20.01.2015 Views

ชื่อบทความ การใช้ประโยชน์จากออนโทโลยีในงานบ

ชื่อบทความ การใช้ประโยชน์จากออนโทโลยีในงานบ

ชื่อบทความ การใช้ประโยชน์จากออนโทโลยีในงานบ

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

หน้าที่ 12<br />

ผู้ใช้น าข้อมูลของออนโทโลยีที่อธิบายความหมายของเอกสารฉบับนั้นอย่างครอบคลุมก็จะท าให้ผู้ใช้สามารถ<br />

เรียนรู้ความสัมพันธ์ของเอกสารแต่ละฉบับ โดยที่ไม่ต้องอ่านเอสารทั้งหมดอย่างละเอียดก็สามารถเชื่อมโยง<br />

ความหมายหลักเข้าด้วยกันได้อย่างเป็นระบบ นอกจากนี้ออนโทโลยียังช่วยให้การเรียบเรียงสารสนเทศใน<br />

รูปแบบพร้อมใช้ (information packaging) ของบรรณารักษ์มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และครอบคลุม<br />

ค าศัพท์ต่างๆ ที่ส าคัญภายใต้โดเมนเดียวกันอีกด้วย<br />

4. บทสรุป<br />

บทความฉบับนี้ กล่าวถึง ปรากฏการณ์ที่ผู้ใช้บริการสารสนเทศต้องเผชิญกับออนโทโลยีเป็นจ านวน<br />

มาก ซึ่งเครื่องมือเหล่านี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประมวลผลแนวคิด (Concepts) และความสัมพันธ์ (Relations)<br />

ขององค์ความรู้ (Body of knowledge) ในโดเมนที่มีขอบเขตเฉพาะเจาะจง หากผู้ให้บริการสารสนเทศ เช่น<br />

บรรณรักษ์ และนักสารสนเทศ สามารถ น าความรู้ด้านการประเมินออนโทโลยีเพื่อประยุกต์ใช้ในการบริการ<br />

สารสนเทศ เพื่อสร้างโอกาสแก่ผู้ใช้บริการให้มีทางเลือกผ่านเครื่องมือสืบค้นข้อมูลรูปแบบใหม่ๆ ช่วยให้<br />

การเข้าถึงสารสนเทศมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ จากการทบทวนวรรณกรรม พบว่า<br />

แนวทางที่ใช้ในการประเมินออนโทโลยี (ontology evaluation) ถูกเสนอไว้โดยนักวิชาการ 2 กลุ่ม กลุ่มแรก<br />

คือ แนวการประเมินออนโทโลยีของ Sure ได้แก่ การประเมินเนื้อหา การประเมินเครื่องมือ การประเมิน<br />

ความสัมพันธ์ของค าศัพท์ และการประเมินกระบวนการท างานของเครื่องมือและแอพพลิเคชั่น กลุ่มถัดมา<br />

คือ แนวการประเมินออนโทโลยีของ Brank Grobelnik และ Mladenic (2005) ได้แก่ การประเมินในระดับ<br />

ของค าศัพท์ การประเมินในระดับโครงสร้างของล าดับชั้นข้อมูล การประเมินในระดับความสัมพันธ์ การ<br />

ประเมินในระดับบริบทและแอพพลิเคชั่น การประเมินในระดับประโยค และ การประเมินในระดับโครงสร้าง<br />

สถาปัตยกรรม และการออกแบบ ซึ่งผู้ให้บริการสารสนเทศสามารถใช้แนวทางในการประเมินออนโทโลยี<br />

ดังกล่าว มาวิเคราะห์และเลือกสรรประโยชน์จากออนโทโลยีเข้ามาพัฒนาบริการสารสนเทศในหน่วยงานให้<br />

มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น ตัวอย่างในการขับเคลื่อนบริการสารสนเทศ ได้แก่ บริการตอบค าถามและช่วยการ<br />

ค้นคว้า บริการสอนผู้ และฝึกอบรมทักษะการรู้สารสนเทศแก่ผู้ใช้ บริการให้ค าแนะน าในการเลือกแหล่ง<br />

สารสนเทศ และบริการการค้นคืนสารสนเทศ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!