20.01.2015 Views

ชื่อบทความ การใช้ประโยชน์จากออนโทโลยีในงานบ

ชื่อบทความ การใช้ประโยชน์จากออนโทโลยีในงานบ

ชื่อบทความ การใช้ประโยชน์จากออนโทโลยีในงานบ

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

หน้าที่ 22<br />

เนื้อหาเดิม 5 โรสริน อัคนิจ ธนิต พุทธพงศ์ศิริพร น้ าฝน ล าดับวงศ์ และอารีย์ ธัญกิจจานุกิจ (2554) “ออน<br />

โทโลยี คือ แบบจ าลองที่แสดงถึงโครงสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างหมวดหมู่ของค าส าคัญที่ก าหนดขึ้น เพื่อ<br />

ประโยชน์ในการอธิบายความเพื่อเข้าใจร่วมกัน เชื่อมโยง และสืบค้นข้อมูลที่แม่นย าและมีประสิทธิภาพมาก<br />

ขึ้น ซึ่งเป็นส่วนส าคัญต่อการจัดการองค์ความรู้ ออนโทโลยีใช้แสดงมโนทัศน์และความสัมพันธ์ระหว่างมโน<br />

ทัศน์ในรูปแบบโครงสร้างล าดับชั้น (hierarchical structure) และมีการระบบชนิดของความสัมพันธ์นั้น”<br />

เนื้อหาเดิม 6 ธนิตา วงศ์กาฬสินธุ์ และงามนิจ อาจอินทร์ (2552) “ออนโทโลยี คือ แนวคิดในการบรรยาย<br />

องค์ความรู้และแสดงสิ่งที่เราสนใจอย่างมีขอบเขตตามโครงสร้างและความสัมพันธ์หรือการนิยามค าศัพท์และ<br />

ความหมายของค าศัพท์ส าหรับบรรยายความรู้ที่สนใจ ซึ่งโครงสร้างคว ามสัมพันธ์ดังกล่าว เครื่อง<br />

คอมพิวเตอร์สามารถสามารถเข้าใจและแปลความได้โดยใช้คลาส (Class) ความสัมพันธ์ระหว่างคลาส หมาย<br />

รวมถึงล าดับชั้นของคลาสและคุณสมบัติของคลาส (Properties)”<br />

เนื้อหาเดิม 7 สมชาย ปราการเจริญ . (2548, น. 93) “ออนโทโลยีเป็นศาสตร์ที่เกิดขึ้น ในสมั ยกรีกโรมัน<br />

โบราณโดยนักปราชญ์อริสโตเติล ได้ก าหนดวิชาออนโทโลยีอันมาจากรากศัพท์ ออนโท +โลยี (Onto+logy)<br />

ออนโท หมายถึงสิ่งที่มีอยู่ (Exist) และโลยี คือ ศาสตร์ หากแปลตามค าศัพท์จะหมายถึง ศาสตร์ที่กล่าวถึงสิ่ง<br />

ที่มีอยู่ เริ่มจาก อริสโตเติลได้พยายามสร้างต้นไม้แห่งพอร์ฟิรี (Porphyry) ซึ่งมีลักษณะเป็นไฮรากีทรี จ าแนก<br />

ประเภทของสิ่งต่างๆ”<br />

เนื้อหาเดิม 8 มาลี, ล าปาง แม่นมาตย์ & ครรชิต (2549, 24-49) ออนโทโลยี มีการน ามาใช้เป็นครั้งแรกใน<br />

สาขาปัญญาประดิษฐ์ เมื่อ ปี ค .ศ.1980 โดย John MxCarthy ซึ่งตีพิมพ์เผยแพร่ในบทความ Cricumscript:<br />

A form of Non-Monotonic ในวารสาร Artificial Intelligence ปีที่ 5 ฉบับที่ 13 หน้า 27-29 และได้เริ่ม<br />

น ามาใช้ในหลากหลายสาขาวิชา ตั้งแต่ช่วงปี 1990s ได้แก่ สาขาวิชาวิศวกรรมความรู้ (Knowledge<br />

Engineering) การน าเสนอตัวแทนความรู้ (Knowledge representation) การประมวลผลภาษาธรรมชาติ<br />

(Natural Language Process) ระบบสารสนเทศความร่วมมือ (Cooperative Information System) การบูร<br />

ณาการข้อมูลอัจฉริยะ (Intelligent Information Integration) การจัดการความรู้ (Knowledge Management)<br />

การออบแบบฐานข้อมูล (Database Design) การค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval) พาณิชย์<br />

อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce) ส าหรับสาขาบรรณรักษศาสตร์ ในปี ค .ศ.1997 Vickery ได้ตีพิมพ์<br />

บทความทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับความส าคัญของออนโทโลยีในวารสาร journal of Information<br />

Science ปีที่ 23 ฉบับที่ 7 เดือนกรกฎาคม 1977 หน้า 277-286 ซึ่งนักวิชาการได้ก าหนดค าที่ใช้เรียก "ออน<br />

โทโลยี(Ontology)" ไว้หลากหลายแตกต่างกัน เช่น อภิธานศัพท์ (Glossary) และพจนานุกรม (Data<br />

Dictionaries) ธีซอรัสและแทกโซโนมี (Thesauri & Taxonomies) แบบแผนเค้าร่าง (Schemas) แบบจ าลอง<br />

ข้อมูล (Data Model) แบบจ าลองขอบเขตความรู้ (Domain Model) ออนโทโลยีที่เป็นแบบแผน (Formal<br />

Ontology) การอนุมาน (Inference) เป็นต้น ออนโทโลยี มีบทบาทส าคัญในการบรรยายเชิงความหมาย เพื่อ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!