20.01.2015 Views

ชื่อบทความ การใช้ประโยชน์จากออนโทโลยีในงานบ

ชื่อบทความ การใช้ประโยชน์จากออนโทโลยีในงานบ

ชื่อบทความ การใช้ประโยชน์จากออนโทโลยีในงานบ

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

หน้าที่ 6<br />

ตัวอย่างออนโทโลยี ที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้บริการสารสนเทศ บนโดเมนความรู้ในสาขาต่างๆ ของสังคมไทย<br />

เช่น ออนโทโลยีของพืชสมุนไพรไทย (สิริรัตน์ ประกฤติกรชัย, 2550) ออนโทโลยีเพื่อการจัดการความรู้ด้าน<br />

การแปรรูปข้าว (โรสริน อัคนิจอ และคณะ, 2554) ออนโทโลยีชีวภาพส าหรับสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลทางชี<br />

วิทยา (เพ็ญพรรณ อัศวนพเกียรติ อรินทิพย์ ธรรมชัยพิเนต และกฤษณะ ไวยมัย, 2546) ออนโทโลยีส าหรับ<br />

สืบค้นองค์ความรู้ด้านทรัพยากรดิน (Heeptaisong and Srivihok, 2553) ออนโทโลยีส าหรับโดเมนห้องสมุด<br />

อิเล็กทรอนิกส์ (สีลตา วงศ์กาฬสินธุ์ และงามนิจ อาจอินทร์, 2552) ออนโทโลยีส าหรับระบบให้ค าแนะน าการ<br />

บริโภคอาหาร (นภัส สุขสม มารุต บูรณรัช และเทพชัย ทรัพย์นิธิ , 2551) ออนโทโลยีส าหรับวิเคราะห์ข่าว<br />

ออนไลน์ (วิชุดา โชติรัตน์ ผุสดี บุญรอด และศจีมาจ ณ วิเชียร , 2554) ออนโทโลยีในระบบบริหารลูกค้า<br />

สัมพันธ์ (นงเยาว์ พันธุ์คง และสมชาย ปราการเจริญ, 2553) ออนโทโลยีส าหรับกฎหมายไทย (Boonchom<br />

& Soonthornphisaj, 2009) ออนโทโลยีเพื่อสนับสนุนห่วงโซ่อุปทานกล้วยไม้ (มารุต บูรณรัช และเทพชัย<br />

ทรัพย์นิธิ, 2553) เป็นต้น จะเห็นได้ว่าผู้ใช้บริการต้องเผชิญกับทางเลือกใหม่ๆ ในการใช้สารสนเทศผ่านออน<br />

โทโลยีเป็นจ านวนมาก ดังนั้น หากบรรณารักษ์มีความรู้ในการประเมินออนโทโลยี และแนะน าแก่ผู้ใช้บริการ<br />

ในฐานะแหล่งสารสนเทศเฉพาะทาง ย่อมเป็นการสร้างโอกาสในการใช้เครื่องมือเพื่อดักจับและเชื่อมร้อยองค์<br />

ความรู้ (body of knowledge) ที่แตกต่างหลากหลาย ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และตรงกับความต้องการ<br />

2. แนวทางในการประเมินออนโทโลยี<br />

Sure และคณะ (2004) กล่าวถึงจุดเริ่มต้นในการประเมินออนโทโลยีว่าอยู่ที่การประเมินเนื้อหาในปี<br />

ค.ศ.1994 ซึ่งเป็นช่วงที่นักวิชาการในกลุ่มวิศวกรรมออนโทโลยี (ontological engineering) ได้ให้ความสนใจ<br />

ต่อปัญหาการเติบโตและขยายตัวอย่างรวดเร็วในเนื้อหาของออนโทโลยี ซึ่งต้องการแนวทางประเมินเนื้อหา<br />

ที่รองรับการพัฒนาและปรับปรุงออนโทโลยีจ านวนมาก (ontologies) ในอนาคต<br />

การประเมินเนื้อหาดังกล่าว สามารถสรุปได้ 3 แนวคิด คือ (1) การประเมินเนื้อหาของออนโทโลยีที่<br />

ต้องด าเนินการตลอดทั้งวงจรชีวิตของการพัฒนาออนโทโลยี (ontology life cycle) (2) เครื่องมือประเมิน<br />

เนื้อหาควรสนับสนุนการประเมินในระหว่างกระบวนการพัฒนาออนโทโลยี (ontology-building process) (3)<br />

การประเมินเนื้อหาของออนโทโลยีต้องแสดงถึงสัมมพันธ์กันอย่างแนบแน่น ระหว่างกระบวนทัศน์ทางภาษา<br />

(paradigm of language) กับความเป็นตัวแทนขององค์ความรู้ (Knowledge representative)<br />

แนวคิดส าคัญ 3 ประการข้างต้น ถือเป็นพื้นฐานในการพัฒนาเทคโนโลยีต้นแบบเพื่อประเมินออน<br />

โทโลยี (Ontology technology evaluation's) ส าหรับภาคอุตสาหกรรม ซึ่งการประเมิน (evaluate) และ<br />

เทียบเคียงสมรรถนะ (benchmark) ดังกล่าว ช่วยให้มั่นใจได้ว่าเทคโนโลยีต้นแบบที่ใช้ประเมินออนโทโลยีมี<br />

ความสัมพันธ์กับปัจจัย 4 ประการ ดังนี้<br />

(1) ความสามารถในการท างานร่วมกัน (Interoperability) กล่าวคือ ปัญหาหนึ่งที่เกิดจากการใช้<br />

ออนโทโลยี คือ การให้ความหมายในโดเมนเดียวกันให้เข้าใจได้ตรงกัน ซึ่งขึ้นอยู่กับการตกลงในเงื่อนไข

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!