04.04.2022 Views

หลักเมืองมีนาคม 65

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

พ.ศ.๒๔๘๒ กรมช่างอากาศสร้างเครื่องบินฝึกขั้นสูงแบบ ๕

(บ.ฝ.๕) จำนวน ๑๐ เครื่อง โดยดัดแปลงจากเครื่องบินแบบ ๒๓

กำหนดแบบเป็น “เครื่องบินแบบ ๘๗” ติดตั้งเครื่องยนต์ลูกสูบแบบ

แพรทท์ & วิทนีย์ ฮอร์เนต อาร์-๙๗๕ อี ๓ กำลัง ๔๒๐ แรงม้า

เพื่อบรรจุเป็นเครื่องบินฝึกของโรงเรียนการบินของกองทัพอากาศที่

ทุ่งกุดทอง นครราชสีมา

เครื่องบินแบบ ๘๗ เครื่องบินฝึกขั้นสูงแบบ ๕ (บ.ฝ.๕)

๒. เกียรติประวัติที่สำคัญของเครื่องบินแบบที่ ๒๓

ในกองทัพอากาศ

กรณีพิพาทอินโดจีนไทย - ฝรั่งเศส พ.ศ.๒๔๘๔ (มกราคม พ.ศ.

๒๔๘๔ - กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๘๔) การสู้รบทางอากาศครั้งแรกของไทย

หมู่บินลาดตระเวนจันทบุรี เครื่องบินแบบ ๒๓ กองบินผสมพิเศษ

จันทบุรี สนามบินเนินพลอยแหวน ช่วงปี พ.ศ.๒๔๘๓ - ๒๔๘๔

กองบัญชาการทหารสูงสุดได้ตั้ง “กองทัพพายัพ” ขึ้น เพื่อร่วม

รุกรบและป้องกันตามหลักการร่วมยุทธ์ระหว่างไทยกับญี่ปุ่น

เครื่องบินแบบ ๒๓ สังกัดกองบินน้อยผสมที่ ๘๐

เครื่องบินแบบ ๒๓ สังกัดกองบินน้อยผสมที่ ๘๐

ที่สนามบินเชียงราย เมื่อ พ.ศ.๒๔๘๕

ในกรณีพิพาทอินโดจีนฝรั่งเศส เครื่องบินแบบ ๒๓ มีบทบาท

ในการรบมาก เมื่อครั้งฝรั่งเศสบินล้ำแดน กองทัพอากาศได้ส่ง

เครื่องบินแบบ ๒๓ ปฏิบัติงานดินแดนเขตข้าศึก ทำลายที่หมาย

โดยตามคำสั่งกองทัพอากาศสนามทางวิทยุ

28

ในสงครามมหาเอเชียบูรพา เครื่องบินแบบที่ ๒๓ มีบทบาท

สำคัญในการปฏิบัติภารกิจลาดตระเวน - ตรวจการณ์ โจมตีทาง

อากาศ ถ่ายรูปทางอากาศ ส่งกลับทางอากาศทางสายแพทย์ รับ-ส่ง

กำลังพล โดยถอดปืนหลังออกสามารถลำเลียงผู้โดยสารได้ ๒ คน

รวมทั้งปฏิบัติภารกิจทิ้งเวชภัณฑ์ให้กำลังทางบก

พิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!