแบบให้มี 8 ชั้น<br />

โดยชั้นล่างเป็นส่วนต้อนรับ และที่จอดรถใต้<br />

อาคาร ส่วนชั้นที่ 2 - 4 เป็นสำานักงาน และ<br />

ด้านบนเป็นที่อยู่อาศัยทั้งหมด ซึ่งในการวางผัง<br />

อาคารผู้ออกแบบได้ทำางานร่วมกับซินแสในการ<br />

จัดวางห้องต่างๆ เพื่อให้เป็นตามหลักการฮวงจุ้ย<br />

ที่เหมาะสม ที่ดินทั้งหมดถูกแบ่งออกเป็นผัง<br />

9 ช่อง ทำาให้ฟังก์ชั่นบางส่วนต้องถูกจัดวางด้าน<br />

ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ที่จะเป็นฉากหน้าอาคาร<br />

จนเกิดเป็นจังหวะของการใช้งานที่แต่ละชั้น<br />

เริ่มมีความแตกต่างกัน บวกกับอีกหนึ่งโจทย์ที่<br />

สำาคัญคือวัสดุในการก่อสร้างที่เจ้าของโครงการ<br />

ต้องการให้ใช้เหล็กในการออกแบบ เพื่อให้<br />

แสดงถึงภาพลักษณ์ของกิจการด้วยอีกทางหนึ่ง<br />

จึงเป็นสิ่งที่เข้ามาส่งเสริมแนวความคิดในการ<br />

ออกแบบเปลือกนอกอาคารให้ใช้ประโยชน์ใน<br />

การออกแบบ โดยมี Curtain Wall เป็นรากฐาน<br />

ของไอเดีย ที่จะถูกนำามาออกแบบในลักษณะของ<br />

Double Façade ซึ่งในเรื่องของการใช้กระจกเข้า<br />

มาเกี่ยวข้อง ยังต้องคำานึงถึงสิ่งที่จะเกิดผลกระทบ<br />

ต่อพื้นที่โดยรอบด้วย เนื่องจากการใช้ผนังกระจก<br />

ที่อาจจะสะท้อนแสงแดดออกไปยังชุมชนโดยรอบ<br />

ประกอบกับการที่ฉากใหญ่ของอาคารนั้นตรง<br />

กับทิศตะวันตกเฉียงใต้ ที่จะต้องรับแสงอาทิตย์<br />

โดยตรง ทำาให้เปลือกอาคารที่ออกแบบยังต้องทำา<br />

หน้าที่คอยกันแสงแดด และความร้อนที่จะเข้าสู่<br />

พื้นที่ภายในอาคารด้วย<br />

ด้วยความต้องการของสถาปนิกที่จะทำาให้เปลือก<br />

อาคารตอบโจทย์ที่หลากหลายนั้น รูปแบบความ<br />

คิดในการพัฒนาจึงเกิดเป็นลำาดับขึ้นตอน จาก<br />

แนวความคิด สู่การแก้ปัญหา ตั้งแต่จุดเริ่มต้น<br />

ที่ต้องการสร้าง Vertical Garden เพื่อลดทอน<br />

งานระบบที่จะเกิดขึ้น และสร้างมุมมองที่เปิดโล่ง<br />

สำาหรับพื้นที่ภายในอาคาร Façade ถูกแบ่งออก<br />

เป็นส่วนๆ เพื่อสลับการใช้งาน ในส่วนที่เป็นพื้นที่<br />

ใช้สอยผู้ออกแบบเลือกที่จะปิดบังอาคารบางส่วน<br />

ด้วยการใช้กระจก และแผ่น Aluminum ทั้งแบบที่<br />

เป็นแผ่นทึบ และแบบเจาะรู (Perforated) ทำาให้<br />

เกิดมุมมองที่ต่างกันออกไป ส่วนของกระจกให้<br />

ความโปร่ง 100% เพื ่อที ่จะรับแสงธรรมชาติ<br />

และเปิดมุมมองจากภายในสู ่ภายนอก ส่วนแผ่น<br />

Aluminum แบบเจาะรูเป็นการเปิดมุมมองแบบ<br />

50% ที่ช่วยกรองแสงบางส่วน แต่ยังสามารถ<br />

รับความสว่างเข้ามาได้ และแผ่น Aluminum<br />

แบบทึบจะช่วยปิดบังการใช้งานบางส่วน และ<br />

ลดความร้อนที ่จะเข้าสู ่ตัวอาคารโดยตรง<br />

อีกส่วนสำาคัญของการออกแบบ Façade คือการ<br />

เพิ่มพื้นที่สีเขียวที่เป็นแนวความคิดแต่แรกเริ่ม<br />

จากการใช้งานแบบเต็มพื้นที่ สถาปนิกเลือกที่<br />

จะคว้านพื้นที่บางส่วนของตัวอาคารออก เพื่อให้<br />

เกิดเป็นเส้นของพื้นที่สีเขียวที่ไล่ระดับไปตั้งแต่<br />

ชั้นล่างจนถึงด้านบน ซึ่งออกแบบให้ต้นไม้<br />

ถูกปลูกในกระถาง และ เติบโตลงไปด้านล่าง<br />

เพื่อให้ง่ายต่อการดูแลรักษา ในลักษณะนี้<br />

นอกจากมุมมองด้านนอกแล้ว ด้านในอาคาร<br />

จะมองเห็นพื้นที่สีเขียวที่แทรกตัวอยู่ในทุกๆ ชั้น<br />

ทำาให้พื้นที่สีเขียวที่ถูกออกแบบนั้นเกิดประโยชน์<br />

อย่างแท้จริง สำาหรับผู้ใช้งาน และบริบทของ<br />

ชุมชน ที่ไม่ใช่เป็นเพียงเปลือกอาคารเพียงอย่าง<br />

เดียว โดยในขั้นตอนการออกแบบนั้น สถาปนิก<br />

ใช้วิธีการออกแบบจากมุมมองของพื้นที่ภายใน<br />

ทีละชั้น เพื่อให้เห็นภาพของสิ่งที่จะเกิดขึ้นใน<br />

แต่ละพื้นที่ใช้สอยของอาคาร และ ความเชื่อมโยง<br />

ของช่องเปิดต่างๆ ทั้งที่เปิดโล่ง กึ่งโปร่ง และ<br />

ปิดทึบ รวมถึงเอฟเฟคเมื่อต้นไม้เริ่มโตขึ้น หรือ<br />

ห้อยกิ่งก้านลงมา จะมีมุมมองอย่างไร<br />

เมื่อปัญหาโดยรวมจากบริบทต่างๆถูกออกแบบ<br />

และแก้ไขในเบื้องต้นแล้ว อีกหนึ่งหน้าที่สำาคัญ<br />

ของงานสถาปัตยกรรม คือการสร้างเอกลักษณ์<br />

ให้เกิดขึ้น ด้วยความที่เป็นอาคารสำานักงานที่มี<br />

กิจการของตัวเอง สิ่งนี้จึงถูกนำามาประยุกต์<br />

และ พัฒนาต่อให้เกิดเป็นเอกลักษณ์ที่มีความ<br />

เฉพาะตัว เริ่มต้นจากการที่ Façade ทั้งหมด<br />

ถูกบิดแกน และพับไปมา เพื่อให้เกิดเป็นพื้นผิว<br />

ที่ไม่นิ่งจนเกินไป อีกทั้งยังช่วยให้พื้นผิวต่างๆ<br />

มีมิติที่รับความร้อนแสงแดดได้แตกต่างกัน<br />

เกิดเป็นจังหวะของ Façade โดยรอบ ถึงแม้ว่า<br />

แสงแดดจะส่องลงมากระทบผนังในทิศทาง<br />

เดียวกัน องศาของวัสดุจะช่วยให้เกิดเป็นโทนสี<br />

ที่หลากหลาย ตามแสงและเงา พร้อมกับเพิ่ม<br />

ลูกเล่นเพื่อสร้างความน่าสนใจ ด้วยการทดลอง<br />

เฉือน Façade ออกตามแนวเฉียง ทำาให้ วัสดุ<br />

ของรูปด้านอาคารทั้งหมดเลื่อนและเหลื่อมกัน<br />

จนเกิดเป็นเส้นสายของอาคารที่แสดงออกมา<br />

อย่างชัดเจนในทันทีเมื่อพบเห็น ตามความตั้งใจ<br />

ของเจ้าของโครงการ<br />

IDIN Architects พูดถึงแนวความคิดของการ<br />

ออกแบบงานสถาปัตยกรรมไว้ว่า ในหลายครั้ง<br />

รูปลักษณ์ของอาคารไม่ใช่เรื่องของสไตล์ของ<br />

การออกแบบเพียงอย่างเดียว อย่างอาคารที่เห็น<br />

ว่าเป็นรูปแบบโมเดิร์นนั้น อาจจะมีแนวความคิด<br />

ที่ซ่อนอยู่เบื้องหลัง เป็นการนำางานออกแบบมา<br />

ใช้ในการแก้ไขปัญหา ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง Mass<br />

ของอาคาร Façade ที่มองเห็น หรือการวางผัง<br />

ที่แตกต่างออกไป ผสมผสานกับลายเส้นของ<br />

แต่ละคน จนออกมาเป็นอาคารหนึ่งหลัง ซึ่ง<br />

ท้ายที่สุดแล้วการออกแบบอาคารไม่ใช่เพียง<br />

การสร้างภาพลักษณ์ให้สวยงาม หรือน่าสนใจ<br />

เพียงอย่างเดียว แต่หากเรามองถึงที่มาของ<br />

เส้นสาย รูปลักษณ์ วัสดุ และรายละเอียดต่างๆ<br />

อาจจะทำาให้เข้าใจถึงที่มาของแนวความคิด<br />

ที่ซ่อนอยู่เบื้องหลังอาคารที่ถูกออกแบบมาได้


108<br />

theme / review<br />

The design was developed from the perspective of a user, by<br />

visualizing the connection between different openings and<br />

their varying levels of enclosure.<br />

From an architectural standpoint, we often<br />

categorize building types according to their<br />

appearances as well as stylistically defining<br />

structures by periods, popularity and functionalities.<br />

Architecture is also an indication of a particular<br />

tenet that mobilizes and shapes humans’ way<br />

of living at a particular point in time. Nowadays,<br />

architects apply and devise different architectural<br />

concepts and beliefs to help express a work’s<br />

architectural identity. Meanwhile, the diversified<br />

and integrated bodies of knowledge have enabled<br />

design to better satisfy different requirements,<br />

ranging from functionalities, contexts to personal<br />

beliefs and business identities, each contributing to<br />

the varying characteristics of buildings.<br />

Designed by IDIN Architects, Suan Phlu 9 Office<br />

sits as a part of Soi Suan Phlu 9 Community,<br />

a residential area in Bangkok’s city center. A<br />

Chinese shrine is located on the southwest of the<br />

land, which serves as somewhat a semi-public<br />

community space. The nature of the site plays a<br />

significant part in the early development of the<br />

design. The IDIN team intends for the building<br />

to exist as a community backdrop with a vertical<br />

garden bringing green space to the surrounding<br />

area. With such an idea in mind, they started the<br />

design development process with the building’s<br />

façade.<br />

IDIN’s design team was given the brief of designing<br />

an office/residential building for a large family who<br />

notes for all the required functionalities to co-exist<br />

into an eight-story structure. The first floor houses<br />

the reception area and underground parking. The<br />

office space occupies the 2nd-4th floors, while<br />

the remaining upper floors are home to the living<br />

quarter of all the family members. With consultation<br />

from a Feng Chui master, the floor layout locates<br />

rooms according to Feng Chui laws. The design<br />

divides the land into a grid of nine squares, causing<br />

parts of the functional spaces to situate towards<br />

the southwest, the same direction the façade faces.<br />

The layout creates a functional sequence that<br />

differentiates the functionality of each floor. Another<br />

critical requirement is the use of steel to express<br />

and showcase the identity of the owner’s business.<br />

The material reinforces the design concept of the<br />

façade developed from the idea of a curtain wall<br />

before the design team decided on a double-façade<br />

structure as the final solution. The design takes the<br />

glaring effect of glass into serious consideration<br />

since the material’s physical attributes can reflect<br />

sun rays and disturb the surrounding community. In<br />

addition, the southwest-facing façade and its direct<br />

contact with the afternoon sun meant a requirement<br />

for the structure to have additional functionality to<br />

filter excessive sun rays and heat from infiltrating<br />

the interior space.<br />

4<br />

04<br />

ผังพื้นชั้น 5


OF HORSES AND MEN<br />

109<br />

Photo: Wotapas Dusadeewijai<br />

05<br />

วัสดุทั้ง 3 ประเภทที่ช่วย<br />

สร้างความโปร่ง - ทึบ<br />

ให้พื้นที่ภายใน


110<br />

theme / review<br />

The desire for the building envelope to fulfill<br />

all these requirements leads to a methodic<br />

development of ideas, from conceptualization to<br />

solutions. The process begins with the inclusion<br />

of a vertical garden as a part of the facade,<br />

since it can lessen the unnecessary system<br />

work and create a more open perspective for<br />

the interior spaces. The façade is designed for<br />

each part to function alternately. Glass panels<br />

and aluminum sheets (both solid and perforated)<br />

are used to conceal different functional spaces,<br />

creating more diversified perspectives. The<br />

glass openings’ 100% transparency welcomes<br />

natural light and opens the interior space to the<br />

outside view. The perforated aluminum sheets<br />

provide 50% visual access and help filter a<br />

considerable amount of sun rays while still<br />

allowing natural light to be present. The solid<br />

aluminum sheets offer complete density, which<br />

helps conceal certain parts of the interior spaces<br />

while simultaneously reducing external heat from<br />

penetrating into the interiors.<br />

The physical rhythms of the<br />

façade react to natural light<br />

differently, causing the diversified<br />

angles to create various tones<br />

of colors. A diagonal cut of the<br />

façade results in the structure’s<br />

overlapping lines and silhouettes,<br />

creating a gimmick that brings<br />

an eye-catching element to the<br />

building.<br />

6


ONE SCREEN, MANY VIEWS<br />

111<br />

06<br />

องศาของการออกแบบ<br />

Facade ทำาให้เกิดแสง<br />

และ เงาที่น่าสนใจ<br />

07<br />

รูปตัดขยายบริเวณขอบ<br />

นอกของอาคาร ส่วนที่<br />

ปลูกต้นไม้<br />

Another essential element of the façade’s<br />

design is the green space, which was part of the<br />

design team’s initial idea. Instead of maximizing<br />

the usability of functional space, the architect<br />

decided to gouge out certain sections of the<br />

building and replace them with vertical green<br />

spaces, which descend from the bottom to the<br />

upper part of the building. The vertical garden<br />

comprises of potted climbing plants placed to<br />

crawl downward for easier maintenance. The<br />

design allows the green space to be visually<br />

accessible from the outside while still being<br />

an integral part of all the floors. As a result,<br />

the vertical garden benefits both the users and<br />

the surrounding community in other aspects<br />

beyond its functional and aesthetic merits as a<br />

building shell. The architect develops the design<br />

from the perspective of a user, by visualizing<br />

the images the vertical garden brings to each<br />

functional space, as well as the connection<br />

between different openings and their varying<br />

levels of enclosure (fully open, semi-open and<br />

fully enclosed). The possible effects and changes<br />

in appearance have also been taken into account<br />

for when the trees and plants are fully grown.<br />

7


112<br />

8


ONE SCREEN, MANY VIEWS<br />

113<br />

While the architectural design process helps<br />

reconcile the contextually derived issues, the<br />

architecture itself represents a specific identity.<br />

The character of the owner’s business is applied<br />

and developed to create architecture with its own<br />

identity. The twisting of the façade’s core axis and<br />

the folding of its entire mass renders a dynamic<br />

texture, creating a dimensional surface for varying<br />

levels of sun exposure. The physical rhythms of the<br />

façade react to natural light differently, causing<br />

the diversified angles to create various tones of<br />

colors. A diagonal cut of the façade results in<br />

the structure’s overlapping lines and silhouettes,<br />

creating a gimmick that brings an eye-catching<br />

element to the building, just like the owner intended.<br />

IDIN Architects explains their view on architectural<br />

concepts and how the appearance of architecture<br />

does not always derive entirely from styles. Hidden<br />

behind modern-looking buildings are concepts, and<br />

design is a tool that architects utilize to help deliver<br />

the most fitting solutions. These may come in the<br />

form of the building’s mass, façade or layout. When<br />

combined with each architect’s unique architectural<br />

signature, these design solutions conceive a<br />

building, which holds more meaning than just a<br />

beautiful appearance. By examining the lines, form<br />

and visage, materials, and details, we can perhaps<br />

better understand the origins of concepts from<br />

which designs are materialized.<br />

idin-architects.com<br />

facebook.com/idin.architects<br />

วรุตร์ ดวงแก้วกาศ<br />

จบการศึกษาด้าน<br />

สถาปั ตยกรรม และทัศน<br />

ศิ ลป์ ทำ างานสร้างสรรค์<br />

อิ สระโดยสนใจการ<br />

ออกแบบที่ผสมผสาน<br />

ระหว่างสถาปั ตยกรรม<br />

ศิ ลปะ และชีวิ ต<br />

Warut Duangkaewkart<br />

is a graduate of architecture<br />

and visual arts.<br />

Currently working<br />

independently with a<br />

focus on design that<br />

blends architecture,<br />

art and life.<br />

08<br />

พื้นที่สีเขียวถูกแทรกเป็น<br />

ส่วนหนึ่งของผิวอาคาร<br />

09<br />

พื้นที่ภายในที่ถูกกรองแสง<br />

และ มุมมองจากภายนอก 9<br />

Project: Suan Phlu 9 Client: Vinsmor Group Location: Soi Suan Phlu9, Bangkok Architect: IDIN Architects Project Team: Jeravej Hongsakul, Eakgaluk<br />

Sirijariyawat, Sakorn Thongdoang, Wichan Kongnok Building Contractor: Sorawee Karnchang, Inblock Group Building Area: 2,290 sq.m. (usable area)<br />

Completion: 2<strong>02</strong>0 Materials / Suppliers: facade - Fameline Group, paint - TOA Paint, aluminium window - Windset Aluminium, steel - Siam Yamato<br />

Steel (SYS)


114<br />

theme / review<br />

Writing<br />

a Modern<br />

History<br />

EKAR Architects has refurbished the 43-year old Pilot pen<br />

headquarters on Silom Road by reflecting the new brand<br />

image through a visually distinctive Façade.<br />

Text: Xaroj Phrawong<br />

Photo: Ketsiree Wongwan except as noted


OF HORSE AND MEN<br />

115<br />

2


116<br />

theme / review<br />

Perforated metal plates, clear glass, and textured<br />

paints are the main materials for the building’s façade.<br />

The design combines transparency and opaqueness<br />

using the qualities of the material in combination.<br />

Photo courtesy of EKAR Architects<br />

1<br />

01<br />

อาคารก่อนการ<br />

ปรับปรุง<br />

<strong>02</strong><br />

อาคารหลังจากการ<br />

รีโนเวท มองจาก<br />

บริเวณหน้าอาคาร<br />

2


WRITING A MODERN HISTORY<br />

117<br />

“เริ่มต้นที่กระเบื้องหลุด”<br />

เอกภาพ ดวงแก้ว Design Director จาก EKAR<br />

Architects เริ่มเล่าถึงที่มาของการเข้ามาปรับปรุง<br />

อาคารสำานักงานใหญ่ของปากกาไพล็อต บนถนน<br />

สีลม จากจุดเริ่มต้นที่เรียบง่าย ที่อาคารเดิมแบบยุค<br />

โมเดิร์น สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2521 ได้ทรุดโทรมลงจน<br />

แผ่นกระเบื้องโมเสค วัสดุที่นิยมกรุภายนอกอาคาร<br />

โมเดิร์นในยุคปลายหรือเลทโมเดิร์น ได้หลุดร่อนลง<br />

เป็นสัญญาณให้ทางเจ้าของอาคารเกิดความคิดจะ<br />

ปรับปรุงอาคารใหม่ให้ตอบรับกับยุคสมัย<br />

ไพล็อตเป็นปากกาคุณภาพดีที่เราคุ้นเคยตั้งแต่<br />

เป็นนักเรียนในรูปแบบด้ามพลาสติก ประวัติของ<br />

ปากกาไพล็อตเริ่มต้นที่โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น<br />

ในปีค.ศ. 1918 ยุคไทโช อันเป็นยุคที่ญี่ปุ่นได้<br />

พัฒนาหลังจากปรับตัวรับวัฒนธรรมตะวันตก<br />

เข้ามาเป็นวัฒนธรรมญี ่ปุ ่นสมัยใหม่ตั ้งแต่ยุคเมจิ<br />

บริษัทจำานวนมากในญี่ปุ่นได้เริ่มต้นในช่วงเวลา<br />

นี้เราจึงสามารถพบบริษัทญี่ปุ่นอายุมากกว่าร้อย<br />

ปีขึ้นไปที่เป็นผลพวงจากยุคนั้น จากการผสาน<br />

วัฒนธรรมการเขียนแบบเดิมกับปากกาสมัย<br />

ใหม่ ได้กลายเป็นการพัฒนาปากกาแบบตะวัน<br />

ตกจนมีชื่อเสียงขึ้นมา สามารถกระจายสินค้าไป<br />

ได้หลายมุมโลก รวมถึงการเข้ามาประเทศไทย<br />

ในช่วงหลังสงครามโลกด้วยเช่นกัน แม้ว่าปากกา<br />

ไพล็อตที่คุ้นเคยจะเป็นแบบที่ผลิตซ้ำ าจำานวนมาก<br />

ขายดี เป็นแบบด้ามพลาสติก แต่จุดเริ่มต้นที่เป็น<br />

เอกลักษณ์ของปากกาไพล็อตคือปากกาเกรดดีที่<br />

เป็นหมึกซึมปลายโลหะแหลมเป็นสามเหลี่ยม<br />

ในอดีต อาคารคอนกรีตย่านสีลม ซึ่งเป็นย่าน<br />

ธุรกิจเก่าของกรุงเทพฯ หลังนี้ ยังมีร้านค้าของ<br />

ปากกาไพล็อต จนเป็นที ่นัดพบกันของวัยรุ ่น<br />

นักเรียนในย่านสีลม ให้มาซื้อเครื่องเขียนใต้<br />

สำานักงานปากกาไพล็อตนี้ด้วย จากความคึกคัก<br />

ในอดีตได้กลายมาเป็นความเงียบเหงาในปัจจุบัน<br />

ที่การซื้อเครื่องเขียนในร้านนี้ไม่ได้รับความนิยม<br />

มากเหมือนเดิมอีกต่อไป พร้อมๆ กับความทรุด<br />

โทรมที่กาลเวลากัดกร่อน ผิวกระเบื้องภายนอก<br />

เริ่มหลุดร่อน ทางแบรนด์ไพล็อตจึงได้ตัดสินใจ<br />

เปลี่ยนภาพลักษณ์ของที่ทำาการสาขาใหญ่ประจำา<br />

ประเทศไทยให้ดูทันสมัยขึ้นกว่าเดิมที่เป็นรูป<br />

ลักษณ์แบบโมเดิร์น จากโจทย์ที่ส่งมาถึงสถาปนิก<br />

ด้วยงบที่ไม่มากนัก สถาปนิกจึงเลือกใช้วิธีปรับ<br />

เปลี่ยนแค่ผิวผนังภายนอกเท่าที่งบประมาณจะ<br />

อำานวย และไม่พยายามแตะโครงสร้างเดิมของ<br />

อาคารอายุ 43 ปีนี้<br />

การออกแบบผิวผนังอาคารจึงเป็นส่วนสำาคัญ<br />

ของงานนี้ สถาปนิกได้รับโจทย์ให้ออกแบบ<br />

กระบวนการก่อสร้างโดยไม่ให้รบกวนภายในส่วน<br />

สำานักงานเพื่อให้พนักงานสามารถทำางานได้ตาม<br />

ปรกติ จึงเน้นไปที่ทำาการปรับปรุงแต่เปลือกนอก<br />

เป็นหลัก แนวคิดในการออกแบบ สถาปนิกได้ใช้<br />

วิธีสื่อความหมายที่เห็นได้ชัดเจนสองประเด็น<br />

การสื่อความที่หนึ่ง เรื่องการใช้สอยสถาปนิก<br />

ออกแบบผิวผนังภายนอกโดยใช้วัสดุ 3 ชนิดเป็น<br />

หลัก คือแผ่นเหล็กเจาะรู กระจกใส และสีเทก<br />

เจอร์การออกแบบเปลือกใช้วิธีผสานความโปร่ง<br />

ทึบของวัสดุจากการใช้สอยภายใน พื้นที่ใช้สอย<br />

อาคารเป็นแนวดิ่งในชั้น 1 เป็นพื้นที่โชว์รูม มี<br />

ปฏิสัมพันธ์กับผู้คนในระดับถนน การออกแบบ<br />

จึงใช้กระจกใสบอกถึงกิจกรรมภายในที่เตรียม<br />

ไว้ให้ผสมกันไปทั ้งร้านกาแฟและโชว์รูมปากกา<br />

ในพื้นที่ชั้นที่ 2-3 เป็นส่วนพื้นที่สำ านักงานของ<br />

ผู้บริหารอยู่ในระดับที่สายตาภายในห้องทำ างาน<br />

ปะทะกับรถไฟฟ้าบนถนนสีลมเพื่อป้องกันการ<br />

รบกวนสายตาจากภายนอกจึงเลือกวัสดุแผ่น<br />

เจาะรูวงกลมใหญ่ จากระดับชั้นที่ 4 วัสดุที่กรุ<br />

เป็นวัสดุแผ่นเจาะรูวงกลมเล็กลงเพื่อสร้างความ<br />

เป็นส่วนตัวภายใน แต่ลดความอึดอัดด้วยการ<br />

ใช้แผ่นเจาะที่มีความถี่ ทำ าให้วัสดุมีความเบา ลด<br />

ความหนักแน่น มีความเบลอมากขึ้นวัสดุกรุผิว<br />

ส่วนที่เลยชั้นที่ 4 ไปจนสุดด้านบนเป็นกระจก<br />

ไล่สีจากเข้มไปอ่อนจากล่างขึ้นบน เพื่อให้พื้นที่<br />

ทำางานภายในสามารถเชื่อมโยงกับธรรมชาติ<br />

ภายนอกได้ดี ไม่ถูกรบกวนจากการปะทะของ<br />

แนวรถไฟฟ้า เมื่อมองวิธีการออกแบบด้วยการ<br />

รับรู้ทางสถาปัตยกรรมแล้วนั้น การเลือกใช้ผิว<br />

ผนังที่มีความหนักในส่วนฐานจะให้ความรู้สึกหนัก<br />

แน่น การใช้วัสดุที่ดูเบาขึ้นในส่วนลำ าตัว และการ<br />

ใช้วัสดุที่ดูเบาที่สุดในส่วนบน จะสร้างการรับรู้ว่า<br />

ตัวอาคารไกลขึ้น สูงขึ้นจากระยะจริง สำ าหรับการ<br />

แบ่งแพทเทิร์นของเปลือกอาคารสถาปนิกเลือกใช้<br />

เส้นตั ้งตามขนาดวัสดุทั ้งกระจก แผ่นโลหะเจาะรู<br />

ทำาให้สัดส่วนอาคารดูชะลูดขึ้นอีก ซึ่งสามารถช่วย<br />

เน้นแนวตั้ง ให้ดูสูงขึ้น ตามวิธีการลวงตาจากการ<br />

รับรู้ทางสถาปัตยกรรม<br />

การสื่อความที่สอง คือการสื่อถึงบุคลิกอาคาร<br />

จากแบรนด์ เมื ่อดูจากความโดดเด่นของอาคาร<br />

วัสดุที่เป็นตัวหลักจะให้ความสำ าคัญของโลหะ<br />

กระจกแม้ว่ามีหลายวัสดุที่สถาปนิกเสนอไปแต่ใน<br />

ที่สุดเจ้าของโครงการตกลงเลือกวัสดุให้สะท้อน<br />

ถึงบุคลิกของผู้บริหารยุคใหม่ ที่ดูทันสมัย สง่า<br />

เรียบร้อย การสะท้อนบุคลิกออกมาชวนให้คิดไป<br />

ถึงการอุปมาอุปมัย (Metaphor) ที่พูดถึงสิ่งหนึ่ง<br />

ด้วยการแทนค่าถึงอีกสิ ่งหนึ ่ง วัสดุหนึ ่ง สเปซหนึ ่ง<br />

แบบให้มีการตีความ ไม่จำาเป็นต้องเป็นการแทน<br />

ค่าแบบตรงไปตรงมาแบบ Analogy เมื่อย้อนคิด<br />

ไปถึงปากการุ่นแรกเริ่มที่สร้างชื่อของไพล็อต ซึ่ง<br />

ก็คือปากกาหมึกซึมที่ปลายปากกาเป็นโลหะทรง<br />

สามเหลี่ยมความแวววาวของส่วนปลายปากกา<br />

โดดเด่นจากวัสดุด้ามปากกาที่นิยมสีเข้ม แบบที่<br />

นิยมในยุคนั้น การเลือกใช้แผ่นโลหะมากรุผิวผนัง<br />

อาคารจึงมีนัยยะให้สื่อถึงบุคลิกของปากการุ่น<br />

สะสมของไพล็อต ความแวววาวที่ดูหนัก ถูกขับ<br />

ให้โดดเด่นขึ้นด้วยความเบาของกระจกไล่สีที่มีสี<br />

เข้ม ที่เมื่อวัสดุสองชนิดมาปะทะกันจะดูขัดแย้ง<br />

กัน แต่สัดส่วนและจังหวะ ช่วยทำาให้โลหะมีความ<br />

โดดเด่น<br />

จากการเข้ามารับหน้าที่ให้ปรับปรุงอาคารเก่า<br />

นี้ สถาปนิกได้เห็นถึงความจงใจในส่วนของผนัง<br />

คอนกรีตทาสีเหลืองตรงหัวมุมอาคาร ที่มีลักษณะ<br />

เป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้ายาวจากส่วนยอดลงมาที่ฐาน<br />

อาคาร จากนั้นจบส่วนปลายด้วยรูปสามเหลี่ยม<br />

ทิ่มลงสู่ประตูทางเข้าหลัก สถาปนิกได้เลือกที่จะ<br />

เก็บส่วนนี้ไว้เช่นเดิม แต่หุ้มส่วนสี่เหลี่ยมผืนผ้า<br />

ด้วยกระจก และโลหะ ส่วนปลายสามเหลี่ยมกรุ<br />

ทับด้วยแผ่น<br />

หลังจากสถาปนิกได้ออกแบบเปลือกใหม่ให้กับ<br />

อาคารนี้แล้ว โจทย์ที่ได้รับต่อมาคือการสร้าง<br />

โปรแกรมที่เกิดขึ้นใหม่คือส่วนมิวเซียม เริ่มต้น<br />

จากการที่เจ้าของโครงการให้โจทย์สถาปนิกไปหา<br />

กิจกรรมใหม่ให้กับพื้นที่ว่างส่วนนี้จึงเป็นการผสม<br />

ร้านกาแฟเข้ากับมิวเซียมปากกาไพล็อต ให้ผู้คน<br />

ได้มาทดลองใช้ เป็นการพัฒนาใช้การพับจาก<br />

ระนาบภายนอกอาคารที่พับ 5 ทบ สู่การพับครั้ง<br />

ต่อไป มาสู่พื้นที่ภายในจนเป็นที่มาของผนังคลื่น<br />

ซิกแซ็กในที่สุด<br />

เอกภาพบอกถึงแนวคิดของเขาต่อเรื่องของการ<br />

ออกแบบเปลือกอาคารนี้ว่า “เนื้อหาคือการทำ าสิ่ง<br />

เดิมให้ดีขึ้นตามเหตุและผลของมัน สำ าหรับผม<br />

แล้ว การทำาเปลือกของอาคารคือการออกแบบ<br />

เสื้อผ้าห่อหุ้มตัวเรา และเราแค่แสดงออกถึงหน้าที่<br />

ของเสื ้อผ้าเหล่านั ้น”


118<br />

theme / review<br />

3<br />

“It all started with tiles falling off!”<br />

Ekaphap Duangkaew, the design director of EKAR<br />

Architects said of the reason for renovating the<br />

Pilot pen headquarters building on Silom Road. The<br />

starting point of the renovation project is simple<br />

- this modernist architecture, built in 1978, has<br />

declined to the point that mosaic tiles - a popular<br />

cladding for late modernist architecture in Thailand<br />

some decades ago - started to fall off. It is by this<br />

signal that the owner came up with the thought of<br />

renovation.<br />

2<strong>02</strong>1<br />

RENOVATION<br />

1979<br />

EXISTING BUILDING<br />

Pilot has long been known as a brand of highquality<br />

pens starting in Tokyo in the Japanese<br />

Taisho period in 1918. This period saw significant<br />

development in the country as a result of opening<br />

its doors to the west and adopting Western culture.<br />

This led to the birth of what are now many hundredplus-year-old<br />

Japanese companies. The Pilot<br />

brand made its name from combining traditional<br />

ways of writing utilizing modern pen design and<br />

technology influencing the development of western<br />

style pens we see today. Their fame and recognition<br />

allowed the company to export their products to<br />

many parts of the world including Thailand during<br />

n the post-WWII period. Although mass-produced<br />

plastic pens are often regarded as their best-selling<br />

products, it was the high-end fountain pens with<br />

triangular-shaped metal on their ends that became<br />

the brand’s signature product that they were best<br />

recognized for.<br />

03<br />

รูปตัดขยายบริเวณผิวผนัง<br />

อาคารที่ปรับปรุงใหม่<br />

“For me, designing a<br />

building’s façade is akin<br />

to designing a cloth that<br />

covers our skin, displaying<br />

only the utility of those<br />

clothes.”<br />

The old concrete Pilot building, located in the old<br />

business district of Silom, also held the brand’s<br />

pen shop. It was a popular meeting place for the<br />

youth and students who came to purchase pens<br />

from the shop. That past liveliness though has<br />

become loneliness as its popularity now is not what<br />

it once was. As time passed, the building’s condition<br />

also declined and tiles on the exterior envelope<br />

of the building began to fall off. For this reason,<br />

Pilot decided to revamp its brand image to reflect<br />

more current contemporary building trends, so its<br />

Silom Thailand Headquarters was shifted from a<br />

Modernist building into a more contemporary one.<br />

With a relatively limited budget for the work, the<br />

architect employed for the refurbishment elected to<br />

renovate only the exterior skin and leave the original<br />

structure of this forty-three-year-old building largely<br />

untouched.


4<br />

119<br />

OF HORSES AND MEN 04<br />

ผิวผนังอาคารใหม่ที่เกิด<br />

จากการจัดองค์ประกอบ<br />

ของแผ่นวัสดุต่างๆ


120<br />

theme / review<br />

05<br />

ไดอะแกรมศึกษาการใช้<br />

วัสดุกับผิวผนังอาคารใหม่<br />

Due to the client’s direction that construction<br />

was not to impede or interrupt customers and<br />

employees, the emphasis of the refurbishment<br />

effort was subsequently oriented substantially<br />

toward the 1 redesign of the Façades. The selection<br />

of materials formed the basis and direction for the<br />

design.<br />

The architect’s first design concepts were<br />

based on utility, choosing materials that included<br />

perforated metal plates, clear glass, and textured<br />

paints as the main materials for the building’s<br />

Façade. The design combines transparency and<br />

opaqueness using the qualities of the material in<br />

combination. Interior utility spaces are generally<br />

vertical, the first floor has a showroom and coffee<br />

shop faced in glass shopfront allowing active<br />

interaction between these spaces and the people<br />

that pass by. The second and third floors house<br />

offices for the company executives, views from<br />

these rooms are aligned with the Skytrain<br />

outside. To minimize potential interruptions to the<br />

employees inside, perforated metal screening<br />

was installed. The same material is utilized on<br />

the fourth floor moreover to create more a sense<br />

of privacy. This was achieved by increasing the<br />

number of screening penetrations while reducing<br />

their diameter.<br />

The Façade from the fifth to top floor is applied<br />

with gradient glass whose color gradually tones<br />

down between floors allowing visual connection<br />

of the interior working spaces with the external<br />

environment. The design uses heavier Façade<br />

materials at the lower floors providing a perception<br />

of sturdiness and a sense of permanence while<br />

using lighter-looking materials toward the middle<br />

and top of the building making it look taller than it<br />

really is. The architect cleverly used these façade<br />

materials in a manner that created an illusion of<br />

the building’s perception of strength, transparency,<br />

depth, and height.<br />

5


WRITING A MODERN HISTORY<br />

121<br />

6<br />

06<br />

มุมเงยบริเวณช่องโล่ง<br />

ที่ทางเข้าอาคาร<br />

The second concept applied in the refurbishment<br />

was to highlight the brand’s character through the<br />

visually distinctive Façade. Although the architect<br />

had offered a varied selection of materials to choose<br />

from, the client chose materials that reflected the<br />

character of the new generation of executives<br />

being ‘modern’, ‘elegant’ and ‘sophisticated’. This<br />

reflection is a metaphor, indirectly suggesting and<br />

interpreting some meaning through something else,<br />

like materials and spaces - instead of directly like<br />

an analogy. Also, when one thinks of the product<br />

that propelled Pilot to fame, what comes to mind<br />

is the fountain pen with shaped glistening metal<br />

ends wrapped in distinctive then-popular darkcolored<br />

material. These elements are reflected in<br />

the choice and application of the materials used in<br />

the building façade giving it its distinctive unique<br />

character.<br />

At the very beginning of the design process, the<br />

architect saw that the yellow concrete wall at the<br />

building’s corner was deliberately done. This part<br />

of the wall is rectangular starting from the top of<br />

the building and all the way down to the basement,<br />

with the ending being a triangle pointing down<br />

to the main entrance. The architect elected to<br />

preserve this part, but cover the rectangle part<br />

with glass and metal and clad the triangle part<br />

with a plate.


122<br />

07<br />

ทางเข้าหลักด้านถนนสีลม<br />

เป็นกระจกใสสูงจากพื้น<br />

ถึงฝ้า มองเห็นงานอินทีเรีย<br />

ใหม่ ที่สร้างภาพลักษณ์<br />

ใหม่ให้กับแบรนด์


123<br />

7


124<br />

theme / review<br />

8<br />

08<br />

พื้นที่ปรับปรุงใหม่ที่<br />

โถงชั้นล่างตกแต่งด้วย<br />

ผนังคลื่นซิกแซ็ก<br />

09<br />

มุมมองจากถนน<br />

ซอยด้านข้างอาคาร<br />

Upon completion of the façade, the architect<br />

was asked to add a museum as an addition to the<br />

buildingcreating a new purpose for the space<br />

on the ground floor. The architect subsequently<br />

combined the museum space with the coffee shop<br />

providing customers a location to test their products<br />

within the premises. The design of the space with<br />

continuous folding partitions came from the folds<br />

in the original façade, so the architect continued<br />

that theme internally resulting in the ‘zig-zag’<br />

partitioning.<br />

As to the concept behind the façade design,<br />

Ekaphap explained that “The point is to improve<br />

the original according to its logic. For me, designing<br />

a building’s Façade is akin to designing a cloth that<br />

covers our skin, displaying only the utility of those<br />

clothes. That’s all.”<br />

facebook.com/ekar.architects<br />

สาโรช พระวงค์<br />

เป็ นสถาปนิก นักเขียน อาจารย์ประจำา<br />

คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย<br />

เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปั จจุบันกำาลัง<br />

ศึกษาต่อสาขาสถาปั ตยกรรมที่ Kyoto<br />

Institute of Technology<br />

Xaroj Phrawong<br />

is an architect, writer, and instructor<br />

at the Faculty of Architecture Rajamangala<br />

University of Technology<br />

Thanyaburi. Currently studying<br />

architecture at Kyoto Institute of<br />

Technology.<br />

Project: Pilot Headquarters Client: Pilot Pen Thailand Location: Silom Road, Bangkok Architect: EKAR<br />

Architects Building Contractor: KPY&VFM Building Area: 1,932 sq.m. Renovation area: 406 sq.m.<br />

(Showroom: 175 sq.m., others 231 sq.m.) Completion: 2<strong>02</strong>0 Materials /Suppliers: aluminium composite -<br />

Knauf, Special paint - SKK, Laminates - Greenlam, Tiles - Vecera


WRITING A MODERN HISTORY<br />

125<br />

9


126<br />

theme / review<br />

It’s a<br />

Living<br />

Thing<br />

Having taken inspiration<br />

from the traditional tropical<br />

architecture of the region,<br />

the design of this factory<br />

in Ho Chi Minh City was<br />

developed with a porous<br />

façade devised to act as a<br />

lush green “skin”.<br />

Text: Jaksin Noyraiphoom<br />

Photo courtesy of G8A Architecture &<br />

Urban Planning 1


127<br />

01-<strong>02</strong><br />

มุมมองจากลานโล่ง<br />

กลางอาคาร 2


128<br />

theme / review<br />

เดิมทีอาคารประเภทโรงงานนั้น มักเป็นสิ่ง<br />

ก่อสร้างที่เป็นเสมือนผลผลิตจากระบบ<br />

อุตสาหกรรม ที่มุ่งเน้นประโยชน์ใช้สอย และ<br />

ความคุ้มค่าด้านการลงทุนเป็นหลัก จึงทำาให้<br />

ภาพจำาของโรงงานในความคิดของคนจำานวน<br />

มาก มักเป็นอาคารที่คำานึงถึงมิติทางด้านการ<br />

ใช้งาน และคำานึงถึงมิติด้านอื ่นๆ เช่น ความงาม<br />

น้อยหรือไม่คำานึงถึงเลย ซึ่งนั่นคือภาพจำาของ<br />

โรงงานในอดีต ที่อาจกลายเป็นเพียงสิ่งเก่า<br />

ล้าสมัยในไม่ช้านี้ เนื่องจากที่ผ่านมาได้มีความ<br />

พยายามที่จะสร้างและออกแบบโรงงาน<br />

อุตสาหกรรมรูปแบบใหม่ๆ โดยคำานึงถึงมิติ<br />

ทางด้านความยั่งยืน ด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม<br />

เพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้มีโรงงานอุตสาหกรรม<br />

รูปลักษณ์ใหม่ๆ เกิดขึ้นเป็นจำานวนมาก และ<br />

หนึ่งในผลผลิตจากแนวคิดดังกล่าว คือโรงงาน<br />

Jakob Factory แห่งนี้<br />

อาคาร Jakob Factory เป็นโรงงานของบริษัท<br />

Jakob Rope Systems ผู้ผลิตลวดสลิงสเตนเลส<br />

รายใหญ่จากประเทศสวิตเซอร์แลนด์ โรงงาน<br />

แห่งนี้ตั้งอยู่ภายในเขตอุตสาหกรรมทางตอน<br />

เหนือของเมืองโฮจิมินต์ ประเทศเวียดนาม<br />

ด้วยลักษณะเด่นที่ชวนให้ผู้พบเห็นประทับ<br />

ใจตั้งแต่แรกพบ คือกรอบผนังอาคารสีเขียว<br />

ขนาดใหญ่ที่ห่อหุ้มตัวอาคารไว้ ทำาให้อาคาร<br />

แห่งนี้มีความโดดเด่นและแตกต่างจากอาคาร<br />

โดยรอบเป็นอย่างมาก โดยมี G8A Architecture<br />

& Urban Planning และ Rollimarchini<br />

Architekten สองบริษัทจากประเทศสวิตเซอร์-<br />

แลนด์ ทำาหน้าที่ออกแบบโรงงานแห่งนี้<br />

ในกระบวนการออกแบบ ทีมสถาปนิกมอง<br />

ว่าการสร้างโรงงานอุตสาหกรรมรูปแบบเดิม<br />

นั้น มักมองแค่ผลตอบแทนทางด้านธุรกิจ<br />

เป็นหลัก โดยคำานึงถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้น<br />

ต่อสิ่งแวดล้อมน้อยมาก ดังจะเห็นได้จาก<br />

อาคารโรงงานอุตสาหกรรมในละแวกรอบๆ<br />

ที่สร้างมาก่อนที่เต็มไปด้วยพื้นคอนกรีตแข็ง<br />

กระด้าง ขาดความเป็นธรรมชาติ ทางทีมงาน<br />

ผู้ออกแบบจึงมีความตั้งใจจะทำาในสิ่งที่แตก<br />

ต่างออกไป เริ่มจากการวางผังที่พยายามลด<br />

พื้นที่ดาดแข็งให้เหลือน้อยที่สุด โดยการนำา<br />

พื้นที่โรงงานมาซ้อนชั้นในแนวตั้ง แทนที่จะแผ่<br />

ไปตามแนวราบเหมือนโรงงานปกติทั่วไป การ<br />

ซ้อนชั้นทำาให้เหลือพื้นที่ดินส่วนหนึ่งสำาหรับ<br />

เป็นพื้นที่สีเขียวเพิ่มเข้ามา เมื่อมองจากด้าน<br />

บน ผังโครงการมีสัณฐานเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยม<br />

จัตุรัส โดยมีพื้นที่สีเขียวขนาดใหญ่เป็น<br />

คอร์ทยาร์ดอยู่ตรงกลาง และมีพื้นที่โรงงาน<br />

ล้อมรอบทั้ง 4 ด้าน ทำาให้ทุกพื้นที่ สามารถ<br />

สัมผัสความเป็นธรรมชาติของสวนตรงกลาง<br />

ได้อย่างทั่วถึง<br />

ด้วยความที่โรงงานแห่งนี้เป็นผู้ผลิตลวดสลิง<br />

รายใหญ่ ที่ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่มักถูกนำามา<br />

ใช้ในงานสถาปัตยกรรม และหลายผลิตภัณฑ์<br />

มีจุดขายด้านความยั่งยืน เช่น ลวดสำาหรับ<br />

ให้ไม้เลื้อยเกาะ ลวดตาข่ายสำาหรับสร้างเป็น<br />

ผนังต้นไม้ เป็นต้น ทางผู้ออกแบบจึงมีแนวคิด<br />

ที่จะนำาผลิตภัณฑ์ของบริษัทมาใช้เป็นองค์<br />

ประกอบที่สร้างเอกลักษณ์ให้กับอาคาร กลาย<br />

เป็นที่มาของผนังสีเขียวขนาดใหญ่โดยรอบ<br />

โดยผนังนี้จะถูกแบ่งออกเป็นชั้นๆ จำานวนชั้น<br />

มากน้อยตามความสูงของอาคาร แต่ละชั้น<br />

จะมีลักษณะเป็นรางสำาหรับปลูกต้นไม้วางตัว<br />

ตลอดแนวความยาวของอาคาร ภายในรางปู<br />

ด้วยแผ่น Geo-textile สำาหรับปลูกต้นไม้ โดย<br />

ผลิตภัณฑ์ของบริษัทที่นำามาใช้ประกอบเป็น<br />

ผนังสีเขียวได้แก่ ลวดสลิงที่ขึงไขว้กันตลอด<br />

แนวจากพื้นถึงหลังคา ทำาหน้าที่ยึดรางปลูก<br />

ต้นไม้เข้าไว้ด้วยกัน และลวดตาข่ายที่บุอยู่<br />

ด้านใน ซึ่งนอกจากจะช่วยสร้างภาพลักษณ์ที่<br />

ดีให้กับอาคารแล้ว ผนังสีเขียวนี้ยังทำาหน้าที่<br />

เป็นเสมือนป้ายโฆษณาผลิตภัณฑ์ของบริษัท<br />

ไปด้วยในตัว<br />

เอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรมเขตร้อนชื้นที่ไม่<br />

ปิดตัวเองจากธรรมชาติ ถูกถ่ายทอดผ่านผนัง<br />

สีเขียวซึ่งมีความโปร่ง สามารถระบายอากาศ<br />

และความชื้นได้ดี แสงธรรมชาติสามารถสาด<br />

ส่องเข้ามาได้ ทำาให้ผู้ที่อยู่ภายในไม่ตัดขาด<br />

ตัวเองจากธรรมชาติ สามารถสัมผัสความเป็น<br />

ธรรมชาติได้ พืชพรรณส่วนใหญ่ที่นำามาปลูก<br />

บนผนังเป็นพืชพื้นเมือง ประเภทไม้พุ่มเมือง<br />

ร้อนขนาดเล็ก ทำาให้เข้ากับสภาพภูมิอากาศได้<br />

ดี มีความทนทาน และง่ายต่อการดูแลรักษา<br />

มีการเลือกพืชพรรณที่หลากหลายชนิดมา<br />

ปลูกร่วมกัน สะท้อนเอกลักษณ์ของพืชพรรณ<br />

ในแถบนี้ที่เต็มไปด้วยความหลากหลายทาง<br />

ชีวภาพ เสมือนเป็นการจำาลองระบบนิเวศแบบ<br />

เมืองร้อนขึ้นมาไว้บนตัวอาคาร เกิดผิวเปลือก<br />

อาคารที่มีชีวิตชีวา<br />

ประเด็นด้านความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อมเป็นสิ่ง<br />

ที่สถาปนิกผู้ออกแบบให้ความสำาคัญเป็นอย่าง<br />

มาก และได้ถ่ายทอดลงในงานชิ้นนี้ด้วยการ<br />

ออกแบบโดยเน้นการประหยัดพลังงาน ด้วย<br />

ระบบ Passive คือเน้นการพึ่งพาธรรมชาติ<br />

และใช้เครื่องกลในการปรับอากาศให้น้อยที่สุด<br />

พื้นที่ส่วนใหญ่ภายในโรงงานแห่งนี้จึงเป็น<br />

พื้นที่ที่ไม่ปรับอากาศ แต่ใช้การระบายอากาศ<br />

ด้วยวิธีธรรมชาติ โดย Jakob Factory ถือเป็น<br />

โรงงานแห่งแรกในเวียดนามที่มีพื้นที่ส่วนผลิต<br />

(Manufacturing halls) ที่ไม่ปรับอากาศและ<br />

ระบายอากาศด้วยวิธีธรรมชาติทั้งหมด ซึ่ง<br />

ผิวเปลือกอาคารที่ล้อมรอบด้วยผนังต้นไม้สี<br />

เขียวนี้มีส่วนช่วยอย่างมาก ทั้งในการกรอง<br />

แดด กันฝน และกรองความร้อนที่จะเข้าสู่ตัว<br />

อาคาร ช่วยลดอุณหภูมิที่จะเข้าสู่อาคารได้ดี<br />

นอกจากนี้ยังช่วยฟอกอากาศ กรองฝุ่น และ<br />

สร้างความร่มรื่นให้กับผู้พบเห็นทั้งจากภายใน<br />

และภายนอกอาคาร ช่วยสร้างบรรยากาศให้<br />

โรงงานแห่งนี้มีความพิเศษและเป็นเอกลักษณ์<br />

ซึ่งหาไม่ได้ง่ายนักในโรงงานทั่วๆ ไป


IT’S A LIVING THING<br />

129<br />

<strong>02</strong><br />

ผิวผนังภายนอกของ<br />

อาคารโรงงานเป็นผนัง<br />

ที่ปลูกต้นไม้หลากหลาย<br />

ชนิดโดยรอบ<br />

03<br />

ประตูทางเข้าหลัก<br />

2<br />

3


4<br />

130


131<br />

04<br />

พืชพรรณหลากหลายชนิดจากพันธุ์ไม้<br />

ท้องถิ่น ถูกเลือกมาใช้ตามความเหมาะสม<br />

กับทิศที่ตั้งของอาคารแต่ละด้าน


5<br />

132<br />

review


IT’S A LIVING THING<br />

133<br />

Varieties of plants grown together reflecting the distinct<br />

natural biodiversity of plants in the region. The green system<br />

also simulates a tropical ecosystem on the buildings<br />

expressing a sense of movement, purpose, and tranquility.<br />

6<br />

05<br />

ส่วนอาคารเตี้ยซึ่งมี<br />

ชายคาลึก ได้แรงบันดาลใจ<br />

มาจากหมู่บ้านพื้นถิ่นของ<br />

เวียดนาม<br />

06<br />

ส่วนอาคารสูงสองถึงสามชั้น<br />

มองจากลานโล่ง ซึ่งจัดเป็น<br />

พื้นที่สีเขียว<br />

Traditionally, factories are a byproduct of the industrial<br />

system, with the main emphasis on utility and<br />

investment value. Most people perceive stereotypical<br />

factory buildings as utilitarian without much consideration<br />

for aesthetics and environmental impact.<br />

This stereotype, seen in older factories however may<br />

soon become obsolete. Recent design practices<br />

place more emphasis on considerations relating to<br />

sustainability, environment, and social impact rather<br />

than just the building use. An example of this current<br />

trend and its application is the recently completed<br />

Jakob Factory Saigon in South Vietnam.<br />

The Jakob Factory Saigon produces specialized<br />

steel wire rope systems for architectural and industrial<br />

purposes. The factory is located in an industrial<br />

zone north of Ho Chi Minh City, Vietnam. The<br />

building itself is clad in a large ‘green’ landscaped<br />

wall frame giving it a distinct character and setting<br />

it apart from the surrounding buildings, impressing<br />

all that use and visit the site. Switzerland’s G8A<br />

Architecture & Urban Planning and rollimarchini<br />

architekten designed the building breaking the<br />

stereotype mold.<br />

The approach that the architects took differs from<br />

that of other factories. They determined that the<br />

traditional process in factory design related only<br />

to its utility and the maximization of profit without<br />

considerations in site context, aesthetics, or environmental<br />

impact, as evidenced by the surrounding<br />

industrial buildings was not an environmentally sustainable<br />

solution. As such, the planning of the Jakob<br />

Factory Saigon actually reduces the floor footprint<br />

by stacking the factory’s space vertically rather than<br />

horizontally, freeing up space at ground level that is<br />

utilizing for other functions including a landscaped<br />

‘green space’. Viewed from the top, the project’s<br />

plan is arranged as a square in profile with a central<br />

large green landscaped courtyard enclosed by the<br />

factory footprint allowing all parts of the complex<br />

simultaneous but differing views into the courtyard.


134<br />

theme / review<br />

07<br />

ขอบรอบนอกอาคาร<br />

ถูกออกแบบให้เป็น<br />

ทางเดิน ซึ่งช่วยเพิ่มส่วน<br />

ชายคาในการกันแดด<br />

กันฝน<br />

7<br />

The large green clad walls of the factory stems<br />

from the designer’s concept of incorporating the<br />

products made by the company in the design to<br />

give it a distinctive image that can be associated<br />

with the building’s function.The Jakob products are<br />

used as geotextile covered racks, used as plant<br />

beds built running along the length of each facade.<br />

These steel wires weave and crisscross from floor<br />

to ceiling holding the planters and steel netting of<br />

the wall systems together. Apart from the aesthetics<br />

and overall building image, these systems<br />

visually advertise the company’s products.<br />

The uniqueness of ‘tropical’ natural architecture is<br />

applied to the factory design by way of the green<br />

walls where their openness and transparency<br />

provide for high levels of natural ventilation and<br />

light connecting the building’s users to the natural<br />

green environment within. Most of the wall plants<br />

are small tropical shrubs of low maintenance that<br />

allows resiliency and adaptability to all weather<br />

conditions. There are multiple varieties of plants<br />

grown together reflecting the distinct natural<br />

biodiversity in the region. The green system also<br />

simulates a tropical ecosystem on the building’s<br />

expressing a sense of movement, purpose and<br />

tranquility. The architects placed great emphasis<br />

on environmental sustainability. This principle is<br />

applied through a passive design system of energy<br />

conservation, which encourages natural ventilation<br />

and light, reduces dependency on mechanical<br />

cooling systems.<br />

The Jakob Factory Saigon is probably one of the<br />

first factory in Vietnam proposing completely<br />

naturally ventilated manufacturing halls due to its<br />

sustainable design. As previously noted, the wall<br />

cladding system plays a large role in this by filtering<br />

sunlight, heat protection and rain filter which in<br />

turn maximizes interior temperature efficiencies. It<br />

also helps purify the air by filtering dust, creating a<br />

lush natural environment and distinct atmosphere<br />

for users and visitors rarely seen in conventional<br />

factories.<br />

g8a-architects.com<br />

rollimarchini.ch


IT’S A LIVING THING<br />

135<br />

The wall cladding system plays a large role in filtering sunlight,<br />

rain and minimizing heat load which in turn maximizes interior<br />

temperature efficiencies. It also helps purify the air by filtering<br />

dust and creates a lush natural environment and distinct<br />

atmosphere for users.<br />

08<br />

ผังบริเวณแสดงให้เห็นถึง<br />

พื้นที่ว่างที่เกิดขึ้นจากการ<br />

ออกแบบโรงงานขึ้นทาง<br />

แนวตั้ง<br />

ผศ.ดร.จักรสิน<br />

น้อยไร่ภูมิ<br />

จบการศึกษาจากคณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

ปั จจุบั นเป็ นอาจารย์<br />

ประจำาที่คณะสถาปั ตย-<br />

กรรมศาสตร์และการ<br />

ออกแบบ มหาวิทยาลัย<br />

เทคโนโลยีราชมงคล<br />

รัตนโกสินทร์ ศาลายา<br />

ควบคู่ไปกับการเป็ น<br />

สถาปนิกและนักเขียน<br />

อิ สระ<br />

8<br />

Asst. Prof. Jaksin<br />

Noyraiphoom<br />

is an architect graduated<br />

from the<br />

Faculty of Architecture,<br />

Silpakorn University.<br />

He is currently<br />

a full-time lecturer<br />

at the Faculty of<br />

Architecture and<br />

Design, Rajamangala<br />

University of Technology<br />

Rattanakosin,<br />

along with being a<br />

freelance architect<br />

and writer.<br />

Project: Jakob Factory Location: Ho Chi Minh City, Vietnam Client: Jakob Saigon Architects: G8A Architecture<br />

& Urban Planning and Rollimarchini Architekten Landscape Contractor: Jimmy Hata Land Area: 30,000 sq.m.<br />

Building Area: 13,000 sq.m. Construction Cost: 8M usd Completion: 2<strong>02</strong>0


136<br />

materials<br />

Functionality,<br />

Sensuality<br />

and<br />

Aesthetics<br />

Some ideas on<br />

recent materials for<br />

architecture and<br />

building skin<br />

Text: Patikorn Na Songkhla


FUNCTIONALITY, SENSUALITY AND AESTHETICS<br />

137<br />

Humans create spaces to utilize them; they then create walls and<br />

claddings to cover and protect those spaces from harm and undesirable<br />

conditions further creating a sense of privacy. As humans and their<br />

modernistic societies become more complex, so does the evolution<br />

and role of architecture. Thus, the idea of designing walls and cladding<br />

merely to cover ‘spaces’ has seemingly become obsolete as these elements<br />

are increasingly needed to serve more complex uses. Systems such as<br />

these are now also needed to reflect the identity of the particular<br />

architectural spaces they cover, much like cloths that not only cover<br />

the wearer, but reflect their identity beneath.<br />

The context of modern society and ever-evolving technology allows<br />

architects to freely choose materials and develop new techniques and<br />

technologies for these systems that both serve the purposes of a particular<br />

architecture as well as hinting or display its identity, resulting in skins<br />

of modern works that are more dimensionally suggestive and visually<br />

interesting when compared to their older counterparts.<br />

This article will discuss various materials for wall cladding, from older<br />

systems using wood, stone and brick to precast concrete and modern<br />

materials including glass and curtain wall systems which are developed<br />

to serve various needs in terms of sturdiness, durability, safety, and<br />

environmental protection.<br />

มนุษย์สร้างที่ว่างหรือสเปซขึ ้นเพื่อใช้งาน สร้างผนังและผิวผนังเพื่อห่อหุ ้มสเปซ ปกป้ องสเปซนั้นจากดินฟ้ าอากาศและจากสิ่งที่<br />

ไม่พึงปรารถนา และสร้างความเป็ นส่วนตัว เมื่อมนุษย์มีความซับซ้อนขึ ้น สังคมซับซ้อนขึ ้น ความเป็ นอยู่และบทบาทของสถาปั ตย-<br />

กรรมก็ซับซ้อนขึ ้นตามไปด้วย การออกแบบผนังและผิวผนังอาคารเพียงเพื่อห่อหุ ้มที่ว่างกลายเป็ นแนวคิดที่ตกเลือนไปจาก<br />

ยุคสมัย เพราะในสังคมสมัยใหม่ นอกจากผิวผนังอาคารจะต้องตอบสนองการใช้งานที่ซับซ้อนขึ ้นแล้ว มันยังได้มีส่วนทาหน้าที่<br />

แสดงออกหรือสื่ อสารตัวตนของสถาปั ตยกรรม ไม่ต่างจากเครื่องนุ่งห่มที่ครั้งหนึ ่งเป็ นเพียงปั จจัยสาหรับปกคลุมร่างกาย<br />

ได้กลายมาเป็ นสิ่งที่แสดงออกถึงตัวตนของผู้สวมใส่<br />

ในบริบทของสังคมร่วมสมัยและเทคโนโลยีที่พัฒนาไปไม่หยุดยั้ง ทาให้ผิวผนังอาคารมีมิติต่างๆ มากมายที่น่าสนใจ เมื่อสถาปนิก<br />

สามารถเลือกใช้วัสดุและพัฒนาเทคนิคในการสร้างผิวผนัง ในการตอบสนองการใช้งานและการแสดงออกได้อย่างเสรี แทนที่<br />

ผิวผนังอาคารในมิติเดิมๆ แบบในอดีต<br />

จากผนังไม้สมัยโบราณ ผนังก่ออิฐมาเป็ นผนังคอนกรีตสาเร็จรูป จากผนังฉาบปูนเรียบทาสีมาเป็ นผนังใช้วัสดุห่อหุ ้มสาเร็จรูป<br />

ต่างๆ รวมถึงกระจกและระบบ Curtain Wall ที่มีการพัฒนาให้ตอบสนองประโยชน์ ใช้สอยทั้งในเรื่องความคงทน แข็งแรง<br />

ปลอดภัย การป้ องกันสภาวะอากาศที่เปลี่ยนแปลง การป้ องกันการรั่วซึมของน ้าและอากาศ ส่วนหนึ ่งของทางเลือกวัสดุผิวผนัง<br />

ภายนอกอาคารจะนามาพูดคุยกันในวันนี้


138<br />

materials<br />

External Cladding<br />

Ludwig Hatschek คิดคนไฟเบอร์ซีเมนต์ในปลายศตวรรษที่ 19 แผนวัสดุ<br />

ประเภทไฟเบอร์ซีเมนต์บอร์ดที่ประกอบดวยซีเมนต์ เซลลูโลส และแรที่มา<br />

เติมแตง ไดมีการใชงานอยางแพรหลายในชวงเวลาตอมา ไฟเบอร์ซีเมนต์<br />

บอร์ดเป็นวัสดุอาคารที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวแสดงเนื้อสัมผัสดิบๆ ดานในที่<br />

เป็นธรรมชาติ ถูกผลิตและนำาเสนอเพื่อใชการใชในรูปแบบตางๆ ผลิตภัณฑ์ที่มี<br />

คุณภาพเหมาะสมเพื่อใชงานเป็นผนังภายนอกอาคารไดถูกพัฒนาขึ้น แผนวัสดุ<br />

สามารถเจาะรูดวย Waterjet หรือเครื่อง CNC สามารถทำาใหเกิดลวดลายนูน<br />

สูงต่ำา ตัดจัดเรียงไดหลายรูปแบบ<br />

การออกแบบรายละเอียดโดยเฉพาะสำาหรับงานผนังภายนอกอาคารเป็นเรื่อง<br />

สำาคัญ การออกแบบรอยตอแผน ระบบการติดตั ้ง โครงรองรับ และผนังดานหลัง<br />

มีผลตอประสิทธิภาพการระบายอากาศ การป้องกันการรั่วซึมของน้ำ า รวมถึง<br />

เรื่องการจัดการดานพลังงาน<br />

วัสดุประเภทแผนอะลูมิเนียมหอหุมอาคาร หรือ Aluminium Cladding ใชงาน<br />

กันแพรหลายในงานสถาปัตยกรรม ดวยความสวยงามทันสมัย น้ำาหนักเบา<br />

มีความยืดหยุนและสะดวกในการติดตั้ง วัสดุเคลือบผิวชวยใหมีความคงทน<br />

อายุการใชงานยาวนาน มีทั้งประเภท Solid และ Composite<br />

1<br />

Aluminium Cladding<br />

แผนอะลูมิเนียมแบบ Solid มีความปลอดภัย ยั่งยืนเป็นมิตรกับสิ่งแวดลอม<br />

ผิวสำาเร็จมีใหเลือกทั้งเป็นการเคลือบสีคุณภาพสูงประเภท Fluorocarbon หรือ<br />

ทำาผิว Anodise แผนอะลูมิเนียมแบบ Composite ประกอบดวยแผนอะลูมิเนียม<br />

บางสองแผนประกบไสกลางพลาสติก แผนนอกมีระบบเคลือบสีประเภท Fluorocarbon<br />

ที่มีความคงทนตอสภาวะอากาศ ไสกลาง FR (Fire Resistant)<br />

รวมถึงไสกลางอะลูมิเนียมแบบ Honeycomb ถูกนำามาตอบโจทย์เรื่องความ<br />

ปลอดภัยกรณีเกิดเพลิงไหมและความแข็งแรง<br />

ระบบการติดตั้งแบบ Mechanical ยังเป็นมาตรฐานการติดตั้งที่ใชกัน ขณะที่<br />

การใชเทปหรือกาวคุณภาพสูงไดรับการพัฒนาเป็นสิ่งประดิษฐ์เพื่อใหเป็นอีก<br />

ทางเลือก การออกแบบรอยตอ การเลือกใชวัสดุยาแนวที่เหมาะสม การบำ ารุง<br />

รักษา ซอมแซม ทำาความสะอาดคราบสกปรกที่จะเกิดขึ้น ลวนเป็นสิ่งที่สถาปนิก<br />

ตองพิจารณาใหความสำาคัญ<br />

วัสดุแผนโลหะหอหุมอาคาร หรือ Metal Cladding มีความคงทนแข็งแรง ขณะที่<br />

ใหความยืดหยุน โลหะแตละประเภทมีคุณสมบัติที่แตกตางกันไป ความสวยงาม<br />

และราคาก็แตกตางกันดวย พื้นผิวอาจมีการทำ าระบบสีเคลือบหรือแสดงออกซึ่ง<br />

ธรรมชาติของวัสดุนั้น โลหะบางประเภทยังมีการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ<br />

เมื่อเวลาผานไปทำาใหภาพลักษณ์ปรากฏเปลี่ยนไปเสมือนมีชีวิต เป็นหลากหลาย<br />

ทางเลือกวัสดุผนังอาคารใหกับงานสถาปัตยกรรม นอกจากเรื่องความสวยงาม<br />

แลว ปัจจัยหลักในการพิจารณาเลือกใชงาน ไดแก ความตานทานการกัดกรอน<br />

จากสภาวะอากาศ อายุการใชงาน และราคา การออกแบบวัสดุประเภทนี้ตอง<br />

ใหความสำาคัญกับความเป็นระบบ ทั้งระบบการติดตั้ง การป้องกันน้ำ า ความชื ้น<br />

การรั่วซึมของอากาศ<br />

Aluminium Cladding<br />

2<br />

Photo Reference<br />

1. https://www.equitone.com/en-us/ 2-3. ALUCOBOND_Facade_fascination_EN.pdf<br />

4. https://professionals.lysaght.com/ 5. https://www.3m.com/3M/en_US/vhb-tapes-us/applications/construction/<br />

6. https://www.dow.com/documents/en-us/app-tech-guide/62/62-17/62-1706-01-dow-corning-panelfix-system.pdf?iframe=true


FUNCTIONALITY, SENSUALITY AND AESTHETICS<br />

139<br />

External Cladding<br />

Ludwig Hatschek created fiber cement in the late 19 th century.<br />

Boarding made from this material, which is composed of cement,<br />

cellulose, and various minerals later became widely used. This<br />

material is unique in its rawness. It was produced and introduced<br />

for different uses and is a product whose qualities ensure suitability<br />

in exterior applications. The material can be drilled with waterjet<br />

or CNC machined allowing for different patterns of embossing and<br />

other finishes. Design detailing is very important here particularly<br />

for exterior walling, panel joints, installation systems and supporting<br />

structure all affect efficiencies in relation to insulation, ventilation,<br />

water tightness and energy management.<br />

Aluminium Cladding<br />

3<br />

Aluminium is another modern cladding material used in architectural<br />

work in sheet or panel guise due to its attributes. The material<br />

is generally aesthetically pleasing, lightweight and allows for flexibility<br />

and ease of installation. Both its natural and applied coatings<br />

offer durability and a long-life span with generally minimum maintenance.<br />

This type of material is available in both solid and composite<br />

format.<br />

Solid aluminium sheets and panels are safe and environmentalfriendly.<br />

Two types of ready-made coatings for this type of panel<br />

include high quality fluorocarbon color coating and an anodised<br />

coating. Composite aluminium sandwich panels are composed of<br />

two thin aluminium sheets with an inert fire-resistant core in the<br />

middle. The outer layers are generally coated by weather-resistant<br />

fluorocarbon while the fire resistant / FR core, as well as the<br />

honeycomb aluminium core are used for durability.<br />

Mechanical fixing system is the standard and popular method of<br />

installation even though high-quality adhesives are available and<br />

developed as an alternative. As with any cladding system, particular<br />

care is needed in the design of jointing and sealants as well as<br />

attention to maintenance, reparation and cleaning methods.<br />

Metal Cladding<br />

4<br />

Metal cladding is strong, durable, and flexible, various types of<br />

metal have different attributes, aesthetic appeal and cost. Some of<br />

these receive factory pre-coatings while some do not. Other types<br />

of metal see change in physical attributes over time, giving them<br />

life-like quality and offering alternative applications in architectural<br />

design and use. Other factors for consideration when choosing<br />

which materials to use is its resistance to adverse weather conditions,<br />

durability / longevity, installation methodology and cost.<br />

Cladding materials that fall into this category include coated steel,<br />

coated aluminium, zinc anneal, stainless steel, copper, brass,<br />

titanium, titanium-zinc, and others.<br />

5<br />

6


140<br />

materials<br />

ผลิตภัณฑ์โลหะทางเลือกสำาหรับงาน Metal Cladding เชน เหล็กชุบสังกะสีผสม<br />

อะลูมิเนียม, เหล็กสเตนเลส, ทองแดง, ไททาเนียม, ไททาเนียมสังกะสี เป็นตน<br />

เหล็กสนิม หรือ Weathering Steel หรือ Weathered Steel เป็นโลหะผสมใน<br />

กลุมของเหล็กที่มักใชในการกอสรางกลางแจง ไดรับการออกแบบมาเพื่อลด<br />

ความจำาเป็นในการทาสี โดยหากปลอยทิ้งไวภายนอกสัมผัสกับองค์ประกอบ<br />

ตางๆ ก็จะเกิดสนิมขึ้นภายในเวลาเพียงไมกี่เดือน เหล็กสนิมถูกนำามาใชในงาน<br />

สถาปัตยกรรมดวยความมีลักษณะเฉพาะดานความสวยงามเป็นธรรมชาติ<br />

ในปี ค.ศ. 1930 U.S. Steel ไดออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสรางทางรถไฟ<br />

ใชชื่อวา Corten Steel และ COR-TEN ก็เป็นเครื่องหมายการคาจดทะเบียนใน<br />

เวลาตอมา Weathering Steel มีความตานทานการกัดกรอนและตานทานแรงดึง<br />

องค์ประกอบทางเคมีของเหล็กประเภทนี้ ทำาใหสามารถตานทานการกัดกรอน<br />

ในชั้นบรรยากาศที่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเหล็กอื่นๆ เนื่องจากเหล็กสรางชั้นป้องกัน<br />

บนพื้นผิวภายใตอิทธิพลของสภาพอากาศ ชั้นปกป้องพื้นผิวจะพัฒนาและงอก<br />

ใหมอยางตอเนื่องเมื่ออยูภายใตอิทธิพลของสภาพอากาศ อาจกลาววาเหล็ก<br />

สามารถเกิดสนิมเพื่อสรางชั้นเคลือบป้องกันซึ่งมีความเสถียรได<br />

การนำาเหล็กสนิมไปใชงานตองพิจารณาในเรื่องเทคนิคการเชื่อมตอวัสดุ วัสดุ<br />

เชื่อมที่ใชตองมีอัตราการกัดกรอนเชนเดียวกับเหล็กสนิม ตองมีการระบาย<br />

ไมใหมีการขังน้ำาเกิดขึ้น การกัดกรอนจากสภาวะอากาศในแตละพื้นที่ก็จะแตก-<br />

ตางกันไป ในพื้นที่ที่มีมลพิษในอากาศสูงจะมีผลตอความเสถียรของชั ้นปกป้อง<br />

อาจทำาใหไมสามารถหยุดยั้งการกัดกรอนได การทำาความสะอาดคราบสนิม<br />

ที่จะไหลออกมายังตองเป็นเรื่องคำานึงถึงดวย<br />

การใชงานผนังโลหะโปรงระบายอากาศในลักษณะ Second Skin ปรากฏใน<br />

งานสถาปัตยกรรมสมัยใหมออกแบบโดยสถาปนิกที่มีชื่อเสียง มีการนำาโลหะ<br />

รูปแบบตางๆ มาประยุกต์ใชงาน ผนังโลหะโปรงในงานผนังภายนอกอาคาร<br />

ชวยใหแสงสวางธรรมชาติและอากาศผาน สรางการเชื่อมโยงดวยมองเห็น<br />

ออกไปสูภายนอก<br />

แผนโลหะเจาะรู (Perforated Metal) นำาเอาแผนโลหะบางตางๆ เชน แผนเหล็ก<br />

กัลวาไนซ์ แผนเหล็กสเตนเลส แผนอะลูมิเนียม เป็นตน มาเจาะรูตามการออก-<br />

แบบ การเจาะรูชวยลดน้ำาหนักของแผนผนังไดในขณะที่ไมไดลดความแข็งแรง<br />

ลงมากนัก สรางความน่าสนใจ สามารถออกแบบลวดลายที่มีความซับซอน<br />

ตางๆ ได<br />

ตะแกรงโลหะฉีก (Expanded Metal) เป็นการนำาแผนโลหะมาทำาการเจาะ<br />

และฉีกใหเป็นชองรูปรางตางๆ โดยมีมุมที่ยังคงยึดติดกันและตอกันอยางเป็น<br />

ระเบียบ เป็นการเพิ่มความแข็งแรงของโครงสรางโลหะและลดน้ำาหนักของ<br />

แผนโลหะในเวลาเดียวกัน ทำาใหมีความแข็งแรง รับน้ำาหนักบนแผนไดไม<br />

บิดงอหรือเสียรูป น้ำาหนักเบา การใชในงานผนังอาคารลักษณะคลายกันกับ<br />

แผนโลหะเจาะรู<br />

การใชโลหะที่มีลักษณะเป็นเสนมาถักทอใหเกิดเป็นตาขายหรือผืนผาโลหะ<br />

(Metal Fabric) มีลักษณะเฉพาะตัว ใหความสวยงาม ทันสมัย ยืดหยุน เป็น<br />

ตัวป้องกันความรอนและแสงสวางจากดวงอาทิตย์ขณะเดียวกันก็สรางความ<br />

โปรงเบา ปรับสภาพอากาศ สรางพื้นที่วางที่น่าสนใจ โลหะหลักที่นำ ามาใชในงาน<br />

ผนังภายนอกอาคารเป็นเหล็กสเตนเลสคุณภาพสูง แตโลหะอื่นก็สามารถนำ ามา<br />

ใชงานได เชน ทองแดง อะลูมิเนียม เป็นตน<br />

Weathering Steel or Weathered Steel is an alloy of steel often<br />

used in outdoor construction. It is originally designed to reduce the<br />

need for paint. If left outdoor in contact with weather and various<br />

elements, it will rust in just a few months. Weathering steel thus is<br />

widely used in architecture for its natural beauty features.<br />

In 1930, U.S. Steel developed a product for railway construction<br />

under the name of Corten Steel, which later was signed under the<br />

patent name of COR-TEN. It is a weathering steel more resistant to<br />

atmospheric corrosion due to its chemical compounds that creates<br />

a protective surface layer. It is a composite steel alloy developed to<br />

eliminate the need for the application of finishes forming a stable<br />

rust-like appearance showcasing its unique natural beauty after<br />

several months to years of weather exposure. As such, the material<br />

is generally used in outdoor applications.<br />

There are several factors to consider when utilizing this type of<br />

material. The first is welding, as material used in welding needs<br />

to have the same corrosion rate as that of the weathering steel.<br />

Also, corrosion occurs differently in different weather conditions<br />

and high levels of air pollution also impacts on the stability of the<br />

protection layer, which in turn affects its ability to resist corrosion.<br />

Applications require adequate ventilation to prevent water<br />

collecting and any rust run-off needs cleaning.<br />

In the past few decades the use of airy metal walls including<br />

wire mesh and perforated steel sheet in the form of Second Skin<br />

appears in modern architecture designed by renowned architects.<br />

This type of cladding uses thin sheets made from different types<br />

of metal such as aluminium, galvanized and stainless steel. Sheets<br />

can be perforated in a variety of interesting patterns in this type of<br />

application. The holes lead to a reduction in weight while retaining<br />

material strength and integrity. Perforations also allow for natural<br />

light, ventilation and visual connectivity to adjoining environments<br />

as well as provide freedom for architects to design patterns of<br />

various complexity.<br />

Expanded metal involves drilling and expanding metal sheets to<br />

create perforations in different three dimensional shapes which<br />

simultaneously increases the metal structure’s strength and capacity<br />

while reducing. The sheets can carry weight without bending or<br />

deforming. Uses in cladding and walling are quite similar to that<br />

of perforated metals.<br />

Metal fabrics are metals which are woven together into nets or<br />

fabrics. They are unique, beautiful, modern, and flexible. This type<br />

of cladding offers protection against heat gain and sunlight while<br />

providing a feeling of transparency. They also help condition the<br />

air and create interesting spaces. This system generally uses high<br />

quality stainless steel, although other materials such as zinc and<br />

aluminium are available.


FUNCTIONALITY, SENSUALITY AND AESTHETICS<br />

141<br />

Weathering Steel<br />

7<br />

Perforated Metal<br />

8<br />

Perforated Metal<br />

9<br />

10<br />

Metal Fabric<br />

Metal Fabric<br />

11<br />

Photo Reference<br />

7. https://www.dezeen.com/tag/weathering-steel/ 8. https://www.pinterest.com/SKSteel/<br />

expanded-metal-facadescladding/ 9. https://www.pinterest.com/jjjjjjjjjjkkkkkkkkjjjhhhhh/<br />

perforated-metal-facades/ 10. https://www.archiproducts.com/en/products/facade-cladding/<br />

material_expanded-metal 11-12. https://codinametal.com/<br />

Metal Fabric<br />

12


142<br />

materials<br />

Soft Material<br />

วัสดุผาใบที่พัฒนาคุณภาพเพื่อการใชงานภายนอกอาคาร ทนทานตอสภาวะ<br />

อากาศซึ่งมีความรุนแรง ถูกนำามาใชเป็นผาใบขึงตึงในงานสถาปัตยกรรม<br />

ดวยลักษณะเฉพาะในความที่มีน้ำาหนักเบา สรางรูปทรงอิสระ และมีการสอง<br />

ผานของแสงสวางธรรมชาติ ชวยป้องกันความรอน ควบคุมปริมาณแสงสวาง<br />

และการมองเห็น สามารถทำาการสื่อสารดวยภาพบนพื้นผิว ชวยปรับปรุง<br />

ความน่าสบายทางดาน Acoustic ทั้งภายในและภายนอกอาคาร<br />

นอกจากวัสดุผาใบเสนใยสังเคราะห์ที่มีความบางเบา ยังมีความพยายาม<br />

ใชวัสดุพื้นผิวที่ออนนุมพิเศษ เชน แผนยาง พรมที่ใชในงานสถาปัตยกรรม<br />

เป็นตน มาประยุกต์ใชกับผิวอาคาร Gasser Fassadentechnik แหง St.<br />

Gallen ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ นำาเสนอวัสดุดังกลาวเป็นวัสดุสำาหรับอาคาร<br />

ที่ยั่งยืน<br />

ยาง EPDM (Ethylene Propylene Diene Monomer Rubber) เป็นวัสดุ<br />

อเนกประสงค์มีความยืดหยุนสูง ทนทานตอสภาพอากาศ มีความทนทานตอ<br />

รังสี UV และมีความปลอดภัยจากเพลิงไหมในระดับ B1 หลังจากผานขั้นตอน<br />

การใชงานแลวสามารถหั่นเป็นชิ้นเล็กชิ้นนอยเพื่อนำาไปรีไซเคิลตอไปได<br />

Tisca Tiara นำาเสนอผลิตภัณฑ์วัสดุสนามหญาเทียมสำาหรับสนามกีฬากลาง<br />

แจงซึ่งมีความทนทาน เพื่อใชกับผิวแนวตั้งภายนอกอาคาร หญาเทียมความ<br />

หนา 32 มม. ทนทานตอสภาพอากาศ ทนรังสี UV การประยุกต์ใชงานแบบ<br />

ผิดวัตถุประสงค์พบวาสรางความน่าสนใจมากกวาการเป็นพื้นสนามกีฬา<br />

Soft Material<br />

13<br />

Kinetic Façade<br />

การพัฒนาออกแบบงานสถาปัตยกรรมที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่ของ<br />

วัตถุ แรงและพลังงานที่เกี่ยวของอยางตอเนื่องตอบสนองตอสิ่งแวดลอม<br />

กับเทคโนโลยีกาวหนาสรางความน่าสนใจในหลายปีที่ผานมา<br />

Al Bahr Towers ของบริษัทสถาปนิก Aedas ในอาบูดาบี ออกแบบใหมีแผง<br />

คลายรมของดานหนาอาคารควบคุมดวยระบบคอมพิวเตอร์เปิดและปิดตอบ<br />

สนองตอการเคลื่อนไหวของดวงอาทิตย์ ปกป้องผูใชอาคารจากความรอน<br />

และแสงสะทอน ลดความจำาเป็นในการใชเครื่องปรับอากาศ และทำาใหอาคาร<br />

มีความยั่งยืนมากขึ้น แผงเหลานี้ยังไดรับแรงบันดาลใจทางศาสนาดวยความ<br />

เคารพในมรดกทางวัฒนธรรมดวย<br />

พื้นผิวอาคารที่เคลื่อนไหวไมหยุดนิ่ง ใชในการจัดการดานแสงสวาง อากาศ<br />

พลังงาน และแมแตการสื่อสารดานขอมูลตางๆ สามารถลดการรับแสง<br />

อาทิตย์ ปลอยใหอากาศบริสุทธิ์ผานเขาปรับสภาพแวดลอมภายในอาคาร<br />

อาจมีการตั้งโปรแกรมใหตอบสนองตอปัจจัยทางดานสภาพแวดลอม เวลา<br />

ระดับ ลักษณะการเขาใชอาคาร และอื่นๆ เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและ<br />

ประสิทธิผล<br />

Soft Material<br />

14<br />

Soft Material<br />

15


FUNCTIONALITY, SENSUALITY AND AESTHETICS<br />

143<br />

Kinetic Façade<br />

16<br />

Soft Material<br />

High quality, weather-resistant canvases and like materials are<br />

developed for exterior use and can serve as tension membranes for<br />

architectural applications. Their unique qualities include lightness,<br />

an ability to create free forms and options in light transparency<br />

which can be manipulated to the level of heat, light and visibility<br />

required. Their surface can also double as image projectors in<br />

facilitating communications. The materials can also improve building<br />

acoustic comfort internally and externally. Apart from lightweight<br />

synthetic canvases, there are applications of materials with especially<br />

soft surfaces, such as rubber sheets or carpet for architectural use<br />

in walling. Gasser Fassadentechnik from St. Gallen, Switzerland<br />

offers them as alternatives for sustainable buildings.<br />

Ethylene Propylene Diene Monomer or EPDM membranes is a<br />

multipurpose rubber like material with high flexibility, weather,<br />

UV resistance, B1-level fire safety and recyclable properties.<br />

Tisca Tiara offers products made from similar materials to and<br />

as durable as artificial grass for outdoor stadiums for cladding<br />

applications. UV and weather-resistance of the artificial material<br />

has shown that it can be utilized in many building types other than<br />

sport stadiums.<br />

Kinetic Façades<br />

In recent years, there have been interesting and on-going development<br />

in architecture relating to the movement of objects, forces<br />

and energy which responds to the environment through advancing<br />

technology.<br />

Kinetic Façade<br />

17<br />

Al Bahr Towers in Abu Dhabi, designed by Aedas, incorporates<br />

such technology through computer controlled, umbrella-like panels.<br />

Panels open and close in relation to the suns positioning and<br />

serve to protect the user and building from heat and light reflection<br />

reducing reliance on mechanical air conditioning systems for a<br />

more sustainable building outcome. Panel design is often inspired<br />

by religion, displaying the designer’s reference to cultural heritage.<br />

Moving cladding systems are also used to manage light, ventilation,<br />

energy and even communication. They can mitigate the building’s<br />

exposure to sunlight and let fresh air flow through and condition<br />

the interior environment. Responses to different factors in the<br />

environment, time, levels and manners of use, and others can be<br />

programmed to improve effectiveness and efficiency.<br />

Kinetic Façade<br />

18<br />

Photo Reference<br />

13-14. https://www.architectkidd.com/index.php/2012/01/polymer-building-skins/<br />

15. https://www.detail-online.com/soft-building-skins-rubber-sheeting-and-architectural-carpeting-for-facades-16769/<br />

16-18. https://www.archdaily.com/922930/what-are-kinetic-facades-in-architecture


144<br />

materials<br />

Advanced Building Skin<br />

ความกาวหนาดานเคมีและวัสดุศาสตร์ทำาใหเกิดการพัฒนาตอเนื่อง การ<br />

ประยุกต์ใชเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์กับงานผิวผนังอาคารไดพัฒนาใชงานมา<br />

เป็นเวลานานแลว โลหะที่ปรับเปลี่ยนรูปทรงเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไดมีการ<br />

ศึกษาทดลองเพื ่อมาใชในงานอาคาร ผิวผนังซึ ่งปกปิดดวย Titanium Dioxide<br />

ชวยฟอกอากาศโดยรอบใหบริสุทธิ์ ขจัดมลพิษอยางมีประสิทธิภาพโดยการ<br />

ปลอยอนุมูลอิสระที่ลักษณะเป็นรูพรุน<br />

กระเบื้อง Prosolve370e พัฒนาโดยบริษัทสัญชาติเยอรมันชื่อ Elegant<br />

Embellishments ทำาใหเกิดรูปแบบที่ออกแบบปรับแตงได เพิ่มประสิทธิภาพ<br />

การทำางานโดยการเรงปฏิกิริยาดวยแสง (Photocatalyst) สามารถลางและ<br />

กำาจัดสารพิษที่เป็นอันตรายไดดวยพลังของแสงที่เขามาใกลพื้นผิวเคลือบดวย<br />

สารที่สามารถเรงปฏิกิริยาดวยแสง สิ่งที่สามารถกำาจัดได เชน กลิ่นเหม็นจาก<br />

ของสกปรก แบคทีเรีย เชื้อโรคตางๆ เชื้อรา ไวรัส และสารเคมีที่ทำ าใหมีอาการ<br />

ป่วยได<br />

กลุมนักออกแบบ Splitterwerk Architects และ Arup ไดทำาการทดสอบกับผนัง<br />

อาคารในประเทศเยอรมนีขนาด 200 ตารางเมตร โดยการใชตะไครน้ำาขนาด<br />

เล็กมากมายหลายลานตนใหไดรับสารอาหารและกาซออกซิเจนเพื่อไปกระตุน<br />

การผลิตสารชีวมวล เซลล์เล็กๆ ที่ไดรับแสงอาทิตย์โดยตรงจะเติบโตอยาง<br />

รวดเร็วสงผลใหน้ำามีอุณหภูมิสูงขึ้น ระบบจะกักเก็บความรอนนั้นเพื่อไวใชใน<br />

อาคารตอไป กลายเป็นแหลงพลังงานที่ยั่งยืนเปลี่ยนสภาพแวดลอมในเมืองได<br />

อาคาร Habitat 2<strong>02</strong>0 สรางขึ้นในประเทศจีนเปลี่ยนแปลงการรับรูของเรา<br />

เกี่ยวกับพื้นผิวโครงสรางอยางมาก ภายนอกไดรับการออกแบบใหเป็นพื้นผิว<br />

ที่มีชีวิตซึ่งแตกตางจากวัสดุกอสรางที่นิ่งเฉยทั่วไป ผิวหนังลักษณะเยื่อหุม<br />

ทำาหนาที่เป็นตัวเชื่อมระหวางภายนอกและภายในของที่อยูอาศัย ในมุมหนึ่งผิว<br />

หอหุมอาจพิจารณาเป็นผิวใบที่มีปากใบหลายชอง ชองเปิดของเซลล์เกี่ยวของ<br />

กับการแลกเปลี่ยนกาซและการคายน้ำาในพืช<br />

พื้นผิวที่ชวยใหแสงสวาง อากาศ และน้ำาผานเขาไปสูที่พักอาศัย มีการจัดการ<br />

ตัวเองโดยอัตโนมัติตามแสงอาทิตย์ที่สาดสองเขามา จึงไมจำาเป็นตองมีไฟฟ้า<br />

สำาหรับแสงสวางในตอนกลางวัน อากาศและลมจะถูกสงเขาสูอาคารโดยมีการ<br />

กรองเพื่อใหเป็นเครื่องปรับอากาศตามธรรมชาติที่ใหอากาศบริสุทธิ์ พื้นผิวมีการ<br />

ตอบสนองสามารถกักเก็บน้ำาฝน โดยน้ำานั้นจะถูกทำาใหบริสุทธิ์ กรอง น้ำาไปใช<br />

และรีไซเคิล พื้นผิวยังสามารถดูดซับความชื้นจากอากาศ ของเสียที่เกิดขึ้น<br />

จะถูกแปลงเป็นพลังงานกาซชีวภาพซึ่งสามารถนำาไปใชประโยชน์ตางๆ ใน<br />

แหลงที่อยูอาศัยไดดวย<br />

ในวันนี้ยังคงมีวัสดุผิวผนังมากมายให้สถาปนิกได้พิจารณาเลือกใช้ในงาน<br />

ออกแบบสถาปั ตยกรรม ตัวอย่างวัสดุหนึ ่งที่มีใช้งานแพร่หลายแต่ยังไม่ได้<br />

กล่าวถึง ได้แก่ กระจก ซึ ่งอาคารสมัยใหม่ออกแบบระบบผนัง Curtain Wall<br />

ใช้กระจกประสิทธิภาพสูง ให้แสงสว่างผ่านเข้าสู่ภายในอาคารในขณะที่ช่วย<br />

ป้ องกันความร้อนที่จะผ่านเข้าสู่ภายในอาคาร ระบบ Curtain Wall มีการ<br />

ออกแบบให้ป้ องกันการรั่วซึมของน ้าและอากาศได้เป็ นอย่างดี<br />

ต้องย ้าว่าการออกแบบรายละเอียดเป็ นเรื่องสาคัญมาก สถาปนิกต้องรู้จัก<br />

ในวัสดุที่นามาใช้งาน เพื่อประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความยั่งยืน และหลีก<br />

เลี่ยงปั ญหาที่อาจจะตามมาในอนาคต ไม่ต้องไปเป็ นภาระให้กับทางโครงการ<br />

และผู้เข้ามาใช้อาคาร<br />

Advanced Building Skin<br />

Advances in modern chemistry and material science has led to con-<br />

stant and positive progress such as the development and application<br />

of photovoltaics (PV) on wall and roof cladding. There are also on-going<br />

experiments utilizing metals whose shapes shift in relation to the<br />

temperature on buildings and claddings enclosed in titanium dioxide<br />

help clean the surrounding air eliminating toxins effectively by<br />

releasing hole-shaped free radicals.<br />

Prosolve 370e tiles, were developed by the Germany firm, Elegant<br />

Embellishments and can be manipulated into different shapes. Their<br />

surfaces are coated in special chemicals that can magnify the light<br />

by photocatalysis which is a process where light is magnified when<br />

in contact with the chemicals. This process eliminates harmful toxins<br />

and micro-organisms that lead to illnesses as well as the undesirable<br />

odors resulting from those substances and organisms.<br />

Splitterwerk Architects and Arup experimented on a 200 square<br />

meter wall surface in Germany allowing millions of microalgae to<br />

receive nutrients and oxygen to stimulate biomass production. As an<br />

example, small cells receiving sunlight directly grow quickly which<br />

heightens water temperature providing heat which can be stored by<br />

for future use in buildings. This alternate energy system will become a<br />

sustainable source of energy improving the environment in cities.<br />

The Habitat 2<strong>02</strong>0 building in China drastically changes our perception<br />

of surface structures. The materials used in the exterior cladding,<br />

unlike static architecture is designed to be organic. The membrane-like<br />

cladding serves to connect the interior and exterior of the building, the<br />

cladding seen as a ‘leaf’ type surface with multiple stomata or open<br />

cell membranes pertaining to the exchange of gases and transpiration<br />

of water.<br />

The cladding works by itself in contact with sunlight, air and water<br />

flow into the building. This in turn diminishes the reliance on artificial<br />

lighting during the daytime. Pressured air flows into the building<br />

through filters that naturally condition and purify and is stored for<br />

use and recycling. The design allows absorption of moisture in the air<br />

and any resultant waste is converted into biogas energy that serves<br />

different building functions.<br />

These days there are many different cladding materials and<br />

systems that the architect can select for use in their design,<br />

however the most common and widely used material not yet<br />

discussed is glass. Modern architecture uses curtain walling<br />

and high-quality glass that allows light penetration but reflects<br />

thermal heat and UV. These materials and systems are also air<br />

and water penetration resistant designed for efficiency.<br />

Again, proper detail design is of high importance in terms of<br />

overall material and system functionality and efficiency. To<br />

that end, architects need to possess the relevant knowledge and<br />

experience for the design to be effective, efficient, and sustainable<br />

avoiding potential issues that would otherwise consequently<br />

arise.


FUNCTIONALITY, SENSUALITY AND AESTHETICS<br />

145<br />

Advanced Building Skin<br />

19<br />

Advanced Building Skin<br />

20<br />

Advanced Building Skin<br />

22<br />

Advanced Building Skin<br />

Photo Reference<br />

19. https://www.architectsjournal.co.uk/specification/energy-forum-on-solar-building-skins<br />

20. https://khyatirajani.wordpress.com/2017/05/27/8-smart-building-skins-that-are-revolutionary/<br />

21. https://inhabitat.com/habitat-2<strong>02</strong>0-off-the-grid-future-abode/<br />

22. http://www.prosolve370e.com<br />

21<br />

ปฏิกร ณ สงขลา<br />

เป็ นสถาปนิกอาวุโส<br />

บริษัท สถาปนิก 49 จำากัด<br />

มีประสบการณ์ ทำ างาน<br />

มากกว่า 35 ปี ปั จจุบัน<br />

ยังเป็ นหัวหน้าโครงการ<br />

ISA Material Info Series<br />

กิจกรรมส่ งเสริมข้อมูล<br />

ความรู้เกี่ยวกับวัสดุและ<br />

เทคโนโลยีการก่อสร้าง<br />

ของสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

Patikorn Na Songkhla<br />

is a Senior Architect at<br />

Architects 49 Limited,<br />

with more than 35 years<br />

of work experience.<br />

Currently he Also serves<br />

as Head of ISA Material<br />

Info Series, activities to<br />

promote information<br />

and knowledge about<br />

construction materials<br />

and technology of the<br />

Association of Siamese<br />

Architects under royal<br />

patronage.


146<br />

Trespa Meteon<br />

Cladding Panels<br />

Meteon เป็นลามิเนตไฮเพรสเชอร์ (HPL)<br />

พื้นผิวพิเศษที่ผลิตโดย Trespa โดยใช้เทคโน-<br />

โลยีเฉพาะของ Trespa ที่เรียกว่า Electron<br />

Beam Curing (EBC) ซึ่งเป็นกระบวนการที่<br />

รวดเร็วและไม่ใช้ความร้อนโดยใช้อิเล็กตรอน<br />

พลังงานสูงในการสร้างพื้นผิวพิเศษ ทำ าให้วัสดุ<br />

นี้มีคุณสมบัติพิเศษ รวมทั้งทนต่อสภาพอากาศ<br />

และมีความเสถียรของสี การผสมผสานระหว่าง<br />

เส้นใยจากธรรมชาติ 70% และเรซิน ผลิตภาย<br />

ใต้แรงกดดันและอุณหภูมิสูงทำาให้ได้แผ่นวัสดุที่<br />

มีความหนาแน่นสูงและมีความเสถียรมาก โดย<br />

มีอัตราส่วนความแข็งแรงต่อน้ำาหนักที่ดี มีสีและ<br />

โทนสีให้เลือกหลากหลาย รวมถึงผิวตกแต่ง<br />

แบบโลหะและไม้ ช่วยให้สถาปนิกสร้างสรรค์<br />

งานได้ไม่จำากัด<br />

โครงการใหม่ที่ทำาให้เห็นถึงศักยภาพของแผ่น<br />

ผิวผนัง Meteon คือ Nemho (Next Material<br />

House) ศูนย์วิจัยและพัฒนาแห่งใหม่ของ Trespa<br />

เองซึ่งออกแบบโดย Broekbakema สำานักงาน<br />

สถาปนิกจากรอตเตอร์ดัม สถาปนิกเริ่มต้นด้วย<br />

materials<br />

ภาพป่าในฟินแลนด์แล้วซูมเข้าไปเพื่อสร้างภาพ<br />

ระยะใกล้ ไปจนถึงโครงสร้างหน่วยเล็กๆ โดย<br />

ปกติแล้ววัสดุผิวผนังของ Trespa มักถูกใช้งาน<br />

ในลักษณะของแผ่นขนาดใหญ่ แต่แนวคิดนี้มี<br />

ความแปลกใหม่ตรงที่ในการออกแบบเลือกใช้<br />

แผ่นขนาดเล็กมาทับซ้อนกันเพื่อสร้างแพทเทิร์น<br />

ที่มีลักษณะเหมือนเกล็ดไม้มุงหลังคา ลักษณะ<br />

ที่ปรากฏจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับระยะห่างที่<br />

มองอาคาร สถาปนิกยังเพิ่มระดับการมองเห็น<br />

อีกสองระดับ ผสมผสานรูปแบบการตกแต่ง<br />

ที่แตกต่างกัน และออกแบบการออกแบบที่เล่น<br />

กับสเกลของ Meteon ในลักษณะเดียวกับพิกเซล<br />

บนหน้าจอคอมพิวเตอร์<br />

โครงการนี้นำาวัสดุนี้มาใช้ในเฉดสีและพื้นผิวที่<br />

หลากหลาย ตั้งแต่แบบมันวาวไปจนถึงแบบ<br />

ซาตินไปจนถึงแบบด้าน ซึ่งทำาให้เกิดการผสม<br />

ผสานพื้นผิวสามแบบ ได้แก่ แบบผิวด้าน แบบ<br />

ผิวมัน และแบบผสม เพื่อสร้างสถาปัตยกรรม<br />

ที่มีชีวิตชีวาท่ามกลางแสงแดด โดยที่พื้นผิว<br />

แต่ละแบบสะท้อนแสงต่างกันในตัวของมันเอง<br />

Meteon is a decorative high-pressure<br />

compact laminate (HPL) with an integral<br />

surface manufactured by Dutch<br />

manufacturer Trespa, using their unique<br />

in-house technology, Electron Beam<br />

Curing (EBC) which is a fast, non-thermal<br />

curing method that utilises high-energy<br />

electrons to cure special surfaces.<br />

This results in a closed smooth surface<br />

which gives the material special properties<br />

including weather resistance and<br />

colour stability. The blend of up to 70%<br />

natural fibers and thermosetting resins,<br />

manufactured under high pressures<br />

and temperatures yields a highly stable,<br />

dense panel with a good strength-toweight<br />

ratio. There are a wide range of<br />

colors and tones available, including<br />

metallics and wood decors, allowing for<br />

architects to create an unlimited array<br />

of artistic designs.<br />

A new project that reveals some of the<br />

potential of Meteon façade panels is<br />

Nemho (Next Material House), Trespa’s<br />

new R&D center designed by the<br />

Rotterdam-based firm Broekbakema.<br />

The architects started with the picture<br />

of a forest in Finland and then zoomed in<br />

to create a close-up – all the way down<br />

to the molecular structure. The idea also<br />

involved unusually small, overlapping<br />

panels to create a shingle-like, distinctively<br />

scaly pattern. Its appearance is<br />

different depending on the distance<br />

between the viewer and the building.<br />

They also superimposed two additional<br />

visual levels, combining different finish<br />

variations as well as devising a design<br />

which uses each Meteon ‘scale’ much<br />

like the way pixels work on a computer<br />

screen.<br />

The panels are used in a variety of<br />

shades and finishes in this project, from<br />

shiny to satin to matte. This allowed<br />

the architects to create a combination<br />

of three finishes – Diffuse, Specular<br />

and Oblique – to create a design that<br />

literally comes to life in the sun, where<br />

each surface reflects the light in its own<br />

distinctive way.<br />

trespa.com


147<br />

ETFE<br />

Plastic<br />

ETFE มาจากชื่อเต็มคือ Ethylene tetrafluoroethylene<br />

นับเป็นหนึ่งในโพลิเมอร์พลาสติกที่<br />

ใช้กันอย่างแพร่หลายมากที่สุดในอุตสาหกรรม<br />

การออกแบบสถาปัตยกรรมและการก่อสร้าง<br />

ในช่วงเวลาที่ผ่านมา จริงๆ แล้ว พลาสติกที่<br />

ใช้ฟลูออรีนเป็นองค์ประกอบหลักนี้ได้รับการ<br />

พัฒนาขึ้นตั้งแต่ปี 1970 โดย DuPont ให้เป็น<br />

ฟิล์มน้ำาหนักเบา ทนความร้อน สำาหรับใช้เป็น<br />

สารเคลือบในอุตสาหกรรมการบินและอวกาศ<br />

ในปี 2001 ETFE ได้ถูกนำาไปใช้งานขนาดใหญ่<br />

เป็นครั้งแรกในฐานะเมมเบรนห่อหุ้มผิวของ<br />

โครงการอีเดนในคอร์นวอลล์ สหราชอาณาจักร<br />

เนื่องจากความสามารถในการควบคุมสภาพ-<br />

แวดล้อมภายในอาคารได้อย่างดีโดยอาศัยความ<br />

โปร่งใสของรังสียูวี ฟิล์มสามารถพิมพ์ด้วย<br />

รูปแบบเฉพาะและจัดเป็นชั้นเพื่อควบคุมแสง<br />

อาทิตย์ ซึ่งจำาเป็นสำาหรับอาคารที่มีหน้าที่ในการ<br />

ดูแลรักษาพืชพันธุ์ตามสภาพอากาศ นอกจากนี้<br />

ยังมีค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานต่ำ าที่ช่วยป้องกัน<br />

ไม่ให้ฝุ่นหรือสิ่งสกปรกเกาะติดกับพื้นผิว ซึ่ง<br />

ช่วยลดปัญหาในการบำารุงรักษา<br />

ETFE comes from its full name Ethylene<br />

tetrafluoroethylene. It is perhaps one of<br />

the most widely-used plastic polymers<br />

in the architectural design and building<br />

industry today. This fluorine-based<br />

plastic was originally developed in the<br />

1970s by DuPont as a lightweight, heat<br />

resistant film to serve as a coating for the<br />

aerospace industry. In 2001, the material<br />

saw its first large-scale application as<br />

the encapsulating membrane for the<br />

Eden Project in Cornwall, UK. This is<br />

because of its ability to reliably regulate<br />

environmental conditions within the<br />

building through UV transparency. The<br />

film can be printed with specific patterns<br />

and layered to control solar conditions -<br />

which was essential to a structure whose<br />

function is to house climate-specific<br />

flora. It also has a low friction coefficient<br />

that prevents dust or dirt from sticking<br />

to its surface, reducing maintenance<br />

problems and requirements.


่<br />

148<br />

materials<br />

ในช่วงปี 2005 Arup ได้เสนอ ETFE สำาหรับ<br />

ใช้ในโครงการ Allianz Arena ซึ ่งออกแบบโดย<br />

Herzog & de Meuron และโครงการ Watercube<br />

National Swimming Center ในกรุงปักกิ่ง<br />

ออกแบบโดย PTW Architects ในการใช้งาน<br />

ของสองโปรเจ็คต์นี้ ชั้นของ ETFE จะถูกเติม<br />

อากาศจากระบบนิวแมติกเพื่อสร้างเป็นชิ้น<br />

วัสดุในลักษณะคล้ายเบาะ ซึ่งมีคุณลักษณะ<br />

เป็นฉนวนกันความร้อนและมีความเสถียรทาง<br />

โครงสร้างต่อแรงลมหรือหิมะ ในสนามกีฬา<br />

ทั้งสองแห่ง วัสดุแต่ละชิ้นยังสามารถให้แสงโดย<br />

การติดตั้งไฟ LED ที่เปลี่ยนสีได้ เพื่อสร้างลวด-<br />

ลายที่ไม่เหมือนใคร ทำาให้ด้านหน้าอาคารสะท้อน<br />

กิจกรรมและบรรยากาศที่เกิดขึ้นภายในได้<br />

ETFE เป็นวัสดุที่รีไซเคิลได้ง่ายและมีอายุการใช้<br />

งานยาวนาน รองรับสภาพอากาศที ่รุนแรงได้<br />

ประหยัดต้นทุนในการผลิต และมีกระบวนการ<br />

ผลิตและการขนส่งที่ใช้พลังงานต่ำา เนื่องจาก<br />

ส่วนใหญ่มีน้ำาหนักเบา นอกจากนี้ยังเป็นวัสดุ<br />

ที่มีความยืดหยุ่นสูง สามารถรองรับน้ำ าหนักได้<br />

ประมาณ 400 เท่าของน้ำาหนักตัวมันเอง ในขณะ<br />

ที่มีน้ำาหนักเพียง 1% ของน้ำาหนักกระจก ETFE<br />

มีคุณสมบัติโครงสร้างที่หลากหลายทั้งแบบ<br />

ชั้นเดียว สองชั้น 3 ชั้น หรือ 4 ชั้น โครงสร้าง<br />

ที ่นิยมใช้กันมากที ่สุดคือโครงสร้างแบบแผ่นคู<br />

โดยที่ปั๊มลมใส่อากาศเข้าไประหว่างแผ่น ทำ าให้<br />

ผิวผนังที่ทำาจาก ETFE สามารถควบคุมอุณหภูมิ<br />

ภายใน ช่วยลดการใช้พลังงานสำาหรับเครื่อง-<br />

ปรับอากาศของอาคารได้<br />

In 2005 Arup subsequently proposed<br />

ETFE for the Allianz Arena designed<br />

by Herzog & de Meuron and the Watercube<br />

National Swimming Center in<br />

Beijing designed by PTW Architects.<br />

In these applications, layers of ETFE<br />

were filled with air from a pneumatic<br />

system to create pillow-like cushions<br />

that provide thermal insulation and<br />

structural stability against wind or snow<br />

loads. In both arenas, individual cushions<br />

can also be lit with color-changing LEDs<br />

to create unique patterns, allowing the<br />

building’s facade to reflect any event<br />

or activities taking place inside.<br />

ETFE is both easily recyclable and longlasting,<br />

holding up well to extreme climatic<br />

conditions. It is cost-effective to<br />

produce, and has a low-energy manu-<br />

facturing and transportation process,<br />

thanks in large part to its light weight.<br />

It is also a highly flexible material.<br />

It can support the weight of approximately<br />

400 times its own weight while<br />

its weight is only 1% of that of glass.<br />

In terms of application, ETFE offers a<br />

range of structural features for either<br />

a single layer, double layers, 3 layers<br />

or 4 layers. The most commonly used<br />

structure is the double sheet structure,<br />

where air is inserted by an air pump<br />

between the sheets. This allows the<br />

wall surface made of ETFE to control<br />

the internal temperature which then<br />

in turn allows the building to reduce<br />

energy consumption for air conditioning.<br />

vector-foiltec.com


Kriskadecor<br />

Aluminium Chains<br />

149<br />

โซ่อลูมิเนียมเป็นวัสดุอีกชนิดหนึ ่งที ่น่าสนใจ<br />

ไม่เพียงแต่สามารถใช้เป็นผนังหรือม่านสำ าหรับ<br />

กั้นแบ่งสเปซภายใน เป็นองค์ประกอบของฝ้า<br />

เพดาน หรือใช้เป็นพื้นหลังภายในงานอินทีเรีย<br />

แล้ว ทุกวันนี้สถาปนิกหลายคนได้นำ ามาใช้เป็น<br />

ผิวผนังภายนอกของอาคารอีกด้วย Kriskadecor<br />

ผู้ผลิตโซ่อลูมิเนียมรายใหญ่ของสเปนเป็นหนึ่งใน<br />

แบรนด์ผู้นำาของตลาดที่ทำางานร่วมกับสถาปนิก<br />

มากหน้าหลายตา มีงานแบบคิดนอกกรอบ<br />

และไอเดียที่น่าสนใจ<br />

โซ่โลหะเป็นวัสดุที่มีจุดเด่นที่ผิวสัมผัส ใช้งานได้<br />

หลากหลาย มีน้ำาหนักเบา สามารถผสมผสาน<br />

และประยุกต์ใช้ด้วยสีสัน รูปทรง และสร้างมิติ<br />

ในงานด้วยความพริ้งและการเคลื่อนไหว<br />

Kriskadecor สามารถพิมพ์ลวดลายกราฟิก<br />

ต่างๆ ลงบนโซ่ได้ ซึ่งเหมาะกับดีไซน์ของงาน<br />

พวก branding ต่างๆ หรือใช้สร้างเอฟเฟคต์<br />

ทางสายตาในพื้นที่ที่ต้องการ<br />

สำาหรับวัสดุที่ใช้ซึ่งก็คืออลูมิเนียม สามารถนำ าไป<br />

รีไซเคิลใช้ใหม่ได้ เช่นเดียวกับองค์ประกอบ<br />

ที่เป็นโครงสร้างซึ่งทำาจากพลาสติกพิเศษ ก็<br />

สามารถนำาไปรีไซเคิลได้เช่นกัน โปรดักส์<br />

รุ่นใหม่ของแบรนด์นี้เป็นรุ่นที่ถูกทำ าขึ้นสำาหรับ<br />

ใช้งานภายนอกอาคารโดยเฉพาะ ซึ ่งในหลายๆ<br />

โครงการ นอกเหนือจากความสวยงามแล้วยัง<br />

ถูกนำาไปใช้เป็นผิวผนังภายนอกสำาหรับกันแดด<br />

และเป็นผนังระบายอากาศอีกด้วย<br />

Not only can aluminium chains be used<br />

as dividers, ceilings, wall coverings, but<br />

they can also be an interesting option<br />

for architects and designers to use<br />

as cladding. Kriskadecor is a a major<br />

Spanish manufacturer of anodized aluminium<br />

chains and is one of the leading<br />

brands in the world market. They have<br />

worked with owners, architects and<br />

designers to provide flexibility and<br />

freedom to create artistic building skin<br />

specifically for individual projects.<br />

The chains are an unconventional<br />

surfacing and cladding material which<br />

can lend uniqueness and provide a<br />

distinct texture to spatial designs.<br />

Both versatile and light, the composite<br />

structures can be adapted in colour,<br />

shapes and dimensions that can bring<br />

joy and more movement. Kriskadecor’s<br />

in-house technology also makes<br />

it possible to replicate any image or<br />

pattern in brilliant and satin finishes<br />

on them, a feature especially useful for<br />

brand environments. In addition, chain<br />

cascades can be constructed as one<br />

single piece, an ideal solution for areas<br />

that have exposed ducts or technical<br />

registers.<br />

Great looks aside, Kriskadecor installations<br />

are also notable for their sustainability:<br />

they’re made from 99 per<br />

cent aluminium, thus they are 100 per<br />

cent recyclable. The company’s new<br />

exterior cladding system highlights the<br />

added benefits of the products: the<br />

links provide protection from sunlight,<br />

and they open areas of ventilation for<br />

the building. Furthermore, the highstrength<br />

technical plastic used for the<br />

tension system is recyclable as well.<br />

Archiproducts Milano by TRULY DESIGN Studio.<br />

Photo: Marcela Grassi<br />

kriskadecor.com


150<br />

SCG D’COR<br />

Modeena Series<br />

Facade Panels<br />

materials<br />

SCG D’COR is a brand that produces<br />

fiber cement-based building materials,<br />

consisting of Portland cement, silica<br />

and cellulose fibers. Manufactured<br />

through X-TRUSTION which is under<br />

SCG’ s own copyright, the panel can<br />

be formed as desired by using molds<br />

specifically designed by professional<br />

engineers. As a result, it makes the<br />

material homogeneous throughout<br />

the sheet, and provides higher density<br />

compared to general fiber cement. It is<br />

strong, durable and able to support a<br />

variety of applications for various types<br />

of works.<br />

SCG D’COR เป็นแบรนด์ผลิตไลน์วัสดุก่อสร้าง<br />

และตกแต่งอาคารจากไฟเบอร์ซีเมนต์ ซึ่ง<br />

ประกอบด้วยซีเมนต์ ซิลิกา และเส้นใยเซลลูโลส<br />

ผ่านการผลิตด้วยเทคโนโลยี X-Trusion ที่<br />

สามารถผลิตชิ้นงานได้ตามรูปแบบที่ต้องการ<br />

ด้วยวิธีการขึ้นรูปแผ่นวัสดุ ผ่านแม่พิมพ์ที่ถูก<br />

ออกแบบโดยวิศวกรเฉพาะทางของ SCG ทำาให้<br />

วัสดุมีเนื้อเดียวกันตลอดทั้งแผ่น และให้ความ<br />

หนาแน่นสูงกว่าไฟเบอร์ซีเมนต์ทั่วไป จึงมีความ<br />

แข็งแรง ทนทาน สามารถรองรับการใช้งานได้<br />

หลากหลายรูปแบบ<br />

สำาหรับผลิตภัณฑ์รุ่นใหม่อย่างโมดิน่า เป็นวัสดุ<br />

ในซีรีส์นี้ที่กำ าลังได้รับความนิยม เพราะสามารถ<br />

ใช้ทดแทนไม้ได้เป็นอย่างดี สามารถใช้ได้ทั้ง<br />

ภายนอกและภายในอาคาร มีคุณสมบัติเรื่อง<br />

ความทนทาน ทนแดด ทนฝน และไม่มีปัญหา<br />

เรื่องปลวก นอกจากความสวยงามที่ไม่ต่าง<br />

จากไม้ธรรมชาติแล้ว จุดเด่นของรุ่นโมดิน่าคือ<br />

ลูกเล่นของเส้นสายและการสร้างพื้นผิว และมิติ<br />

จากการเล่นระดับสูงต่ำา มีความตื้นความลึกของ<br />

แผ่น ทำาให้สามารถนำามาใช้งานให้งานออกแบบ<br />

น่าสนใจมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเป็น<br />

ผิวผนังภายนอกของอาคาร สามารถทำาให้ผิว-<br />

ผนังภายนอกของอาคารมีมิติที่แปลกตา และ<br />

เพิ่มทางเลือกในการออกแบบที่หลากหลายตาม<br />

ความคิดสร้างสรรค์ของสถาปนิกด้วย โมดิน่ามี<br />

แพทเทิร์นและขนาดให้เลือกหลายแบบ ใช้ระบบ<br />

การติดตั้งแบบบังใบและคลิปล็อค ช่วยปิด<br />

หัวน็อตสกรูของการติดตั้ง ได้ทั้งแนวตั้งและ<br />

แนวนอน นอกจากนี้ยังมีรุ่น โมดิน่า ไลท์ รุ่น<br />

พิเศษที่มีน้ำาหนักเบาสำาหรับติดตั้งบนฝ้าได้<br />

Modeena is a new series in this line<br />

which is now gaining more popularity.<br />

Not only can it be used as a good substitute<br />

for wood as well as for both for<br />

exterior and interior use, but it also<br />

durable, sun and rain resistant, and has<br />

no termite problems. In addition to its<br />

aesthetic features that is no different<br />

from natural wood, the hallmark of the<br />

Modeena series are the fine lines and<br />

textures. The extra dimensions from<br />

the high and low relief of the panel can<br />

also be used to create more attractive<br />

and striking designs especially for the<br />

building’s facade, adding a variety of<br />

design options to match to the architect’s<br />

endless creativity. Modeena has<br />

a wide range of patterns and sizes<br />

available and can be simply installed<br />

with clip lock mounting system which<br />

helps conceal the screw. The panels<br />

can be applied both vertically and<br />

horizontally. Additionally, Modeena<br />

Light is a special light-weight version<br />

which can be installed on the ceiling<br />

as an add-on element.<br />

scgbuildingmaterials.com


152<br />

professional / studio<br />

Dhamarchitects<br />

แนะนำตัวเองคร่ำวๆ เป็ นใครกันบ้ำง จบกำร<br />

ศึ กษำที่ไหน และเริ่มเปิ ดออฟฟิ ศอย่ำงไร<br />

ธัมอาร์คิเทคส์ ก่อตั้งโดยคุณธรัช ศิวภักดิ์วัจนเลิศ<br />

ในปี 2013 โดยหลังจากจบการศึกษาจากคณะ<br />

สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น<br />

ได้สั่งสมประสบการณ์การทางานในแวดวงการ<br />

ออกแบบ สถาปัตยกรรม มากกว่า 13 ปี โดยเฉพาะ<br />

โรงแรมรีสอร์ทจากบริษัทสถาปนิกชั้นนาของ<br />

เมืองไทย หนึ่งในนั้นคือบริษัทบุนนาคอาร์คิเท็คส<br />

ของคุณเล็ก เมธา บุนนาค ศิลปินแห่งชาติ และ<br />

ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบโรงแรม นอกจากนี้<br />

ยังมีผู้ร่วมก่อตั้ง คือ คุณวทัญญู มูลทองสุข จาก<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต<br />

ซึ่งคุณวทัญญูเป็นผู ้สนับสนุนให้เกิด VERNADOC<br />

Phuket โดยความร่วมมือกับ ผศ.ดร.สุดจิต<br />

เศวตจินดา (สนั ่นไหว) ผู้ก่อตั้ง VERNADOC<br />

Thailand และทางธัมอาร์คิเทคส์ก็ได้จัดค่าย<br />

VERNADOC Phuket มาแล้ว 3 ครั้งในปี 2017,<br />

2019 และ 2<strong>02</strong>0 โดยอาคารที่ทาการรังวัดคือ<br />

บ้านหลวงอานาจนรารักษ์ โรงตีเหล็กไต่สุ่นอั้น<br />

และ ไชน่าอินน์ ตามลาดับ<br />

ปรัชญำ ควำมสนใจและแนวคิดกำรทำงำน<br />

ของออฟฟิ ศ<br />

แนวคิดการทางานของธัมอาร์คิเทคส์ คือ ธรรมชาติ<br />

สถาปัตยกรรม วัฒนธรรม สถาปัตยกรรมที่ยั่งยืน<br />

คือสิ่งปลูกสร้างที่ยืนอยู่ตรงกลางอย่างอ่อนน้อม<br />

ระหว่างธรรมชาติและวัฒนธรรม เรามองว่าสิ่ง<br />

ปลูกสร้าง คือรูปธรรมที่หยัดยืนอยู่ได้ด้วยฐาน<br />

และรากที่มักจะเกี่ยวพันกาเนิดมาจากสองสิ่ง นั่น<br />

คือธรรมชาติ และวัฒนธรรม ในฐานะสถาปนิกเรา<br />

เข้าใจว่าเราไม่ใช่นักโบราณคดี จึงได้เพิ่มเติมมิติ<br />

เวลาเข้ามาในงานออกแบบด้วย เพื่อมอบความ<br />

เป็นเอกลักษณ์ทางเวลาให้กับงานนั้นๆ ให้ผู้ใช้ได้<br />

รับรู้ถึงรากเหง้าของสถานที่ แต่ในขณะเดียวกัน<br />

ก็แยกแยะได้ว่าอาคารหลังนั้นถูกสร้างขึ้นในยุค<br />

สมัยไหน<br />

ตัวอย่ำงผลงำนแนะนำออฟฟิ ศ คำอธิบำยสั้นๆ<br />

และภำพ<br />

1 Little Nyonya Hotel<br />

ได้รับรางรางวัลสถาปัตยกรรมสมควรเผยแพร่ ใน<br />

งาน South Up หยับหรอย สถาปนิกทักษิณ ’59<br />

ทันทีในปีที่การก่อสร้างแล้วเสร็จ<br />

littlenyonyahotel.com<br />

2 Xinlor House<br />

แนวคิด “ถนน-รถ-การเดินทาง” มาเป็นแนวคิด<br />

หลัก โดยใช้รูปแบบที่ขอเรียกเอาเองว่า Sinoindustrial<br />

มาเป็นสื่อในการสร้างแนวคิดนาม-<br />

ธรรมอันนี้ให้กลายเป็นรูปธรรม<br />

facebook.com/XinlorHouse<br />

3 Sound Gallery House<br />

เป็นของตระกูลหลิม ซึ่งในภาษาจีน หลิมแปลว่า<br />

ป่าไม้ และตระกูลหลิมยังเป็นเจ้าของโรงเรียน<br />

ดนตรียามาฮ่าภูเก็ตอีกด้วย ดั “ต้นไม้ กับ ดนตรี”<br />

จึงกลายมาเป็นแรงบันดาลใจหลักในการสร้าง<br />

เอกลักษณ์ที่เฉพาะเจาะจง<br />

soundgalleryhouse.com<br />

4 Swensen’s Kad Nan<br />

ความเป็นไปได้ใน “การเกื้อหนุนกัน” ของ<br />

กิจกรรมใหม่ กับที่ว่างจากวัฒนธรรมเก่า<br />

แม้ว่าจะเป็นในเชิงพาณิชย์เข้มข้นก็ตาม<br />

facebook.com/SwensenKadNan<br />

5 CoronaVERNADOC2<strong>02</strong>0 : Phuket, China Inn,<br />

Drawn by Watanyoo Moolthongsuk<br />

facebook.com/vernadocphuket<br />

อยำกเห็นวงกำรวิชำชีพสถำปนิกไทยเป็ นอย่ำงไร<br />

เราอยากเห็นวงการสถาปนิกไทยได้รับความเข้าใจ<br />

ที่ถูกต้องจากคนทั่วๆ ไปเสียทีว่าเป็น “วิชาชีพ” คือ<br />

เป็นอาชีพที่ต้องมีความรู ้เฉพาะและนาสหวิชา<br />

มาใช้ในการทางาน สถาปนิก เป็นอีกหนึ่งอาชีพ<br />

ไม่ใช่การรับจ้างหรือรับทาของ คุณค่าและเกียรติ<br />

ของอาชีพสถาปนิกจึงจะค่อยๆ ได้รับความเข้าใจ<br />

และอาชีพสถาปนิกจึงจะถูกนามาใช้ประโยชน์<br />

มากขึ้นในการพัฒนาประเทศต่อไป


DHAMARCHITECTS<br />

Xinlor House<br />

CoronaVERNADOC2<strong>02</strong>0 : Phuket, China Inn<br />

Little Nyonya Hotel


154<br />

professional / studio<br />

We see the building<br />

as an entity with<br />

foundations and<br />

roots that are always<br />

intertwined with and<br />

has originated from<br />

two things - nature<br />

and culture.<br />

Swensen’s Kad Nan<br />

Sound Gallery House


DHAMARCHITECTS<br />

155<br />

Briefly introduce yourself - Who are<br />

you, where did you graduate from<br />

and how did you start running your<br />

office?<br />

Dhamarchitects was founded in 2013 by<br />

Dharaj Shivapakwajjanalert, an architecture<br />

graduate from the Faculty of Architecture,<br />

Khon Kaen University. Dharaj has accumulated<br />

experiences for more than 13 years<br />

working in the field of design and architecture,<br />

especially for hotels and resorts. He<br />

has worked in leading architecture firms<br />

including Bunnag Architects - the famous<br />

architecture firm founded by Lek Metha<br />

Bunnag, a national artist and a renowned<br />

hotel design expert. Our office was also<br />

co-founded by Watanyoo Moolthongsuk,<br />

a graduate of the Faculty of Architecture,<br />

Rangsit University. Watunyoo is also a<br />

supporter and promoter of VERNADOC<br />

Phuket in collaboration with Asst. Prof. Dr.<br />

Sudjit Sawetchinda (Sananwai), the founder<br />

of VERNADOC Thailand. Until now we have<br />

organized 3 VERNADOC Phuket Camps in<br />

2017, 2019 and 2<strong>02</strong>0. The buildings which<br />

were surveyed are Luang Amnachnararaksha<br />

Mansion, Tai Zun Aun Blacksmith Shop,<br />

and the China Inn respectively.<br />

What are the philosophies, interests<br />

and concepts behind your work?<br />

Our working concept is Nature, Architecture<br />

and Culture. Sustainable architecture<br />

is a building that stands humbly between<br />

nature and culture. We see the building as<br />

an entity with foundations and roots that are<br />

always intertwined with and has originated<br />

from two things - nature and culture. As<br />

architects, we understand that we are not<br />

archaeologists so we always add the dimen-<br />

sion of time to our designs, to provide a<br />

timely identity to our work. This is so users<br />

may recognise the root of the place and yet<br />

are able to distinguish the period when the<br />

building was built.<br />

Could you share some of your works<br />

with short descriptions and photos<br />

with us?<br />

1 Little Nyonya Hotel<br />

The project received a citation award at the<br />

South Up Architect event in 2016.<br />

littlenyonyahotel.com<br />

2 Xinlor House<br />

The concept of “Road-Car-Travel” came<br />

to be the main idea, using a form of Sino-<br />

industrial as a medium to create an<br />

abstract concept into a real project.<br />

facebook.com/XinlorHouse<br />

3 Sound Gallery House<br />

The project belongs to the Lim family, and<br />

Lim in Chinese is translated as forest. The<br />

Lim family also owns the Yamaha Phuket<br />

School of Music, “Trees and Music” then<br />

became the main inspiration for creating<br />

a specific identity.<br />

soundgalleryhouse.com<br />

4 Swensen’s Kad Nan<br />

Kad Nan and the possibilities of “supporting<br />

each other” in new activities along with the<br />

space from older culture, even though it is a<br />

very commercial project.<br />

5 CoronaVERNADOC2<strong>02</strong>0 : Phuket, China<br />

Inn, Drawn by Watanyoo Moolthongsuk<br />

https://web.facebook.com/vernadocphuket<br />

How would you like the Thai<br />

architect profession to be seen?<br />

We would like to see the Thai architecture<br />

industry gain an accurate understanding<br />

from the public as a “profession” - a practice<br />

that requires specific and interdisciplinary<br />

knowledge to work. Working as an<br />

architect is a professional practice. It is not<br />

a simply hired or an unskilled labor job. The<br />

value and honor of an architectural practice<br />

will then gradually gain more value. Only<br />

then will our profession be considered useful<br />

and will be used to further benefit the<br />

development our country in the future.<br />

fb.com/dhamarchitects


156<br />

revisit<br />

MOre MOdern Architecture<br />

in More-Kor - Looking back<br />

at the Modern Architecture<br />

design heritage in Khon<br />

Kaen University<br />

Modern Architecture has<br />

been a subject of interest in<br />

Thailand for more than 70<br />

years. The modern way of<br />

life, advances in technology,<br />

society, and growing<br />

economy have influenced<br />

the architectural movement<br />

seeing a shift in architectural<br />

practices inspired largely<br />

by foreign architects as<br />

well as a divergence in the<br />

use of natural materials in<br />

construction to reinforced<br />

concrete. Due to these factors,<br />

the role of architectural<br />

design during this period is a<br />

symbol of these advances.<br />

1<br />

Text: Nopadon Thungsakul<br />

2


MORE MODERN ARCHITECTURE IN MORE-KOR<br />

157<br />

4<br />

3<br />

สถาปัตยกรรมสมัยใหม่หรือสถาปัตยกรรมโมเดิร์น อยู่ใน<br />

ความสนใจในประเทศไทยมานานกว่า 70 ปี นอกจากปัจจัย<br />

ด้านเศรษฐกิจ วิถีชีวิตสังคมสมัยใหม่แล้ว เทคโนโลยีการ<br />

ก่อสร้างที่เปลี่ยนจากการใช้วัสดุธรรมชาติมาเป็นคอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก รวมถึงการปฏิบัติวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมที่<br />

บางส่วนได้รับอิทธิพลจากการศึกษาสถาปัตยกรรมจาก<br />

ต่างประเทศ ก็ถือได้ว่าเป็นปัจจัยที่มีส่วนสำาคัญที่ทำาให้รูป-<br />

แบบสถาปัตยกรรมโมเดิร์นได้รับความสนใจในประเทศไทย<br />

อย่างกว้างขวาง อาคารในยุคนี้จึงมีคุณค่าในฐานะที่เป็น<br />

ตัวแทนของการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธ์กับความก้าวหน้า<br />

ของแนวคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรม<br />

ปัจจุบันได้มีการดำาเนินการรวบรวมข้อมูลอาคารเหล่านี้เพื่อ<br />

ให้เกิดการอนุรักษ์และเชื่อมโยงกับการอนุรักษ์สถาปัตยกรรม<br />

โมเดิร์นนานาชาติ (DOCOMOMO International) ภายใต้<br />

ชื่อ DOCOMOMO Thailand มีการจัดทำาฐานข้อมูลอาคาร<br />

ที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์หลากหลายประเภท และหนึ่งใน<br />

ประเภทอาคารที่ถือได้ว่าเป็นก้าวกระโดดที่สะท้อนถึงความ<br />

เปลี่ยนแปลงด้านสังคม-วัฒนธรรมในช่วงนั้น ได้แก่ อาคาร<br />

สถาบันการศึกษา ดังที่ปรากฎว่ามีอาคารยุคโมเดิร์นที่<br />

ยังคงเหลืออยู่ในหลายสถาบัน อาทิ มหาวิทยาลัยเกษตร-<br />

ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่<br />

มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัย<br />

สงขลานครินทร์ เป็นต้น<br />

The International Working Party for Modern Movement<br />

(DOCOMOMO International) Thailand has<br />

been compiling ongoing data of the local changes<br />

in architecture during this period for preservation<br />

and conservation purposes including the conservation<br />

of relevant buildings, sites, and neighborhoods.<br />

This ongoing project has compiled a database of<br />

different types of buildings worthy of preservation<br />

established during the period as well as defining<br />

architectural movements that reflected the sociocultural<br />

changes for historical, educational, and<br />

reference purposes. As such, there are Modernist<br />

buildings in Thailand that still stand in many regional<br />

Universities, such as Kasetsart, Thammasat,<br />

Chiang Mai, Khon Kean, Mahidol, and Prince of<br />

Songkla.<br />

As the physical condition of modernist architectural<br />

buildings starts to deteriorate so does the<br />

potential for and the threat of demolition, Khon<br />

Kaen University in Isaan is one such example. For<br />

this reason, the University’s alumni who have used<br />

these buildings for educational purposes realize<br />

their historical and educational significance using<br />

social media to spread this message and organize<br />

an exhibition in the hope of making others aware<br />

01-<strong>02</strong><br />

อาคารหอพักนักศึกษา 2<br />

ออกแบบห้องพักยื่น<br />

2 เมตร กันแดดฝน<br />

เครดิตภาพ:<br />

สุทธิกานต์ ปัตตาลาโพธิ์<br />

03<br />

อาคารหอพัก 2<br />

เครดิตภาพ:<br />

วทัญญู แก้ววังชัย<br />

04<br />

อาคารหอพัก 3<br />

ออกแบบโดยสถาปนิก<br />

สมคิด เพ็ญภาคกุล<br />

และเฉลิมชัย ห่อนาค<br />

เครดิตภาพ:<br />

นพดล ตั้งสกุล


158<br />

revisit<br />

4<br />

5<br />

04-06<br />

อาคารภาควิชาวิศว-<br />

กรรมโยธา โดย<br />

คุณอมร ศรีวงศ์ ร่วมกับ<br />

ศ.ดร.รชฎ กาญจนวนิชย์<br />

เครดิตภาพ:<br />

กุลศรี ตั้งสกุล (05)<br />

วทัญญู แก้ววังชัย (06)<br />

07<br />

อาคารภาควิชาวิศวกรรม<br />

สิ่งแวดล้อม EN06 โดย<br />

รศ.สถาพร เกตกินทะ<br />

เครดิตภาพ:<br />

กุลศรี ตั้งสกุล<br />

7<br />

6


MORE MODERN ARCHITECTURE IN MORE-KOR<br />

159<br />

สำาหรับมหาวิทยาลัยในภาคอีสานอย่างมหาวิทยาลัยขอนแก่น<br />

เมื่ออาคารในยุคโมเดิร์นเริ่มเสื่อมสภาพลง เกิดภาวะคุกคาม<br />

ที่เสี่ยงต่อการจะถูกรื้อถอน รวมทั้งในสื่อสังคมออนไลน์ได้มี<br />

การนำาเสนออาคารเหล่านี้อย่างกว้างขวาง กลุ่มศิษย์เก่าของ<br />

มหาวิทยาลัยซึ่งเคยมีโอกาสเป็นผู้ใช้งานเล็งเห็นว่าอาคาร<br />

เหล่านี้มีความสำาคัญในเชิงประวัติศาสตร์ที่เป็นพื้นที่หลอม<br />

รวมความทรงจำา จึงริเริ่มการเก็บรวบรวมข้อมูลและนำ าเสนอ<br />

เผยแพร่ต่อสาธารณะ โดยนำาเสนอผ่านนิทรรศการ “โมเดิร์น<br />

ในมอ แรกสมัยใหม่ในที่ราบสูง: MOre MOdern Architecture<br />

in More-Kor” จัดที่ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ<br />

ขอนแก่น (TCDC Khon Kaen) เมื่อช่วงระหว่างวันที่ 4<br />

พฤษภาคม- 4 กรกฎาคม 2564 ที่ผ่านมา เพื่อชวนให้เกิด<br />

การมองย้อนกลับไปดูแนวคิดด้านการออกแบบและการ<br />

ก่อสร้าง และการตระหนักถึงคุณค่าในการรักษามรดกทาง<br />

สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ไว้<br />

เมืองขอนแก่นนั ้นถูกวางให้เป็นเมืองศูนย์กลางของภาคอีสาน<br />

และมีจุดมุ่งหมายหลักในการพัฒนาการศึกษาเป็นส่วนสำ าคัญ<br />

ในการพัฒนาภูมิภาค ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม<br />

แห่งชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ.2504 – 2509) โดยมีการสถาปนา<br />

มหาวิทยาลัยขอนแก่นขึ ้น เมื ่อวันที ่ 25 มกราคม พ.ศ. 2509<br />

ในช่วงก่อตั้งมีการเปิดการเรียนการสอน 3 คณะวิชาคือ คณะ<br />

วิศวกรรมศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์<br />

– อักษรศาสตร์ ถือได้ว่าเป็นคณะวิชาแรกๆ ที่มีความสำ าคัญ<br />

ในการพัฒนาภูมิภาคสู่สังคมสมัยใหม่และเทคโนโลยีที่<br />

ก้าวหน้าในขณะนั้น การออกแบบและก่อสร้างอาคารเพื่อใช้<br />

ในการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยจึงถือได้ว่าเป็นการ<br />

สร้างภาพตัวแทนของ “การพัฒนา” ที่ทันสมัยในภูมิภาค<br />

และก้าวหน้าทัดเทียมกับสังคมในระดับสากล<br />

อาคารคณะวิชาที่เกี่ยวกับด้านวิทยาศาสตร์และความก้าวหน้า<br />

ของเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการเรียนการสอน อย่าง<br />

คณะวิศวกรรมศาสตร์และคณะวิทยาศาสตร์ สถาปนิกได้<br />

ออกแบบให้สถาปัตยกรรมเป็นภาพสะท้อนของสังคมในช่วง<br />

นั้น สถาปัตยกรรมจึงมีบทบาทในฐานะที่เป็น “แบบเรียน<br />

ทางวิศวกรรม” และ “สถาปัตยกรรมแห่งวิทยาศาสตร์”<br />

(พินัย สิริเกียรติกุล, 2563) เนื่องจากการออกแบบที่<br />

สอดคล้องกับพฤติกรรมของโครงสร้างและวิธีการก่อสร้าง<br />

ได้เป็นอย่างดี ตัวอย่างเช่น อาคารภาควิชาวิศวกรรมโยธา<br />

คณะวิศวกรรมศาสตร์ ที่ คุณอมร ศรีวงศ์ ทำางานร่วมกับ<br />

ศ.ดร.รชฎ กาญจนวนิชย์ ออกแบบให้เป็นอาคารช่วงกว้าง<br />

โครงสร้างหลังคาเป็นโครงถักสามมิติ (3-Dimensional<br />

truss) วางพาดตลอดแนวของความกว้างช่วงเสาอาคารระยะ<br />

9 เมตร ปลายสุดของโครงหลังคาใช้โครงสร้างแขวน (Suspension<br />

structure) หิ้วพื้นส่วนที่ยื่นออกมาเป็นระยะห่างข้าง<br />

ละ 3 เมตร จากแนวเสาตลอดแนวด้านยาวอาคารทั ้งสองข้าง<br />

of the importance of saving this part of history. The<br />

exhibition was named “MOre MOdern Architecture<br />

in More-Kor” and was held at TCDC Khon Kaen<br />

from May 4 to July 4. It allowed us to look back<br />

at the Modernist ideas of architectural design<br />

and construction emphasizing the importance<br />

of preserving the cultural heritage related to this<br />

movement.<br />

Khon Kaen had been planned to be the most<br />

important province in the northeast of Thailand.<br />

Following the first National Economic and Social<br />

Development Plan (1961-1966), the province’s foremost<br />

objective was the development of education,<br />

as this was a vital aspect of regional development.<br />

Reinforcing this objective, Khon Kaen University<br />

was opened on January 25, 1966. The University<br />

had three original faculties: Engineering; Agriculture;<br />

Science and Liberal Arts. All these technologies<br />

were important for progressive regional development<br />

and transition into a modern society. The<br />

design and construction of the University buildings<br />

is therefore a symbol of the region’s development<br />

into a modern period showcasing the advancement<br />

of Thai society on par with those of the world.<br />

The Engineering and Science faculty buildings were<br />

designed to reflect the society of that period. Their<br />

architecture, whose designs were aligned with<br />

both the behavior of the structure and construction<br />

methodology is, therefore studies in engineering<br />

and the science of architecture. An example of<br />

such architecture is the Civil Engineering Department<br />

(Faculty of Engineering)’s building. Designed<br />

by Amorn Sriwong in collaboration with Prof. Dr.<br />

Rachot Kanjanavanit, the building incorporates<br />

a wide span with a three-dimensional trussed roof<br />

structure spanning its nine-meter width. At the ends<br />

of the roof, cantilevered suspension structures are<br />

used to carry the parts extending 3 meters beyond<br />

the building pillars on either side. The interior is<br />

connected by a corridor 12 meters wide whose<br />

weight is carried by steel beams incorporating<br />

an open free-flowing stairway in the middle of<br />

the lobby.


160<br />

revisit<br />

โถงเชื่อมอาคารกว้าง 12 เมตร ภายในเชื่อมด้วยทางเดินที่<br />

หิ้วโครงสร้างพื้นด้วยเส้นเหล็กตันและบันไดที่วางแบบอิสระ<br />

ลอยตัวในที่ว่างกลางโถง<br />

ในขณะที่กลุ่มอาคารคณะวิทยาศาสตร์ ที่ก่อสร้างเสร็จเมื่อ<br />

ปี พ.ศ. 2509 เป็นกลุ่มอาคารที่เกิดจากการจัดตั้ง คณะ<br />

วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเป็น<br />

ไปตามแผนพัฒนาภาค ปี พ.ศ. 2505-2509 กลุ่มอาคาร<br />

ประกอบด้วย อาคารเรียนและสำานักงานอธิการบดี ความสูง<br />

สองชั้น ความยาว 120 เมตร มีทางเดินเชื่อมต่อกับ อาคาร<br />

ปาฐกถา (ตึกกลม) ความจุ 500 ที ่นั ่ง และอาคารปฏิบัติการ<br />

(ปัจจุบันคือ อาคาร SC01) ความสูง 4 ชั ้น ขนาดกว้าง 10<br />

เมตร และยาว 60 เมตร รวมทั้งอาคารห้องปฏิบัติการทาง<br />

เคมี เป็นอาคารชั้นเดียวที่หลังคาเป็นคอนกรีตโค้งพารา-<br />

โบลิค วางตัวต่อเนื่องกัน 5 โค้ง ปัจจุบันส่วนอาคารเรียน<br />

และสำานักงานอธิการบดีได้ถูกรื้อถอนและแทนที่ด้วยอาคาร<br />

สูง 6 ชั้น เนื่องจากการความต้องการในการใช้งานอาคาร<br />

กลุ่มนี้เน้นการบรรยายและการทำางานในห้องปฏิบัติการ ทีม<br />

ผู้ออกแบบได้เลือกระบบโครงสร้างช่วงกว้าง วางตำ าแหน่ง<br />

เสาไว้แนวริมอาคารทั้งหมด วางระบบคานเป็นคานหลักและ<br />

คานรอง เกิดระบบการจัดวางโครงสร้างที่น่าสนใจพร้อม<br />

กับระนาบความลึกของฝ้าเพดาน มีการออกแบบแผงคอ<br />

นกรีตเป็นครีบกันแดดยาวตลอดแนวอาคาร รวมทั้งใช้<br />

ในการรับแสงธรรมชาติทางอ้อมสะท้อนองค์ประกอบทาง<br />

สถาปัตยกรรมสู่ภายในพื้นที่ห้องปฏิบัติการ<br />

นอกจากนี้ ยังมีอาคารในยุคแรกตั้งมหาวิทยาลัยอย่าง<br />

อาคารเรียนและปฏิบัติการ คณะเกษตรศาสตร์ (AG01-<strong>02</strong>)<br />

ออกแบบโดยคุณอมร ศรีวงศ์ เช่นเดียวกัน มีรายละเอียดทาง<br />

สถาปัตยกรรมที่น่าสนใจจากการใช้แผ่นคอนกรีตสำาเร็จรูป<br />

ที่ทำาหน้าที่เป็นแนวระเบียงกันตกและกันสาดของอาคาร<br />

เกิดเป็นจังหวะที ่ปรากฏในรูปด้านนอกอาคารที ่เรียบและง่าย<br />

รวมไปถึงกลุ่มอาคารสนับสนุนการเรียนการสอน อย่างหอพัก<br />

นักศึกษา เช่น หอพักที่ 1 และ 2 ที่ออกแบบให้ส่วนห้องพัก<br />

ยื่น 2 เมตร ภายนอกเน้นเป็นแนวกรอบผนังหน้าต่างโดยมี<br />

การร่นระยะกลับเข้ามาด้านใน เพื ่อกันแดดกันฝนให้ช่องเปิด<br />

และหอพักที่ 3 และ 4 ออกแบบโดยสถาปนิก สมคิด เพ็ญ<br />

ภาคกุล และเฉลิมชัย ห่อนาค ซึ่งมีลักษณะของการใช้ชิ้นส่วน<br />

ผนังหล่อสำาเร็จรูปเป็นแผงคอนกรีตที่เป็นเสมือนบานเกล็ด<br />

ขนาดใหญ่ สลับกับรูปทรงระเบียงสี่เหลี่ยมที่ยื่นออกจาก<br />

อาคาร<br />

ภาพรวมของอาคารสถาบันการศึกษาอย่างมหาวิทยาลัย<br />

ขอนแก่น มีลักษณะด้านรูปแบบร่วมกับสถาปัตยกรรมสมัย<br />

ใหม่หลายพื้นที่ในประเทศไทย อาคารหลายหลังเป็นผลสืบ<br />

เนื่องจากการออกแบบโดยสถาปนิกคนสำาคัญอย่าง คุณอมร<br />

The Faculty of Science completed in 1966 was a<br />

result of the requirement to establish such facilities<br />

in northeastern universities under the 1961-1966<br />

Regional Development Plan. The complex consists<br />

of a two-story, one hundred- and twenty-meterlong<br />

lecture hall and rector’s office connecting to<br />

a five hundred seat auditorium. Additionally, the<br />

laboratory building, or SC01 as it is known today<br />

is a four-story, ten-meter wide, sixty-meter-long<br />

structure linked to the chemical laboratory building<br />

by walkways.<br />

The chemical lab is a single-story, with five continuous<br />

arched parabolic concrete roofs. Here, the<br />

lecture facilities and rector’s office building have<br />

already been demolished and replaced by a new<br />

six-story building. As the emphasis in the use<br />

of these buildings is lab work and lectures, the<br />

design team utilized a wide-span structure, with<br />

supporting pillars placed at the building rims. The<br />

beam system is composed of a main beam and<br />

sub-beam, which create depth for the ceiling<br />

providing a more visually interesting structure.<br />

There are also concrete panels that run along the<br />

building’s length, shielding the building’s internals<br />

from direct sunlight while also indirectly allowing<br />

natural light to shine through, providing projected<br />

glimpses of the architectural elements into the<br />

laboratory.<br />

Apart from these, other buildings that were originally<br />

constructed at the university include the Faculty<br />

of Agriculture’s lecture and laboratory buildings<br />

(AG01-<strong>02</strong>). Also designed by Amorn Sriwong, these<br />

buildings have interesting architectural details with<br />

precast concrete panels used as roof guardrails<br />

and canopies offering a simplistic feature for the<br />

building’s exterior. For auxiliary buildings such as<br />

the first and second dorms, rooms are extended<br />

with a large number of windowpanes on the exterior<br />

which retract internally for protection against<br />

inclement weather and sunlight. The third and<br />

fourth dorms designed by architects Somkid<br />

Penpakkhul and Chalermchai Hornark utilize precast<br />

concrete wall panels acting as large window<br />

shutters, along with square-shaped balconies<br />

extending from the structure.


MORE MODERN ARCHITECTURE IN MORE-KOR<br />

161<br />

08-09<br />

อาคารปฏิบัติการ SC01<br />

ในกลุ่มอาคารคณะ<br />

วิทยาศาสตร์ สร้างเสร็จ<br />

ปี พ.ศ. 2509<br />

เครดิตภาพ:<br />

กุลศรี ตั ้งสกุล<br />

8<br />

10<br />

9 11<br />

09-10<br />

อาคารปฏิบัติการ SC01<br />

ในกลุ่มอาคารคณะวิทยา-<br />

ศาสตร์ มีการออกแบบ<br />

แผ่นกรีตเป็นครีบกันแดด<br />

ยาวตลอดแนวอาคาร<br />

เครดิตภาพ:<br />

นพดล ตั้งสกุล


162<br />

revisit<br />

12<br />

11-12<br />

อาคารเรียนและปฏิบัติ<br />

การ คณะเกษตรศาสตร์<br />

(AG01) ออกแบบ<br />

โดย คุณอมร ศรีวงศ์<br />

เครดิตภาพ:<br />

กุลศรี ตั้งสกุล


MORE MODERN ARCHITECTURE IN MORE-KOR<br />

163<br />

Not only are these buildings physical evidence of<br />

changes in society, culture, and politics of this<br />

period but also their value and significance as a<br />

blueprint for study in construction technologies<br />

and methodology.<br />

ศรีวงศ์ ที่ได้ฝากผลงานไว้จำานวนมากในมหาวิทยาลัยส่วน<br />

ภูมิภาคของประเทศ จึงอาจมีความคล้ายคลึงของรายละเอียด<br />

ทางสถาปัตยกรรมกับอาคารในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่และ<br />

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ถือได้ว่าเป็นพัฒนาการทาง<br />

สถาปัตยกรรมที่สำาคัญอีกกลุ่มในประเทศไทยที่น่าสนใจ<br />

เป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะการแสดงออกทางสถาปัตยกรรมที่<br />

สะท้อนถึงแนวความคิดในการให้ความสำาคัญกับประโยชน์<br />

ใช้สอย การคำานึงถึงสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศของไทย<br />

ไปพร้อมกับสุนทรียภาพอันเกิดขึ้นจากการที่องค์ประกอบ<br />

ทางสถาปัตยกรรมที่เป็นเปลือกนอกของอาคาร อาทิ รูป-<br />

แบบของวัสดุและพื้นผิวผนังที่เกิดจากการตอบสนองความ<br />

ต้องการในการระบายอากาศ จังหวะเส้นสายของระเบียง<br />

แผงกันแดดและราวกันตก ความซ้ำาของเส้นสายในรูปด้าน<br />

จากรูปแบบของโครงสร้าง เป็นต้น<br />

หากจะมองในประเด็นเกี่ยวกับคุณค่าสถาปัตยกรรมสมัย<br />

ใหม่ในกลุ่มนี้ที่ชัดเจนคือ ด้านประวัติศาสตร์ จากการเป็น<br />

หลักฐานที่บ่งบอกการเปลี่ยนแปลงด้านสังคม-วัฒนธรรม<br />

และการเมืองแล้ว ในด้านการเป็นต้นแบบแห่งการเรียนรู้ด้าน<br />

เทคโนโลยีและวิธีการในการก่อสร้างผ่านงานสถาปัตยกรรม<br />

ในยุคนี้ก็เป็นส่วนหนึ่งที่สำ าคัญไม่แพ้กัน จึงถือได้ว่ามีความ<br />

จำาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเก็บรักษาอาคารเหล่านี้เพื่อให้เป็น<br />

มรดกทางสถาปัตยกรรมของประเทศ อย่างไรก็ตาม สิ่งที่<br />

ท้าทายสำาหรับสถานการณ์ปัจจุบัน คือการปรับการใช้งานให้<br />

สอดคล้องกับกิจกรรมร่วมสมัย ตามเงื่อนไขในการใช้พื้นที่<br />

เพื่อรองรับการเรียนการสอนที่เปลี่ยนไปจากเดิม นอกจากนี้<br />

ยังมีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการให้คุณค่าในสุนทรียภาพที่แตก<br />

ต่างจากแบบประเพณีเดิมและแบบร่วมสมัย ซึ่งรูปแบบและ<br />

รายละเอียดของการใช้วัสดุและวิธีการก่อสร้างของอาคารใน<br />

กลุ่มนี้ยังต้องการการชี้ให้เห็นความสำ าคัญและตระหนักถึง<br />

คุณค่า เพื่อที่จะรักษาสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในสถาบันการ<br />

ศึกษาเหล่านี้ให้คงอยู่ต่อไป<br />

In general, many of Khon Kaen University & apos;s<br />

buildings share appearances with other Modern<br />

Architecture in other parts of Thailand such as<br />

those in Chiang Mai and Prince of Songkla Universities<br />

as many of these pieces were designed<br />

by Amorn Sriwong, a prominent architect who<br />

designed many other buildings for other regional<br />

universities. These works are interesting so far as<br />

they showcase a major advancement in architecture<br />

in this country, particularly in terms of the<br />

emphasis on the utility of spaces, design consideration<br />

for Thailand’s geography and weather,<br />

and aesthetic detailing in the architectural elements<br />

for the exteriors. Those elements include<br />

cladding materials that serve to ventilate buildings,<br />

the shapes and forms of balconies, facades, and<br />

guardrails, and the repetition of lines and shapes<br />

of the structure.<br />

It is acknowledged that there are challenges in<br />

not only preservation resourcing and application<br />

but with being able to adapt the building spaces<br />

for contemporary use following changes in education<br />

methods. However, the value of these<br />

Modern Architecture buildings lies in their historical<br />

importance. Not only are these buildings<br />

physical evidence of changes in society, culture,<br />

and politics of this period but also their value and<br />

significance as a blueprint for study in construction<br />

technologies and methodology. For these<br />

reasons alone, it is of utmost importance to preserve<br />

these buildings as part of the invaluable<br />

architectural heritage of Modern Architecture<br />

in Thailand.<br />

รองศาสตราจารย์<br />

ดร.นพดล ตั้งสกุล<br />

จบการศึกษาจาก<br />

University of Florida<br />

ปั จจุบั นเป็ นอาจารย์ ประจ า<br />

คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยขอนแก่น<br />

มีความสนใจด้านสถาปั ตย-<br />

กรรมพื้นถิ่นที่อยู่อาศัย<br />

ในลุ่มน ้าโขง และแนวคิดใน<br />

การออกแบบสถาปั ตยกรรม<br />

ร่วมสมัยที่มีกลิ่นอายทาง<br />

วัฒนธรรมผสมผสาน<br />

Assoc.Prof. Dr.<br />

Nopadon Thungsakul<br />

graduated from the<br />

University of Florida.<br />

He is currently an<br />

associate professor<br />

at the Faculty of<br />

Architecture, Khon<br />

Kaen University. His<br />

areas of interest are<br />

vernacular dwellings<br />

in the Mekong River<br />

Basin and the idea of<br />

transforming cultural<br />

aspects in contemporary<br />

architecture.<br />

ขอบคุณข้อมูลจาก 1.คณะวิจัยคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ดาเนินโครงการศึกษารวบรวมฐานข้อมูลอาคารสมัยใหม่ในมหาวิทยาลัยขอนแก่น จากการ<br />

สนับสนุนของฝ่ ายโครงสร้างพื้นฐานและ สิ่งแวดล้อม และข้อมูลประวัติอาคารจาก หอจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2.คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.<br />

(2563). โครงการศึกษารวบรวมฐานข้อมูลอาคารสมัยใหม่ในมหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น: คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 3.พินัย สิริเกียรติกุล. (2563).<br />

เปิ ดคลังเอกสาร อมร ศรีวงศ์. กรุงเทพฯ: สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์. 4.ยงธนิศร์ พิมลเสถียร. (2563). หลักคิดด้านคุณค่าของการอนุรักษ์สถาปั ตยกรรมใน<br />

ประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์


164<br />

chat<br />

Photo courtesy of the architect


NIVES VASEENON<br />

165<br />

โรงเรียนสถาปั ตย์สอนให้เราคิด เราเรียนออกแบบมาเราไม่เคยจนมุม<br />

ไม่เคยที่จะออกแบบไม่ได้ เราไม่ต้องออกแบบสถาปั ตยกรรมก็ได้<br />

เราออกแบบโลก ออกแบบบ้าน ออกแบบงานอื่นๆ ได้หมด เพราะฉะนั้น<br />

เราต้องออกแบบ mindset ของเราใหม่ ต้องคิดว่าโควิดอาจจะไม่หาย<br />

ไปจากโลก แล้วเราต้องทำางานอย่างไรให้อยู่กับมันได้ ผมว่าสเกลของ<br />

ออฟฟิ ศสถาปนิกก็อาจจะปรับเปลี่ยนด้วย เพราะอย่างนี้ ผมมองว่าการ<br />

ทำางานวิชาชีพในแง่ของการออกแบบหรือวิชาชีพสถาปนิกนี้ ไม่มีทางตัน<br />

นิเวศน์ วะสีนนท์<br />

อุปนายกฝ่ ายวิชาชีพ สมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

อาษา : อยากให้ท่านอุปนายกช่วยพู ดถึง<br />

นโยบายและวิสัยทัศน์ของฝ่ ายวิชาชีพ ของ<br />

คณะกรรมการบริหารสมาคมชุดนี้<br />

นิ เวศน์ วะสี นนท์ ข้อแรกเลย : คณะกรรมการชุดนี้เข้า<br />

มาพร้อมกับวิกฤตในทุกๆ เรื่อง ในเรื่องของเงินสะสมก็<br />

ไม่มี เพราะติดการจัดงานไม่ได้ สอง พอเราเริ่มเป็นคณะ<br />

กรรมการขึ้นมาก็มีโควิดพอดี เพราะฉะนั้นเราก็ได้คุยกัน<br />

ในคณะกรรมการและในฐานะที่ผม ได้รับมอบหมายให้<br />

ดูแลเรื่องวิชาชีพ เราก็เน้นไปในทิศทางที่ว่าเราพยายาม<br />

ช่วยเหลือสมาชิกก่อน จะทำาอย่างไรให้สมาชิกมีรายได้<br />

มีปัจจัยที่จะรอดให้ได้ก่อน แล้วค่อยไปว่ากันในเรื่องของ<br />

การพัฒนาวิชาชีพ เราเลยเน้นไปที่ว่าทำาอย่างไรสมาชิกจึง<br />

จะมีหนทางในการทำางานเพิ่มขึ้นนอกจากออกแบบอย่าง<br />

เดียว แล้วก็พยายามแก้ปัญหาอุปสรรคต่างๆ ที่มันเกิด<br />

ขึ้นในสิ่งที่มันเป็นมานานแล้ว หรือสิ่งที่จะเกิดขึ้นจากช่วง<br />

โควิด ก็มีแนวทางที่เป็นไปได้สูงที่จะช่วยสมาชิกได้พอ<br />

สมควร ซึ่งแน่นอนว่าช่วงนี้ทำางานลำาบากมาก เผลอๆ ไป<br />

ก็จะครบวาระแล้ว เราเลยคุยกับคณะกรรมการว่าเรื่อง<br />

สำาคัญ คือเราต้องวางรากฐานให้คณะกรรมการบริหาร<br />

สมาคมชุดต่อไปที่จะเข้ามา ส่วนตอนนี้ก็คิดเรื่องที่จะ<br />

ทำาให้สมาชิก มีรายได้เพียงพอไปก่อน เรามีสมาชิก 2-3<br />

หมื่นคน ทำางานจริงไม่ถึง 20% ตรงนี้เราก็ต้องพยายาม<br />

หาทางออกกันอีกครั้งว่าจะช่วยกันอย่างไร<br />

อาษา : จากจุดประสงค์ที่ต้องการเข้ามาช่วย<br />

เหลือสมาชิกในช่วงวิกฤต ทางคณะกรรมการ<br />

ได้มีนโยบายที่เกี่ยวข้องกับส่วนนี้อย่างไรบ้าง<br />

นิ เวศน์ วะสี นนท์ จากประสบการณ์ที่ผ่านมา :<br />

ผมมองว่า<br />

ถ้าทุกคนทำางานออกแบบกันอย่างเดียวกว่า 2-3 หมื่นคน<br />

ก็อาจไปไม่รอด เราเลยพยายามหาช่องทางให้สถาปนิก<br />

สามารถไปทำางานข้างเคียงอย่างอื่นได้ด้วย เช่น เป็น<br />

ผู้เชี่ยวชาญ เป็นที่ปรึกษาต่างๆ ซึ่งจะทำาให้วิชาชีพเรา<br />

มีหนทางในการประกอบการวิชาชีพได้มากขึ้น นอกเหนือ<br />

จากงานออกแบบ โครงการพัฒนาวิชาชีพฯ จึงเป็นโครงการ<br />

ที่เราพยายามนำาเสนอ เพื่อให้สถาปนิกสามารถเข้าไป<br />

ทำางานในส่วนที่ต้องการหรือทำางานเป็นที่ปรึกษาได้ ซึ่ง<br />

ในปัจจุบันและอนาคตจะมีงานประเภทนี้มากขึ้นเรื่อยๆ<br />

แต่ปัจจุบันสถาปนิกเรายังไม่ค่อยมีโอกาสได้พัฒนาใน<br />

ส่วนนี้ เราจึงอยู่ในกระบวนการพัฒนาเป็นหลักสูตรขึ้นมา<br />

เพื่อให้น้องๆ สถาปนิกรุ่นใหม่เข้าร่วมอบรมหรือมาเรียนรู้<br />

เพื่อไปเป็นผู้เชี่ยวชาญ โดยมีอยู่ 6-7 ประเภท ได้แก่<br />

ผู้เชี่ยวชาญด้านอสังหาริมทรัพย์ ด้านความปลอดภัย<br />

อาคาร ด้าน BIM ด้านนวัตกรรม ด้าน Universal ด้านเสียง<br />

และด้านแสง/แดด/ลม เป็นต้น ถ้ามีผู้เข้าร่วมโครงการ<br />

ประเภทละ 100 คน ก็จะเกิดการพัฒนาผู้เชี่ยวชาญด้าน<br />

ต่างๆ กว่า 700 คน ขึ้นมา<br />

ตอนนี้กำาลังวางหลักการและจัดหาบุคลากรที่จะมาสอน<br />

หรืออบรมอยู่ ซึ่งส่วนนี้คาดว่าจะแล้วเสร็จภายในเดือน<br />

สิงหาคม 2564 นี้ รวมถึงกระบวนการด้านการรับรอง<br />

ในฐานะที่เราจะเข้ามารับบทบาทเป็นผู้เชี่ยวชาญแต่ละ<br />

ด้านก็จำาเป็นจะต้องได้การรองรับด้วยกระบวนการทาง<br />

ข้าราชการ เพื่อให้มีสถานะเป็นผู้เชี่ยวชาญและสามารถ<br />

ปฏิบัติงานได้จริง เพราะในปัจจุบันก็ยังมีข้อกฎหมาย<br />

บางข้อที่ตีความแล้วทำาให้การทำางานบางประเภทของ<br />

สถาปนิกรุ่นใหม่นั้นไม่สามารถกระทำาได้ ซึ่งจะเป็นข้อ<br />

จำากัดในสายวิชาชีพและอาจทำาให้ไม่สอดคล้องไปตาม<br />

หลักสูตรที่วางไว้ ตรงนี้เราก็ต้องค่อยๆ ปรับและประสาน<br />

งานไปตามลำาดับ ซึ่งจะพยายามทำาให้สำาเร็จภายในปีนี้


166<br />

chat<br />

อาษา : จากสถานการณ์ โควิด-19 ที่เกิดขึ ้น ในแง่ของ<br />

การประกอบวิชาชีพ ในฐานะอุปนายกฝ่ ายวิชาชีพ ได้มี<br />

การรับฟั งหรือมีความเป็ นห่วงต่อสถาปนิกที่กำาลังรับมือ<br />

กับสถานการณ์ครั้งนี้อย่างไรบ้าง รวมไปถึงสถาปนิก<br />

จบใหม่ด้วย<br />

นิ เวศน์ วะสี นนท์ โรงเรียนสถาปัตย์สอนให้เราคิด :<br />

เราเรียนออกแบบ<br />

มาเราไม่เคยจนมุมนะ ไม่เคยที่จะออกแบบไม่ได้ เราไม่ต้องออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรมก็ได้ เราออกแบบโลก ออกแบบบ้าน ออกแบบงานอื่นๆ<br />

ได้หมด เพราะฉะนั้น เราต้องออกแบบ mindset ของเราใหม่ ต้องคิด<br />

ว่าโควิดอาจจะไม่หายไปจากโลก แล้วเราต้องทำางานอย่างไรให้อยู่กับ<br />

มันได้ แม้แต่ออฟฟิศในเมืองไทยก็ work from home กัน ผมว่าสเกล<br />

ของออฟฟิศสถาปนิกก็อาจจะปรับเปลี่ยนด้วย เพราะอย่างนี้ ผมมอง<br />

ว่าการทำางานวิชาชีพในแง่ของการออกแบบหรือวิชาชีพสถาปนิกนี้<br />

ไม่มีทางตัน เพียงแต่ตลาดของการออกแบบอาจจะเปลี่ยนไปจากเดิม<br />

ปัจจุบันบางออฟฟิศงานล้น บางออฟฟิศก็รับคนเพิ่ม ซึ่งสวนทากับโลก<br />

ที่เป็นอยู่ เพราะยังไงมนุษย์ก็ต้องกินต้องอยู่ และทุกๆ กระบวนการ<br />

ต้องการสถาปนิกที่จะเข้ามาทำางาน ทุกโครงการต้องการสมองของ<br />

พวกเรา ปัจจุบันงานรีโนเวท งานปรับปรุงอาคารก็เริ่มมีเข้ามาเรื่อยๆ<br />

นี่อาจจะเป็นตลาดใหม่ของสถาปนิก พวกเราต้องสู้ ถึงแม้ช่วงนี้จะ<br />

ทำางานยากมากขึ้น<br />

อาษา : ในมุมของผู้ที่เคยผ่านวิกฤตต้มยำากุ้งปี 2540<br />

มาก่อน คิดว่าหลักการเอาตัวรอดในวิชาชีพครั้งนั้น<br />

สามารถนำามาปรับใช้กับวิกฤตโรคระบาดครั้งนี ้ ได้บ้างไหม<br />

นิ เวศน์ วะสี นนท์ ช่วงปี : 2540 นั้นต้องมองว่ามันเกิดปัญหาที่<br />

ประเทศของเรา แต่โควิดนี้เกิดทั้งโลก เพราะฉะนั้น สมัยปี 2540 เรา<br />

ยังมีลูกค้าที่มีเงินเข้ามาซื้อ ซึ่งสมัยก่อนเป็นตลาดของอสังหาริมทรัพย์<br />

ขนาดใหญ่ เป็นตลาดของคนต่างประเทศที่ยังมีความต้องการอยู่ แต่<br />

แน่นอนว่าเมื่อตลาดขนาดเล็ก ของก็น้อยลง กับปัจจุบันนี้คือต่างจาก<br />

ครั้งที่แล้วนะ เพราะตอนนี้ตลาดใหญ่ไม่มี แต่ตลาดเล็กยังมี ซึ่งโควิดก็<br />

ดีอย่างนะ เพราะทำาให้ทุกคน set zero เท่ากัน ทุกคนใช้เงินน้อยลง พอ<br />

work from home เราก็มีเงินเหลือมากขึ้น บัตรก็รูดน้อยลง คนก็จะมี<br />

เงินมากพอที่จะปรับเปลี่ยนปรับปรุง ในฐานะที่เป็นสถาปนิก ผมคิดว่า<br />

สถานการณ์ที่เป็นอยู่นี้ก็อาจเป็นข้อดีของสถาปนิกทุกรุ่นเลย ไม่มีใคร<br />

ได้เปรียบซึ่งกันและกันเลย ประสบการณ์ก็ไม่ใช่เรื่องสำาคัญเพียงอย่าง<br />

เดียว เช่น ปัจจุบันมีตลาดต้นไม้ ใครจะไปคิดว่าบางต้นจะราคาสูงเป็น<br />

แสน มีใครลองคิดไหมว่าถ้าลองเอามาขายในตึกใหญ่ๆ เปิดเป็นตลาด<br />

ลอยฟ้าอะไรแบบนั้น ผมมองว่าดูเท่มาก เพราะฉะนั้น โควิดทำาให้เกิด<br />

โอกาสที่เท่าเทียมกัน ถ้าเราไม่ได้ไปวิตกจริตกับเรื่องอื่นๆ วิกฤต<br />

2540 ตอนนั้นออฟฟิศยังน้อย แต่ระยะไม่ยาว ขณะที่โควิดนี่อาจจะอีก<br />

ยาวมาก แต่ตลาดมีหลากหลายมากกว่า<br />

อาษา : ทิศทางการประกอบวิชาชีพสถาปนิกและวงการ<br />

สถาปั ตยกรรมไทยในอนาคตอันใกล้นี้จะเป็ นอย่างไร<br />

นิ เวศน์ วะสี นนท์ ลองดูงานโอลิมปิกที่ญี่ปุ่น :<br />

ผมว่านั่นคือการตอบ<br />

โจทย์งานออกแบบช่วงโควิด ญี่ปุ่นก็คือญี่ป่น เพราะเขาคิดดีเทลกัน<br />

แทบทุกเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นวัสดุและการใช้ความร่วมมือของทุกคนใน<br />

ชาติ เราจะเห็นว่ามันไม่ได้มี super structure คือไม่ต้องใช้เทคโนโลยี<br />

ขนาดใหญ่ เพราะมนุษย์จริงๆ แล้วควรร่วมมือกัน ซึ่งนี่แหละจะเป็น<br />

ทิศทางของโลกในอนาคต แต่เราจะมาร่วมมือกันยังไงให้เข้ากับยุคสมัย<br />

ของ new normal ตรงนี้แหละที่เราต้องมาคิดกันต่อ ว่ารูปแบบของงาน<br />

สถาปัตยกรรมในอนาคตควรจะเป็นยังไง ใช้ความสามารถของแต่ละ<br />

สาขาอย่างไร การดีไซน์ควรเป็นยังไง อนาคตอาจมีการใช้เทคโนโลยี<br />

มากๆ สั่งวัสดุจากเมืองนอกก็อาจจะมาไม่ได้ เราควรใช้ต้นทุนที่เรามี<br />

ถ้าใครทำาได้ผมว่าเก่ง เหมือนญี่ปุ่น ผมว่าเก่ง<br />

อาษา : จากประเด็นเกี่ยวกับการขอใบรับรองอนุญาต<br />

วิชาชีพกับระเบียบใหม่ของทางสภาฯ สมาคมได้ข้องเกี่ยว<br />

อย่างไร และมีความคืบหน้าอย่างไรบ้าง<br />

นิ เวศน์ วะสี นนท์ สมาคมเราตั้งขึ้นมาเพื่อเป็นที่พึ่งของสถาปนิกแต่<br />

:<br />

ไม่ได้มีกฎหมายรองรับ เราไม่สามารถไปกำาหนดตัวบทกฎหมายได้<br />

เพราะคนกำาหนดจะเป็นสภาฯ แต่ในฐานะของสมาคม เราเห็นว่าปัจจุบัน<br />

ก็มีกฎบางข้อที่เราไม่ค่อยเห็นด้วย ซึ่งทางเราก็ทำาการฟ้องศาลปกครอง<br />

ไปแล้ว สำาหรับกฎหมายข้อที่ไม่เป็นธรรม เราฟ้องศาลปกครองและศาล<br />

รับฟ้องแล้ว ตอนนี้ศาลกำาลังพิจารณา ฉะนั้นกระบวนการที่จะเก็บเงิน<br />

ก็ต้องการให้งดหรือหยุดไว้ก่อน ตอนนี้ทางเรากำาลังประสานงานกับทาง<br />

สภาสถาปนิกฯ ทางสภาวิศวกร และวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ เพื่อให้มีน้ำาหนักในการนำาไปพูดคุยกับทาง<br />

มหาดไทย ซึ่งเป็นต้นเรื่อง เพราะกฎหมายฉบับนี้เป็นกฎหมายที่<br />

กระทรวงมหาดไทยออกมา ทั้งของสถาปนิกและวิศวกรพร้อมๆ กัน<br />

จึงทำาให้มีผลกระทบต่อเรา ตอนนี้สภาฯ จึงขอประวิงเวลากันไปก่อน<br />

อาจจะใช้เวลาสัก 1-2 ปี ที่ก็ยังอยู่ในกระบวนการชั้นศาลอยู่ เราพยายาม<br />

ช่วยอยู ่<br />

อาษา : ในส่วนของวิชาชีพ สิ ่งที่คณะกรรมการบริหาร<br />

สมาคมชุดนี้ ได้วางไว้ มี โครงการอะไรบ้างที่ได้ทำาไปแล้ว<br />

และกำาลังจะทำาในอนาคต<br />

นิ เวศน์ วะสี นนท์ :เรื่องที่เรากำาลังทำากันอยู่ในปัจจุบันก็คือการลดค่า<br />

ใช้จ่ายสมาชิก เราจะไม่เก็บค่าสมาชิกในช่วงนี้ หรือการต่อใบอนุญาต<br />

ก็อาจจะไม่เก็บเงิน เพื่อที่สมาชิกจะไม่ต้องเสียเงิน รวมถึงพยายาม<br />

จะตั้งกลุ่มทำางานขึ้นมาเพื่อช่วยแก้ปัญหาเรื่องโควิด เช่น เรากำาลังจะ<br />

รวบรวมสมาชิกและหาสถานที่ฉีดวัคซีน ซึ่งเป็นโควตาของทางสมาคม<br />

และตั้งคณะกรรมการเข้ามาช่วยเรื่องของสมาชิกที่ประสบปัญหาจาก<br />

โควิด หรือเรื่องโรงพยาบาลสนาม ที่เราอยากเข้าไปช่วย ซึ่งเรากำาลัง<br />

จัดทำากันอยู่ในปัจจุบัน สามารถเข้าไปดูในเว็บไซต์และเพจของทาง<br />

สมาคมฯ เพิ่มเติมได้ จะมีรายละเอียดประกอบครบถ้วน ในส่วนของ<br />

โครงการจัดทำา TOR โครงการนี้ได้ทำามาตั้งแต่คณะกรรมการชุดที่แล้ว<br />

ทางชุดเราเข้ามาประสานงานต่อให้สำาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ตอนนี้<br />

สมาคมฯ ได้มอบหมายให้คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ศิลปากร จัดทำา<br />

เป็นต้นแบบของโครงการนี้โดยพยายามทำาให้สถาปนิกทุกระดับมี<br />

โอกาสทำางานประกวดแบบต่างๆ ของทางราชการ และได้ประสานกับ<br />

ทางกรมบัญชีกลางเพื่อให้เอาไปปฏิบัติใช้งานจริงได้ด้วย ทั้งหมดนี้<br />

จะเสร็จเรียบร้อยภายในไตรมาส 3 ของปีนี้ ถ้าเรียบร้อยแล้วจะมีการ<br />

ประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกทุกคนได้รับทราบอีกครั้ง แต่อย่างที่บอกว่า<br />

คณะกรรมการชุดผมก็กำาลังจะหมดวาระแล้ว เราคงทำาได้แค่ระดับหนึ่ง


NIVES VASEENON<br />

167<br />

สมาคมเราตั้งขึ ้นมาเพื่อเป็ นที่พึ ่งของสถาปนิกแต่ไม่ได้มีกฎหมายรองรับ เราไม่<br />

สามารถไปกำาหนดตัวบทกฎหมายได้ แต่ในฐานะของสมาคม เราเห็นว่าปั จจุบัน<br />

ก็มีกฎบางข้อที่เราไม่ค่อยเห็นด้วย ซึ ่งทางเราก็ทำาการฟ้ องศาลปกครองไปแล้ว<br />

สำาหรับกฎหมายข้อที่ไม่เป็ นธรรม เราฟ้ องศาลปกครองและศาลรับฟ้ องแล้ว<br />

ตอนนี้ศาลกำาลังพิจารณา<br />

อาษา : ช่วยทิ ้งท้ายถึงผู้ที่กำาลังอยู่บนเส้นทาง<br />

วิชาชีพสถาปนิกสั กนิ ดได้ ไหม<br />

นิ เวศน์ วะสี นนท์ ผมมองอย่างนี้นะ :<br />

ไม่ว่าโลกของเราจะ<br />

มีโควิดหรือมีอะไรก็ตาม ผมอยากให้เรายึดมั่นอุดมการณ์<br />

ในวันที่เรากำาลังจะเข้ามหาวิทยาลัย ตอนคุณเรียนมัธยม<br />

คุณอยากเข้าเรียนสถาปัตย์เพราะอะไร ลองเอาตัวนั้น<br />

เป็นที่ตั้ง ถึงแม้เราเรียนไปอุดมการณ์จะลดลงก็ตาม<br />

(หัวเราะ) แต่ถ้าเรายึดมั่นในอุดมการณ์ว่าอยากจะเป็น<br />

สถาปนิก ผมว่าตรงนี้จะช่วยเป็นน้ำาเลี้ยงจิตใจและทำาให้<br />

เราสู้ต่อไปได้ เราจะบอกว่าโอเค ในช่วงชีวิตตรงนี้เป็นสิ่ง<br />

ที่บั่นทอนชีวิต หมดโอกาสในการทำางานอะไรก็ตาม ผม<br />

ว่าต้องคิดใหม่ เราลองมองว่าเป็นสิ่งที่ท้าทายชีวิต จะมี<br />

สักกี่ครั้งที่โรคระบาดทั่วโลก ถ้าเราปรับตัวได้ สู้ได้ เราก็<br />

ทำางานได้ ต่อให้มีอะไรอื่นต่อจากนี้ผมว่าเราก็จะผ่านไป<br />

ได้ทุกอย่าง<br />

อยากให้นึกถึงตอนที่เราอยากจะเข้ามาทำางานนี้และเอา<br />

สิ่งนั้นมาหล่อเลี้ยงจิตใจเราให้ได้ ผมทำางานตรงนี้มา 40 ปี<br />

ผ่านหลายสถานการณ์ ผมว่าเราก็อยู่ได้ถ้าเราไม่ท้อกับ<br />

มันไปเสียก่อน อยากฝากสถาปนิกทุกท่าน รวมทั้งน้องๆ<br />

สถาปนิกรุ่นใหม่ว่าไม่ว่าโลกจะเป็นยังไง ปัจจัยสี่ของ<br />

มนุษย์ ก็ยังคงอยู่เหมือนเดิม วิชาชีพสถาปนิกสามารถ<br />

เข้ามา support ได้ 3-4 ปัจจัยเลยนะ ฉะนั้น อาชีพนี้มัน<br />

จำาเป็นแน่นอน ช่องทางเหล่านี้ทำาให้วิชาชีพนี้เป็นวิชาชีพที่<br />

น่าภาคภูมิใจ และเมื่อเราทำาแล้วเสร็จ ผลงานของเราก็จะ<br />

อยู่ไปอีกหลายสิบปี ผมว่าความภูมิใจมันอยู่ตรงนั้นนะ<br />

ถ้าเรามองแบบนี้ อาจช่วยให้เราอยู่ได้ และอยู่รอดไปได้<br />

ฝากแค่ว่าอย่าท้อ เพราะยังไงอาชีพสถาปนิกก็ยังอยู่คู่กับ<br />

โลกของเรา


168<br />

the last page<br />

Photo: Kukkong Thirathomrongkiat<br />

เรามักพยายามออกแบบ ‘ผิว’ เพื่อให้คนภายนอกเห็น และผิวจะ<br />

ห่อหุ้มสิ่งที่ไม่อาจเห็นอยู่ภายใน แต่บางครั้งผิวก็เป็นส่วนหนึ่งใน<br />

การสร้าง หรือสะท้อนสิ่งที่ซ่อนอยู่ภายในนั้นอย่างปฏิเสธไม่ได้…<br />

กึกก้อง ธิรธรรมรงค์เกียรติ ์<br />

จบการศึกษาจากคณสถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551 ปั จจุบัน<br />

เป็ นสถาปนิกและช่างภาพในกรุงเทพฯ และเป็ น<br />

บรรณาธิการผู้ก่อตั้งแม็กกาซีนชื่อ Window<br />

Kukkong Thirathomrongkiat<br />

graduated from the Faculty of Achitecture,<br />

Chulalongkorn University in 2008.<br />

He is currently an Architect and Photographer<br />

based in Bangkok and is the<br />

founding editor of Window magazine.<br />

ยิ่ง ‘ผิว’ นั้นดึงดูดหรือน่าสนใจเท่าไร ผมก็มักตั้งคำาถามต่อสิ่งที่<br />

อยู่ข้างในนั้น ทั้งที่เห็นด้วยตา หรือสัมผัสได้ด้วยความรู้สึก<br />

We always try to design ‘skin’ for people to see from the<br />

outside, and that skin envelops the unseen within. But<br />

sometimes, undeniably, the skin is in itself a part of the<br />

building or reflects what is hidden within it...<br />

The more attractive or interesting the ‘skin’ is, the more<br />

I am curious about what lies inside, either can it be seen<br />

by the eyes or be sensed by the feeling.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!