14.08.2018 Views

ส.ค.61

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ปรึกษาหารือกันได้ จน<strong>ส</strong>ามารถนำไป<strong>ส</strong>ู่<br />

การลงมติได้ ซึ่งการเวียนขอความเห็น<br />

ไม่อาจนับองค์ประชุมได้และไม่อาจมีโอกา<strong>ส</strong><br />

<strong>ส</strong>ามารถดำเนินการตามที่กล่าวข้างต้นได้<br />

ทำให้มีผลต่อความ<strong>ส</strong>มบูรณ์ถูกต้องของมติ<br />

คณะกรรมการที่เกิดจากการแจ้งความเห็น<br />

หรือลงมติเป็นหนัง<strong>ส</strong>ือแทนการประชุมได้<br />

<strong>ส</strong>ำหรับกรณีดังกล่าว<strong>ส</strong>ามารถเทียบเคียง<br />

กับความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกา<br />

(คณะที่ ๒) ได้จากบันทึก<strong>ส</strong>ำนักงานคณะ<br />

กรรมการกฤษฎีกา เรื่อง การจัดประชุม<br />

โดยวิธีอื่นใดซึ่งผู้ร่วมประชุมมิได้อยู่ใน<br />

<strong>ส</strong>ถานที่เดียวกัน เรื่องเ<strong>ส</strong>ร็จที่๑๑๓๓/๒๕๕๕<br />

<strong>ส</strong>รุปได้ว่า คณะกรรมการนโยบายพลังงาน<br />

แห่งชาติซึ่งแต่งตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ<br />

คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ<br />

พ.ศ.๒๕๓๕ ไม่อาจจัดการประชุมโดยวิธีการ<br />

ติดต่อ<strong>ส</strong>ื่อ<strong>ส</strong>ารด้วยเทคโนโลยีที่<strong>ส</strong>ามารถ<br />

ถ่ายทอดภาพและเ<strong>ส</strong>ียงได้อย่างต่อเนื่อง<br />

ซึ่งผู้ร่วมประชุม<strong>ส</strong>ามารถปรึกษาหารือกันได้<br />

แม้มิได้อยู่ใน<strong>ส</strong>ถานที่เดียวกันก็ตาม เพราะ<br />

พิจารณาจากบทบัญญัติของพระราช<br />

บัญญัติดังกล่าวซึ่งกำหนดหลักเกณฑ์<br />

หลักเมือง <strong>ส</strong>ิงหาคม ๒๕๖๑<br />

เกี่ยวกับองค์ประชุม วิธีการได้มาซึ่ง<br />

ประธานเห็นได้ว่า การประชุมต้องเป็นการ<br />

ประชุมโดยวิธีที่กรรมการต้องมาประชุม<br />

ร่วมกันใน<strong>ส</strong>ถานที่เดียวกันเท่านั้น อีกทั้ง<br />

ไม่มีบทบัญญัติอื่นใดในพระราชบัญญัติ<br />

ดังกล่าวกำหนดให้<strong>ส</strong>ามารถให้จัดการ<br />

ประชุมด้วยเทคโนโลยีเช่นว่านั้นเอาไว้<br />

ต่างจากกฎหมายฉบับอื่นที่กำหนดเรื่อง<br />

ดังกล่าวไว้โดยเฉพาะ หรือมีบทบัญญัติ<br />

ให้อำนาจออกหลักเกณฑ์กำหนดวิธีการ<br />

ประชุมเช่นว่านั้น เช่น พระราชกฤษฎีกา<br />

ว่าด้วยการเ<strong>ส</strong>นอเรื่องและการประชุมคณะ<br />

รัฐมนตรี พ.ศ.๒๕๔๘ และพระราชบัญญัติ<br />

องค์กรจัด<strong>ส</strong>รรคลื่นความถี่และกำกับการ<br />

ประกอบกิจการวิทยุกระจายเ<strong>ส</strong>ียง วิทยุ<br />

โทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.<br />

๒๕๕๓ เป็นต้น ดังนั้น หากประ<strong>ส</strong>งค์จะ<br />

ดำเนินการเช่นว่านั้น จะต้องแก้ไขพระราช<br />

บัญญัติดังกล่าวตามแนวทางที่กล่าวมา<br />

ข้างต้นเ<strong>ส</strong>ียก่อน อนึ่ง แม้การจัดประชุม<br />

ด้วยเทคโนโลยีดังกล่าวจะเป็นวิธีที่<br />

ก้าวหน้าและ<strong>ส</strong>ะดวก แต่อาจไม่เหมาะ<strong>ส</strong>ม<br />

ในบางกรณี เช่น การประชุมพิจารณา<br />

เรื่องลับ เพราะไม่อาจแน่ใจได้เลยว่าจะมี<br />

บุคคลอื่นนอกจากกรรมการที่ไม่มี<strong>ส</strong>่วน<br />

ได้เ<strong>ส</strong>ียอยู่ร่วมใน<strong>ส</strong>ถานที่ติดต่อ<strong>ส</strong>ื่อ<strong>ส</strong>ารด้วย<br />

เทคโนโลยีนั้นด้วยหรือไม่หรือการประชุม<br />

ตามวาระปกติแต่มีการเ<strong>ส</strong>นอเรื่องอื่น<br />

เข้ามาเป็นวาระจร ทำให้กรรมการไม่<br />

<strong>ส</strong>ามารถตรวจเอก<strong>ส</strong>ารในวาระจรได้อย่าง<br />

ละเอียดเพียงพอ ดังนั้น การจัดประชุม<br />

โดยวิธีการติดต่อ<strong>ส</strong>ื่อ<strong>ส</strong>ารด้วยเทคโนโลยี<br />

ดังกล่าวควรคำนึงถึงความเหมาะ<strong>ส</strong>ม<br />

ของเรื่องด้วย<br />

๖. ในกรณีไปมี<strong>ส</strong>่วนเกี่ยวข้องกับการ<br />

อนุมัติ การอนุญาต การ<strong>ส</strong>ั่งการ หรือการ<br />

ให้ความเห็นชอบ ตลอดจนการลงชื่อผ่าน<br />

เรื่องไปยังผู้บังคับบัญชาระดับ<strong>ส</strong>ูง ในเรื่อง<br />

หรือโครงการที่<strong>ส</strong>ำคัญโดยเฉพาะที่เกี่ยวกับ<br />

การจัดซื้อจัดจ้าง หรือโครงการอื่นๆ ที่อาจ<br />

เกี่ยวข้องกับความรับผิด ทั้งทางวินัย<br />

ทางแพ่ง ทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ และ<br />

ทางอาญา ตลอดจนการ<strong>ส</strong>ั่งการใช้กำลัง<br />

ทหารในบางกรณี <strong>ส</strong>มควร<strong>ส</strong>ำเนาเอก<strong>ส</strong>าร<br />

ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเก็บไว้เองเป็นอย่างดี<br />

เผื่ออาจจำเป็นต้องใช้หลังเกษียณอายุ<br />

ราชการ เพื่อใช้ประโยชน์เป็นพยาน<br />

หลักฐานในโอกา<strong>ส</strong>ต่อไป เพราะในบาง<br />

กรณีอาจเกิดมีการ<strong>ส</strong>อบ<strong>ส</strong>วนหรือมีการ<br />

ดำเนินคดีบางเรื่องภายหลังเกษียณอายุ<br />

ราชการภายใต้อายุความ ๑๐ หรือ ๒๐ ปี<br />

การจะมาขอค้นหาเอก<strong>ส</strong>ารหรือขอ<strong>ส</strong>ำเนา<br />

เอก<strong>ส</strong>ารหลังจากเหตุการณ์เกิดขึ้นนานแล้ว<br />

จากหน่วยงานหลังเกษียณอายุราชการ<br />

อาจยุ่งยากหรือไม่พบเอก<strong>ส</strong>ารดังกล่าว<br />

เอก<strong>ส</strong>ารรวมทั้ง<strong>ส</strong>ำเนาเอก<strong>ส</strong>ารในการปฏิบัติ<br />

ราชการที่ผ่านมาอาจมีความ<strong>ส</strong>ำคัญ<br />

เป็นอย่างมากที่<strong>ส</strong>ามารถใช้เป็นพยาน<br />

หลักฐานประกอบการยืนยันการไม่ต้อง<br />

รับผิดได้เป็นอย่างดี<br />

(โปรดติดตามตอนต่อไป)<br />

31

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!