04.04.2022 Views

หลักเมืองมีนาคม 65

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

รุ่นไรท์ ไซโคลน อาร์-๑๘๒๐-เอฟ-๕๓ กำลัง ๗๕๐ แรงม้า ซึ่งเป็นเครื่องยนต์

แบบเดียวกับที่ติดตั้งกับเครื่องบินแบบ ๑๗ (ฮอว์ค ๓) ทำให้มี

สมรรถนะทางการบินสูงกว่าเครื่องบินแบบ ๒๓ รุ่นตรวจการณ์และ

ทิ้งระเบิด แต่กองทัพอากาศได้สร้างขึ้นมาเพียง ๒ - ๓ เครื่องเท่านั้น

เครื่องบินรุ่น โอ๓ ยู-๖

หลังจากการประกอบเสร็จแล้วและทำการทดสอบ กรม

อากาศยานได้บรรจุเครื่องบิน วี-๙๓ ในกองบินน้อยที่ ๑ ดอนเมือง

(กองบินตรวจการณ์) กำหนดแบบเป็น “เครื่องบินแบบที่ ๒๓” และ

ภายหลังสงครามมหาเอเชียบูรพาได้เปลี่ยนชื่อแบบเป็น “เครื่องบิน

โจมตีแบบที่ ๑ (บ.จ.๑)”

พ.ศ.๒๔๗๗ กรมโรงงานทหารอากาศ ที่บางซื่อ ได้สร้าง

เครื่องบินโจมตี-ตรวจการณ์ แบบ ๒๓ (คอร์แซร์ วี-๙๓) ออกใช้

ราชการชุดแรก จำนวน ๒๕ เครื่อง โดยสามารถสร้างแล้วเสร็จในปี

พ.ศ.๒๔๗๙ จากนั้นในปี พ.ศ.๒๔๘๐ ได้สร้างขึ้นอีก จำนวน ๒๕

เครื่อง เป็นรุ่นที่สอง บรรจุเข้าประจำการในกองบินน้อยที่ ๒

(ตรวจการณ์) ที่ดอนเมือง และทดแทน บ.ท.๑ ที่กองบินน้อยที่ ๓

(ทิ้งระเบิด) นครราชสีมา นอกจากนี้ยังบรรจุประจำการที่กองบิน

น้อยที่ ๕ (ทั่วไป) ประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งตั้งขึ้นมาใหม่๑

เครื่องบินแบบ ๒๓ รุ่นพิเศษ ซึ่งกองทัพอากาศได้พัฒนาขึ้นมาเอง

ในงานแสดงการบินครั้งแรก

เครื่องบินแบบ ๒๓ ในงานแสดงการบินครั้งแรกของประเทศไทย

และของเอเชีย ระหว่างวันที่ ๑ - ๓ เมษายน พ.ศ.๒๔๘๑

(ในเวลานั้นวันที่ ๑ เมษายนเป็นวันขึ้นปีใหม่ของไทย)

นักบินและเครื่องบินแบบ ๒๓ ที่กองบินน้อยที่ ๓ นครราชสีมา

เมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๒

ในงานแสดงการบินครั้งแรก กองทัพอากาศยังได้นำเครื่องบิน

แบบ ๒๓ รุ่นพิเศษ ซึ่งกองทัพอากาศได้พัฒนาขึ้นเอง ซึ่งจะมีความ

แตกต่างจากเครื่องบิน วี-๙๓ ที่จัดซื้อมาใช้งานและผลิตภายใต้

สิทธิบัตร โดยติดตั้งใบพัด ๓ กลีบ และติดตั้งเครื่องยนต์ลูกสูบ

Edward M.Young. Aerial Nationalism A History of Aviation in Thailand. PP111-121

หลักเมือง มีนาคม ๒๕๖๕

งานแสดงการบินครั้งแรกของประเทศไทย

จัดขึ้นที่ดอนเมือง

27

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!