20.01.2015 Views

ชื่อบทความ การใช้ประโยชน์จากออนโทโลยีในงานบ

ชื่อบทความ การใช้ประโยชน์จากออนโทโลยีในงานบ

ชื่อบทความ การใช้ประโยชน์จากออนโทโลยีในงานบ

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

หน้าที่ 4<br />

ปรัชญา<br />

(Philosophy)<br />

ในส่วนของ (In)<br />

เกี่ยวกับภาวะการด ารงอยู่ (The being)<br />

และ (And)<br />

กระบวนการมองที่อยู่เหนือความเข้าใจ<br />

(Transcendental process)<br />

การตรวจสอบลักษณะการด ารงอยู่<br />

(Examines the nature of being)<br />

ออนโทโลยี<br />

(ONTOLOGY)<br />

อภิปรัชญา<br />

(Metaphysics)<br />

ศึกษาสิ่งที่ด ารงอยู่<br />

(The study of what exists)<br />

และ (And)<br />

ศึกษาสิ่งที่เราคาดคิดว่าจะด ารงอยู่<br />

(What we assume exists)<br />

เพื่อให้เข้าถึงความหมายที่ตรงกับความจริง<br />

(In order to achieve a coherent description of reality)<br />

ส าหรับผู้เชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์<br />

(For computer specialists)<br />

รูปที่ 1 แนวทางการศึกษาความจริงด้วยออนโทโลยี ปรับปรุงมาจาก Currás (2010)<br />

กล่าวโดยสรุป “ออนโทโลยี” หมายถึง แนวคิดที่ใช้ก าหนดความหมายที่เป็นทางการของค าศัพท์ พร้อม<br />

ทั้งประกาศคุณลักษณะที่ชัดแจ้งเพื่อน ามาใช้ในการอธิบายความเป็นตัวแทนของแนวคิด (Concepts) หรือ<br />

แบบจ าลอง (Model) ของกลุ่มชุมชนสารสนเทศที่ใช้ร่วมกัน (Information Communities) ซึ่งโครงสร้าง<br />

ความสัมพันธ์ดังกล่าว เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถสามารถเข้าใจและแปลความได้ โดยใช้คลาส (Class)<br />

ความสัมพันธ์ระหว่างคลาส หมายรวมถึงล าดับชั้นของคลาสและคุณสมบัติ (Properties) ของคลาส ความรู้ที่<br />

ได้จากออนโทโลยีมีขอบเขตอยู่เฉพาะทาง (Domain) ซึ่งช่วยสนับสนุนกระบวนการค้นคืนสารสนเทศ<br />

(Information Retrieval) ในแง่ของการตัดทอนค าศัพท์ที่สับสน หรือ บรรยายเชิงความหมายจากหลาย<br />

แนวคิด (Concepts) ให้สอดคล้องกันภายใต้แนวคิด (Concept) เพียงหนึ่งเดียว ทั้งยังมีบทบาทส าคัญต่อ<br />

การพัฒนาระบบความรู้ (Knowledge Based Systems) ในแง่ของการน ากลับมาใช้ใหม่ (Reusable) และ<br />

เพิ่มเติมองค์ประกอบได้ภายหลัง ส่วนภาษาที่ใช้ในออนโทโลยีเพื่อบรรยายข้อมูลเชิงความหมาย ได้แก่<br />

XML (Extensible Markup Language) RDF (Resource Description Framework) และ OWL (Web<br />

Ontology Language) ในการพัฒนาออนโทโลยีแต่ละประเภทจะขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ ขอบเขตของความรู้<br />

บริบทแวดล้อม และความพร้อมในการพัฒนา (สมชาย ปราการเจริญ , 2548; มาลี กาบมาลา ล าปาง แม่น<br />

มาตย์ และครรชิต มาลัยวงศ์ 2549; วรลักษณ์ วงศ์โดยหวัง ศิริเจริญ , 2551; วิชุดา โชติรัตน์ ผุสดี บุญรอด<br />

และศจีมาจ ณ วิเชียร , 2554; โรสริน อัคนิจ และคณะ, 2554; Broughton, 2006; Dragan, Dragan and<br />

Vladan, 2006; Currás, 2010)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!