20.01.2015 Views

ชื่อบทความ การใช้ประโยชน์จากออนโทโลยีในงานบ

ชื่อบทความ การใช้ประโยชน์จากออนโทโลยีในงานบ

ชื่อบทความ การใช้ประโยชน์จากออนโทโลยีในงานบ

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

หน้าที่ 26<br />

ผลที่ได้จากการสรุปความ (Summarizing) และการถ่ายความ (Paraphrasing)<br />

Brank, J., Grobelnik, M. and Mladenic, D. (2005) กล่าวถึงแนวทางในการประเมินออนโทโลยี ที่<br />

แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ (1) การประเมินผลด้วยการเปรียบเทียบมาตรฐานออนโทโลยีที่ดี (golden<br />

standard) กับออนโทโลยีที่พัฒนาขึ้น กล่าวคือ การประเมินจะท าการเปรียบเทียบการให้ความหมายของ<br />

รูปแบบไวยากรณ์ (syntax) ในออนโทโลยี กั บการให้ความหมายเฉพาะตามรูปแบบไวยากรณ์ในภาษา<br />

ทางการ (syntax specification of formal language) ซึ่งออนโทโลยีท าการเขียน เช่น ภาษา RDF และ<br />

ภาษา OWL เป็นต้น (2) การประเมินลักษณะการใช้งานออนโทโลยีบนแอพพลิเคชั่นต่างๆ โดยพิจารณา<br />

ผลลัพธ์ที่สืบค้นได้จากออนโทโลยีที่ท างานบนแอพพลิเคชั่นเหล่านั้น (3) การประเมินโดยเปรียบเทียบที่มา<br />

ของแหล่งข้อมูล เช่น ประเมินจากแหล่งจัดเก็บเอกสาร (collection of documents) หรือ ประเมินจาก<br />

ขอบเขตความรู้ที่อยู่ในออนโทโลยี (domain to be covered by the ontology) และ (4) การประเมินโดย<br />

มนุษย์ (Assessment by humans) ซึ่งผู้เชี่ยวชาญในโดเมนเฉพาะเผ็นผู้ก าหนดหลักเกณฑ์ มาตรฐาน และ<br />

ระบุความต้องการเชิงระบบในออนโทโลยีไว้ล่วงหน้า<br />

ระดับของการประเมิน<br />

(Level of evaluation)<br />

ตารางที่ 1 แสดงภาพรวมของแนวทางต่างๆ ที่ใช้ในการประเมินออนโทโลยี<br />

(An overview of approach to ontology evaluation)<br />

โดยมาตรฐานที่ดี<br />

(Golden standard)<br />

แนวทางที่ใช้ในการประเมิน (Approach of evaluation)<br />

โดยแอพพลิเคชั่น<br />

(Application-based)<br />

โดยข้อมูล<br />

(Data-driven)<br />

โดยมนุษย์<br />

(Humans)<br />

ลักษณะของค า (Lexical) ค าศัพท์<br />

(vocabulary) ระดับข้อมูล (data layer)<br />

√ √ √ √<br />

โครงสร้างแบบล าดับชั้น (Hierarchy)<br />

โครงสร้างแบบอนุกรมวิธาน (taxonomy)<br />

√ √ √ √<br />

ความสัมพันธ์เชิงความหมายลักษณะอื่น<br />

(Other semantic relations)<br />

√ √ √ √<br />

บริบท (Context) หรือ<br />

แอพพลิเคชั่น (application)<br />

√<br />

√<br />

รูปแบบของประโยค (Syntactic) √ √<br />

โครงสร้าง (Structure) สถาปัตยกรรม<br />

(architecture) การออกแบบ (design)<br />

√<br />

* ปรับปรุงมาจาก Brank, J., Grobelnik, M. and Mladenic, D. (2005)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!