20.01.2015 Views

ชื่อบทความ การใช้ประโยชน์จากออนโทโลยีในงานบ

ชื่อบทความ การใช้ประโยชน์จากออนโทโลยีในงานบ

ชื่อบทความ การใช้ประโยชน์จากออนโทโลยีในงานบ

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ผลที่ได้จากการสรุปความ (Summarizing) และใช้การขึ้นต้นด้วยค านิยามศัพท์ (Definition)<br />

หน้าที่ 20<br />

บริการสารสนเทศ (Information services) เป็นบริการหลักของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา และ<br />

สถาบันบริการสารสนเทศ ประกอบด้วย บริการจัดท าดรรชนีและสาระสังเขป บริการข่าวสารทันสมัย บริการ<br />

ตอบค าถามและช่วยการค้นคว้า บริการการสอนทักษ ะการรู้สารสนเทศ บริการการชี้แนะแหล่งสารสนเทศ<br />

และบริการค้นคืนสารสนเทศ บริการเหล่านี้ก าหนดขึ้นเพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ใช้บริการให้สามารถค้นหา<br />

ข้อมูล ข้อเท็จจริง หรือค าตอบในเรื่องใดๆ ซึ่งถูกบันทึกไว้ในสื่อรูปแบบต่างๆ ตามที่ต้องการได้อย่างสะดวก<br />

รวดเร็วและละเอียดลึกซึ้ง โดยมีบรรณารักษ์เป็นผู้ช่วยเหลือที่เข้าใจ ท าหน้าที่บริการผู้ใช้ในการค้นหา<br />

สารสนเทศ หรือ ให้ค าแนะน าในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรสารสนเทศ และวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ อย่าง<br />

คุ้มค่ามากที่สุด ทั้งยังช่วยสอนทักษะการรู้สารสนเทศ หรือให้ค าแนะน าแก่ผู้ใช้ในการเลือกแห ล่งสารสนเทศ<br />

ที่เหมาะสม (น้ าทิพย์ วิภาวิน , 2546; มาลี ล้ าสกุล , 2549; มาลี กาบมาลา , 2553, อิศราวดี ทองอินทร์ ,<br />

2553) แต่เมื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICTs) เข้ามามีบทบาทในห้องสมุด บรรณารักษ์จึงต้อง<br />

เพิ่มพูนทักษะด้านเทคโนโลยี เพื่อช่วยผู้ใช้ให้ได้รับบริก ารสารสนเทศตรงตามความต้องการอย่างสะดวกและ<br />

รวดเร็วยิ่งขึ้น (รวีวรรณ ข าพล และนริศรา เฮมเบีย, 2551)<br />

อย่างไรก็ตาม ความสนใจของนักวิชาการในการบริหาร เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ ได้เคลื่อนตัว<br />

จาก "การประมวลผลข้อมูล (data processing)" ไปสู่ "การประมวลผลในระดับแนวคิด (concept<br />

processing)" กล่าวคือ นักวิชาการหันมาให้ความสนใจในแนวคิดเชิงความหมายที่มุ่งตีความ และท าความ<br />

เข้าใจต่อการด ารงอยู่ของความรู้ในบริบทที่แตกต่างกัน โดยพัฒนาเครื่องมือเชิงโครงสร้างเพื่อดักจับความรู้<br />

และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ที่เรียกว่า “ออนโทโลยี (ontology)” (Brank, J., Grobelnik, M. and<br />

Mladenic, D., 2005) ในบทความนี้ผู้เขียนขอน าเสนอความรู้เกี่ยวกับการประเมินออนโทโลยี ประกอบด้วย<br />

ความส าคัญของการประเมินออนโทโลยี แนวทางในการประเมินออนโทโลยี และการประยุกค์ใช้ออนโทโลยี<br />

ในงานบริการสารสนเทศ ดังนี้

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!